You are on page 1of 46

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์

รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ในทุ่งหญ้าแห่งหนึ่งมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น หญ้า ต้นไม้ กวาง
กระต่าย แมลง มด เสือ และงู โดยสิ่งมีชีวิตเหล่านีม
้ ค
ี วามสัมพันธ์กัน
ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม นอกจากนีส
้ ิ่งมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์กับ
แหล่งที่อยู่อาศัยด้วยเรียกความสัมพันธ์ดังกล่าวว่าอย่างไร (มฐ. ว 1.1
ม.3/1)
1. โซ่อาหาร 2. ระบบนิเวศ
3. กลุ่มสิ่งมีชีวิต 4. สายใยอาหาร
2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยทางกายภาพในระบบนิเวศ (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)
1. น้ำ 2. ดิน
3. ป่ าไม้ 4. อุณหภูมิ
3. ข้อใดคือความหมายของประชากร (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)
1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกในช่วงเวลาหนึ่ง
2. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลาหนึ่ง
3. สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดที่อยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลาหนึ่ง
4. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่กระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ ทั่วโลกในช่วง
เวลาหนึ่ง
4. เหตุใดตั๊กแตนบางชนิดจึงมีรูปร่างเหมือนใบไม้ (มฐ. ว 1.1 ม.3/1)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 1


1. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางด้านสรีระ
2. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางด้านรูปร่าง
3. ตั๊กแตนสามารถเปลี่ยนรูปร่างให้กลายเป็ นใบไม้ได้
4. ตั๊กแตนมีการปรับตัวทางด้านพฤติกรรมและการแสดงออก
5. ข้อใดไม่ใช่พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากอุณหภูมิ (มฐ.
ว 1.1 ม.3/6)
1. การจำศีลของกบ
2. การอพยพย้ายถิ่นของนก
3. หมีขว
ั ้ โลกมีขนยาวปกคลุม
4. การหันตามดวงอาทิตย์ของดอกทานตะวัน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 2


6. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตรูปแบบใดที่มีผลต่อการควบคุมสมดุลของ
จำนวนประชากร (มฐ. ว 1.1
ม.3/10)
1. ภาวะปรสิต 2. ภาวะล่าเหยื่อ
3. ภาวะพึ่งพากัน 4. ภาวะการได้รับประโยชน์ร่วมกัน
7. ข้อใดคือการอยู่ร่วมกันที่มีความสัมพันธ์แบบ -, - (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
ก.ภาวะอิงอาศัย ข.ภาวะพึ่งพากัน
ค.ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน
1. ข้อ ก เท่านัน
้ 2. ข้อ ข เท่านัน

3. ข้อ ข และ ค 4. ข้อ ก ข และ ค
8. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตคู่ใดที่เหมือนกัน (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
ก.เห็บบนตัวสุนัข ข.กาฝากบนต้นไม้ใหญ่
ค.กล้วยไม้บนต้นไม้ใหญ่ ง. แบคทีเรียในรากพืชตระกูลถั่ว
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ก และ ง 4. ข้อ ข และ ง
9. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใดที่แตกต่างจากข้ออื่น (มฐ. ว 1.1 ม.3/2)
1. พยาธิในลำไส้หนู 2. โพรโทซัวในลำไส้ปลวก
3. ราที่อาศัยอยู่ร่วมกับสาหร่าย 4. แบคทีเรียไรโซเบียมในรากพืช
ตระกูลถั่ว
10. ปั จจัยใดที่สำคัญที่สุดที่ทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์
กัน (มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. อาหาร 2. พลังงาน
3. ที่อยู่อาศัย 4. การหมุนเวียนของสาร
11. สิ่งมีชีวิตในข้อใดที่จัดเป็ นผู้บริโภคประเภทเดียวกัน (มฐ. ว 1.1
ม.3/4)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 3


1. ไก่ วัว จิง้ จก 2. เสือ แรด สิงโต
3. กบ คางคก ยีราฟ 4. ม้า แกะ กระต่าย
12. นกพิราบกินข้าวสารเป็ นอาหารและยังสามารถกินหนอนเป็ นอาหาร
ได้ด้วยควรจัดอยู่ในผู้บริโภคกลุ่มใด (มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. ผู้บริโภคพืช 2. ผู้บริโภคสัตว์
3. ผู้บริโภคทัง้ พืชและสัตว์ 4. ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์
13. สิ่งมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนสารอนินทรีย์ให้เป็ นสารอินทรีย์คือข้อใด
(มฐ. ว 1.1 ม.3/4)
1. ผู้ผลิต 2. ผู้บริโภค
3. ผู้ย่อยสลาย 4. ถูกต้องทัง้ ข้อ 1 และ 3

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 4


14. สิ่งมีชีวิตใดที่ได้รับพลังงานน้อยที่สุดในพีระมิดพลังงาน (มฐ. ว 1.1
ม.3/3)
1. ผู้ผลิต 2. ผู้บริโภคลำดับ 1
3. ผู้บริโภคลำดับสุดท้าย 4. ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร
15. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโซ่อาหาร (มฐ. ว 1.1 ม.3/3)
1. การเขียนโซ่อาหารนัน
้ ต้องหันหัวลูกศรเข้าหาผู้ที่กิน
2. แสดงความสัมพันธ์ด้านการบริโภคของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่างๆ
3. แสดงความสัมพันธ์ด้านการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตทัง้ หมด
บนโลก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
16. ถ้ากระต่ายกินหญ้าที่มีพลังงานรวม 200 กิโลแคลอรี สุดท้ายเหยี่ยว
จะได้รับพลังงานที่ส่งต่อมาถึงเท่าไร (มฐ. ว 1.1 ม.3/3)
1. 0.2 แคลอรี 2. 200 แคลอรี
3. 2 กิโลแคลอรี 4. 20 กิโลแคลอรี
17. วัฏจักรของสารใดไม่จำเป็ นต้องหมุนเวียนผ่านสิ่งมีชีวิต (มฐ. ว 1.1
ม.3/6)
1. วัฏจักรน้ำ 2. วัฏจักรคาร์บอน
3. วัฏจักรไนโตรเจน 4. วัฏจักรฟอสฟอรัส
18. วัฏจักรคาร์บอนในธรรมชาติแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกนำไปใช้
ในกระบวนการใด (มฐ. ว 1.1 ม.3/6)
1. กระบวนการหายใจ 2. กระบวนการคายน้ำ
3. กระบวนการย่อยสลาย 4. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
19. การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ และการขับถ่ายเป็ นกระบวน
การที่ทำให้เกิดวัฏจักรใด (มฐ. ว 1.1
ม.3/6)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 5


1. วัฏจักรน้ำ 2. วัฏจักรคาร์บอน
3. วัฏจักรไนโตรเจน 4. วัฏจักรฟอสฟอรัส
20. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของแบคทีเรียต่อการหมุนเวียนไนโตรเจน (มฐ. ว
1.1 ม.3/6)
1. ให้พลังงานที่จำเป็ นต่อการหมุนเวียนไนโตรเจน
2. เปลี่ยนไนโตรเจนในอากาศให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
3. เปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนให้กลับไปเป็ นไนโตรเจนอิสระใน
บรรยากาศ
4. ทำให้มีการหมุนเวียนของไนโตรเจนจากภายนอกเข้าสู่สิ่งมีชีวิตและ
กลับคืนสู่ธรรมชาติ
21. ข้อใดจัดเรียงองค์ประกอบในนิวเคลียสจากใหญ่ไปเล็กได้ถก
ู ต้อง
(มฐ. ว 1.3 ม.3/1)
1. โครโมโซม → ยีน → ดีเอ็นเอ 2. โครโมโซม → ดีเอ็นเอ → ยีน
3. ดีเอ็นเอ → โครโมโซม → ยีน 4. ดีเอ็นเอ → ยีน → โครโมโซม

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 6


22. การแบ่งเซลล์แบบใดที่ทำให้จำนวนโครโมโซมในเซลล์ลดลงครึ่งหนึ่ง
จากเซลล์เดิม (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. ไมโทซิส 2. ไมโอซิส I
3. ไมโอซิส II 4. ถูกต้องทุกข้อ
23. ในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสระยะใดที่โครมาทิดถูกดึงไปยังขัว้ ของ
เซลล์ (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. โพรเฟส 2. เมทาเฟส
3. แอนาเฟส 4. เทโลเฟส
24. ข้อใดไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 1.3 ม.3/4)
1. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะมีขน
ั ้ ตอนการแบ่งเซลล์ 2 ขัน
้ ตอน
2. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเป็ นการแบ่งเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ร่างกาย
3. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเมื่อแบ่งเสร็จแล้วจะมีจำนวนโครโมโซม
เท่าเดิม
4. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเมื่อแบ่งในแต่ละครัง้ เสร็จแล้วจะได้เซลล์
สืบพันธุ์ 2 เซลล์
25. ข้อใดไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ลักษณะเด่นสามารถปรากฏได้เมื่อมีแอลลีลเด่นเพียงแอลลีลเดียว
2. ลักษณะเด่นสามารถปรากฏได้เมื่อแอลลีลเด่นเข้าคู่กัน 2 แอลลีล
3. ลักษณะด้อยสามารถปรากฏได้เมื่อมีแอลลีลด้อยเพียงแอลลีลเดียว
4. ลักษณะด้อยสามารถปรากฏได้เมื่อแอลลีลด้อยเข้าคู่กัน 2 แอลลีล

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 7


26. ลักษณะความผิดปกติทางพันธุกรรมข้อใดที่เกิดจากความผิดปกติ
ของยีนเด่นบนออโตโซม (มฐ. ว 1.3
ม.3/5)
1. ตาบอดสี 2. ฮีโมฟิ เลีย
3. ทาลัสซีเมีย 4. ท้าวแสนปม
27. ลักษณะผิดปกติทางพันธุกรรมข้อใดที่เกิดจากความผิดปกติของยีน
ด้อยบนออโตโซม (มฐ. ว 1.3 ม.3/5)
1. คนแคระ 2. ผิวเผือก
3. G-6-PD 4. กล้ามเนื้อแขนขาลีบ
28. ลักษณะผิดปกติทางพันธุกรรมข้อใดที่มีโอกาสเกิดในเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง (มฐ. ว 1.3 ม.3/5)
1. ตาบอดสี 2. ทาลัสซีเมีย
3. ท้าวแสนปม 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงเป็ นรูปเคียว

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 8


29. สามีภรรยาคู่หนึ่งไปตรวจภาวะของการเป็ นโรคทาลัสซีเมีย ปรากฏ
ว่ามีภาวะเป็ นพาหะของโรคทัง้ คู่
อยากทราบว่าอัตราส่วนที่สามีภรรยาคู่นจ
ี ้ ะมีลูกที่เป็ นปกติและเป็ นโร
คทาลัสซีเมียเป็ นเท่าไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 1 : 1 2. 1 : 3
3. 3 : 1 4. 4 : 0
30. ครอบครัวหนึ่งมีลูกที่มีหมู่เลือด O พ่อและแม่ของครอบครัวนีค
้ วรมี
ลักษณะหมู่เลือดตามข้อใด (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
AB AB AA A
1. I I × I I 2. I I × I i
AB B A B
3. I I × I i 4. I i × I i
31. จากข้อ 30 พ่อและแม่คู่นม
ี ้ ีโอกาสมีลก
ู ที่มีหมู่เลือด A ร้อยละเท่าไร
(มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 25 2. 50
3. 75 4. 100
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้ แล้วตอบคำถามข้อ 32-33
ฮีโมฟิ เลียเป็ นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากแอลลีลด้อย ถ้าที่เป็ นปกติ
แต่งงานกับหญิงที่เป็ นพาหะของโรคฮีโมฟิ เลีย
กำหนดให้  = แอลลีลเด่น  = แอลลีลด้อย
32. ข้อใดคือลักษณะการเข้าคู่ของแอลลีลของลูกที่เกิด (มฐ. ว 1.3
ม.3/2)
1. XX XX XY XY
 
2. XX X X X Y X Y
    

3. XX XX XY XY 


4. XX XX X Y XY  

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 9


33. โรคทางพันธุกรรมใดที่ผู้ป่วยจะมีจำนวนโครโมโซมเท่ากับคนปกติ
(มฐ. ว 1.3 ม.3/5)
1. กลุ่มอาการดาวน์ 2. กลุ่มอาการพาทัว
3. กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด 4. กลุ่มอาการคริดูชาต์
พิจารณาข้อความต่อไปนีแ
้ ล้วตอบคำถามข้อ 34-40
“เมนเดลเลือกถั่วลันเตาต้นสูงผสมกับถั่วลันเตาต้นเตีย
้ โดยเรียกรุ่น
นีว้ ่ารุ่นพ่อแม่หรือรุ่น P เมื่อผสมกันจะได้ร่น
ุ ลูกออกมา เรียกว่า รุ่น F1
หลังจากนัน
้ เมนเดลนำลูกรุ่น F1 มาผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกัน (self
cross) ออกมาเป็ นรุ่นหลานหรือรุ่น F2”

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 10


34. ลักษณะความสูงของลำต้นถั่วลันเตาในรุ่น F1 มีลก
ั ษณะอย่างไร
(มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ลำต้นสูงทัง้ หมด 2. ลำต้นเตีย
้ ทัง้ หมด
3. ลำต้นสูงร้อยละ 50 4. ลำต้นสูงร้อยละ 75
35. อัตราส่วนของจีโนไทป์ ในรุ่น F2 เป็ นอย่างไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 4 : 0 2. 3 : 1
3. 2 : 2 4. 1 : 2 : 1
36. อัตราส่วนของฟี โนไทป์ ในรุ่น F2 เป็ นอย่างไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. 4 : 0 2. 3 : 1
3. 2 : 2 4. 1 : 2 : 1
37. การทดลองของเมนเดลในรุ่น F2 ต้นพ่อและแม่มีลักษณะลำต้นเป็ น
อย่างไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. สูงพันธุ์แท้ทงั ้ คู่ 2. สูงพันทางทัง้ คู่
3. สูงพันธุ์แท้กับสูงพันทาง 4. สูงพันธุ์แท้กับเตีย

38. ถ้าผสมถั่วลันเตาฝั กอวบสีเขียวพันธุ์แท้กับฝั กแฟบสีเหลืองพันธุ์แท้
จะได้ร่น
ุ ลูกที่มีลักษณะอย่างไร (เมื่อฝั กอวบและฝั กสีเขียวเป็ นลักษณะ
เด่น) (มฐ. ว 1.3 ม.3/2)
1. ฝั กอวบสีเขียว 2. ฝั กอวบสีเหลือง
3. ผักแฟบสีเขียว 4. ฝั กแฟบสีเหลือง
39. จากข้อ 38 ถ้านำรุ่นลูกมาผสมกันเองจะได้อัตราส่วนฟี โนไทป์ เป็ น
อย่างไร (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 11


1. ฝั กอวบสีเหลือง : ฝั กอวบสีเขียว : ฝั กแฟบสีเหลือง : ฝั กแฟบสี
เขียว = 9 : 3 : 3 : 1
2. ฝั กอวบสีเหลือง : ฝั กอวบสีเขียว : ฝั กแฟบสีเหลือง : ฝั กแฟบสี
เขียว = 1 : 3 : 3 : 9
3. ฝั กอวบสีเหลือง : ฝั กอวบสีเขียว : ฝั กแฟบสีเหลือง : ฝั กแฟบสี
เขียว = 3 : 9 : 3 : 1
4. ฝั กอวบสีเหลือง : ฝั กอวบสีเขียว : ฝั กแฟบสีเหลือง : ฝั กแฟบสี
เขียว = 3 : 9 : 1 : 3
40. จากข้อ 39 รุ่นลูกฝั กอวบสีเหลืองและฝั กแฟบสีเขียวควรมีจีโนไทป์
แบบใด ตามลำดับ (ถ้าให้ฝักอวบแทนด้วย F ฝั กแฟบแทนด้วย f ฝั กสี
เขียวแทนด้วย G และฝั กสีเหลืองแทนด้วย g) (มฐ. ว 1.3 ม.3/3)
1. FFGG, ffgg 2. FFgg, ffGG
3. ffGG, FFgg 4. Ffgg, FFGG

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12


41. ข้อใดไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)
1. เทคโนโลยีสมัยใหม่ถูกแก้ไขให้มีคุณภาพจนไม่มีผลกระทบต่อ
มนุษย์เลย
2. การนำความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์มาประยุกต์ใช้ทำให้คุณภาพชีวิต
ของมนุษย์ดีขน
ึ้
3. มนุษย์ได้นำความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์มาใช้ประโยชน์ทางการ
เกษตรนานมากแล้ว
4. ปั จจุบันความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์ถูกนำมาใช้หลายด้านรวมทัง้
ด้านอาชญากรรมด้วย
42. การคัดเลือกพันธุ์ผสมที่เกิดจากการผสมในสายพันธุ์เดียวกันมีข้อเสีย
หลายประการยกเว้นข้อใด (มฐ.
ว 1.3 ม.3/7)
1. คงลักษณะเด่นประจำสายพันธุ์นน
ั ้ ๆ ไว้
2. มีโอกาสที่ลักษณะด้อยจะปรากฏออกมามาก
3. ไม่สามารถพัฒนาสายพันธุ์ที่เคยมีให้มีคุณภาพดีขน
ึ ้ ได้
4. ลดโอกาสของรุ่นลูกที่จะได้รับการถ่ายทอดลักษณะใหม่ๆ
43. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการโคลน (มฐ. ว 1.3 ม.3/7)
1. การโคลน คือ การคัดลอกพันธุ์
2. ในกระบวนการโคลนแกะดอลลี่ต้องใช้แม่แกะถึง 3 ตัว
3. ปั จจุบันมีความนิยมโคลนวัวเพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่ดีขน
ึ้
4. การโคลนจะได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เหมือนตัวต้นแบบเพียงแค่ลักษณะ
ภายนอกเท่านัน

44. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ GMOs (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 13


1. GMOs ไม่ส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ปั จจุบันมีการยอมรับกันแล้วว่า GMOs ไม่เป็ นอันตรายต่อผู้บริโภค
3. GMOs เป็ นกระบวนการที่ทำให้เกิดผลผลิตทางการเกษตรที่มี
โภชนาการเพิ่มมากขึน

4. GMOs เป็ นวิธีการปรับปรุงผลผลิตทางการเกษตรที่เกษตรกรนำไป
ปฏิบัติอย่างแพร่หลาย
45. ข้อใดเป็ นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพทางด้าน
อุตสาหกรรม (มฐ. ว 1.3 ม.3/8)
1. การผสมโค 3 สายพันธุ์
2. การโคลนเพื่อให้ได้โคที่มีน้ำนมมาก
3. การผสมเทียมสัตว์เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
4. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร เช่น อาหารกระป๋อง
ชนิดต่างๆ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 14


46. ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
ก.พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแหมีความหนาแน่นสูง
ข.พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแหมีจุดหลอมเหลวสูงที่สุด
ค.พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นมีความขุ่นและเหนียวมากที่สุด
ง. พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบกิ่งมีความหนาแน่นต่ำกว่าพอลิเมอร์ที่มี
โครงสร้างแบบเส้น
1. ข้อ ก และ ง 2. ข้อ ก ค และ ง
3. ข้อ ข ค และ ง 4. ถูกต้องทุกข้อ
47 ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
ก.ชามเมลามีนและเต้าเสียบไฟฟ้ าจัดเป็ นพลาสติกเทอร์มอเซต
ข.ซิลิโคนใช้เป็ นตัวประสานรอยต่อของขอบกระเบื้องหรือท้องเรือเพื่อ
กันน้ำซึม
ค.ยางสังเคราะห์มค
ี วามแข็งแรงทนทานและยืดหยุ่นดีกว่ายาง
ธรรมชาติ
ง. ยางสังเคราะห์ IR มีโครงสร้างใกล้เคียงยางธรรมชาติ
1. ข้อ ก ข และ ค 2. ข้อ ข ค และ ง
3. ข้อ ก ข และ ง 4. ข้อ ก ค และ ง
48. จากตารางแสดงชนิดพลาสติกและตัวอย่างผลิตภัณฑ์ (มฐ. ว 2.1
ม.3/2)

ชนิด ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
พลาสติก
J ฟิ ล์มถ่ายรูป ของเล่นสำหรับเด็ก

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 15


Q กระเบื้องยางปูพ้น
ื ฉนวนหุ้มสาย
ไฟ
R เต้าเสียบไฟฟ้ า ปลั๊กไฟ
J Q และ R ควรเป็ นพลาสติกชนิดใด ตามลำดับ
1. พอลิไวนิลคลอไรด์ เมลามีน พอลิเอทิลีน
2. พอลิสไตรีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์
3. พอลิยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ พอลิเอทิลีน พอลิสไตรีน
4. พอลิเอทิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์
49. ผลิตภัณฑ์ข้อใดทำจากพลาสติกเทอร์มอเซตทัง้ คู่ (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. กระเป๋าเดินทางและปลั๊กไฟ 2. กระเบื้องยางและท่อพลาสติก
3. เต้าเสียบไฟฟ้ าและกาวอีพอกซี 4. ชิน
้ ส่วนของตู้เย็นและเต้าเสียบ
ไฟฟ้ า

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 16


50. ข้อใดไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. ซิลิโคนที่มีลักษณะเป็ นยางเหนียวมีโครงสร้างเป็ นแบบร่างแห
2. ซิลิโคนใช้เป็ นกาวประสานรอยต่อของขอบกระเบื้องหรือท้องเรือ
เพื่อกันน้ำซึม
3. ซิลิโคนว่องไวในปฏิกิริยาเคมี สลายตัวง่าย ไม่ทนต่อการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
4. ซิลิโคนที่มีลักษณะเป็ นน้ำมันมีโครงสร้างเป็ นพอลิเมอร์ที่มีขนาดเล็ก
กว่าซิลิโคนที่มีลักษณะเป็ นขีผ
้ งึ ้
51. ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
ก.เส้นใยที่หุ้มเมล็ดฝ้ าย นุ่น และใยมะพร้าวจัดเป็ นเส้นใยเซลลูโลส
ข.ลินินและปอจัดเป็ นเส้นใยจากเปลือกไม้
ค.ผ้าไหมหดตัวเมื่อได้รับความร้อนและความชื้น
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ค และ ก 4. ถูกต้องทุกข้อ
52. เส้นใยสังเคราะห์มส
ี มบัติพิเศษหลายอย่างต่างไปจากเส้นใย
ธรรมชาติ ดังนี ้
ก.ทนต่อเชื้อราและจุลินทรีย์ ข.ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้ำ ทนต่อสารเคมี
ค.ผลิตได้ครัง้ ละมาก ๆ และรวดเร็ว
ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/1)
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ค และ ก 4. ถูกต้องทุกข้อ
53. ข้อใดเป็ นการเลือกปฏิบัติได้เหมาะสมที่สุด (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 17


1. เก็บขวดพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วใส่ไว้ในน้ำมันเบนซิน
2. เก็บถ้วยชามประเภทเมลามีนที่ชำรุดเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่
3. ใช้ถ้วยชามที่ผลิตจากพอลิเอทิลีนอุ่นอาหารในเตาไมโครเวฟ
4. ใช้ภาชนะที่เคลือบด้วยพอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีนในการทอดปลา

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 18


54. สัญลักษณ์แสดงประเภทของพลาสติกรีไซเคิล ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว
2.1 ม.3/2)
ก. แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทฟิ ล์มถ่ายรูปและถุงร้อน

ข. 4
แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเย็น

ค. แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเลือด
5

1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค


3. ข้อ ค และ ก 4. ถูกต้องทุกข้อ
55. เรียงลำดับมาตรการจัดการขยะพลาสติกที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมจากน้อยไปมาก (มฐ. ว 2.1 ม.3/2)
ก.การนำพลาสติกกลับมาหลอมใช้ใหม่ (ทำรีไซเคิล)
ข.การใช้งานภาชนะหรือวัสดุบรรจุหีบห่อซ้ำแล้วซ้ำอีก
ค.การนำพลาสติกไปเผา
1. ก < ข < ค 2. ก < ค < ข
3. ค < ข < ก 4. ข < ก < ค
56. ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. ใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำ 2. ผสมกรดเกลือกับโซดาไฟ
3. เผาเหล็กให้ร้อนจนหลอมเหลว 4. วิตามินซีสลายตัวเมื่อถูกความ
ร้อน
57. ข้อใดกล่าวถึงการเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. ต้องมีสารใหม่เกิดขึน
้ 2. ต้องมีการเปลี่ยนสถานะของสาร
เสมอ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 19


3. มีทงั ้ การดูดพลังงานและคายพลังงาน 4. ถ้าเป็ นระบบปิ ดจะ
เป็ นไปตามกฎทรงมวล
58. เมื่อนำสังกะสี (Zn) มาทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ (HCl) จะได้
ผลิตภัณฑ์เป็ นซิงค์คลอไรด์ (ZnCl2) และแก๊สไฮโดรเจน (H2) เขียน
เป็ นสมการเคมีได้ตามข้อใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. Zn(s) + 2HCl(ℓ) → ZnCl2(ℓ) + H2(g)
2. Zn(s) + 2HCl(ℓ) → ZnCl2(aq) + H2(g)
3. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g)
4. Zn(s) + 2HCl(aq) → ZnCl2(ℓ) + H2(g)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 20


59. ข้อใดดุลสมการได้ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/3)
1. Al(s) + O2(g) → Al2O3(s) 2. 2Al(s) + O2(g) → Al2O3(s)
3. 2Al(s) + 3O2(g) → Al2O3(s) 4. 4Al(s) + 3O2(g) → 2Al2O3(s)
60. ข้อใดกล่าวถึงกฎทรงมวลไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/4)
1. เกิดในระบบปิ ดเท่านัน
้ 2. ไม่ขน
ึ ้ กับการเปิ ดหรือปิ ดภาชนะ
3. ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม 4. มวลของสารก่อน
และหลังเกิดปฏิกิริยาเท่ากัน
61. ให้สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B 10 กรัม ในบีกเกอร์ที่มีฝาปิ ด เกิด
เป็ นสาร C จำนวน 12 กรัม และแก๊ส D 8 กรัม ถ้าการทดลองนีเ้ ป็ น
ไปตามกฎทรงมวลแสดงว่าปฏิกิริยานีใ้ ช้สาร A กีก
่ รัม (มฐ. ว 2.1
ม.3/4)
1. 8 กรัม 2. 10 กรัม
3. 12 กรัม 4. 20 กรัม
62. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 1.56 กรัม ทำปฏิกิริยากับเลด
(II) ไนเตรต 1.66 กรัม ได้เป็ นโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และเลด
(II) ไอโอไดด์ ถ้ามีโพแทสเซียมไนเตรตเกิดขึน
้ 2.4 กรัม อยากทราบว่า
มีเลด (II) ไอโอไดด์เกิดขึน
้ กีก
่ รัม (มฐ. ว 2.1 ม.3/4)
1. 0.10 กรัม 2. 0.82 กรัม
3. 1.56 กรัม 4. 3.22 กรัม
63. การละลายของโซเดียมไฮดรอกไซด์นเี ้ ป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบใด
(มฐ. ว 2.1 ม.3/5)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 21


1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 2. การเปลี่ยนแปลงแบบคาย
อุณหภูมิ
3. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคาย
ความร้อน
64. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อมเรียกว่าอะไร
(มฐ. ว 2.1 ม.3/5)
1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม้
3. ปฏิกิริยาดูดความร้อน 4. ปฏิกิริยาคายความร้อน
65. แก๊สแอมโมเนียสลายตัวดังสมการต่อไปนี ้
2NH3(g) + 93 kJ → N2(g) + 3H2(g)
ปฏิกิริยานีเ้ ป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/5)
1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 2. การเปลี่ยนแปลงแบบดูด
ความร้อน
3. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคาย
ความร้อน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 22


66. X + กรด → สาร + H2O + CO2 จากสมการ สาร X ควรเป็ นสาร
ใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)
1. น้ำ 2. เบส
3. โลหะ 4. หินปูน
67. การทดลองใดเกิดแก๊สชนิดเดียวกัน (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)

การทดสอบ สารตัง้ ต้น


1 สังกะสี + กรดซัลฟิ ว
ริก
2 หินปูน + กรดไฮโดร
คลอริก
3 กรดเกลือ + โซดาไฟ

1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3


3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิด
เดียวกัน
68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ. ว 2.1 ม.3/6)
1. สนิมเกิดขึน
้ ได้กับโลหะทุกชนิด
2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้
3. ปั จจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ
4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นปั จจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม
69. ช้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มันวาวเหมือนตอนแรก ๆ
เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 23


1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส
3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 4. อะลูมิเนียมทำ
ปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน
70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี (มฐ. ว
2.1 ม.3/8)
1. ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้า
หมู่บ้าน
2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มือถือเข้ากับกล้องวงจรปิ ดในห้องของลูกเพื่อ
ใช้ดูลูกในเวลากลางคืน
3. กล้าตัง้ เวลาและอุปกรณ์เปิ ด-ปิ ดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้
อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด
4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้
เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 24


71. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อ
เข้ากับวงจรไฟฟ้ าอย่างไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/3)
1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนาน
กับวงจร
3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบ
อนุกรมกับวงจร
72. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้ าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อ
เข้ากับวงจรไฟฟ้ าอย่างไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/3)
1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนาน
กับวงจร
3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบ
อนุกรมกับวงจร
73. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม (มฐ. ว 2.3 ม.3/1)
1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร
2. กำลังไฟฟ้ าเป็ นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา
3. ความจุไฟฟ้ า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ ากับความต่างศักย์
4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ ากับความต้านทาน
74. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ ากับกระแส
ไฟฟ้ าดังรูป หากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำอย่างไร (มฐ. ว
2.3 ม.3/2)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 25


1. ใช้พ้น
ื ที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X
3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความชันของกราฟ
75. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่าง
ศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านกี่
แอมแปร์ (มฐ. ว 2.3 ม.3/1)
1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์
3. 3.33 แอมแปร์ 4. 33.3 แอมแปร์
76. วัดกระแสไฟฟ้ าที่ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 220 โวลต์ ได้เท่ากับ
0.01 แอมแปร์ ตัวต้านทานนีม
้ ีค่าความต้านทานเป็ นเท่าไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/1)
1. 20 โอห์ม 2. 220 โอห์ม
3. 2,200 โอห์ม 4. 22,000 โอห์ม

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 26


พิจารณาวงจรไฟฟ้ าต่อไปนี ้ แล้วตอบคำถามข้อ 77-80

77. จากรูป ความต้านทานรวมมีค่าเท่าไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/4)


1. 2 โอห์ม 2. 3 โอห์ม
3. 4 โอห์ม 4. 5 โอห์ม
78. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 1 โอห์ม มีค่าเท่าไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/4)
1. 1 แอมแปร์ 2. 2 แอมแปร์
3. 3 แอมแปร์ 4. 4 แอมแปร์
79. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 6 โอห์ม มีค่าเท่าไร (มฐ. ว 2.3
ม.3/4)
1 2
1. 3 แอมแปร์ 2. 3 แอมแปร์
4
3. 3 แอมแปร์ 4. 1 แอมแปร์
80. ความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทาน 2 แอมแปร์ มีค่าเท่าไร (มฐ. ว
2.3 ม.3/4)
1. 1 โวลต์ 2. 2 โวลต์
3. 3 โวลต์ 4. 4 โวลต์

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 27


81. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับไฟฟ้ าลัดวงจร (มฐ. ว 2.3 ม.3/9)
1. จุดที่ไฟฟ้ าเกิดการลัดวงจรจะมีความร้อนสูง
2. การลัดวงจรจะเกิดขึน
้ เมื่อสายไฟฟ้ าที่ไม่มีฉนวนหุ้มมาแตะกัน
3. จุดที่ไฟฟ้ าเกิดการลัดวงจรขึน
้ จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านปริมาณมาก
4. จุดที่ไฟฟ้ าเกิดการลัดวงจรขึน
้ จะมีความต้านทานไฟฟ้ าต่ำกว่า
บริเวณอื่น

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 28


82. จากวงจรไฟฟ้ าที่กำหนดให้ หลอดไฟฟ้ า A, B และ C มีลก
ั ษณะที่
เหมือนกันทุกประการ ถ้าสับสวิตช์ S ลงข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.3
ม.3/5)

1. A, B ดับและ C สว่าง 2. A, B และ C สว่างเท่ากัน


3. A, B สว่างมากขึน
้ และ C ดับ 4. A, B สว่างน้อยลงและ C สว่าง
มากขึน

83. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าในบ้าน (มฐ. ว 2.3 ม.3/9)
1. สายไฟฟ้ าสามารถใช้แทนฟิ วส์เส้นได้ในเวลาที่คับขัน
2. สะพานไฟต้องต่อแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟ้ าทัง้ หมดในบ้าน
3. ควรใช้สวิตช์อันเดียวในการเปิ ดและปิ ดวงจรไฟฟ้ าหลายๆ วงจรเพื่อ
ความสะดวก
4. เมื่อเต้าเสียบอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำสามารถดึงเต้าเสียบออกจากเต้ารับ
โดยจับที่สายไฟได้ทันที
84. กระท่อมกลางนาหลังหนึง่ ใช้ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้ าได้สูงสุด 10
แอมแปร์ ถ้าในกระท่อมมีเครื่องใช้ไฟฟ้ าดังนี ้ หลอดไฟฟ้ า 100 วัตต์ 2
ดวง เตารีดไฟฟ้ า 1,500 วัตต์ 1 อัน และโทรทัศน์ 450 วัตต์ 1 เครื่อง
ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.3 ม.3/8)
1. ถ้าเพิ่มหลอดไฟอีกดวงฟิ วส์จะขาดทันที

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 29


2. กระท่อมหลังนีค
้ วรใช้ฟิวส์ขนาด 15 แอมแปร์
3. เมื่อเปิ ดเครื่องใช้ไฟฟ้ าทัง้ หมดพร้อมกันฟิ วส์จะขาดทันที
4. ข้อมูลไม่เพียงพอในการคำนวณครัง้ นี ้
85. นาย ก เปิ ดพัดลมตัง้ แต่เวลา 20.00 น. และตัง้ เวลาให้พัดลมปิ ดเอง
ในเวลา 23.00 น. ส่วนนาย ข เริ่มเปิ ดพัดลมพร้อมนาย ก แต่ปิด
พัดลมในเวลา 6.00 น. ของวันรุ่งขึน
้ ถ้าพัดลมทัง้ สองใช้กำลังไฟฟ้ า
150 วัตต์เท่ากันและอัตราค่าไฟฟ้ าราคาหน่วยละ 2.00 บาท นาย ก
จะประหยัดค่าไฟฟ้ าได้มากกว่านาย ข ในครัง้ นีเ้ ป็ นเงินกี่บาท (มฐ. ว
2.3 ม.3/8)
1. 7.00 บาท 2. 1.40 บาท
3. 2.10 บาท 4. 2.80 บาท

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 30


86. หอพักแห่งหนึ่งมีเครื่องใช้ไฟฟ้ าดังนี ้ หลอดไฟฟ้ า 40 วัตต์ จำนวน 2
หลอด ใช้วันละ 5 ชั่วโมง โทรทัศน์สี 95 วัตต์ จำนวน 2 เครื่อง ใช้วัน
ละ 4 ชั่วโมง ตู้เย็น 250 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง ใช้ตลอดเวลา เครื่อง
เล่นดีวีดี 10 วัตต์ 1 เครื่อง ใช้วันละ 2 ชั่วโมง พัดลม 50 วัตต์ จำนวน
1 เครื่อง ใช้วันละ 9 ชั่วโมง และหม้อหุงข้าว 650 วัตต์ 1 ใบ ใช้วันละ
2 ชั่วโมง ผู้เช่าคนนีต
้ ้องจ่ายค่าไฟฟ้ าให้แก่เจ้าของหอพักเท่าไรในเดือน
เมษายน ถ้าค่าไฟฟ้ าราคาหน่วยละ 5 บาท (มฐ. ว 2.3 ม.3/8)
1. 1,339.50 บาท 2. 1,384.15 บาท
3. 1,452.75 บาท 4. 1,485.77 บาท
87. ในวงจรไม่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/7)

1. ไดโอด 2. LED
3. ทรานซิสเตอร์ 4. ตัวเก็บประจุ
88. ข้อใดคือความหมายของตัวต้านทานแอลดีอาร์ (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. เป็ นตัวต้านทานที่มีค่าคงที่
2. เป็ นตัวต้านทานที่ปรับค่าได้จากการหมุน
3. เป็ นตัวต้านทานที่ปรับค่าได้จากการได้รับแสงสว่าง

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 31


4. เป็ นตัวต้านทานที่ปรับค่าได้จากการได้รับความร้อน
89. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับไดโอด (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. ต่อเข้ากับวงจรโดยไม่ต้องคำนึงถึงขัว้
2. ประกอบด้วยสารกึ่งตัวนำซ้อนกัน 3 ชัน

3. มีหน้าที่ควบคุมทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า
4. เปลี่ยนไฟฟ้ ากระแสตรงให้เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 32


90. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวเก็บประจุ (มฐ. ว 2.3 ม.3/6)
1. ต่อเข้ากับวงจรโดยไม่ต้องคำนึงถึงขัว้
2. ทำหน้าที่กักเก็บประจุไฟฟ้ าไว้ใช้งาน
3. เป็ นส่วนประกอบสำคัญในเครื่องสำรองไฟฟ้ า
4. ประกอบด้วยตัวนำ 2 แผ่น ซึ่งถูกกัน
้ ด้วยฉนวนไฟฟ้ า
91. ทำให้เกิดคลื่นบนเส้นเชือกที่ปลายทัง้ สองด้านถูกขึงตึง พบว่ามี
ความถี่และความยาวคลื่นค่าหนึ่ง ถ้าทำให้ความถี่ในการสั่นเพิ่มขึน

เป็ น 2 เท่าของความถี่เดิม ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.3 ม.3/10)
1. ความยาวคลื่นบนเส้นเชือกเท่าเดิมเนื่องจากคลื่นเกิดบนตัวกลาง
เดิม
2. ความยาวคลื่นบนเส้นเชือกเพิ่มขึน
้ เนื่องจากคลื่นมีการเคลื่อนที่
อย่างต่อเนื่อง
3. ความยาวคลื่นบนเส้นเชือกลดลงเหลือครึ่งหนึ่งเนื่องจากคลื่น
เคลื่อนที่ในตัวกลางเดิม
4. ความยาวคลื่นบนเส้นเชือกเพิ่มขึน
้ เป็ น 2 เท่าเนื่องจากปริมาณทัง้
สองแปรผันตามกัน
92. คลื่นตามขวางรูปไซน์บนเส้นเชือกกำลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ขณะ
หนึ่งจุด A ซึ่งเป็ นจุดสีแดงแต้มเล็กๆ บนเส้นเชือกกำลังอยู่ที่สันคลื่น
พอดี อีกนานเท่าไรจุด A จึงจะเคลื่อนที่ลงมาอยู่ทตำ
ี่ แหน่งปกติ (มฐ.
ว 2.3 ม.3/10)

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 33


1. 15 ms 3. 20 ms
4. 30 ms 5. 40 ms
93. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (มฐ. ว 2.3 ม.3/11)
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นคลื่นตามขวาง
2. มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าบางชนิดต้องอาศัยตัวกลางในการเดินทาง
3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นคลื่นที่มีทงั ้ สนามไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็ก
4. เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเดินทางในตัวกลางที่เปลี่ยนไปอัตราเร็วของ
คลื่นจะเปลี่ยนไป
94. คลื่นในข้อใดที่มีความยาวคลื่นสัน
้ ที่สุด (มฐ. ว 2.3 ม.3/11)
1. รังสีเอกซ์ 2. คลื่นวิทยุ
3. คลื่นไมโครเวฟ 4. รังสีอินฟราเรด

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 34


95. คลื่นไมโครเวฟถูกนำมาผลิตตรวจจับอัตราเร็วของรถยนต์เนื่องจาก
สมบัติข้อใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/12)
1. อำนาจทะลุทะลวงสูง
2. สะท้อนจากผิวโลหะได้ดี
3. มีความถี่ใกล้เคียงกับความถี่เดียว
4. ทำให้บรรยากาศชัน
้ ไอโอโนสเฟี ยร์มีประจุไฟฟ้ าอิสระและไอออน
96. พิจารณาวัตถุที่วางอยู่หน้ากระจก

ถ้าผู้สงั เกตอยู่หน้ากระจกที่ตำแหน่ง ก. อยากทราบว่าจะมองเห็นภาพ


ในกระจกเป็ นวัตถุใดบ้าง
(มฐ. ว 2.3 ม.3/14)
1.  2.  
3.   4.   
97. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการมองเห็นภาพตัวเองในกระจกเงา
(มฐ. ว 2.3 ม.3/14)
1. ถ้านักเรียนยกมือขวาภาพในกระจกจะเป็ นภาพมือซ้ายของเรา
2. นักเรียนสูง 168 เซนติเมตร ภาพในกระจกก็เท่ากับ 168
เซนติเมตร

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 35


3. นักเรียนยืนห่างจากกระจก 2 เมตร ระยะภาพในกระจกก็จะเท่ากับ
2 เมตร
4. ภาพในขณะที่นักเรียนส่องกระจกจะเป็ นภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาด
เท่ากับวัตถุ
98. เรือดำน้ำลำหนึง่ ต้องการยิงเครื่องบินรบที่กำลังบินอยู่สูงจากพื้นดิน
3 กิโลเมตร ถ้าเป็ นการสังเกต จากในน้ำต้องหันปื นใหญ่ของเรือดำน้ำ
ทำมุมกับแนวเส้นปกติ และวิถีกระสุนปื นใหญ่จะเคลื่อนที่ เป็ นแนว
ตรง เรือดำน้ำลำนีจ
้ ะยิงปื นใหญ่ในลักษณะใดจึงจะมีโอกาสตรงเป้ า
หมายมากที่สุด (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
1. ยิงในแนวตัง้ ฉากกับเรือ 2. ยิงให้เท่ากับตำแหน่งภาพที่เห็น
3. ยิงให้ต่ำกว่าตำแหน่งภาพที่เห็น 4. ยิงให้สูงกว่าตำแหน่งภาพ
ที่เห็น

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 36


99. ใหม่ยืนอยู่ที่ท่าน้ำกำลังมองปลาตัวหนึ่งในแนวตรงและตัง้ ฉากกับ
ผิวน้ำ ถ้าปลาอยู่ลึกจากผิวน้ำ 10 เซนติเมตร อยากทราบว่าใหม่จะ
มองเห็นปลาอยู่ในตำแหน่งใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
1. อยู่ลึกกว่า 10 เซนติเมตร 2. อยู่ต้น
ื กว่า 10 เซนติเมตร
3. อยู่ทตำ
ี่ แหน่ง 10 เซนติเมตรพอดี 4. อยู่ที่ผิวน้ำพอดี
100. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดมุมวิกฤต (มฐ. ว 2.3 ม.3/15)
1. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแน่นเท่ากับตัวกลางที่ 2
2. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแน่นน้อยกว่าตัวกลางที่ 2
3. ตัวกลางที่ 1 มีความหนาแน่นมากกว่าตัวกลางที่ 2
4. ตัวกลางที่ 1 เป็ นตัวกลางเดียวกับตัวกลางที่ 2
101. การเกิดรุ้งกินน้ำใช้สมบัติของแสงเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ใด (มฐ.
ว 2.3 ม.3/15)
ก.ภาพหัวตัง้ ที่เกิดจากกระจกนูน
ข.สเปกตรัมของแสงขาวที่ส่องผ่านแท่งพลาสติกรูปสามเหลี่ยม
(ปริซึม)
ค.แสงออโรรา (aurora) ที่เกิดบริเวณขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต้
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข
3. ข้อ ค 4. ข้อ ข และ ค
102. ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.3 ม.3/16)

อุปกรณ์ ชนิดภาพ
1. เลนส์นูน เกิดภาพจริงหัวกลับเท่านัน

2. เลนส์เว้า เกิดภาพเสมือนหัวตัง้ และ

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 37


ภาพจริงหัวกลับ
3. กระจกนูน เกิดภาพเสมือนหัวตัง้ เท่านัน

4. กระจกเว้า เกิดภาพเสมือนหัวกลับและ
ภาพจริงหัวกลับ

103. ถ้าต้องการให้เกิดภาพเสมือนหัวตัง้ ที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุมากที่สุด


ควรเลือกใช้อุปกรณ์ในข้อใด (มฐ.
ว 2.3 ม.3/16)
1. เลนส์นูน 2. เลนส์เว้า
3. กระจกนูน 4. กระจกเว้า

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 38


104. พิจารณาภาพที่เกิดจากเลนส์นูนต่อไปนี ้ (มฐ. ว 2.3 ม.3/16)

ข้อใดเป็ นตำแหน่งของภาพที่ถูกต้อง
1. A 2. B
3. C 4. D

พิจารณาอุปกรณ์ที่ 1 และ 2 เมื่อมีแสงเดินทางผ่าน ดังรูปต่อไปนี ้ แล้ว


ตอบคำถามข้อ 105-106

105. ข้อใดระบุชนิดของอุปกรณ์ที่ 1 และ 2 ได้ถก


ู ต้อง (มฐ. ว 2.3
ม.3/17)

อุปกรณ์ที่ 1 อุปกรณ์ที่ 2
1. เลนส์นูน เลนส์เว้า
2. กระจกนูน กระจกเงา
3. เลนส์เว้า กระจกเว้า
4. กระจกเงา เลนส์นูน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 39


106. ถ้าต้องการให้แสงรวมกันที่จุดโฟกัสแต่เป็ นการรวมแสงกับอีกด้าน
จะต้องใช้อุปกรณ์ในข้อใด (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)
1. กระจกเว้า 2. เลนส์นูน
3. เลนส์เว้า 4. กระจกนูน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 40


107. ข้อใดกล่าวถึงแว่นขยายได้อย่างถูกต้อง (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)
ก.ขณะใช้แว่นขยายต้องให้ระยะวัตถุน้อยกว่าระยะโฟกัสของเลนส์
ข.ภาพที่เกิดขึน
้ เป็ นภาพเสมือนหัวตัง้
ค.ภาพขยายเกิดด้านตรงข้ามกับวัตถุ
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ก และ ค 4. ข้อ ก ข และ ค
108. คนสายตาสัน
้ ควรสวมแว่นโดยใช้เลนส์ชนิดใดและเลนส์ชนิดนีจ
้ ะ
ช่วยอะไร (มฐ. ว 2.3 ม.3/17)
1. เลนส์เว้า เพื่อช่วยขยายแสงที่สะท้อนมาจากวัตถุให้ตกที่เรตินาพอดี
2. เลนส์เว้า เพื่อปรับความยาวโฟกัสของเลนส์ให้ภาพตกที่เรตินาพอดี
3. เลนส์นูน เพื่อช่วยรวมแสงที่สะท้อนมาจากวัตถุให้ตกที่เรตินาพอดี
4. เลนส์นูน เพื่อปรับความยาวโฟกัสของเลนส์ให้ภาพตกที่เรตินาพอดี
109. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับความสว่างได้ถูกต้องที่สุด (มฐ. ว 2.3 ม.3/19)
1. กำลังไฟฟ้ าของหลอดไฟ
2. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นต่อพื้นที่
3. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นใน 1 วินาที
4. อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นต่อพื้นที่รับแสง
110. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.3 ม.3/19)
ก.ความสว่างแปรผันตรงกับพื้นที่รับแสง
ข.ความสว่างลดลงแสดงว่าพื้นที่รับแสงมีขนาดมากขึน

ค.อัตราการให้พลังงานแสงจะแปรผันตรงกับความสว่าง
1. ข้อ ก 2. ข้อ ข

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 41


3. ข้อ ค 4. ถูกต้องทุกข้อ
111. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 3.1 ม.3/1)
1. ดาวเคราะห์วงในจะมองเห็นได้ตลอดทัง้ คืน
2. วงแหวนของดาวเสาร์มีความหนาประมาณ 100 เมตร
3. ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ทงั ้ ยังเป็ นศูนย์กลางของระบบสุริยะ
4. ดาวเคราะห์น้อยเป็ นกลุ่มดาวเคราะห์แข็งที่ไม่สามารถรวมตัวเป็ น
ดาวได้

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 42


112. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 3.1 ม.3/1)
1. ดาวเสาร์เป็ นดวงดาวที่สามารถลอยน้ำได้
2. ดาวอังคารเป็ นดวงดาวที่มีอัตราการหมุนรอบตัวเองใกล้เคียงกับโลก
มากที่สุด
3. ดาวพลูโตเป็ นดาวเคราะห์แก๊สที่วิวัฒนาการมาพร้อมกับการกำเนิด
ของดวงอาทิตย์
4. เราจะมองเห็นดาวศุกร์ได้ในมุมที่ไม่เกิน 46 องศา และมองเห็นใน
ช่วง 3 ชั่วโมงก่อนที่ดวงอาทิตย์ขน
ึ ้ หรือหลังจากลับขอบฟ้ าไปแล้ว
113. สิ่งที่ช่วยสนับสนุนว่าทฤษฎีบิกแบงมีความถูกต้องมากที่สุดในเรื่อง
การเกิดเอกภพคือข้อใด (มฐ. ว 3.1
ม.3/1)
1. การที่ดวงดาวต่างๆ กำลังเคลื่อนที่ออกจากกันอันเนื่องมาจากแรง
ระเบิดในครัง้ นัน

2. การที่สามารถวัดอุณหภมิพ้น
ื หลังจากทุกทิศทางได 2.73 เคลวิน
หรือประมาณ -270 องศาเซลเซียส
3. มีบริเวณบางส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์แต่มี
การส่งแรงดึงดูดไปยังดวงดาวที่กำลังเคลื่อนที่ ทำให้เชื่อว่าบริเวณ
ดังกล่าวเป็ นส่วนที่เกิดจากปฏิอนุภาคหรือสสารมืด (dark matter)
4. ถูกต้องทุกข้อ
114. ข้อใดเป็ นสาเหตุของการเกิดฤดูกาลต่าง ๆ กันบนผิวโลก (มฐ. ว 3.1
ม.3/2)
ก.แกนหมุนของโลกส่าย ข.แกนหมุนของโลกเอียง

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 43


ค.พื้นที่ต่าง ๆ บนโลกมีละติจูดต่างกัน ง. วงโคจรรอบดวง
อาทิตย์เป็ นวงรี
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ค และ ง 4. ข้อ ก และ ง
115. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปรากฏการณ์การเกิดสุริยุปราคา (มฐ. ว
3.1 ม.3/2)
1. เกิดในเวลากลางวัน
2. เกิดจากเงาโลกบังดวงจันทร์
3. เกิดวันแรม 15 ค่ำ
4. เกิดจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 44


116. จากรูป ปรากฏการณ์น้ำขึน
้ -น้ำลงเกิดขึน
้ ในวันใด (มฐ. ว 3.1
ม.3/3)

1. ขึน
้ 5 ค่ำ 2. ขึน
้ 8 ค่ำ
3. ขึน
้ 15 ค่ำ 4. แรม 8 ค่ำ
117. น้ำทะเลขึน
้ และลงน้อยที่สุดและมากที่สุดเมื่อใด (มฐ. ว 3.1 ม.3/3)
1. วันขึน
้ 8 ค่ำและแรม 8 ค่ำ 2. วันขึน
้ 15 ค่ำ และแรม 15 ค่ำ
3. วันขึน
้ หรือแรม 8 ค่ำ และขึน
้ หรือแรม 15 ค่ำ 4. วันขึน
้ หรือแรม
15 ค่ำ และขึน
้ หรือแรม 8 ค่ำ
118. จากข้อมูลต่อไปนี ้
A.ดาวเทียม B.สถานีอวกาศ
C.ยานขนส่งอวกาศ D. ยานอวกาศ
การพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในเทคโนโลยีอวกาศจากอดีตถึงปั จจุบันเป็ นไป
ตามข้อใด (มฐ. ว 3.1 ม.3/4)
1. A-D-C-B 2. B-A-D-C
3. D-B-A-C 4. D-A C-B
119. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 3.1 ม.3/4)
1. นักบินอวกาศคนแรกของโลก คือ ยูริ เอ กาการิน
2. สุนัขไลก้าถูกส่งขึน
้ ไปพร้อมกับดาวเทียมสปุตนิก 1

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 45


3. ดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐอเมริกาชื่อ เอกซ์พลอเรอร์
4. กระสวยอวกาศเป็ นยานอวกาศที่สามารถลงจอดได้เหมือนเครื่องบิน
120. ข้อความเกี่ยวกับกล้องโทรทรรศน์ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง (มฐ. ว 3.1
ม.3/4)
1. กล้องโทรทรรศน์ประเภทหักเหแสงประกอบด้วยเลนส์นูนและ
เลนส์เว้า
2. กล้องโทรทรรศน์ประเภทสะท้อนแสงประกอบด้วยกระจกเงาและ
เลนส์เว้า
3. กล้องโทรทรรศน์วิทยุไม่มีเลนส์แต่เป็ นจานสำหรับรวมสัญญาณของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
4. กล้องอวกาศฮับเบิลเป็ นกล้องชนิดหักเหแสงที่ติดไว้กับดาวเทียมที่
โคจรอยู่รอบๆ โลก

แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 46

You might also like