You are on page 1of 74

1

วิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1


หน่วยที่ 1 วิทยาศาสตร์กบั การแก้ปญ
ั หา
หน่วยที่ 2 พันธุศาสตร์
บทที่ 1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
หน่วยที่ 3 คลื่นและแสง
บทที่ 1 คลื่น
บทที่ 2 แสง
หน่วยที่ 4 ระบบสุริยะของเรา
บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 2


บทที่ 1 คลื่น
เรื่องที่ 1 คลื่นกล
ทบทวนความรูก้ อ่ นเรียน
1. เมื่อเปิดสวิตช์ให้หลอดไฟฟ้าสว่าง จะเขียนลูกศร
แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงที่ออกจากหลอดไฟฟ้าได้อย่างไร

2. เมื่อสั่นกระดิ่งให้เกิดเสียงดัง จะเขียนลูกศรแสดงทิศทาง
การเคลื่อนที่ของเสียงที่ออกจากกระดิ่งได้อย่างไร

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 3


บทที่ 1 คลื่น
เมื่อปล่อยก้อนหินลงในน้านิ่ง พลังงานจลน์ของก้อนหินจะถ่ายโอนไปสู่อนุภาคของน้าบริเวณที่ก้อน
หินกระทบเกิดเป็นริวคลื่นแผ่ออกไปบนผิวน้ารอบ ๆ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 4


บทที่ 1 คลื่น
คลื่นกล (Mechanical Wave) คือคลื่นที่ส่งผ่านพลังงานกลจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง
โดยอาศัยตัวกลางซึ่งอนุภาคตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ไปตามคลื่นด้วย
คลื่นกลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) อนุภาคตัวกลางจะเคลื่อนที่ในแนวตังฉากกับทิศ
การเคลื่อนที่ของคลื่น
2. คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) อนุภาคตัวกลางจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาใน
แนวเดียวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
*อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนทีก่ ลับไปมาครบ 1 รอบ จะเกิดคลืน่ ได้จา้ นวน 1 ลูกคลื่นพอดี*

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 5


บทที่ 1 คลื่น
คลื่นกล (Mechanical Wave) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. คลื่นตามขวาง 2. คลื่นตามยาว

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 6


บทที่ 1 คลื่น
ทดสอบความเข้าใจ เมื่อนักเรียนใช้ดินสอแตะที่ผิวหน้าของน้าที่จุด A นักเรียนจะสังเกตเห็น
คลื่นเคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บนผิวน้าเคลื่อนที่ขึนลงในแนวดิ่ง ดังภาพ

1. ถ้าพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นและทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของตัวกลาง คลื่นดังกล่าวจัดเป็นคลื่น
ประเภทใด เพราะเหตุใด

2. ถ้าพบว่าในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึนลงครบ 8 รอบพอดี ในช่วงเวลาดังกล่าว


เกิดคลื่นขึนทังหมดกี่ลูกคลื่น
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 7
บทที่ 1 คลื่น
สันคลื่น (Crest) คือ จุดที่อนุภาคเคลื่อนที่ขึนไปที่ต้าแหน่งสูงสุด
ท้องคลื่น (Trough) คือ จุดที่อนุภาคเคลื่อนที่ลงไปที่ต้าแหน่งต่้าสุด
แอมพลิจดู (Amplitude) คือ ความสูงของท้องคลื่นหรือสันคลื่นที่วัดจากเส้นแนวปกติ (หน่วยเมตร)

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 8


บทที่ 1 คลื่น
ความยาวคลืน่ (Wavelength) (λ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่เมื่อตัวกลางสั่นครบ 1 รอบ (เมตร)

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 9


บทที่ 1 คลื่น
ทดสอบความเข้าใจ คลื่นที่เกิดขึนบนผิวน้าแห่งหนึ่งเป็นดังภาพ

1. สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ต้าแหน่งใด

2. คลื่นที่เกิดขึนมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 10


บทที่ 1 คลื่น
แอมพลิจดู ของคลื่นจะขึนอยู่กบั พลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง
1. รบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นมีแอมพลิจดู ต่้า

2. รบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นมีแอมพลิจดู สูง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 11


บทที่ 1 คลื่น
ความถี่ (Frequency) (f) คือจ้านวนรอบที่ตัวกลางสั่นครบรอบหรือจ้านวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุด
จุดหนึ่งในตัวกลางใน 1 วินาที (รอบต่อวินาที = เฮิรตซ์ (Hz))

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 12


บทที่ 1 คลื่น
การท้าให้ตวั กลางสั่นด้วยความถีท่ ี่แตกต่างกัน

ท้าให้ตัวกลางสั่นด้วยความถี่น้อย
คลื่นมีความถี่ต่้า ความยาวคลื่นมาก

ท้าให้ตัวกลางสั่นด้วยความถีม่ าก
คลื่นมีความถี่สงู ความยาวคลื่นสัน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 13


บทที่ 1 คลื่น
ทดสอบความเข้าใจ นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้าที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น
เคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บนผิวน้าเคลื่อนที่ขึนลงในแนวดิ่ง ดังภาพ

ถ้าพบว่าในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึนลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 14


บทที่ 1 คลื่น
ทดสอบความเข้าใจ นักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป
2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึนเป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 15


บทที่ 1 คลื่น
เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) คือคลื่นที่ส่งผ่านพลังงานจากบริเวณหนึ่งไปยัง
อีกบริเวณหนึ่งโดยไม่อาศัยตัวกลางแต่จะอาศัยการเหนี่ยวน้าสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า

สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 16
บทที่ 1 คลื่น
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 17


บทที่ 2 แสง
เรื่องที่ 1 การสะท้อนของแสง ทบทวนความรู้ (ถูกหรือผิด)
 1.1 การมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งก้าเนิดแสงเพราะมีแสงจากวัตถุนันเข้าสู่ตาโดยตรง
 1.2 การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งก้าเนิดแสง ต้องมีแสงจากแหล่งก้าเนิดแสงไปตกกระทบวัตถุแล้ว
สะท้อนเข้าตา
2. จากภาพ มุม A มุม B และ มุม C มีค่าเท่าใดตามล้าดับ
มุม A =

มุม B =

มุม C =
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 18
บทที่ 2 แสง
ถ้าฉายล้าแสงเล็ก ๆ ลงบนกระจกเงาราบ จะพบว่าล้าแสงจะสะท้อนออกจากผิวของกระจกเงาราบนัน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 19


บทที่ 2 แสง
การสะท้อนของล้าแสงเมือ่ ตกกระทบกระจกเงาราบ ก้าหนดให้
i แทน รังสีตกกระทบ ซึ่งเป็นรังสีของแสงที่ตกกระทบ
ผิวสะท้อนแสง
r แทน รังสีสะท้อน ซึ่งเป็นรังสีของแสงที่สะท้อนออกจาก
ผิวสะท้อนแสง
N แทน เส้นแนวตังฉาก ซึ่งเป็นเส้นสมมติที่ลากตังฉากกับ
ผิวสะท้อนแสง ณ จุดที่แสงตกกระทบ
θi แทน มุมตกกระทบ ซึ่งเป็นมุมระหว่างรังสีตกกระทบ
กับเส้นแนวตังฉาก
θr แทน มุมสะท้อน ซึ่งเป็นมุมระหว่างรังสีสะท้อน
กับเส้นแนวตังฉาก

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 20


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ

1. จากภาพ รังสีหมายเลข 1 และ 2


คือรังสีอะไร ทราบได้อย่างไร 2. จากภาพมุมสะท้อนคือหมายเลขใด ทราบได้อย่างไร

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 21


บทที่ 2 แสง
กฎการสะท้อน (Law of Reflection) มี 2 ข้อ ดังนี
1. รังสีตกกระทบ เส้นแนวตังฉาก และรังสีสะท้อนอยู่ในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน ณ ต้าแหน่งที่แสงตกกระทบ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 22


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการสะท้อนของแสงเมือ่ ตกกระทบกับวัตถุผวิ เรียบและผิวขรุขระ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 23


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ
เมื่อฉายล้าแสงเล็ก ๆ ให้ตกกระทบกระจกเงาราบ โดยรังสีตกกระทบท้ามุมกับกระจกเงาราบดังภาพ ก) และ
ข) เขียนเส้นแนวฉากและรังสีสะท้อนเมื่อแสงกระทบกระจกแต่ละบานได้อย่างไร และมุมตกกระทบและมุมสะท้อนของ
กระจกแต่ละบานมีค่าเท่าใด
ก) กระจกเงาราบ ข) กระจกเงาราบ 2 บานที่ท้ามุมกัน 45 องศา

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 24


บทที่ 2 แสง
ระยะวัตถุ (Object Distance) คือ ระยะห่างจากผิวของแผ่นสะท้อนแสงถึงต้าแหน่งของวัตถุ
ระยะภาพ (Image Distance) คือ ระยะห่างจากผิวสะท้อนแสงถึงต้าแหน่งภาพ

ภาพทีเ่ กิดจากการสะท้อนแสงของแผ่นสะท้อนแสงผิวราบจะมีขนาดของภาพเท่ากับขนาดของวัตถุเสมอ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 25


บทที่ 2 แสง
ภาพเสมือน (Virtual Image) เกิดจากแนวรังสีสะท้อนไปตัดกันหลังกระจกเงาราบ โดยที่รังสีสะท้อน
ไม่ได้ตัดกันจริง
- ภาพที่เกิดขึนจะอยู่ห่างจากกระจกเท่ากับ
ระยะห่างจากวัตถุถึงกระจก
จึงท้าให้ได้ภาพที่มีขนาดเท่ากับขนาดวัตถุ

ตัวอย่างการเขียนรังสีของแสงแสดงการเกิดภาพในกระจกเงาราบของวัตถุทเี่ ป็นจุด
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 26
บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนรังสีของแสงแสดงการเกิดภาพในกระจกเงาราบของวัตถุที่มีขนาด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 27


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหาต้าแหน่งของภาพและลักษณะของภาพ

1. วางเทียนไขหน้ากระจกเงาราบ

2. ลากรังสีของแสงเส้นหนึ่งจากปลายเปลวเทียนไขให้ตกกระทบกระจก
ท้ามุมฉากกับระนาบกระจกเงาราบหรือมุมตกกระทบเป็น 0๐

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 28


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหาต้าแหน่งของภาพและลักษณะของภาพ

3. รังสีของแสงจะสะท้อนออกมาในแนวเดิม หรือมุมสะท้อนเป็น 0๐

4. ลากรังสีของแสงอีกเส้นหนึ่งจากปลายเปลวเทียนไขให้ตกกระทบกระจก
ท้ามุมใด ๆ กับระนาบกระจกเงาราบ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 29


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหาต้าแหน่งของภาพและลักษณะของภาพ

5. เขียนเส้นแนวฉาก ณ จุดที่แสงตกกระทบ วัดขนาดของมุมตกกระทบ (θi)

6. รังสีของแสงจะสะท้อนจากกระจกด้วยมุมสะท้อน (θr) ที่เท่ากับมุมตกกระทบ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 30


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหาต้าแหน่งของภาพและลักษณะของภาพ

7. ลากเส้นประต่อแนวของรังสีสะท้อนทังสองเส้นมาด้านหลังกระจก เส้นประ
ทังสองเส้นจะตัดกันที่จุดจุดหนึ่ง จุดที่แนวรังสีสะท้อนเสมือนตัดกันจะเป็น
ต้าแหน่งของภาพเสมือน ภาพที่เกิดขึนจึงเป็นภาพเสมือนของปลายเปลวเทียน

8. การหาต้าแหน่งของภาพส่วนอื่น ๆ ของเทียนไข เช่น ฐานเทียนไข


ก็ท้าได้ในท้านองเดียวกัน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 31


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหาต้าแหน่งของภาพและลักษณะของภาพ

9. ภาพของเทียนไขที่เกิดขึนในกระจกจึงเป็นภาพเสมือน ขนาดภาพเท่ากับ
ขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 32


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากกระจกเงาราบ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 33


บทที่ 2 แสง
กระจกเงาเว้า (Concave Mirror) คือ กระจกเงาที่ใช้ผิวโค้งเว้าเป็นผิวสะท้อนแสง
กระจกเงานูน (Convex Mirror) คือ กระจกเงาที่ใช้ผิวโค้งนูนเป็นผิวสะท้อนแสง

จุดศูนย์กลางความโค้ง คือ ผิวโค้งของทรงกลมมีจุดศูนย์กลางของทรงกลมที่ต้าแหน่ง C


จุดยอด คือ จุดที่อยู่บริเวณกึ่งกลางบนผิวโค้งที่ต้าแหน่ง V
รัศมีความโค้งของกระจก คือ ระยะจากจุด V ถึงจุด C

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 34


บทที่ 2 แสง
จุดโฟกัส (Focus Point) แทนด้วยสัญลักษณ์ F คือ มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน ท้าให้แสง
สะท้อนไปรวมกันที่จุดจุดหนึ่ง
จุดโฟกัสเสมือน (Virtual Focus Point) แทนด้วยสัญลักษณ์ f คือ เส้นประด้านหลังของกระจกที่ไป
ตัดกันที่จุดจุดหนึ่ง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 35


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ เมื่อฉายล้าแสงเล็ก ๆ ตกกระทบแผ่นสะท้อนแสงผิวโค้งแบบต่าง ๆ ดังภาพ
จงเขียนเส้นแนวฉาก แนวรังสีสะท้อนในแต่ละกรณีได้อย่างไร และมุมตกกระทบและมุมสะท้อนมีค่าเท่าใด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 36


บทที่ 2 แสง
ภาพจริง เกิดจากรังสีสะท้อนตัดกันจริง
ภาพเสมือน เกิดจากการต่อแนวรังสีสะท้อนให้ตัดกัน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 37


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพรังสีของแสง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 38


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพรังสีของแสง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 39


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพรังสีของแสง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 40


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพ กรณีรังสีตกกระทบ 2 เส้น เป็นรังสีตกกระทบทีข่ นานกับแกน
มุมส้าคัญและรังสีตกกระทบที่ผา่ นจุดโฟกัส

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 41


บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพ กรณีรังสีตกกระทบ 2 เส้น เป็นรังสีตกกระทบทีผ่ า่ นศูนย์กลาง
ความโค้งและรังสีตกกระทบที่ผา่ นจุดโฟกัส

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 42


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ ถ้าวางเทียนไขไว้หน้ากระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน ดังภาพ
เขียนแผนภาพรังสีของแสงเพื่อหาต้าแหน่ง ชนิดและลักษณะภาพของเทียนไขได้อย่างไร

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 43


บทที่ 2 แสง
การใช้ประโยชน์ของกระจกนูน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 44


บทที่ 2 แสง
การใช้ประโยชน์ของกระจกเงาเว้า

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 45


บทที่ 2 แสง
เรื่องที่ 2 การหักเหของแสง ทบทวนความรู้กอ่ นเรียน
เติมค้าเหล่านีลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง
1. เมื่อแสงกระทบกระเบือง แสงไม่สามารถทะลุผ่านไปได้แต่จะเกิดการสะท้อน กระเบืองจึงจัดเป็น
...........................................
2. เราสามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่หลังกระจกใสได้อย่างชัดเจน กระจกใสจัดเป็น....................................
3. แสงสามารถเคลื่อนที่ผ่าน.......................................... และ ...............................................
แต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่าน......................................... ได้

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 46


บทที่ 2 แสง
การหักเหของแสง (Refraction of Light) เกิดขึนเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง โดย
จะเกิดที่บริเวณรอยต่อระหว่างตัวกลาง
มุมตกกระทบ คือ มุมที่รังสีตกกระทบท้ากับ
เส้นแนวฉาก
มุมหักเห คือ มุมที่รังสีหักเหท้ากับเส้นแนวฉาก

รังสีตกกระทบ คือรังสีของแสงที่ผ่านเข้าไปในตัวกลางที่ 1
รังสีหักเห คือรังสีของแสงที่ผ่านเข้าไปในตัวกลางที่ 2
เส้นแนวตังฉาก คือเส้นตังฉากกับผิวรอยต่อ ณ จุดที่แสงตกกระทบ
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 47
บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการหักเหของแสง 2 ครัง เมื่อแสงเคลื่อนทีเ่ ข้าและออกจากแท่งพลาสติก

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 48


บทที่ 2 แสง
ตาราง อัตราเร็วของแสงในตัวกลางโปร่งใสชนิดต่าง ๆ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 49


บทที่ 2 แสง
แสงเคลือ่ นทีจ่ ากตัวกลางที่แสงมีอัตราเร็วมากไปยังตัวกลางที่แสงมีอัตราเร็วน้อย
รังสีหกั เหจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 50


บทที่ 2 แสง
แสงเคลือ่ นทีจ่ ากตัวกลางที่แสงมีอัตราเร็วมากไปยังตัวกลางที่แสงมีอัตราเร็วมาก
รังสีหกั เหจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 51


บทที่ 2 แสง

การหักเหของแสงท้าให้มองเห็นวัตถุ
ที่อยู่ในนา้ อยูต่ นกว่
ื าความเป็นจริง
การหักเหของแสงท้าให้มองเห็น
หลอดดูดหักงอ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 52


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ ปลาจะมองเห็นผีเสือที่บินอยู่เหนือน้ามีต้าแหน่งเปลี่ยนไปจากต้าแหน่งจริง
อย่างไร เขียนแผนภาพรังสีของแสงเพื่ออธิบายการมองเห็นภาพผีเสือของปลา

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 53


บทที่ 2 แสง
ทดสอบความเข้าใจ ถ้านักเรียนวางเหรียญลงไปในแก้วกระเบืองแล้วขยับมุมมองของตนเองจน
ขอบแก้วบังเหรียญได้มิดพอดี ท้าให้ไม่สามารถมองเห็นเหรียญที่อยู่ก้นแก้วได้อีก จากนันค่อย ๆ
รินน้าลงในแก้ว ภาพของเหรียญจะค่อย ๆ ปรากฏขึนมา ดังภาพ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึนเกี่ยวข้องกับการ
หักเหของแสงอย่างไร

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 54


บทที่ 2 แสง
มุมวิกฤติ (Critical angle) คือมุมตกกระทบที่ท้าให้มุมหักเหเท่ากับ 90๐C
การสะท้อนกลับหมดของแสง (Total Internal reflection of Light) คือ การที่มุมตกกระทบมีค่า
มากกว่ามุมวิกฤตท้าให้ไม่มีรังสีหักเห จะมีแต่รังสีสะท้อนเท่านัน

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 55


บทที่ 2 แสง
ปรากฏการณ์มริ าจ (Mirage) หรือภาพลวงตา เป็นปรากฏการณ์ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงเนื่องจาก
ชันของอากาศที่แสงเดิมทางผ่านมีอุณหภูมิต่างกัน แล้วเกิดการสะท้อนกลับหมด
เพชร (Diamond) มีประกายสวยงาม เกิดจากการเจียระไนให้มี
มุมและเหลี่ยมตามต้องการ เพื่อท้าให้แสงที่ตกกระทบเพชรส่วน
ใหญ่เกิดการสะท้อนกลับหมด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 56


บทที่ 2 แสง
เส้นใยน้าแสง (Optical Fiber) แกนของเส้นใยน้าแสงท้ามาจากวัสดุโปร่งแสงประเภทแก้วหรือ
พลาสติก แกนนีจะถูกหุ้มด้วยวัสดุอีกชนิดหนึ่ง เมื่อฉายแสง จะเกิดการสะท้อนกลับหมด

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 57


บทที่ 2 แสง
การกระจายของแสง (Dispersion) คือการที่แสงแต่ละสีกระจายออกและปรากฏบนฉากที่ต้าแหน่ง
แตกต่างกัน
สเปกตรัมของแสง (Visible Light Spectrum) คือ แสงสีต่าง ๆ ที่มองเห็น

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 58


บทที่ 2 แสง
การเกิดรุ้ง (Rainbow) รุ้งเกิดขึนเมื่อแสงเคลื่อนที่จากอากาศเข้าไปในหยดน้า จะเกิดการหักเหของแสง
ซึ่งแสงแต่ละสีมีมุมหักเหที่แตกต่างกัน

รุ้งปฐมภูมิ คือ รุ้งที่เกิดจากการสะท้อนกลับหมดในหยดน้า 1 ครัง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 59


บทที่ 2 แสง
การเกิดรุ้ง (Rainbow) รุ้งเกิดขึนเมื่อแสงเคลื่อนที่จากอากาศเข้าไปในหยดน้า จะเกิดการหักเหของแสง
ซึ่งแสงแต่ละสีมีมุมหักเหที่แตกต่างกัน

รุ้งทุติยภูมิ คือ รุ้งที่เกิดการสะท้อนกลับหมดในหยดน้า 2 ครัง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 60


บทที่ 2 แสง

ตัวอย่างรุง้ ปฐมภูมิ และรุ้งทุติยภูมิ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 61


บทที่ 2 แสง
เลนส์นูน (Convex Lens) มีลักษณะหนาบริเวณส่วนกลางของเลนส์ และบางบริเวณขอบ
เลนส์เว้า (Concave Lens) มีลักษณะบางบริเวณส่วนกลางของเลนส์ และหนาบริเวณขอบ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 62


บทที่ 2 แสง
เลนส์ที่น้ามาใช้ศึกษานีเป็นเลนส์บาง มีกึ่งกลางเลนส์ (O) อยู่ที่จุดกึ่งกลางระหว่างผิวโค้งทังสอง และมี
จุด C เป็นศูนย์กลางความโค้งของผิวทังสองของเลนส์ เรียกเส้นตรงที่ผ่านจุด C และ O
ว่า แกนมุขส้าคัญ ดังภาพ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 63


บทที่ 2 แสง
จุดโฟกัสของเลนส์นูน (F) คือ จุดที่รังสีหักเหตัดกัน
ความยาวโฟกัส (f) ระยะทางจากกึ่งกลางของเลนส์ถึงจุดโฟกัส

จุดโฟกัสเสมือนของเลนส์เว้า (F) คือ แนวรังสีที่ต่อออกมาไปตัดกันที่จุดจุดหนึ่งบนแกนมุขส้าคัญ


ทางด้านหน้าเลนส์
ความยาวโฟกัส (f) ระยะทางจากจุดกึ่งกลางของเลนส์ถึงจุดโฟกัส
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 64
บทที่ 2 แสง
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพรังสีของแสงเพื่อระบุตา้ แหน่งของภาพเมื่อวางวัตถุไว้หน้าเลนส์

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 65


บทที่ 2 แสง
วิธีการเขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 66


บทที่ 2 แสง
วิธีการเขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 67


บทที่ 2 แสง
วิธีการเขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์นูนและเลนส์เว้า

เมื่อวัตถุอยู่ต้าแหน่งนี ภาพที่เกิดขึน เมื่อวัตถุอยู่ต้าแหน่งนี ภาพที่เกิดขึน


เกิดจากรังสีหักเหของแสงตัดกันจริง จากการต่อแนวรังสีหักเหไปด้านหน้าเลนส์
จะเป็นภาพจริง หัวกลับ แล้วตัดกันจึงเป็นภาพเสมือน มีลักษณะ
สามารถเกิดบนฉากได้ เป็นภาพหัวตัง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 68


บทที่ 2 แสง
ประโยชน์ของเลนส์ : แว่นขยาย (Magnifying Glass)

ท้ามาจากเลนส์นูน ใช้ขยายภาพให้ใหญ่ขึนกว่าวัตถุจริง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 69


บทที่ 2 แสง
ประโยชน์ของเลนส์ : กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)

ประกอบด้วยเลนส์นูนสองอัน
อันแรกเป็นเลนส์ใกล้วัตถุ ที่ท้าให้เกิดภาพจริงหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
อันที่สองเป็นเลนส์ใกล้ตา จะขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุให้เป็นภาพเสมือน
หัวกลับ ขนาดขยาย
เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 70
บทที่ 2 แสง
ดวงตามนุษย์ (Human eye)
แสงจากวัตถุเคลื่อนที่เข้าสู่ดวงตาแล้วหักเหผ่านกระจกตาหรือตาด้าที่มีลักษณะโค้ง ใส ไม่มีสี
จากนันจะมีการหักเหเพิ่มเติมอีกครังที่เลนส์ตาโดยกล้ามเนือตาจะปรับความยาวโฟกัสของเลนส์ตาเพื่อให้
แสงรวมกันที่เรตินาที่ผนังด้านในซึ่งมีเซลล์ประสาทท้าหน้าที่รับแสงสีต่าง ๆ จากนันเรตินาจะส่ง
สัญญาญผ่านเซลล์ประสาทตาให้สมองตีความเป็นภาพที่มองเห็น

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 71


บทที่ 2 แสง
ดวงตาที่สามารถมองเห็นภาพต่าง ๆ ได้ตามปกติ แสงหักเหจะรวมกันที่เรตินาพอดี โดย
สายตาปกติของมนุษย์จะมองเห็นวัตถุชัดเจนตังแต่ระยะประมาณ 25 เซนติเมตรถึงระยะอนันต์

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 72


บทที่ 2 แสง
ลักษณะการหักเหของแสงในสภาวะคนสายตาสันและสายตายาวและการใช้เลนส์แก้ไขความผิดปกติ

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 73


บทที่ 2 แสง
เรื่องที่ 3 ความสว่าง
ความสว่าง (Illuminance) คือ ปริมาณแสงที่ตกกระทบบนพืนที่หนึ่ง ๆ
มีหน่วยเป็นลักซ์ (Lux)
ลักซ์มเิ ตอร์ (Luxmeter) คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดความสว่าง

เพจวิทยาศาสตร์ ประถม ม.ต้น 74

You might also like