You are on page 1of 36

โครงสร้างดวงอาทิตย์และปรากฏการณ์บนดวง

อาทิตย์
มนัญญา ลิกมลสวัสดิ์
จุดประสงค์การเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างและ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลกของเราได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูป
แบบใดบ้าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โลกเราได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูปแบบ
ของพลังงานแสง
พลังงานความร้อน และรังสีต่าง ๆ เช่น รังสี
อัลตราไวโอเลต

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มารูป นาซา
ดวงอาทิตย์สร้างพลังงานได้อย่างไร และสร้างที่
บริเวณใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นิวเคลียร์
โดยพลังงานดังกล่าวถูกสร้างที่แก่นของดวง
อาทิตย์

ที่มารูป นาซา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พลังงานที่ถูกผลิตขึ้นที่แก่นของดวงอาทิตย์
ส่งผ่านมายังพื้นผิวดวงอาทิตย์อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรม
โครงสร้างดวงอาทิตย์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จุดประสงค์กิจกรรม

ระบุและอธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัสดุ-อุปกรณ์
อกสารความรู้เรื่อง โครงสร้างดวงอาทิตย์ 1 ชุด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัสดุ-อุปกรณ์
เอกสารความรู้เรื่อง โครงสร้างดวงอาทิตย์ 1 ชุด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัสดุ-อุปกรณ์
2. แบบบันทึกกิจกรรม 1 ชุด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิธีการทำกิจกรรม
1. ศึกษาความรู้เรื่อง โครงสร้างดวงอาทิตย์
จากเอกสารที่กำหนด
2. ระบุชื่อโครงสร้างดวงอาทิตย์ลงใน
แผนภาพที่กำหนด
3. อธิบายลักษณะสำคัญของโครงสร้างส่วน
ต่าง ๆ ของดวงอาทิตย์
ในแบบบันทึกกิจกรรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เริ่มทำกิจกรรม
• ระบุชื่อโครงสร้างดวงอาทิตย์
• อธิบายลักษณะสำคัญของโครงสร้างดวง
อาทิตย์ในตารางที่กำหนด
• ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการทำกิจกรรม

แก่น

คอโรนา

โฟโตสเฟี ยร์ เขตการแผ่รังสี

โครโมสเฟี ยร์ เขตพาความ


ร้อน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการทำกิจกรรม
ที่กำหนดเติมลงในช่องว่างให้สอดคล้องกับความหมายและภาพ

โฟโตสเฟี ยร์ เขตพาความร้อน


โครโมสเฟี ยร์
แก่น คอโรนา
เขตการแผ่รังสี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการทำกิจกรรม

แก่
1..............................เป็ นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเท

อร์มอนิวเคลียร์
เขต
การแผ่รังสี
2...........................เป็ นเขตที่มีการถ่ายโอนพลังงาน
ซึ่งอยู่ระหว่างแก่น
และเขตพาความร้อน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการทำกิจกรรม
เขตพาความร้อน
3................................เป็ นเขตที่ถ่ายโอนความร้อน
ออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์
โฟโตสเฟี ยร์
4.................................เป็ นบริเวณที่สว่างจน
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสง
สุริยะ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลการทำกิจกรรม
จุดมืดดวงอาทิตย์
5...............................อยู่บริเวณผิวของดวงอาทิตย์
ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่า
คอโรนา บริเวณข้างเคียง
6.................................เป็ นชั้นบรรยากาศที่มีความ
หนาแน่นน้อย และแผ่กระจาย
จากดวงอาทิตย์ได้ไกลมากจะ
เห็นแสงส่วนนี้ในช่วงที่เกิด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สุริยุปราคาเต็มดวง
คำถามท้ายกิจกรรม

1. ดวงอาทิตย์มีโครงสร้าง
หลักกี่ชั้น อะไรบ้าง
แนวคำตอบ 2 ชั้น ได้แก่ โครงสร้างภายในของ
ดวงอาทิตย์
และชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำถามท้ายกิจกรรม

2. โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์มีกี่ชั้น อะไรบ้าง
แต่ละชั้นแตกต่างกันอย่างไร
แนวคำตอบ 3 ชั้น ได้แก่ แก่น เขตการแผ่รังสี
และเขตพาความร้อน
แต่ละชั้นมีความหนาแน่นต่างกัน โดยแก่นมี
ความหนาแน่นสูงสุด รองลงมาเป็ นเขต
การแผ่รังสี และเขตพาความร้อนซึ่งมีความหนา
แน่นน้อยที่สุด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำถามท้ายกิจกรรม

3. ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์มีกี่ชั้น อะไรบ้าง
แต่ละชั้นแตกต่างกันอย่างไร
แนวคำตอบ 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ชั้นโคร
โมสเฟี ยร์ และชั้นคอโรนา ซึ่งแต่ละชั้นมีอุณหภูมิ
แตกต่างกัน โดยชั้นคอโรนามีอุณหภูมิสูงสุด รอง
ลงมาเป็ นชั้นโครโมสเฟี ยร์ และชั้นโฟโตสเฟี ยร์
ตามลำดับ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำถามท้ายกิจกรรม

4. บริเวณใดที่เป็ นแหล่งสร้างพลังงานของดวง
อาทิตย์
และสร้างพลังงานได้อย่างไร
แนวคำตอบ ดวงอาทิตย์สร้างพลังงานที่แก่น
โดยสร้างจากปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปผลการทำกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปผลการทำ
กิจกรรม
โครงสร้างของดวงอาทิตย์ประกอบด้วย 2 ชั้น
หลักคือโครงสร้างภายใน และชั้นบรรยากาศ
ของดวงอาทิตย์ โดยโครงสร้างภายในของดวง
อาทิตย์แบ่งเป็ น 3 ชั้น ได้แก่ แก่น เขต
การแผ่รังสี และเขตพาความร้อน
ส่วนชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์แบ่งเป็ น 3
ชั้น ได้แก่ ชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ชั้นโครโมสเฟี ยร์ และ
คอโรนา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปองค์ความรู้และขยายความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2545 2546 2547

2548 2549 2550

พื้นผิวของดวงอาทิตย์มี
การเปล่ียนแปลงหรือไม่
อย่างไร
2551 2552 2553

ดัดแปลงจาก
นาซา

ดัดแปลง นาซา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2545 2546 2547

มีการเปลี่ยนแปลงโดยมีการ
2548 2549 2550
เปลี่ยนจำนวนและตำแหน่ง
ของบริเวณที่มีความสว่าง
บริเวณที่มีความสว่างจากรูป
2551 2552 2553 เรียกว่า
จุดมืดดวงอาทิตย์
ดัดแปลงจาก นาซา

ดัดแปลง นาซา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จุดมืดดวงอาทิตย์เป็ นบริเวณ
บนชั้นโฟโตสเฟี ยร์มีความเข้ม
ของสนามแม่เหล็กสูงกว่า
บริเวณอื่น แต่มีอุณหภูมิต่ำกว่า
บริเวณโดยรอบจึงเกิด
การแผ่รังสีน้อยกว่าบริเวณโดย
รอบจึงเห็นเป็ นสีคล้ำกว่า
ที่มารูป นาซา
บริเวณข้างเคียง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การลุกจ้า เป็ นการระเบิดรุนแรงใกล้กับจุดมืดดวง
อาทิตย์ เน่ืองจากผลของการบิดตัวของสนามแม่
เหล็ก ทำให้มีการปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและ
อนุภาคพลังงานสูง

ที่มารูป นาซา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดวงอาทิตย์ปล่อยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ า
พลังงานสูงตลอดเวลา ซึ่งส่วนใหญ่เป็ น
โปรตอนและอิเล็กตรอนเรียกว่า ลมสุริยะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในช่วงเวลาที่มีจำนวนจุดมืด
ดวงอาทิตย์มาก จะทำให้เกิด
การลุกจ้า ส่งผลให้มีการปลด
ปล่อยอนุภาคพลังงานสูงเพิ่ม
ขึ้นทำให้ลมสุริยะ
ที่มารูป นาซา
มีอัตราเร็วเพิ่มขึ้นสูงกว่า
1,000 กิโลเมตรต่อ
วินาทีเรียกว่า พายุสุริยะ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในช่วงที่เกิดพายสุริยะอาจมีการพ่นมวลคอโรนาร่วมด้วย
ทำให้โลกได้รับผลกระทบ เช่น ระบบสายส่งไฟฟ้ าแรงสูง
ในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลกหรือระบบสื่อสารที่ใช้วิทยุ
คลื่นสั้นเกิดการขัดข้อง วงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียม
อาจเสียหาย
ที่มารูป นาซา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเทศที่ได้รับผลกระทบเป็ นประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลก
เพราะอนุภาคพลังงานสูง เคลื่อนที่ตามเส้นแรงแม่
เหล็กโลกเข้าสู่บริเวณขั้วแม่เหล็กโลก

ที่มารูป นาซา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน
โครงสร้างดวงอาทิตย์แบ่งเป็ นโครงสร้างภายใน
ได้แก่ แก่น เขตการแผ่รังสีและเขตพาความร้อน
และชั้นบรรยากาศ ได้แก่ ชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ชั้น
โครโมสเฟี ยร์ และคอโรนา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน
ลมสุริยะเกิดจากการปลดปล่อยอนุภาคพลังงานสูง
ตลอดเวลาทุกทิศทาง ส่วนใหญ่เป็ นโปรตอนและ
อิเล็กตรอน ในช่วงเวลาที่มีจุดมืดดวงอาทิตย์มาก
จะทำให้เกิดการลุกจ้า ส่งผลให้มีการปลดปล่อย
อนุภาคพลังงานสูงเพิ่มขึ้นจำนวนมหาศาล ลม
สุริยะจึงมีอัตราเร็วสูงขึ้นเกิดเป็ นพายุสุริยะ
โดยปรากฏการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อโลก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like