You are on page 1of 108

การสารวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing)

พ.ท.กิตติศักดิ์ ศรีกลาง

โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร

เผยแพร่ 16 ต.ค.57
คำนำ

เอกสารนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานเริ่มแรกสาหรับผู้ศึกษาวิชาการสารวจข้อมูลระยะไกล
(Remote Sensing) โดยครอบคลุมเนื้อหาอย่างกว้าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาอย่างละเอียดต่อไป
สาหรับรายละเอียดในแต่ละหัวข้อสามารถที่จะศึกษาได้จากเอกสารอ้างอิงที่ได้ระบุไว้ ทั้งจากตารา และ
Website เนื่องจากเป็นการเรียบเรียงในครั้งแรก จึงน่าจะมีข้อบกพร่องอยู่บ้าง โดยผู้เรียบเรียงจะ
พยายามแก้ไขในโอกาสต่อไป และยินดีรับคาแนะนา และข้อเสนอแนะจากทุกท่าน หวังว่าเอกสารนี้
จะเป็นประโยชน์แก้ผู้สนใจตามสมควร

ร.ท.กิตติศักดิ์ ศรีกลาง
ก.ย.45
1 . การสารวจข้อมูลระยะไกล : แนวความคิด และหลักเบื้องต้น

1.1 กล่าวนา
วิชา การสารวจข้อมูลระยะไกล มาจากคาว่า “ Remote Sensing ” เป็นคาที่ประกอบขึ้นมาจากการรวม
2 คา ซึ่งแยกออกได้ดังนี้ คือ
Remote = ระยะไกล
Sensing = การรับรู้
จึงหมายถึง " การรับรู้จากระยะไกล " โดยนิยามความหมายนี้ได้กล่าวไว้ว่า “ เป็นการสารวจ
ตรวจสอบคุณสมบัติสิ่งใดๆ ก็ตาม โดยที่มิได้สัมผัสกับสิ่งเหล่านั้นเลย” โดย คาว่า " Remote Sensing "
มีความหมายในภาษาไทย หลายคา เช่น “ การสารวจจากระยะไกล ” “ การสารวจข้อมูลระยะไกล ” “
การสารวจข้อมูลจากดาวเทียม ” เป็นต้น

การสารวจข้อมูลระยะไกล เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะของการได้มาซึ่งสารสนเทศ (Information)


เกี่ยวกับวัตถุ พื้นที่ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ จากเครื่องมือบันทึกข้อมูล โดยปราศจากการเข้าไปสัมผัสวัตถุ
เป้าหมาย ทั้งนี้อาศัยคุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อในการได้มาซึ่งข้อมูลใน 3 ลักษณะ คือ
- รูปแบบคลื่นรังสี (Spectral)
- รูปทรงสัณฐานของวัตถุบนพื้นผิวโลก (Spatial)
- การเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา (Temporal)

ปัจจุบันข้อมูลด้านนี้ได้นามาใช้ในการศึกษาและวิจัยอย่างแพร่หลาย เพราะให้ประโยชน์หลายประการ
อาทิเช่น ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายในการสารวจเก็บข้อมูล ความถูกต้อง และรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ได้รับ
การพัฒนาให้ก้าวหน้าโดยมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือรับสัญญาณที่มีประสิทธิภาพสูง เทคนิคที่นามาใช้
ในการแปลตีความก็ได้รับการพัฒนาควบคู่กันไปให้มีความถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็วยิ่งขึ้น จึงปรากฏว่ามี
การนาข้อมูลทั้งภาพถ่ายทางอากาศ และ ภาพถ่ายดาวเทียม มาใช้ประโยชน์เพื่อสารวจหาข้อมูลและทา
แผนที่ทรัพยากรกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
2

องค์ประกอบที่สาคัญของการสารวจจากระยะไกลได้แก่ คลื่นแสงที่เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่
บันทึกได้ด้วยเครื่องรับสัญญาณ ไม่ว่าจะเป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น จาก
ดวงอาทิตย์ หรือเป็นพลังงานที่ยานสารวจสร้างขึ้นเอง โดย ระบบการสารวจระยะไกลโดยอาศัยพลังงาน
แสงธรรมชาติ เรียกว่า “ ระบบ Passive Remote Sensing ” เช่น ระบบดาวเทียมสารวจทรัพยากร
Landsat และ SPOT ส่วนระบบที่มีแหล่งพลังงานที่สร้างขึ้นและส่งไปยังวัตถุเป้าหมาย และรับ
พลังงานที่สะท้อนกลับมาสู่เครื่องมือรับสัญญาณ แล้วบันทึกไว้ เรียกว่า “ ระบบ Active Remote
Sensing ” เช่น ระบบเรดาร์

องค์ประกอบของกระบวนการสารวจข้อมูลระยะไกล
สารสนเทศ (Information) ที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ และการบริหารทรัพยากรต่าง ๆ ที่ได้จาก
การสารวจข้อมูลระยะไกล จะมาจากสองกระบวนการหลัก คือ การรับข้อมูลและบันทึกสัญญาณข้อมูล
(Data Acquisition) และ การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

ภาพแสดงกระบวนการสารวจข้อมูลระยะไกล
3

1.) การรับข้อมูลและบันทึกสัญญาณข้อมูล (Data acquisition)โดยอาศัยแหล่งกาเนิดพลังงาน คือ


ดวงอาทิตย์แผ่พลังงานผ่านชั้นบรรยากาศ เป็นปฏิสัมพันธ์ของพลังงานกับรูปลักษณ์ของพื้นผิวโลก โดย
พลังงานส่วนที่เหลือจะสะท้อนกลับ และถูกบันทึกโดยอุปกรณ์บันทึกข้อมูลบนอากาศยาน (Airborne
Sensor) และ/หรือ อุปกรณ์บันทึกข้อมูลบนยานอวกาศ (Spaceborne Sensor) และส่งข้อมูลกลับมายังสถานี
ภาคพื้นดิน เพื่อแปลงให้อยู่ในรูปแบบภาพ (Pictorial Form) และรูปแบบเชิงตัวเลข (Digital Form)
2.) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) ประกอบด้วยการแปลความข้อมูลภาพด้วยสายตา (Visual
Interpretation) และ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข (Digital Analysis) ด้วยคอมพิวเตอร์

1.2 แหล่งพลังงานและการแผ่รังสี (Energy Sources and Radiation)


การแผ่พลังงานของดวงอาทิตย์ (Solar Radiation)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประกอบด้วยคลื่นไฟฟ้า ( E ) และคลืน่ แม่เหล็ก ( M ) ที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum) เป็นพลังงานต่อเนื่องที่มีค่าความยาวของช่วงคลื่น
ตั้งแต่หลายเมตรถึงเศษส่วนของพันล้านเมตร (Nanometer; 10- 9 ม.) ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกาเนิดพลังงาน
ในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งจะแผ่พลังงานไปตาม ทฤษฎีของคลื่น (Wave Theory) ที่มีการเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์โมนิค (Harmonic) มีช่วงซ้าและจังหวะเท่ากันในเวลาหนึ่ง มีความเร็วเท่าแสง (c) ระยะทาง
จากยอดคลื่นถึงยอดคลื่นถัดไปเรียกว่าความยาวคลื่น ( ) และ จานวนยอดคลื่นที่เคลื่อนผ่านจุดคงที่จุด
หนึ่งต่อหน่วยเวลา เรียกว่า ความถี่คลื่น ( f ) ซึ่งมีความสัมพันธ์ กันตามสมการ
 = c/f
โดย  = ความยาวคลื่น (mm.)
c = ความเร็วของแสง ( มีค่าคงที่ = 3 x 108 ม. / วินาที )
f = ความถี่ของคลื่น (รอบ / วินาที หรือ Hertz)
4

แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ในช่วงคลื่นสั้นที่สุดตั้งแต่รงั สีแกมม่า เอกซเรย์ อัลตราไวโอเลต ช่วงคลื่นที่ตามองเห็น อินฟราเรด ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ

ความยาวคลื่นและความถี่คลื่น มีความสัมพันธ์กันแบบผกผัน คือ ถ้าความยาวคลื่นมากความถี่จะน้อย


ความยาวคลื่นมีหน่วยวัดเรียกว่า ไมโครมิเตอร์ (Micrometer,  m.) หรือไมครอน (Micron) ซึ่งเท่ากับ
0.000001 ม. หรือ 10- 6 ม. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แบ่งออกได้ตามความยาวของคลื่นที่เรียกว่า ช่วงคลื่น (Band)
ตั้งแต่ช่วงคลื่นที่มีความยาวที่สั้นที่สุด คือ รังสีคอสมิค (Cosmic ray) มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10- 10 ไมครอน
จนถึงช่วงคลื่นวิทยุที่มีความยาวคลื่นหลายกิโลเมตร สาหรับคุณสมบัติของช่วงคลื่น ประกอบไปด้วยช่วง
คลื่นตามลาดับของความยาวดังนี้ รังสีแกมม่า รังสีเอ็กซ์ อุลตราไวโอเล็ต รังสีช่วงที่ตามองเห็น
อินฟราเรด ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ ช่วงคลื่นที่ใช้ประกอบในการสารวจข้อมูลระยะไกลส่วนใหญ่อยู่ใน
ความยาวคลื่นเชิงแสง (Optical Wavelength) คือ 0.34 - 14 ไมครอน ซึ่งสามารถถ่ายภาพและบันทึกภาพ
ด้วยฟิล์มถ่ายรูป และอุปกรณ์บันทึกภาพ (Sensor) ช่วงคลื่นที่มีผลตอบสนองต่อตาของมนุษย์ คือ
0.3-.07 ไมครอน แบ่งเป็น 3 ช่วงคือ น้าเงิน เขียว และแดง ถัดไปเป็นช่วงคลื่นใต้แดง (Infrared) ที่
แบ่งเป็น 2 ช่วงกว้าง ๆ คือ อินฟราเรดช่วงใกล้ (Near Infrared) หรือ อินฟราเรดที่สะท้อนแสงระหว่าง
0.7 – 3 ไมครอน และอินฟราเรดช่วงความร้อนระหว่าง 3 - 15 ไมครอน
5

ช่วงคลื่น ความยาวช่วงคลื่น รายละเอียด


รังสีแกมม่าถูกดูดซึมทั้งหมดโดยบรรยากาศชั้นบน จึงไม่ได้ใช้ในการสารวจ
รังสีแกมม่า (Gamma ray) < 0.03 ไมครอน
ระยะไกล
รังสีเอ็กซ์ (X-ray) 0.03 - 3.1 ไมครอน รังสีเอ็กซ์เรย์ถกู ดูดซึมทั้งหมดโดยชั้นบรรยากาศเช่นกัน

รังสีเหนือม่วงหรือรังสีอุลตรา 0.03 - 0.4 ไมครอน ช่วงคลื่นสั้นกว่า 0.3 ไมครอน ถูกดูดซึมทั้งหมดโดยโอโซน (O3 ) ในบรรยากาศ
ไวโอเลต (Ultraviolet) ชัน้ บน

ช่วงคลื่นไวโอเลตภาพถ่าย ช่วงคลื่นสามารถผ่านชั้นบรรยากาศ สามารถถ่ายภาพด้วยฟิล์มถ่ายรูปแต่การ


0.3 - 0.4 ไมครอน
(Photographic UV band) กระจายในชั้นบรรยากาศเป็นอุปสรรคมาก

บันทึกภาพด้วยฟิล์มและอุปกรณ์บันทึกภาพได้ รวมทั้งช่วงคลื่นที่โลกมีการ
สะท้อนพลังงานสูงสุด (reflected energy peak) ที่ 0.5 ไมครอน ช่วงคลื่นแคบที่
ช่วงคลื่นตามองเห็นได้ 0.4 - 0.7 ไมครอน มีผลตอบสนองสายตามนุษย์แบ่งได้ 3 ช่วงย่อย คือ
(Visible) 0.4-0.5 ไมครอน น้าเงิน
0.5-0.6 ไมครอน สีเขียว
0.6-0.7 ไมครอน สีแดง
มีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุตามความยาวคลื่นและการผ่านชั้นบรรยากาศ มีการดูดซึม
อินฟราเรด (Infrared) 0.7 - 100 ไมครอน
ในบางช่วงคลื่น
ช่วงคลื่นอินฟราเรดชนิด สะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ ซึ่งไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับช่วงความร้อนของวัตถุช่วง
สะท้อน 0.7-3.0 ไมครอน คลื่น 0.7-0.9 ไมครอน สามารถถ่ายรูปด้วยฟิล์มเรียกว่าช่วงคลื่นอินฟราเรด
(Reflected IR band) photographic IR band

ช่วงคลื่นอินฟราเรดชนิด 3-5 ไมครอน การบันทึกภาพต้องใช้อุปกรณ์พิเศษ เช่น ตัวกวาดตรวจ (scanners) ไม่สามารถ


ความร้อน (Thermal IR band) 8-14 ไมครอน บันทึกภาพได้ทั้งระบบ active และpassive

ช่วงคลื่นยาวสามารถทะลุผ่านหมอกและฝนได้บันทึกภาพได้ทั้งระบบ active
คลื่นสั้น (Microwave) 0.1-30 cm
และ passive

ระบบ active มีความยาวช่วงคลื่นต่างๆ เช่น Ka band (10 mm), X band (30


เรดาร์ (Radar) 0.1-3.0 cm
มม.) และ L band (25 ซม.)

วิทยุ (Radio) > 30 cm ช่วงคลื่นที่ยาวที่สุด บางครั้งมีเรดาร์อยู่ในช่วงนี้ด้วย


ตารางแสดง ความยาวช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่าง ๆ
6

แสงสว่างเป็นรูปหนึ่งของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งแผ่รังสีไปตามทฤษฎีของคลื่น การอธิบายลักษณะ


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ายังสามารถอธิบายได้อีกด้วย ทฤษฎีอนุภาค (Particle Theory) กล่าวคือ การแผ่รังสีของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยหน่วยอิสระที่เรียกว่าโฟตอน (Photon) หรือ ควันตา (Quanta) พลังงาน
แต่ละควันตาเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความถี่ของคลื่น ดังนี้

E = hf
E = พลังงาน 1 Quantum , Joules
h = ค่าคงที่ของพลังค์ (Planck Constant)
6.62610-34 J.sec
f = ค่าความถี่
หรือ E = hc / 
จะเห็นว่า พลังงานเป็นสัดส่วนผกผันกับความยาวคลื่น คือ ความยาวคลื่นมากจะให้พลังงานต่า
ดังนั้น ถ้าวัตถุใดส่งพลังงานช่วงคลื่นยาว เช่น ไมโครเวฟ การตรวจรับพลังงานโดยอุปกรณ์ทางรีโมทเซน
ซิ่งที่ช่วงคลื่นนี้จะยากกว่าการตรวจรับพลังงานที่ช่วงคลื่นสั้น ถ้าต้องการบันทึกพลังงานในช่วงคลื่นนี้
จะต้องบันทึกพลังงานในบริเวณกว้าง และใช้เวลาในการบันทึกนานพอ

การแผ่พลังงานของเทหวัตถุดา (Blackbody Radiation)


ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สาคัญที่สุดของการสารวจระยะไกล อย่างไร
ก็ตาม สสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า องศาสมบูรณ์ (0 K หรือ -273 องศา C ) จะสามารถแผ่พลังงานที่
มีขนาดและส่วนประกอบของช่วงคลื่นแตกต่างกันไป
เทหวัตถุดา (Black Body) หมายถึง " วัตถุหรือมวลที่สามารถดูดกลืนพลังงานทั้งหมดที่ตกกระทบ
ได้สมบูรณ์ และขณะเดียวกันก็ปล่อยพลังงานที่ตกกระทบออกมาได้อย่างสมบูรณ์เช่นกัน " เทหวัตถุดาจึง
เป็นสิ่งสมมุติฐานขึ้น เพราะไม่มีมวลใด ๆ ในโลกที่มีคุณสมบัติดังกล่าว แต่แนวความคิดนี้เป็นเบื้องต้น เพื่อ
เข้าใจถึงคุณสมบัติของวัตถุอื่น ซึ่งพลังงานที่วัตถุแผ่ออกมามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของผิววัตถุ
สามารถคานวณได้จาก กฏของ Stefan – Boltzmann ดังนี้
W = T4
W = พลังงานที่แผ่ออกจากพื้นผิววัตถุ ( Wm- 2 )
 = ค่าคงที่ Stefan – Boltzmann (5.6697 * 10- 8 Wm- 2 K –4 )
T = อุณหภูมิสัมบูรณ์ของวัตถุ ( K )
7

จะเห็นว่าปริมาณการแผ่รังสีทั้งหมดจากวัตถุจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ์ยกกาลัง 4
โดย การเแผ่รังสีที่ออกมาจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น

การกระจายคลื่นรังสีของพลังงานแผ่จาก Blackbody ในช่วงอุณหภูมิต่าง ๆ


วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 0 K จะเป็นแหล่งให้กาเนิดพลังงานได้ พื้นที่ภายใต้เส้นโค้ง Blackbody
Radiation Curve แต่ละเส้นหมายถึงพลังงานที่วัตถุแผ่ออกมาทั้งหมด ซึ่งเห็นได้ว่า วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น
จะแผ่พลังงานออกมามากขึ้นตามอุณหภูมิ และการแผ่พลังงานสูงสุดจะเคลื่อนมาทางช่วงคลื่นสั้น
พื้นผิวโลกที่มีอุณหภูมิประมาณ 300 K (273 องศา C) จะมีความแผ่รังสีคลื่นสูงสุดที่ความยาวคลื่น
ประมาณ 9.7 ไมครอน ซึ่งการแผ่รังสีนี้มีความสัมพันธ์กับความร้อนผิวโลก จึงเรียกรังสีที่แผ่ออกมา
ในช่วงคลื่นนี้ว่า พลังงานอินฟราเรดช่วงความร้อน (Thermal Infrared Energy) ซึ่งไม่สามารถมองเห็น
และถ่ายภาพได้ด้วยกล้องธรรมดา ต้องใช้เครื่องมือวัดสัญญาณรังสี (Radiometer) หรือ เครื่องกวาดตรวจ
(Scanner) ดวงอาทิตย์มีพลังงานสูงสุดที่ความยาวคลื่นประมาณ 0.5 ไมครอน ในช่วงคลื่นสีเขียวซึ่งตา
มนุษย์และฟิล์มถ่ายภาพสามารถรับช่วงคลื่นนี้ได้
ที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นได้ว่าปริมาณการแผ่รังสีที่ออกมาจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ และความยาว
ช่วงคลื่น วัตถุแต่ละชนิดมีจุดยอดของพลังงานที่ความยาวช่วงคลื่นต่างกันไป ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กับอุณหภูมิ
8

ที่พื้นผิวของวัตถุนั้น ดังนั้นเมื่อทราบอุณหภูมิที่พื้นผิวของวัตถุ ก็สามารถคานวณหาความยาวช่วงคลื่นที่


ให้พลังงานสูงสุดได้จาก กฏการแทนที่ของเวียน (Wien's Displacement Law)

m = A/T
 m = ช่วงคลื่นที่มีการแผ่พลังงานสูงสุด
A = 2898  m K
T = อุณหภูมิ ( K )
กฏต่าง ๆ เหล่านี้ จะปรากฎอยู่ในลักษณะของ Blackbody Radiation Curve (ตามรูป) ซึ่งช่วยให้
เข้าใจลักษณะของการแผ่พลังงานของวัตถุ ในช่วงคลื่นต่าง ๆ กล่าวคือ ปริมาณพลังงานที่วัตถุแผ่ออกมาจะ
มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุนั้น อุณหภูมิพื้นผิวยิ่งสูง ปริมาณพลังงานยิ่างมากขึ้น
นอกจากนี้ อุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุ จะมีความสัมพันธ์ผกผันกับจุดยอดของพลังงาน โดย จุดยอดของ
พลังงานจะกระจายไปทางช่วงคลื่นสั้นมากขึ้น เมื่อุณหภูมิสูงขึ้น

1.3 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานในชั้นบรรยากาศ (Energy Interaction in the Atmosphere)


คลื่นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศ แล้วสะท้อนกลับสู่บรรยากาศก่อนที่จะถูก
บันทึกโดยอุปกรณ์สารวจ ชั้นบรรยากาศของโลกจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของคลื่นพลังงาน ในด้าน
ทิศทาง ความเข้ม ตลอดจนความยาวและความถี่ของช่วงคลื่น เพราะชั้นบรรยากาศประกอบ ด้วยฝุ่นละออง
ไอน้า และก๊าซต่างๆ ทาให้เกิดปฏิกิริยากับคลื่นพลังงาน 3 กระบวนการคือ การกระจัดกระจาย (Scattering)
การดูดซับ (Absorption) และการหักเห (Refraction) ทาให้ปริมาณพลังงานตกกระทบผิวโลกน้อยลง
การกระจัดกระจาย (Scattering) เกิดเนื่องจากอนุภาคเล็กๆ ในบรรยากาศมีทิศทางการกระจายไม่
แน่นอนขึ้นอยู่กับขนาดของอนุภาค และความยาวคลื่น ดังนี้
ก.) การกระจายแบบ Rayleigh Scattering เกิดขึ้นเนื่องจากขนาดของอนุภาคมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่าความยาวคลื่นที่ตกกระทบ ทาให้เกิดสภาวะหมอกควัน (Haze) ความคมชัดของ
ภาพลดลง
ข.) การกระจายแบบ Mie Scattering เกิดขึ้นเมื่อขนาดของอนุภาคมีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่น
เช่น ไอน้า ฝุ่นละออง เกิดในความยาวของช่วงคลื่นยาวกว่าแบบแรก
ค.) การกระจายแบบ Nonselective Scattering เกิดขึ้นเมื่อเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคมีขนาดใหญ่
กว่า ความยาวคลื่นที่ตกกระทบ เช่น หยดน้า โดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอนุภาค 5-10 ไมครอน
จะสะท้อนความยาวคลื่นตามองเห็น (Visible Wavelength) และคลื่นอินฟราเรดสะท้อน (Reflected
Infrared) ได้เกือบเท่ากัน ซึ่งในช่วงความยาวคลื่นที่ตามองเห็น ปริมาณของคลื่นต่างๆ เช่น น้าเงิน สีขาว
และช่วงคลื่นสะท้อนทุกทิศทางเท่ากันทาให้มองเห็นเฆมเป็นสีขาว
9

การดูดซับ (Absorption) การดูดซับทาให้เกิดการสูญเสียพลังงาน การดูดซึมพลังงานจะเกิดขึ้นที่


ความยาวของคลื่นบางช่วง สารที่ดูดซับพลังงานที่สาคัญในบรรยากาศได้แก่ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
และโอโซน เนื่องจากสารเหล่านี้จะดูดซึมพลังงานที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ ดังนั้นจะมีบางช่วงคลื่นที่สามารถ
ทะลุทะลวง หรือผ่านชั้นบรรยากาศลงมาที่ผิวโลกได้เรียกว่า หน้าต่างบรรยากาศ (Atmospheric Window)
ซึ่งมีหน้าต่างบรรยากาศในช่วงความยาวคลื่นตามองเห็น (0.3-0.7 m m) และช่วงอินฟราเรดสะท้อนกับ
อินฟราเรดช่วงความร้อน ช่วงของหน้าต่างบรรยากาศเหล่านี้จะมีประโยชน์ ต่อการพัฒนาเลือกระบบ
อุปกรณ์บันทึกภาพในสัมพันธ์กับการสะท้อนของช่วงคลื่นต่าง ๆ
การหักเห (Refraction) เกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางผ่านบรรยากาศที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน ซึ่ง
ปริมาณการหักเหกาหนดโดยค่าดัชนีของการหักเห ที่เป็นอัตราส่วนระหว่างความเร็วของแสงในสูญญากาศ
กับความเร็วของแสงในชั้นบรรยากาศ ทาให้มีผลต่อการคลาดเคลื่อนของตาแหน่งที่ปรากฏบนภาพ แต่
สามารถปรับแก้ไขได้โดยกระบวนการปรับแก้ภาพภายหลัง

1.4 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานกับวัตถุบนพื้นผิวโลก (Energy Interaction with Earth Surface


Features)
เมื่อพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านชั้นบรรยากาศมาตกกระทบพื้นผิวโลก จะเกิดปฏิกิริยา 3 อย่างคือ
การสะท้อนพลังงาน : Reflection = ER ( )
การดูดซับพลังงาน : Absorption = EA ()
การส่งผ่านพลังงาน : Transmission = E T ()
อันเป็นปรากฏการณ์สาคัญในการสารวจข้อมูลระยะไกลของวัตถุบนพื้นผิวโลก ซึ่งเขียนเป็น
สมการความสมดุลย์พลังงาน (Energy Balance Equation) ได้ดังนี้
EI () = ER ( ) + EA () + E T ()
เมื่อ EI () = พลังงานตกกระทบ (Incident Energy) ซึ่งได้รับจากแหล่งพลังงาน
สัดส่วนของ การดูดซับ การส่งผ่าน การสะท้อนพลังงานจะแตกต่างกันตามชนิดของวัตถุ ซึ่งทาให้
สามารถแยกชนิดของวัตถุบนภาพที่บันทึกไว้ได้ นอกจากนี้ ในวัตถุเดียวกันสัดส่วนของการเกิดปฏิกิริยาทั้ง
สามนี้จะแตกต่างกันตามความยาวของช่วงคลื่นที่ตกกระทบอีกด้วย วัตถุสองชนิดอาจจะไม่แตกต่างกัน
ในช่วงคลื่นหนึ่ง แต่จะสามารถแยกจากกันได้ในอีกช่วงคลื่นหนึ่ง ในช่วงคลื่นส่วนสายตามองเห็น (Visible
Portion) ความแตกต่างกันทางด้านคลื่นรังสี (Spectral) ของวัตถุจะแสดงให้เห็นในรูปของสีต่างๆ เช่น การ
ที่เราเห็นวัตถุเป็นสีเขียว เนื่องจากวัตถุนั้นสะท้อนพลังงานในช่วงคลื่นสีเขียวมาก
10

ปฏิกิริยาของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับพื้นผิวโลก

เนื่องจากระบบบันทึกพลังงานส่วนใหญ่จะบันทึกอยู่ในช่วงของพลังงานสะท้อน (Reflected
Energy) คือบันทึกพลังงานที่สะท้อนมาจากวัตถุ ดังนั้นการศึกษาเพื่อแยกชนิดของวัตถุจึงเป็นการศึกษาการ
สะท้อนพลังงานของวัตถุซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
ER () = EI ( ) – [ EA () + E T () ]

พลังงานที่สะท้อนมาจากวัตถุมีค่าเท่ากับพลังงานที่ตกระทบวัตถุ ลบด้วยพลังงานที่ถูกดูดซับไว้
และพลังงานที่ผ่านทะลุวัตถุนั้น ลักษณะพื้นผิวหน้าของวัตถุก็เป็นสิ่งสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสะท้อน
พลังงาน วัตถุที่มีพื้นหน้าเรียบ มุมสะท้อนพลังงานจะเท่ากับมุมตกกระทบ วัตถุที่มีผิวหน้าขรุขระ การ
สะท้อนพลังงานจะไม่เป็นระเบียบในทุกทิศทาง อย่างไรก็ตามวัตถุส่วนใหญ่จะมีลักษณะผสมผสานกัน
ระหว่างสองลักษณะนี้ นอกจากลักษณะของพื้นผิววัตถุแล้ว ยังต้องคานึงถึงความยาวของช่วงคลื่นที่ตก
กระทบวัตถุด้วย
ถ้าเป็นพลังงานช่วงคลื่นสั้นเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดอนุภาคของวัตถุที่ประกอบเป็นผิวหน้าวัตถุ หรือความ
ต่างระดับของผิวหน้าวัตถุ การสะท้อนแสงอาจเป็นแบบให้ลักษณะวัตถุพื้นผิวขรุขระได้ แต่ถ้าในวัตถุชนิด
เดียวกันนี้ได้รับพลังงานตกกระทบในช่วงคลื่นยาว เมื่อเปรียบเทียบกับผิววัตถุการสะท้อนแสงก็อาจเป็น
แบบลักษณะของวัตถุที่มีพื้นผิวราบได้

การสารวจระยะไกลเป็นการวัดคุณสมบัติในการสะท้อนพลังงานแบบฟุ้งกระจาย (Diffuse Reflectance


Propertion) ของวัตถุบนผิวโลก ณ ช่วงคลื่นใดช่วงคลื่นหนึ่งซึ่งหาได้จากสมการ
11

R () ER X
= (E ) 100
I

เมื่อ R () = การสะท้(อนพลั


) งงาน (Spectral Reflectance) คิดเป็นร้อยละ
ER ( ) = พลังงานของความยาวคลื่นที่สะท้อนจากวัตถุ
EI () = พลังงานของความยาวคลื่นที่ตกกระทบกับวัตถุ

ดังนั้นพลังงานที่วัดได้โดยตัวรับสัญญาณ จึงประกอบด้วยพลังงานที่สะท้อนหรือแผ่จากพื้นผิววัตถุ
พลังงานบางส่วนจากปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศ พลังงานที่สะท้อนกลับโดยตรงจากก้อนเมฆ ค่าที่วัดได้นี้จะ
น้อยหรือมาก หรือเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยู่กับ สภาวะของบรรยากาศ มุมของดวงอาทิตย์ มุมของตัวรับ
สัญญาณ คุณสมบัติของวัตถุในการสะท้อน การดูดซึม และการส่งผ่านพลังงาน

กราฟแสดงการสะท้อนพลังงานของวัตถุที่ความยาวช่วงคลื่นต่างๆ เรียกว่า Spectral Reflectance


Curve กราฟนี้จะแสดงให้เห็นถึงการสะท้อนพลังงานของวัตถุแต่ละชนิด และช่วยให้เราสามารถเลือกช่วง
ความยาวของคลื่นพลังงานที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลในสาขาต่าง ๆ ได้

ความสัมพันธ์ของการสะท้อนแสงของพืช ดิน และน้า


12

การสะท้อนคลื่นรังสีของพืชพันธุ์ ดิน และน้า


พืช ดินและน้า เป็นวัตถุปกคลุมผิวโลกเป็นส่วนใหญ่ การสะท้อนพลังงานที่ความยาวช่วงคลื่นต่างกัน
ของพืช ดินและน้า จะทาให้สามารถแยกประเภทของวัตถุชนิดต่างๆ ได้
พืชพันธุ์
ในช่วงคลื่นมองเห็น คลอโรฟิลล์ของใบพืชดูดกลืนพลังงานที่ช่วงความยาวคลื่น 0.45-0.65 ไมครอน
ซึ่งเป็นช่วงคลื่นสีน้าเงินและสีแดง สะท้อนพลังงานที่ความยาวคลื่น 0.5 ไมครอน ดังนั้นดวงตามนุษย์จึง
มองเห็นใบพืชเป็นสีเขียว ถ้าใบพืชมีอาการผิดปกติ เช่น แห้ง เหี่ยว ทาให้คลอโรฟิลล์ลดลงก็จะทาให้การ
สะท้อนที่คลื่นสีแดงสูงขึ้น ในช่วงคลื่นอินฟราเรดสะท้อน (Reflected Infrared) (0.7-1.3 ไมครอน) การ
สะท้อนพลังงานของใบพืชจะสูง คือ จะสะท้อนพลังงานประมาณ 50 % ของพลังงานที่ตกกระทบ ซึ่ง
ลักษณะของการสะท้อน พลังงานนี้เป็นผลเนื่องมาจากโครงสร้างภายในของพืช (Cell Structure) เนื่องจาก
พืชก็จะสามารถแยกชนิดจะมีลักษณะโครงสร้างภายในที่แตกต่างกัน ดังนั้นถ้าวัดการสะท้อนพลังงาน
ในช่วงนี้ก็จะสามารถแยกชนิดของพืชได้ แม้ว่าการสะท้อนพลังงานของพืชในช่วงคลื่นเห็นได้จะใกล้เคียง
กัน ในทานองเดียวกันการสะท้อนพลังงานที่ความยาวคลื่นอินฟราเรดสะท้อน ของพืชที่มีอาการผิดปกติทาง
ใบ จะมีความแตกต่างไปจากการสะท้อนที่มีความยาวคลื่นเดียวกันของพืชที่สมบูรณ์ ดังนั้นระบบการ
สารวจระยะไกลที่สามารถบันทึกค่าสะท้อนของช่วงคลื่นนี้ได้ สามารถใช้สารวจอาการผิดปกติของพืชได้
ในช่วงคลื่นที่มีความยาวสูงกว่า 1.3 ไมครอน พลังงานส่วนใหญ่จะถูกดูดกลืนหรือสะท้อนมีการส่งผ่าน
น้อยมาก มักพบค่าต่าลงที่ช่วงคลื่น 1.4 , 1.9 และ 2.7 ไมครอน เพราะว่าในช่วงเหล่านี้น้าในใบพืชจะ
ดูดกลืนพลังงาน จึงเรียกว่าช่วงคลื่นเหล่านี้ว่า ช่วงคลื่นการดูดซับน้า (Water Absorption Bands) ดังนั้นค่า
การสะท้อนพลังงานของใบพืชจึงแปรผกผันกับปริมาณน้าทั้งหมดในใบพืชสาหรับช่วงคลื่นเหล่านี้ด้วย
ดิน
ความสัมพันธ์ระหว่างการสะท้อนพลังงานของดินกับความยาวคลื่นมีความแปรปรวนน้อย ปัจจัย
หลักที่มีผลต่อการสะท้อนพลังงานของดิน คือ ความชื้นในดิน ปริมาณอินทรีย์วัตถุ เนื้อดิน ปริมาณเหล็ก
ออกไซด์ และความขรุขระของผิวดิน (Roughness) ปัจจัยดังกล่าวมีความซับซ้อน และสัมพันธ์ซึ่งกันและ
กัน เช่น ลักษณะเนื้อดิน มีความสัมพันธ์กับปริมาณน้าในดิน ดินทรายหยาบมีการระบายน้าดีจะสะท้อน
พลังงานสูง ดินละเอียดมีการระบายน้าเลวจะสะท้อนพลังงานต่า ดินที่มีอินทรีย์วัตถุสูงจะมีสีคล้า ดูดกลืน
พลังงานสูงในช่วงสายตามองเห็น เช่นเดียวกับดินที่มีเหล็กออกไซด์ในปริมาณสูง จะปรากฏเป็นสีเข้ม
เนื่องจากการสะท้อนพลังงานลดลง ดินที่มีผิวขรุขระมากก็จะทาให้การสะท้อนของพลังงานลดลง
เช่นเดียวกัน แสดงลักษณะการสะท้อนพลังงานของดินชนิดต่างๆ ในสภาพความชื้นต่า
13

น้า
การสะท้อนพลังงานของน้ามีลักษณะต่างจากวัตถุอื่นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในช่วงคลื่น อินฟราเรด
ทาให้สามารถเขียนขอบเขตของน้าได้ เนื่องจากน้าที่ปรากฏอยู่บนผิวโลกมีหลายสภาพด้วยกัน เช่น น้าขุ่น
น้าใส หรือน้าที่มีสารต่างๆ เจือปน ดังนั้นการสะท้อนพลังงานจึงแตกต่างกันออกไป บางครั้งพื้นที่ที่
รองรับน้าอาจจะมีผลต่อการสะท้อนพลังงานของน้า น้าใสจะดูดกลืนพลังงานเล็กน้อยที่ช่วงคลื่นต่าว่า 0.6
ไมครอน การส่งผ่านพลังงานเกิดขึ้นสูงในช่วงแสงสีน้าเงิน เขียว แต่น้าที่มีตะกอนหรือสิ่งเจือปน การ
สะท้อน และการส่งผ่านพลังงานจะเปลี่ยนไป เช่น น้าที่มีตะกอนดินแขวนลอยอยู่มาก จะสะท้อนพลังงาน
ได้มากกว่าน้าใส ถ้ามีสารคลอโรฟิลล์ในน้ามากขึ้น การสะท้อนช่วงคลื่นสีน้าเงินจะลดลงและจะเพิ่มขึ้น
ในช่วงคลื่นสีเขียว ซึ่งอาจใช้เป็นประโยชน์ในการติดตามและคาดคะเนปริมาณสาหร่าย นอกจากนี้ข้อมูล
การสะท้อนพลังงานยังเป็นประโยชน์ในการสารวจคราบน้ามัน และมลพิษจากโรงงานได้
2 . การสารวจระยะไกลด้วยดาวเทียม

2.1 วิวัฒนาการของการสารวจระยะไกลด้วยดาวเทียม
การสารวจข้อมูลระยะไกล เป็นการการหาข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับวัตถุสิ่งของ หรือพื้นที่เป้าหมาย
ซึ่งอยู่ไกลจากเครื่องมือใช้วัดหรือใช้บันทึกโดยที่เครื่องมือเหล่านั้น ไม่ได้สัมผัสกับวัตถุสิ่งของหรือเป้าหมาย
เหล่านั้นเลย คือเครื่องมือที่ใช้ตรวจบันทึก ได้รับการนาขึ้นไปบนอากาศยานหรือ ยานอวกาศ ทาให้มองลง
มายังบริเวณที่ศึกษาได้บริเวณกว้าง เพื่อรับและบันทึก สัญญาณที่เป็นข้อมูลซึ่งส่งขึ้นไปใน ลักษณะพลังงาน
แม่เหล็กไฟฟ้าในรูปของการสะท้อนพลังงาน หรือการส่งพลังงานออกจากตัวเองโดยวิธีการแผ่ความร้อน
(Emission) พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า ช่วยให้รีโมทเซนซิ่งเป็นไปได้ การนาเอาเครื่องมือชนิดที่มีขีด
ความสามารถต่าง ๆ กันขึ้นไปบนยานอวกาศ และทาการบันทึกข้อมูลจากพื้นโลกโดยการสะท้อนหรือการ
ส่งพลังงาน จึงเป็นเทคโนโลยีการสารวจข้อมูลระยะไกล และการนาเอาข้อมูลเบื้องต้นมาทาการวิเคราะห์
โดยผ่านกรรมวิธีต่างๆนั้นเป็นขั้นตอนของการทางานในระบบนี้

การพัฒนาเทคโนโลยีของการสารวจระยะข้อมูลไกลไม่ใช่สิ่งใหม่ ได้ใช้กันในทางปฏิบัติมาเป็น
เวลานานแล้ว จากหลักฐานพบว่าได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีนี้มาในสองยุค คือ ก่อนยุคอวกาศ (ก่อนปี 2503)
และ ยุคอวกาศ (หลังปี 2503) ในช่วงเวลานี้ ก็ได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นยุคแรกและ
ยุคที่สอง
ก่อนยุคอวกาศ
วิชา การสารวจระยะข้อมูลไกล ได้พัฒนามาจากการใช้ภาพถ่าย ซึ่งนา มาใช้ในการสารวจทรัพยากร
และสารวจภูมิประเทศ และเมื่อมีเครื่องบินก็ได้มีการถ่ายรูปทางอากาศจากเครื่องบิน ในสงครามโลกครั้งที่ 1
และ ครั้งที่ 2 การพัฒนาการถ่ายรูปทางอากาศมีมากเพื่อกิจการทหารและความปลอดภัยของประเทศ ทาให้
การพัฒนาการสารวจระยะข้อมูลไกลเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเป็นประโยชน์สาหรับการสารวจทรัพยากร
ธรรมชาติอื่น ๆ ด้วย การใช้รูปถ่ายทางอากาศและการวิเคราะห์ ภาพในยุคนั้น ใช้การแปลด้วยสายตา และ
ใช้กุญแจการแปลภาพช่วย ในยุคนั้นยังไม่มีการนาเอาการทางานแบบสหวิทยาการมาประยุกต์ใช้ เพราะต่าง
คนต่างทาในสาขาที่ตนถนัด แต่ก็ได้ผลดี นอกจากนี้ ยังไม่มีแนวความคิดในการทดแทนธรรมชาติและ
การป้องกันภาวะแวดล้อมที่เสียหาย เพราะไม่มีข้อมูลระดับโลกเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนา
เทคโนโลยีการสารวจระยะข้อมูลไกลยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร
15

ยุคอวกาศ
การพัฒนาด้านอวกาศขึ้น ทาให้มีการส่งดาวเทียมออกไปโคจรรอบโลก มีการปรับปรุงเครื่องมือ
เครื่องใช้ ในการบันทึกข้อมูล จึงทาให้ได้ข้อมูลหลายชนิดและหลายช่วงเวลา มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ช่วยในกรรมวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือเครื่องใช้จึงสลับซับซ้อนขึ้น มีการนาเอาหลักการทางาน
แบบสหวิทยาการในหลายสาขาวิชามาใช้มากขึ้น มีความนึกคิดที่ให้มีการทดแทนทรัพยากรธรรมชาติและ
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น แต่แม้ว่าจะมีการพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และยานอวกาศแล้วก็ตาม การใช้
กล้องถ่ายภาพและใช้เครื่องบินก็ยังคงมีต่อไป และใช้ได้กับความจาเป็นเฉพาะเรื่อง ความต้องการข้อมูล
ระดับโลกมีมากขึ้นแต่รูปถ่ายทางอากาศมีขีดจากัด จึงทาให้การพัฒนาเทคโนโลยีจากอวกาศเป็นไปได้อย่าง
รวดเร็ว
ดาวเทียม คือ วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นไปโครจรรอบโลก เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านการวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์ การรายงานสภาพอากาศ หรือเพื่อการลาดตระเวนทางทหาร ดาวเทียมเพื่อการวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์จะทาหน้าที่ในการ สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่น ๆ
รวมถึงวัตถุประหลาดต่างๆ ในกาแลคซี่ หรือระบบสุริยจักรวาล ...

ตั้งแต่โลกเราได้มีการประดิษฐ์คิดค้นดาวเทียมขึ้นมาใช้งาน ก็ทาให้โลกเกิดสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา


อานวยประโยชน์ให้มนุษย์อย่างมากมาย หลายองค์กรและหลาย ๆ ประเทศต่างมีการเข้าร่วมกันแลกเปลี่ยน
เทคโนโลยี และสร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาอานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ชาติโดยแบ่งออกเป็นช่วง ๆ ได้ดังนี้
ดาวเทียมก่อนทศวรรษที่ 60
ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า
"Sputnik" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร Sputnik ทาหน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้น
ไอโอโนสเฟีย ในปี พ.ศ.2501 สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทาให้รัสเซียและ
สหรัฐเป็น 2 ประเทศผู้นาทางด้านการสารวจทางอวกาศ และการแข่งขันกันระหว่างทั้งคู่ได้เริ่มขึ้น
ดาวเทียมในทศวรรษที่ 60
ช่วงทศวรรษนี้เป็นช่วงการเฟื่องฟูของดาวเทียมสาหรับมนุษยชาติ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1960
สหรัฐได้ส่งดาวเทียม Echo 1 ขึ้นไปทาหน้าที่ในการสะท้อนคลื่นวิทยุสู่โลกได้เป็นผลสาเร็จ ทาให้เชื่อได้ว่า
การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นเรื่องที่สามารถเป็นไปได้ซึ่งก่อนหน้านั้น ในเดือนเมษายนปีเดียวกัน สหรัฐก็ได้
ส่งดาวเทียม TIROS 1 ขึ้นไปสู่อวกาศ ดาวเทียม TIROS 1 เป็นดาวเทียมสารวจสภาพอากาศดวงแรกที่ได้ส่ง
ภาพถ่ายกลุ่มเมฆหมอกกลับมายังโลก จากนั้นกองทัพเรือสหรัฐได้พัฒนาดาวเทียมหาตาแหน่งดวงแรกที่ได้
ถูกส่งขึ้นไปโคจรในเดือนเมษายน ปี ค.ศ.1960 และหลังจากนั้นเป็นต้นมาก็ได้พัฒนาดาวเทียมเป็นจานวน
มากกว่า 100 ดวงถูกส่งขึ้นไปโคจรแทนที่กันในแต่ละปี
16

ดาวเทียมในทศวรรษที่70
ช่วงทศวรรษที่ 70 ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ เกิดขึ้นในโลกของดาวเทียม อุปกรณ์และ
เครื่องมือใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมได้ถูกนามาใช้ ชิ้นส่วนอุปกรณ์เหล่านั้นล้วนถูกทาขึ้นมาจาก
การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในการผลิตอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบและ
ก่อสร้างดาวเทียม
ดาวเทียมในทศวรรษที่ 80
ช่วงทศวรรษที่ 80 ดาวเทียมได้ถูกนามาใช้ในการช่วยเหลือมนุษย์มากขึ้น ในเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ.2525 Palapa B-2 ซึ่งเป็นดาวเทียมเพื่อการช่วยเหลือมนุษย์ดวงแรกที่ถูกส่งขึ้นไปโดยบรรทุกไปกับ
ยานขนส่งอวกาศ Challenger
ดาวเทียมในทศวรรษที่ 90
ในช่วงทศวรรษที่ 90 ดาวเทียมถูกใช้งานไปอย่างกว้างขวาง ไม่เว้นแม้แต่งานธรรมดาทั่วไป
เช่น บริษัท TRW Inc. ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนธรรมดา ก็ได้มีการวางแผนที่จะสร้างระบบดาวเทียมที่ครอบคลุม
เครือข่ายการสื่อสารผ่านดาวเทียม ระบบนี้เรียกว่า "Odyssey" ซึ่งได้ถูกใช้ในธุรกิจโทรคมนาคม ดาวเทียม
ของ TRW จะเน้นให้บริการในเขตพื้นที่สาคัญๆ เหมือนกับว่ามันได้ครอบคลุมโลกทุกส่วนไว้เป็นหนึ่งเดียว
ฉะนั้น บริษัทจึงคาดหวังว่าจะสร้างกาไรงามๆ จากธุรกิจดาวเทียมโทรคมนาคม เหล่านี้ เป็นวิวัฒนาการที่
เกิดขึ้นและถูกพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่าอยู่ตลอดเวลา
ดาวเทียมหลังทศวรรษที่ 90
หลังทศวรรษที่ 90 จนถึงศตวรรษที่ 21 ดาวเทียมยังคงถูกพัฒนาประสิทธิภาพ และขีด
ความสามารถต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง จนก้าวไปสู่ระบบอุตสาหกรรมดาวเทียม

2.2 ลักษณะการโคจรของดาวเทียม
2. 1 การโคจรในแนวระนาบกับเส้นศูนย์สูตร การโคจรในแนวระนาบกับเส้นศูนย์สูตร สอดคล้อง
และมีความเร็วในแนววงกลมเท่าความเร็วของโลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้ดาวเทียมเสมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ
ตาแหน่งเดิมเหนือผิวโลก (Geostationary or Earth synchronous) โดยทั่วไปโคจรห่างจากโลกประมาณ
36,000 กม. ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และดาวเทียมสื่อสาร
2.2 การโคจรในแนวเหนือ-ใต้ โคจรในแนวเหนือ-ใต้รอบโลก ซึ่งสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun
Synchronous) โดยโคจรผ่านแนวศูนย์สูตร ณ เวลาท้องถิ่นเดียวกัน โดยทั่วไปโคจรสูงจากพื้นโลกที่ระดับต่า
กว่า 2,000 กม. ซึ่งมักเป็นดาวเทียมสารวจทรัพยากรแผ่นดิน
17

การโคจรของดาวเทียม

การโคจรของดาวเทียมในแนวเหนือ - ใต้
18

2.3 ประเภทของดาวเทียม
การสารวจทรัพยากรโลกด้วยดาวเทียมได้วิวัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องมาเป็นลาดับ สามารถจาแนก
ได้ 2 ระดับ คือ ระดับวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ในระยะเริ่มแรกและ ระดับปฏิบัติงาน
(Operational) ในระยะต่อมา ดาวเทียมที่ส่งขึ้นปฏิบัติงานในช่วงแรกมีอายุปฏิบัติงานช่วงสั้น ต่อมาเป็น
ระบบอัตโนมัติเพื่อใช้ในระดับปฏิบัติงาน และระบบที่มีมนุษย์อวกาศควบคุม ในปัจจุบันมีดาวเทียมจานวน
มากหลายพันดวง ได้ถูกส่งเข้าสู่วงโคจรเพื่อปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ซึ่งสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้
ประโยชน์ออกเป็น
ดาวเทียมสารวจทรัพยากร การใช้ดาวเทียมสารวจทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของโลก เป็นการ
ผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีการถ่ายภาพ และโทรคมนาคม โดยการทางานของดาวเทียมสารวจทรัพยากร
จะใช้หลักการ สารวจข้อมูลจากระยะไกล (Remote Sensing) หลักการที่สาคัญของดาวเทียมสารวจ
ทรัพยากร คือ ใช้คลื่นแสงที่เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า (EME : Electro - Magnetic Energy) ทาหน้าที่
เสมือนสื่อกลางส่งผ่านระหว่างวัตถุเป้าหมาย และอุปกรณ์บันทึกข้อมูล อุปกรณ์ถ่ายถาพที่ติดตั้งอยู่บน
ดาวเทียม มักจะได้รับการออกแบบให้มีความสามารถถ่ายภาพ และมีความหลากหลายในรายละเอียดของ
ภาพได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการจาแนกประเภททรัพยากรที่สาคัญ ๆ ดาวเทียมจานวนมากได้
ถูกส่งเข้าสู่วงโคจร เพื่อประโยชน์ในด้านการสารวจทรัพยากร โดยมีดาวเทียม LANDSAT เป็นดาวเทียม
สารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก ที่ถูกส่งเข้าสู่วงโคจร เมื่อ พ.ศ. 2515 ดาวเทียมสารวจทรัพยากรจะ
โคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun - Synchronous) เป็นวงโคจรในแนวเหนือ - ใต้ และผ่านแนว
ละติจูดหนึ่ง ๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน ประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่ ด้านการสารวจพื้นที่ป่าไม้ ด้าน
การเกษตร ด้านการใช้ที่ดิน
ด้านธรณีวิทยา เพื่อจัดทาแผนที่ภูมิประเทศ หาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในดิน ด้านอุทกวิทยา เพื่อศึกษา
สภาพและแหล่งน้า ทั้งบนดินและใต้ดิน ฯลฯ
ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่เชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารของโลกเข้าไว้
ด้วยกัน นับตั้งแต่ NASA ส่งดาวเทียมสื่อสารเข้าสู่วงโคจรไป จนปัจจุบันมีบริษัทเอกชนจานวนมากที่เข้า
มาบุกเบิกธุรกิจ และทากาไรมหาศาล จากประโยชน์ต่าง ๆ ที่ได้จากดาวเทียม ดาวเทียมสื่อสารเมื่อถูกส่งเข้า
สู่วงโคจร มันก็พร้อมที่จะทางานได้ทันที มันจะส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน สถานีภาคพื้นดินจะรับ
สัญญาณโดยใช้อุปกรณ์ ที่เรียกว่า " Transponder " ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่พักสัญญาณ แล้วกระจาย
สัญญาณไปยังจุดรับสัญญาณต่าง ๆ บนพื้นโลก ดาวเทียมสื่อสารสามารถส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์ ข้อมูล
ต่างๆ รวมถึงสัญญาณภาพโทรทัศน์ได้ไปยังทุกหนทุกแห่ง เนื่องจากดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ต้อง
ทางานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีการหยุด ดาวเทียมสื่อสารจึงถูกออกแบบมาเป็นอย่างดี ให้สามารถใช้งานใน
อวกาศได้ประมาณ 10 - 15 ปี โดยที่ดาวเทียมต้องสามารถโคจร และรักษาตาแหน่งให้อยู่ในตาแหน่งที่
ถูกต้องได้ตลอดเวลา ดาวเทียมสื่อสารทางานโดยอาศัยหลักการส่งผ่านสัญญาณถึงกันระหว่างสถานี
19

ภาคพื้นดินและ ดาวเทียม วิถีการโคจรของดาวเทียมสื่อสารโคจรเป็นวงกลมในแนวระนาบกับเส้นศูนย์


สูตร หรือที่เรียกว่า "วงโคจรค้างฟ้า " (Geostationary Orbit) ประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่ การ
ติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมทางด้านต่างๆ เช่น ทางด้านสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างดาวเทียมสื่อสาร เช่น ดาวเทียม Thaicom 1 และ 2 เป็นดาวเทียมสื่อสารชุด
แรกของประเทศไทย ถูกส่งขึ้นไปโคจรในปี พ.ศ. 2536 และ 2537 ตามลาดับ เพื่อให้บริการทางด้านการ
สื่อสารมีรัศมีการให้ บริการครอบคลุมทั่วทั้งประเทศไทย และภูมิภาคใกล้เคียง ดาวเทียม Thaicom 3 เป็น
ดาวเทียมสื่อสารอีกดวงหนึ่งของประเทศไทย ถูกส่งขึ้นไปโคจรในปี พ.ศ. 2540 เพื่อให้บริการทางด้านการ
สื่อสาร มีรัศมีการให้บริการครอบคลุมทั่วทั้ง 4 ทวีป
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศด้วย
ภาพถ่ายเรดาร์ (Radar) และ ภาพถ่ายอินฟาเรด (Infared) โดยมีดาวเทียม Essa 1 เป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดวงแรกของโลก ซึ่งถูกส่งขึน้ ไปโดยสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1966 เนื่องจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็น
ดาวเทียมสารวจประเภทหนึ่ง จึงมีอุปกรณ์บนดาวเทียมคล้ายกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร จะแตกต่างก็เพียง
หน้าที่ การใช้งาน ดังนั้นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาจึงมีหลักการทางานเช่นเดียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร
กล่าวคือ อุปกรณ์สารวจอุตุนิยมวิทยาบนดาวเทียมจะส่ง สัญญาณมายังเครื่องรับที่สถานีภาคพื้นดิน ซึ่งที่
สถานีภาคพื้นดินนี้จะมีระบบรับสัญญาณแตกต่างกันไปตามดาวเทียมแต่ละดวง วิถีการโคจรของดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยาจะมีลักษณะการโคจรทั้งแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun-Synchronous) ซึ่งเป็นวงโคจรใน
แนวเหนือ-ใต้ และผ่านแนวละติจูดหนึ่ง ๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน และแบบโคจรเป็นวงในแนวระนาบกับ
เส้นศูนย์สูตร หรือที่เรียกว่า " วงโคจรค้างฟ้า " (Geostationary Orbit) ซึ่งวงโคจรจะแตกต่างกันตามพื้นที่
ที่ครอบคลุมการใช้งาน ประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่ ช่วยบรรเทาภัยพิบัติที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศ โดย
สามารถเตือนให้ทราบถึงพายุต่าง ๆ พยากรณ์อากาศ และใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ทางอุตุนิยมวิทยา
ตรวจอุณหภูมิเมฆ อุณหภูมิผิวหน้าทะเล อุณหภูมิผิวหน้าดิน และดัชนีพืช ตัวอย่างดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
เช่น ดาวเทียม NOAA (National Oceanographic and Atmospheric Administration) โคจรที่ระดับความสูง
ประมาณ 850 กม.
ดาวเทียมกาหนดตาแหน่ง ระบบหาตาแหน่งโดยใช้ดาวเทียม (Global Positioning System - GPS)
ถูกพัฒนาโดยทหารสาหรับการใช้งานในกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันได้มีการ
นามาใช้งานในเชิงพาณิชย์ ดาวเทียม GPS ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศครั้งแรกโดยใช้เป็นระบบนาร่องให้กับ
เครื่องบิน เมื่อ ระบบ GPS ขยายตัวมากขึ้น จึงมีพื้นที่การครอบคลุมมากขึ้น และได้มีการนามาประยุกต์ใช้
งานอย่างกว้างขวาง เช่น การนาร่องให้เรือเดินสมุทรพาณิชย์ในบริเวณที่ระบบนาร่องภาคพื้นดิน ไม่
สามารถใช้ได้ และในการกาหนดตาแหน่งพิกัดต่าง ๆ บนพื้นพิภพ วิธีการทางาน ปัจจุบันระบบ GPS
(Global Positioning Satellite System) มีหลักการทางานโดยจะใช้ดาวเทียม 21 ดวง และดาวเทียมสารอง
อีก 3 ดวง ในระนาบของการโคจรทั้งหมด 6 ระนาบ ที่ระดับความสูงประมาณ 11,000 ไมล์ สาหรับ
20

ประสานงานกับดาวเทียม 4 ดวง หรือมากกว่า ที่สามารถติดต่อได้อย่างพร้อม ๆ กันจากบริเวณใดบริเวณ


หนึ่ง บนผิวโลก หรือเหนือผิวโลกขึ้นไป โดย GPS ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนอวกาศ (Space
Segment) ประกอบด้วยตัวดาวเทียมที่อยู่ห่างจากผิวโลก 11,000 ไมล์ เพื่อไม่ให้สัญญาณจากระบบบน
ภาคพื้นดินรบกวนได้ 2. ส่วนควบคุม (Control Segment) และ 3. ส่วนผู้ใช้ (User Segment) วิถีการ
โคจร กลุ่มดาวเทียมบอกตาแหน่ง (GPS)จะโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun-Synchronous) เป็นวง
โคจรในแนวเหนือ-ใต้ และผ่านแนวละติจูดหนึ่ง ๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน ประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่ ใช้งาน
ในระบบทางทหาร ให้ข่าวสารของการนาร่องสาหรับเรือหรือเครื่องบิน ให้ข่าวสารเกี่ยวกับตาแหน่ง และ
เวลาของวัตถุต่างๆ บนพื้นโลก ซึ่งระบบดาวเทียม GPS นี้ได้รับการสนับสนุนและควบคุมโดย
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา สัญญาณจะให้บริการแก่ภาครัฐบาลและภาคเอกชนที่สนใจจะ
นาไปใช้ประโยชน์โดยไม่ต้องเสียค่าบริการใด ๆ โดยสงวนบางส่วนของระบบไว้เพื่อใช้ในการทหาร
ดาวเทียมประเภทอื่น ๆ เราสามารถนาดาวเทียมไปใช้กับงานได้หลากหลายสาขา งานทางด้าน
สารวจทางทะเลก็เป็นอีกสาขาหนึ่งที่ดาวเทียมได้เข้าไปมีบทบาท ในปี พ.ศ. 2521 ดาวเทียมสารวจทางทะเล
ดวงแรก ได้ถูกส่งขึ้นไปสู่วงโคจร ได้แก่ ดาวเทียม Seasat แม้ว่าจะไม่ได้มีบทบาทอะไรมากนัก แต่ก็เป็น
การบุกเบิกให้เกิดการสารวจทางทะเลให้กว้างขวางต่อไป ดาวเทียมอีกดวง ที่มีบทบาทสารวจสาหรับงาน
สารวจทางทะเล ได้แก่ ดาวเทียม Robinson 34 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล และนักชีววิทยาทางทะเล
สามารถตรวจจับความ เคลื่อนไหวของทุกสรรพสิ่งในท้องทะเลได้ด้วยการใช้งานจากดาวเทียมนั่นเองโดยนา
ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมสารวจทางทะเลมาตรวจวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ลักษณะสิ่งมีชีวิต ความแปรปรวน
ของคลื่นลมและกระแสน้า จนกระทั่งได้รายงานสรุปสภาพทางทะเลที่สมบูรณ์ ดาวเทียมเพื่อการสารวจ
อวกาศ เป็นเทคโนโลยีที่ยังใหม่ โดยดาวเทียมประเภทนี้จะถูกนาขึ้นไปสู่วงโคจรที่สูงกว่าดาวเทียมประเภท
อื่น ๆ ลึกเข้าไปในอวกาศ ดังนั้นดาวเทียมสารวจอวกาศจึงให้ภาพที่ไร้สิ่งกีดขวางใด ๆ ไม่มีชั้นบรรยากาศ
ของโลกมากั้น ดาวเทียมสารวจอวกาศบางดวงก็จะนาอุปกรณ์ตรวจจับ และบันทึกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า บาง
ดวงก็จะมีหน้าที่ตรวจจับและบันทึกรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต ดาวเทียมที่น่าสนใจอีกประเภทหนึ่งก็คือ
ดาวเทียมเพื่อการจารกรรมหรือสอดแนม ที่นิยมมากที่สุดคือประเภทที่ใช้เพื่อการลาดตระเวน โดยมีการติด
กล้องเพื่อใช้ในการถ่ายภาพพิเศษ สามารถสืบหาตาแหน่งและรายละเอียดเฉพาะพื้นที่ที่ต้องการได้
ดาวเทียมจะมีอุปกรณ์ตรวจจับ คลื่นวัตถุด้วยเรด้าร์และ แสงอินฟราเรด ซึ่งสามารถตรวจจับได้ทั้งในที่มืด
หรือที่ที่ถูกพรางตาไว้ ดาวเทียม COSMOS เป็นดาวเทียมสอดแนมที่รู้จักกันดีของรัสเซีย และ ดาวเทียม
Big Bird เป็นดาวเทียม สอดแนมของสหรัฐอเมริกา นอกจากนั้นยังมีดาวเทียมสอดแนมทางทะเลเพื่อใช้
ในค้นหาเรือรบ เรือดาน้า ความสามารถในการตรวจจับหัวรบนิวเคลียร์ หรือวัตถุที่ฝังตัว อยู่ใต้ทะเลลึก
ดาวเทียม Elint ถูกใช้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันจากการลอบจู่โจม ดาวเทียม Elint เป็นดาวเทียม
สอดแนมที่มีลักษณะพื้นฐานในการ ตรวจจับคลื่นสัญญาณวิทยุ และแผนที่แสดงตาแหน่งที่ตั้งฐานทัพของ
ประเทศต่าง ๆ
21
3 . การสารวจทรัพยากรด้วยดาวเทียม

3.1 ดาวเทียม สารวจทรัพยากร


การสารวจทรัพยากรโลกด้วยดาวเทียมสารวจทรัพยากร ได้วิวัฒนาการจากการได้รับภาพถ่ายโลก
ภาพแรกจากการส่งสัญญาณภาพของดาวเทียม Explorer VI ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2502 ตั้งแต่นั้นมา การ
สารวจโลกด้วยภาพถ่ายดาวเทียม ได้มีการพัฒนาเป็นลาดับทั้งระบบบันทึกข้อมูล และอุปการณ์ที่สามารถใช้
ประโยชน์ด้านต่าง ๆ อย่างมากมาย วิวัฒนาการของดาวเทียมสารวจทรัพยากรเป็นไปอย่างรวดเร็วและ
ต่อเนื่อง สามารถจาแนกระดับของวิวัฒนาการได้ 2 ระดับ คือ
1. ระดับวิจัยและพัฒนา (Research and Development)
2. ระดับปฏิบัติงาน (Operational)

ในระยะแรกดาวเทียมที่ส่งขึ้นไปมีอายุปฏิบัติงานช่วงสั้น ต่อมาเป็นระบบอัตโนมัติเพื่อใช้งานใน
ระดับปฏิบัติงาน รวมถึงระบบที่มีมนุษย์อวกาศควบคุม จนถึงปัจจุบัน ดาวเทียมจานวนมากได้ถูกส่งเข้าสู่
วงโคจร เพื่อประโยชน์ในด้านการสารวจทรัพยากร โดยมีดาวเทียม Landsat เป็นดาวเทียมสารวจทรัพยากร
ดวงแรก ที่ถูกส่งเข้าสู่วงโคจร เมื่อ พ.ศ. 2515

วิธีการทางาน
การใช้ดาวเทียมสารวจทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของโลก เป็นการผสมผสานระหว่าง
เทคโนโลยีการถ่ายภาพ และโทรคมนาคม โดยการทางานของดาวเทียมสารวจทรัพยากรจะใช้หลักการ
สารวจข้อมูลระยะไกล โดยใช้คลื่นแสงที่เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า (EME : Electro - Magnetic Energy)
ทาหน้าที่เสมือนสื่อกลางส่งผ่านระหว่างวัตถุเป้าหมาย และอุปกรณ์บันทึกข้อมูล อุปกรณ์ถ่ายถาพที่ติดตั้งอยู่
บนดาวเทียม มักจะได้รับการออกแบบให้มีความสามารถถ่ายภาพ และมีความหลากหลายในรายละเอียดของ
ภาพได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการจาแนกประเภททรัพยากรที่สาคัญๆ

วิถีการโคจร
ดาวเทียมสารวจทรัพยากรจะโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun - Synchronous) เป็นวง
โคจรในแนวเหนือ - ใต้ และผ่านแนวละติจูดหนึ่งๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน
22

ประโยชน์ที่ได้รับ (ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ)
- ด้านการสารวจพื้นที่ป่าไม้
- ด้านการเกษตร
- ด้านการใช้ที่ดิน
- ด้านธรณีวิทยา หาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในดิน
- ด้านอุทกวิทยา เพื่อศึกษาสภาพและแหล่งน้า ทั้งบนดินและใต้ดิน ฯลฯ
- จัดทา / แก้ไขปรับปรุงแผนที่ภูมิประเทศ

3.2 ตัวอย่างดาวเทียมเพื่อการสารวจทรัพยากร
ดาวเทียม Landsat
ดาวเทียม Landsat -1 ถูกส่งขึ้นโคจรรอบโลก เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2515 โดยองค์การบริหาร
การบินและอวกาศแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (National Aeronautic and Space Administration, NASA)
นับเป็นดาวเทียมสารวจโลกดวงแรกของโลก และเป็นจุดเริ่มต้นของความก้าวหน้าทางด้านการสารวจ
ระยะไกล จนปัจจุบันได้มีการส่งดาวเทียม Landsat ไปแล้วรวมทั้งสิ้น 6 ดวงขณะนี้ มีดาวเทียม Landsat -5
และ Landsat -7 เท่านั้นที่ยังคงปฏิบัติงานอยู่

ดาวเทียม Landsat 4 , 5 ดาวเทียม Landsat 7


23

ดาวเทียม Landsat -7 โคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์เป็นวงผ่านขั้นโลก ทามุมเอียง 98 องศา ที่


ระดับความสูง 705.3 กิโลเมตร จากพื้นโลก ใช้เวลาในการโคจร 98.9 นาทีต่อรอบ ความถี่ในการถ่ายภาพซ้า
บริเวณเดิม 16 วัน ความกว้างของการบันทึกข้อมูล 185 กิโลเมตร มีการติดตั้งอุปกรณ์บันทึกข้อมูลระบบ
Enhanced Thematic Mapper Plus (ETM+) ซึ่งสามารถให้ข้อมูลที่มีคุณสมบัติเหนือกว่าระบบ Thematic
Mapper (TM) ของดาวเทียม LANDSAT-4 , 5 และมีการพัฒนาเพิ่มเติมในบางส่วนสามารถถ่ายภาพได้ทั้ง
ระบบบันทึกข้อมูล หลายช่วงคลื่น (Multispectral) และระบบบันทึกข้อมูลช่วงคลื่นเดียว (Panchromatic)
24

คุณลักษณะด้านต่าง ๆ ของดาวเทียมสารวจทรัพยากร Landsat

คุณลักษณะ
ดาวเทียม วงโคจร ช่วงคลื่น ความละเอียดจุดภาพ ความกว้างของแนวภาพ
เครื่องบันทึกภาพ
(ไมครอน) (เมตร) (กิโลเมตร)
Landsat - 1 สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ MSS 0.5 - 0.6
(2515) ระดับสูง : 915 กม. (Multispectral 0.6 - 0.7
Landsat –2 มุมเอียง : 99 Scanner System) 0.7 - 0.8 80 ม.
(2518) โคจรมาที่จุดเดิม : 18 วัน (เครื่องกวาดภาพ 0.8 - 0.9
185 กม.
สหรัฐอเมริกา โคจรรอบโลก : 103 นาที (14 รอบ/ วัน) หลายช่วงคลื่น)
โคจรผ่านเส้นศูนย์สูตร : 8.50 - 9.30น. RBV 0.47 - 0.575
ระยะห่างแนวโคจรถัดไป : 2,760 กม. (Retern Beam 0.580 - 0.680 80 ม.
โคจรผ่านแนวถัดไป : 1 วัน Vidicon Camera) 0.69 - 0.830
Landsat - 3 เหมือนกับ LANDSAT-1,2 MSS 0.5 - 0.6
(2521) 0.6 - 0.7
80 ม. 185 กม.
สหรัฐอเมริกา 0.7 - 0.8
0.8 - 1.1
RBV 0.50 - 0.750 38 ม. 92 กม.  2
Landsat - 4 สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ TM 0.45 - 0.52
(2525) ระดับสูง : 915 กม. (Thematic 0.52 - 0.60
Landsat - 5 มุมเอียง : 98 Mapper) 0.63 - 0.69
30 ม.
(2527) โคจรมาที่จุดเดิม : 16 วัน (ธีมาติกแมปเปอร์) 0.75 - 0.90
สหรัฐอเมริกา โคจรรอบโลก : 99 นาที (14.5 รอบ/ วัน) 1.55 - 1.75
185 กม.
โคจรผ่านเส้นศูนย์สูตร : 9.45 น. 2.08 - 2.35
ระยะห่างแนวโคจรถัดไป : 2,752 กม. MSS 0.5 - 0.6
โคจรผ่านแนวถัดไป : 7 วัน 0.6 - 0.7
80 ม.
0.7 - 0.8
0.8 - 1.1
Landsat - 6 สูญหาย
(2535)
สหรัฐอเมริกา
25

Landsat - 7 สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ ETM 0.45 - 0.515


(2542) ระดับสูง : 705 กม. (Enhance 0.525 – 0.605
มุมเอียง : 98 Thematic Mapper) 0.63 - 0.690
โคจรมาที่จุดเดิม : 16 วัน 0.75 - 0.90 30 ม.
1.55 - 1.75 185 กม.
2.09 - 2.35
10.48 - 12.5 60 ม.
0.52 - 0.90 15 ม.

ศักยภาพของดาวเทียมสารวจทรัพยากร Landsat ระบบ TM รายละเอียด 30 เมตร


ความยาวคลื่น
ช่วงคลื่น ศักยภาพการใช้ประโยชน์
(Wavelength Band)
(Channel) (Potential Application)
(ไมครอน)
ใช้ตรวจสอบลักษณะน้าตามชายฝั่ง ใช้ดูความแตกต่าง หรือใช้แยกประเภทต้นไม้
0.45 - 0.52
1 ชนิดผลัดใบและไม่ผลัดใบออกจากกัน ใช้ดูความแตกต่าง หรือแยกดินจากพืชพันธุ์
น้าเงิน
ต่างๆ มีความไวต่อการมี หรือไม่มีคลอโรฟีลล์
0.52 - 0.60
2 แสดงการสะท้อนพลังงานสีเขียวจากพืชพันธุ์ที่เจริญเติบโตแล้ว
เขียว
0.63 - 0.69
3 ใช้แยกความแตกต่างของการดูดกลืนคลอโรฟีลล์ในพืชพันธุ์ชนิดต่างๆ กัน
แดง
0.76 - 0.90
4 ใช้ตรวจวัดปริมาณมวลชีวะ ใช้ดูความแตกต่างของน้าและส่วนไม่ใช่น้า
อินฟราเรดใกล้
1.55 - 1.75
5 ใช้ตรวจความชื้นในพืชใช้ดูความแตกต่างของหิมะกับเมฆ
อินฟราเรดคลืน่ สั้น
10.40 - 12.50
ใช้ตรวจการเหี่ยวเฉาอันเนื่องจากความร้อนในพืชใช้ดูความแตกต่างของความร้อน
6 อินฟราเรดความร้อน
บริเวณทีศ่ ึกษา และใช้ดคู วามแตกต่างของความชื้นของดิน
(รายละเอียด 120 เมตร)
2.08 - 2.35
7 ใช้ตรวจความร้อนในน้า ใช้แยกประเภทแร่ธาตุ และดินชนิดต่างๆ
อินฟราเรดกลาง
26

ภาพจากดาวเทียม Landsat MSS จานวน 4 ช่วงคลื่นรายละเอียด 80 เมตร บริเวณเกาะภูเก็ต


บันทึกภาพเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2529

ภาพขาวดาแบนด์ 4 บันทึกภาพในช่วงคลื่นสีเขียว 0.5 - 0.6 ไมครอน

ภาพขาวดาแบนด์ 5 บันทึกภาพในช่วงคลื่นสีแดง 0.6 - 0.7 ไมครอน


27

ภาพขาวดาแบนด์ 6 บันทึกภาพในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ 0.7 - 0.8 ไมครอน

ภาพขาวดาแบนด์ 7 บันทึกภาพในช่วง คลื่นอินฟราเรดใกล้ 0.8 - 1.1 ไมครอน


28

ภาพจากดาวเทียม Landsat TM จานวน 7 ช่วงคลื่นรายละเอียด 30 เมตร (แบนด์ 6 รายละเอียด 120 เมตร)


บริเวณ อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา บันทึกภาพเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2529

TM แบนด์ 1 ในช่วง คลื่น 0.45 - 0.52ไมครอน (นาเงิน)


ออกแบบเพื่อให้สามารถทะลุนาได้ ซึ่งเป็นประ โยชน์ในการทาแผนที่บริเวณชายฝั่ง และ แสดงความแตกต่าง ระหว่าง ดิน
กับพืชพรรณ และป่าผลัดใบกับป่าสนซึ่งไม่ผลัดใบ
29

TM แบนด์ 2 ในช่วงคลื่น0.52 - 0.60ไมครอน (สีเขียว)


ให้รายละเอียดค่าการสะท้อนแสงสีเขียว ซึ่งเป็นประโยชน์ในการประเมินความแข็งแรง ของ พืช
30

TM แบนด์ 3 ในช่วงคลื่น0.63 - 0.69 ไมครอน (สีแดง)


ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการดูดกลืนแสงของคลอโรฟีลล์ของพืชต่าง ๆ ซึ่ง เป็นสิ่ง สาคัญในการแยกชนิดของ พืชพรรณ
31

TM แบนด์ 4 ในช่วงคลื่น0.76 - 0.90ไมครอน (อินฟราเรดใกล้)


มีประโยชน์ในการกาหนดปริมาณ มวลชีวะ และในการจาแนกแหล่งนา
32

TM แบนด์ 5 ในช่วงคลื่น 1.55 - 1.75 ไมครอน (อินฟราเรด)


ให้รายละเอียดปริมาณความชืน ของดิน ตลอดจนเป็นประโยชน์ในการแยกความ แตกต่าง ระหว่าง หิมะกับเมฆ
33

TM แบนด์ 6 ในช่วง คลื่น 0.40 - 12.50 ไมครอน (อินฟราเรดความร้อน)


เป็นประโยชน์ในการ วิเคราะห์ความเครียดของ พืชพรรณ (เช่น ขาดนา แมลงทาลาย การจาแนกความชืนในดิน
และการ หาแหล่ง ความร้อน
34

TM แบนด์ 7 ในช่วงคลื่น 2.0 - 2.35 ไมครอน


มีศักยภาพในการจาแนกชนิดของหินและการทาแผนที่แสดงแหล่งไฮโดรเทอร์มอล (hydrothermal)
35

ขอบเขตการรับสัณญาณภาพจากดาวเทียม Landsat ของสถานีรับสัณญาณดาวเทียม


ดาวเทียม Landsat- 4 และ 5 ภาพจากดาวเทียมแต่ละภาพคลุมพื้นที่ 185185 ตร.กม.โดยตาแหน่ง
ของภาพระบุด้วยตัวเลขระบบอ้างอิงโลก WRS (Worldwide Reference System) ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 1 คู่
เช่น 130-50 หมายถึง ภาพที่มีศูนย์กลางอยู่ตรงเขตชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าบริเวณ
จังหวัดกาญจนบุรี โดย 130 หมายถึงแนวที่ 130 นับจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ส่วน 50 หมายถึง แถว
ที่ 50 โดยนับจากทิศเหนือลงมาทิศใต้ ดังนั้นจุดเล็ก ๆ รูปวงกลม บนแผนที่นี้จึงแสดงศูนย์กลางโดยใกล้เคียง
ของแต่ละภาพ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่สถานีรับสัญญาณของประเทศไทยจะรับสัญญาณได้
36

ดาวเทียม SPOT ดาวเทียม SPOT (Le Systeme Probatoire d’Observstion de la Terre) เป็น
ดาวเทียมที่ศูนย์วิจัยอวกาศแห่งชาติ (Centre National d’Etudes Spatiales, CNES) ประเทศฝรั่งเศส ดาวเทียม
SPOT 1 ได้เริ่มส่งขึ้นโคจรครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2529 จากฐานยิงศูนย์อวกาศกีอานา Guiana
Space Center, French Guina ในอเมริกาใต้ โดยจรวดชื่อ Arian-1
ปัจจุบัน ดาวเทียม SPOT 4 โคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์แบบ Polar Orbit ทามุมเฉียง 98 องศา
ที่ระดับความสูงประมาณ 830 กม. ใช้เวลา 101 นาทีต่อการโคจร 1 รอบ มีความถี่ในการถ่ายภาพซ้า 26 วัน
ดาวเทียม SPOT 4 เป็นดาวเทียมที่ได้รับการออกแบบเป็นพิเศษ โดยมีอุปกรณ์ HRVIR ซึ่งพัฒนาจาก HRV
ซึ่งเป็นอุปกรณ์ถ่ายภาพบนดาวเทียม และสามารถปรับมุมกล้องให้มองไปทางด้านซ้ายหรือขวา ดังนั้น
รูปแบบแนวถ่ายภาพจึงไม่คงที่ และสอดคล้องกับแนวโคจรดาวเทียม เช่นดาวเทียม LANDSAT แต่จะ
แปรเปลี่ยนไปขึ้นกับการโปรแกรมถ่ายภาพที่ควบคุมจากภาคพื้นดิน แม้ว่าโดยปกติดาวเทียมจะมีการโคจร
กลับมาถ่ายภาพในแนวเดิมทุก ๆ 26 วัน แต่คุณสมบัติในการเอียงกล้องได้นี้ ช่วยให้การถ่ายภาพซ้าของ
บริเวณใดบริเวณหนึ่ง เป็นไปได้อย่างถี่ขึ้น ซึ่งมีประโยชน์ในการนามาเปรียบเทียบเพื่อดูลักษณะการ
เปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และสามารถนามาสร้างภาพโมเดลสามมิติได้
ดาวเทียม SPOT 4
37

คุณลักษณะด้านต่าง ๆ ของดาวเทียม SPOT


เครื่องวัดในการสารวจ
ดาวเทียม องค์ประกอบวงโคจร ความละเอียด ความกว้างของแนว
ชื่อเครื่องวัด ช่วงคลื่น/ความถี่
จุดภาพ ถ่ายภาพ
SPOT -1 (2529) สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ HRV 0.50 - 0.59 ไมครอน
SPOT -2 (2533) ระดับสูง : 832 กม. (High Resolution 0.61 - 0.68 20 ม.
60 กม.
SPOT -3 (2536) มุมเอียง : 99 Visible) 0.71 - 0.79
ฝรั่งเศส โคจรมาที่จุดเดิม : 26 วัน 0.51 - 0.73 ไมครอน 10 ม.
SPOT -4 (2539) สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ HRVIR 0.50 - 0.59 ไมครอน
ฝรั่งเศส ระดับสูง : 832 กม. (High Resolution 0.61 - 0.68
20 ม.
มุมเอียง : 99 Visible and 0.71 - 0.79 60 กม.
โคจรมาที่จุดเดิม : 26 วัน Middle Infrared) 1.55 - 1.77
0.61 - 0.68 ไมครอน 10 ม.

ระบบบันทึกภาพ
คุณลักษณะกล้อง HRV ระบบหลายช่วงคลื่น ระบบขาวดา
Multispectral Linear Array (MLA) Panchromatic Linear Array (PLA)
0.59 - 0.59
ช่วงคลื่น (ไมครอน) 0.61 - 0.68 0.51 - 0.73
0.79 - 0.89
มุม (องศา) 4.13 4.13
รายละเอียดภาพ (เมตร) 20 10
จุดภาพ (Pixel) ในแถว 3,000 6,000
ครอบคลุมพื้นที่ (กม.) 60 x 60 60 x 60

ความยาวคลื่น รายละเอียดของภาพ
ช่วงคลื่น ศักยภาพการใช้ประโยชน์
(ไมครอน) (เมตร)
1 0.50 – 0.59 20 ศึกษาพืช น้า และตะกอน
2 0.61 – 0.68 20 แยกป่าไม้ และสิ่งก่อสร้าง
3 0.79 – 0.89 20 ศึกษาภูมิประเทศ ดินและธรณีวิทยา แยกส่วนที่เป็นน้าและไม่เป็นน้า
ขาว - ดา 0.51 – 0.73 10 ความสามารถคล้ายรูปถ่ายทางอากาศ
38

ภาพจากดาวเทียม SPOT ระบบ MLA จานวน 3 ช่วงคลื่นรายละเอียด 20 เมตร


บันทึกภาพเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2532 บริเวณทะเลน้อย จ.พัทลุง

MLA แบนด์ 1 (0.50 - 0.59 ไมครอน)

MLA แบนด์ 2 (0.61 - 0.68 ไมครอน)


39

MLA แบนด์ 3 (0.79 - 0.89 ไมครอน)

ระบบ PLA (0.51 - 0.37 ไมครอน) จานวน 1 ช่วงคลื่นรายละเอียด 10 เมตร


40

3.3 คุณสมบัติของระบบดาวเทียมสารวจทรัพยากร
ภาพจากดาวเทียมสารวจทรัพยากรที่บันทึกด้วยระบบกล้องหลายช่วงคลื่น มีคุณสมบัติพิเศษ
แตกต่างจากกล้องถ่ายภาพธรรมดา คือ
1. ข้อมูลอยู่ในลักษณะตัวเลข (Digital Data) องค์ประกอบของภาพจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส
เล็ก ๆ เรียกว่า จุดภาพ (Pixel : Picture Element) ประกอบกันขึ้นเป็นภาพ (Image) แต่ละจุดภาพจะบันทึก
ค่าการสะท้อนช่วงคลื่นแสง ในแต่ละช่วงคลื่น (แบนด์) แล้วแต่จานวนแบนด์ของดาวเทียมแต่ละดวง เช่น
ดาวเทียม Landsat ระบบ Themetic Mapper :TM จะแบ่งการบันทึกออกเป็น 7 ช่วงคลื่น (แบนด์) แต่ละ
จุดภาพ (Pixel) จึงมีค่าการสะท้อนของช่วงคลื่นแสง 7 ค่า (ไม่เท่ากัน) ตามการสะท้อนในแต่ละแบนด์ โดย
แบ่งออกเป็นระดับความเข้มสีเทา (Gray Level) จานวน 256 ระดับ จาก 0 (ดา) ถึง 255 (ขาว) ของภาพในแต่
ละแบนด์ ซึ่งสามารถนาข้อมูลที่มีปริมาณมาก เหล่านี้ไปผลิตเป็นภาพขาวดาและภาพสีผสม ตลอดจนนามา
วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
2. ข้อมูลที่บันทึกสามารถส่งมายังสถานีรับภาคพื้นดินได้ทันที
3. สามารถบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่นที่กล้องธรรมดาบันทึกไม่ได้ ตลอดจนข้อมูลที่ได้รับ
รายละเอียดภาพ (Spatial Resolution) สูงตั้งแต่ ประมาณ 1 เมตร ขึ้นไป

ภาพจากดาวเทียมสารวจทรัพยากรเป็นภาพที่มีลักษณะพิเศษ ตามคุณสมบัติของดาวเทียมที่ใช้ในการ
สารวจทรัพยากร พอสรุปได้ดังนี้
1. การบันทึกข้อมูลเป็นบริเวณกว้าง (Synopic View) ภาพจากดาวเทียมภาพหนึ่ง ๆ ครอบคลุม
พื้นที่กว้างทาให้ได้ข้อมูลในลักษณะต่อเนื่องในระยะเวลาบันทึกภาพสั้น ๆ สามารถศึกษาสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ในบริเวณกว้างขวางต่อเนื่องในเวลาเดียวกันทั้งภาพ เช่น ภาพจาก Landsat ระบบ MSS และ TM
หนึ่งภาพคลุมพื้นที่ 185  185 ตร.กม. หรือ 34,225 ตร.กม. ภาพจาก SPOT คลุม พื้นที่ 60  60 ตร.กม.
และ MOS คลุมพื้นที่ 10,000 ตร.กม.
2. การบันทึกภาพได้หลายช่วงคลื่น ดาวเทียมสารวจทรัพยากรมีระบบกล้อง Scanner ที่
บันทึกภาพได้หลายช่วงคลื่นในบริเวณเดียวกัน ทั้งในช่วงคลื่นที่สายตามองเห็น และช่วงคลื่นนอกเหนือ
สายตามนุษย์ ทาให้แยกวัตถุต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกได้อย่างชัดเจน เช่น ระบบ MSS และ MESSR มี 4 ช่วง
คลื่น ระบบ TM มี 7 ช่วงคลื่น ระบบ HRV ขาวดา และ สี มี 1 และ 3 ช่วงคลื่นตามลาดับ
3. การบันทึกภาพบริเวณเดิม (Repetitive Coverage) ดาวเทียมสารวจทรัพยากรมีวงโคจรจาก
เหนือลงใต้ และกลับมายังจุดเดิมในเวลาท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอและในช่วงเวลาที่แน่นอน กล่าว คือ
Landsat ทุก ๆ 16 วัน MOS ทุก ๆ 17 วัน และ SPOT ทุก ๆ 26 วัน ทาให้ได้ข้อมูลบริเวณเดียวกัน
หลาย ๆ ช่วงเวลาที่ทันสมัยสามารถเปรียบเทียบและติดตามการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บน พื้นผิวโลกได้เป็น
อย่างดี และมีโอกาสที่ จะได้ข้อมูลไม่มีเมฆปกคลุม
41

4. การให้รายละเอียดหลายระดับ ภาพจากดาวเทียมให้รายละเอียดหลายระดับ มีผลดีในการเลือก


นาไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาด้านต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ เช่น ภาพขาว-ดา ดาวเทียม SPOT รายละเอียด
10 เมตร สามารถศึกษาตัวเมือง เส้นทางคมนาคมระดับหมู่บ้าน ภาพสี รายละเอียด 20 เมตร ศึกษาการบุกรุก
พื้นที่ป่าไม้เฉพาะจุดเล็กๆ และ แหล่งน้าขนาดเล็ก ภาพระบบ TM รายละเอียด 30 เมตรศึกษาสภาพการใช้
ที่ดินระดับ จังหวัด
5. การให้ภาพสีผสม (Color Composite) ภาพจากดาวเทียมขาว-ดาหนึ่งภาพในหลายช่วงคลื่น
สามารถนามาซ้อนทับกันได้ครั้งละ 3 แบนด์ โดยทาให้แต่ละแบนด์ที่เป็นสีขาว-ดากลายเป็นสีบวก
(Additive Primary Color) 3 สีหลัก คือ สีน้าเงิน (Blue) สีเขียว (Green) และสีแดง (Red) เมื่อนามา
ซ้อนทับกันทาให้ได้ภาพสีผสม ปรากฏเป็นสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีสี คือ การซ้อนทับของแม่สีบวก
แต่ละคู่จะให้แม่สีลบ (Subtractive Primary Color) คือ สีเหลือง (Yellow ) สีม่วงแดง (Magenta ) และสี ฟ้า
(Cyan) ดังนี้
สีแดง (Red) + สีเขียว (Green) = สีเหลือง (Yellow)
สีแดง (Red) + สีน้าเงิน (Blue) = สีม่วงแดง (Magenta)
สีน้าเงิน (Blue) + สีเขียว (Green) = สี ฟ้า (Cyan)
น้าเงิน (Blue) + สีเขียว (Green) + สีแดง (Red) = สีขาว (White)
สีเหลือง (Yellow) + สีม่วงแดง (Magenta) + สี ฟ้า (Cyan) = สีดา (Black)
ความสัมพันธ์ระหว่างแม่สีบวก (ซ้าย) และแม่สีลบ (ขวา)

การผสมภาพจากดาวเทียมให้เป็นภาพสีนั้น ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ต้องการขยายรายละเอียด
เฉพาะเรื่องให้เด่นชัดเจน สามารถจาแนกหรือมีสีแตกต่างจากสิ่งแวดล้อม โดยทั่วไปแล้วสีผสมมาตรฐาน
ที่รู้จักกันทั่วไปได้แก่ การผสมสีให้พืชพรรณปรากฏเป็นสีแดง ได้แก่
42

ระบบ แบนด์ หรือช่วงคลื่น สี


Landsat ระบบ MSS 4-5-7 สีน้าเงิน-สีเขียว-สีแดง (B-G-R)
Landsat ระบบ TM 2-3-4 สีน้าเงิน-สีเขียว-สีแดง (B-G-R)
SPOT ระบบ MLA 1-2-3 สีน้าเงิน-สีเขียว-สีแดง (B-G-R)

กระบวนการทาภาพสีผสม

ผลที่ได้จากการทาภาพสีผสม
43

Landsat ระบบ MSS แบนด์ 4-5-7 / B-G-R

Landsat ระบบ TM แบนด์ 2-3-4 / B-G-R


44

ภาพผสมสีธรรมชาติ (True Color Composite)


Landsat ระบบ TM แบนด์ 1-2-3 / B-G-R

SPOT ระบบ MLA แบนด์ 1-2-3 / B-G-R


45

นอกจากนี้ ภาพ TM ที่มีรายละเอียดภาพ 30 เมตร จานวน 6 แบนด์ (ยกเว้น แบนด์ 6) สามารถผสมสีให้


รายละเอียดแตกต่างตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิจัยด้านต่าง ๆ ดังนี้
ภาพสีผสมของดาวเทียมสารวจทรัพยากร Landsat ระบบ TM รายละเอียด 30 เมตร
ภาพ ช่วงคลื่น (Band) /นาเงิน-เขียว-แดง คุณสมบัติ
ให้สีธรรมชาติ คือ พืชพรรณเป็นสีเขียว ใช้ศึกษาความขุน่ ข้นของ
TM 123 / BGR
ตะกอน น้าตื้น และพื้นที่ชายฝั่ง
พืชพรรณเป็นสีเขียว ให้รายละเอียดความแตกต่างของความชื้น
TM 345 / BGR
ของดิน มีประโยชน์ในการวิเคราะห์ดินและพืชพรรณ
พืชพรรณสีแดงและส้ม แสดงขอบเขตพื้นดิน และน้าแยกป่าชาย
TM 354 / BGR
เลน (สีส้ม) ออกจากป่าบก (สีแดง) ให้ลักษณะคลองระบายน้า
TM 254 / BGR พืชพรรณสีแดง แยกพื้นที่สวนยางพารา (สีส้มและชมพู) ได้ชัดเจน
TM 754 / BGR พืชพรรณสีแดงให้รายละเอียดความชื้นที่แตกต่างตามลักษณะพื้นที่
TM 124 / BGR พืชสีแดง ให้รายละเอียดตะกอนขุ่นบริเวณชายฝั่ง

การสะท้อนพลังงานของ นา ดิน และพืชพันธุ์ ในช่วงคลืน่ ต่าง ๆ


เทียบกับช่วงคลื่น (แบนด์) ที่ใช้บนั ทึกข้อมูลของดางเทียม Landsat และ ดาวเทียม SPOT
46

6. การเน้นคุณภาพของภาพ (Image Enhancement) ภาพจากดาวเทียมต้นฉบับสามารถนามาปรับปรุง


คุณภาพให้มีรายละเอียดคมชัดยิ่งขึ้น โดยพิจารณาจากค่าระดับสีเทาของ ฮิสโตแกรม (Histogram) ของภาพ
จากดาวเทียม โดยทั่วไป นิยมใช้ 2 วิธี คือ การขยายค่าความเข้มระดับสีเทาให้กระจายจนเต็มช่วง เรียกว่า
แบบ Linear Contrast Stretch และ แบบ Non - Linear Contrast Stretch โดยให้มีการกระจาย ข้อมูลของภาพ
จากดาวเทียมในแต่ละค่าความเข้มให้มีจานวนจุดภาพใกล้เคียงกัน เรียกว่า Histogram Equalization Stretch

ฮิสโตแกรม (Histogram) ของภาพที่บันทึกในแต่ละช่วงคลื่น (แบนด์)


แกนนอน แทนระดับความเข้มของจุดภาพ ตังแต่ 0 (ดา) ถึง 255 (ขาว) แกนตัง แทนจานวนของจุดภาพ
47

ตัวอย่างภาพดาวเทียมต้นฉบับ

ภาพเดียวกันที่ผ่านการเน้นคุณภาพด้วยวิธี Histogram Equalization


4 . การวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมสารวจทรัพยากร

การวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมสารวจทรัพยากร แบ่งกว้างๆ ได้ ๒ แนวทาง คือ การแปลภาพ


ด้วยสายตา และ การประมวลผลภาพด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสาเร็จและความถูกต้องของการ
วิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมด้วยสายตานั้น ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติเฉพาะตัวของผู้ที่ทาการวิเคราะห์ว่า มี
ประสบการณ์และความชานาญในการเรียนรู้ลักษณะพื้นที่ศึกษา รูปแบบ ลักษณะ สีของวัตถุ ที่ปรากฏ
บนภาพ ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ ที่เป็นไปตามสภาพแวดล้อมและ
ระยะเวลาในแต่ละช่วง สาหรับการวิเคราะห์ภาพด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ต้องอาศัยความรู้ความ
เข้าใจเฉพาะด้านและการใช้เครื่องมือเฉพาะช่วย ทั้งสองแนวทางในบางครั้งจะปฏิบัติเพื่อเสริม
ประสิทธิภาพซึ่งกันและกัน เช่น การประมวลผลภาพให้มีความคมชัดขึ้นเพื่อทาการแปลภาพด้วยสายตา
หรือ การเลือกพื้นที่เพื่อเป็นตัวอย่างทางสถิติในการประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ก็ต้องอาศัยการ
ตีความด้วยสายตา การจะเลือกใช้วิธีการใด หรือใช้ควบคู่กัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์
ทั้งการวิเคราะห์ภาพด้วยสายตา และด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กันตามแผนภาพ

4.1 การแปลภาพด้วยสายตา
การแปลภาพด้วยสายตาต้องอาศัยความสามารถของผู้ทาการแปล และถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่สุด
หากมีความรู้หรือคุ้นเคยกับสภาพพื้นที่นั้น ๆ ด้วยแล้ว จะทาให้การแปลมีความถูกต้องและรวดเร็ว
โดยทั่วไป การแปลภาพนั้นอาศัยหลักการเดียวกัน โดยเฉพาะองค์ประกอบของการแปลภาพ ซึ่งสรุปได้
ดังนี้
1. ความเข้มของสีและสี (Tone / color) ลักษณะการสะท้อนคลื่นแสงทาให้สีที่ปรากฏใน
ภาพถ่ายดาวเทียมแตกต่างกับตามคุณสมบัติของวัตถุที่จะมีความสามารถในการดูดซับแสง การสะท้อน
แสงและการให้แสงผ่านวัตถุไม่เหมือนกัน ซึ่งความสามารถต่างๆ ดังกล่าวจะเกิดขึ้นในขณะเดียวกัน ถ้า
วัตถุมีการสะท้อนแสดงมากก็มีการดูดซับแสดงและยอมให้แสงผ่านน้อย ปกติวัตถุที่สะท้อนแสดงได้ดี
ภาพที่ปรากฏจะมีสีขาวจาง วัตถุที่มีการดูซับแสงมาก หรือมีการสะท้อนแสงน้อยสีจะทึบหรือดา ฉะนั้น
วัตถุในภาพถ่ายดาวเทียมจึงมีระดับความเข้มของสีต่างๆ กันในภาพขาว-ดา เช่น ป่าไม้ทึบสีคลอโพฟีลล์
หรือความเขียวมากปรากฏสีเข้ม ป่าโปร่งมีสีจาง น้าลึกปรากฏสีดาหรือเข้ม น้าตื้นหรือขุ่นมีสีจาง
ส่วนภาพสีผสม ในภาพถ่ายดาวเทียมได้จากการซ้อนข้อมูล 3 ช่วงคลื่น (แบนด์) เช่น แบนด์ 4 5 3 หรือ
4 5 7 ซึ่งจะพบว่าสีแดงเป็นสีของพืช สีเขียว สีน้าเงินหรือสีดา เป็นสีของน้า
2. ขนาด (Size) หมายถึง ความกว้าง ความยาว และความสูงของ วัตถุเนื่องจากภาพถ่ายดาวเทียม
มีมาตราส่วนเล็ก ดังนั้นวัตถุที่ปรากฏบนภาพจะขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่ของวัตถุ เช่น ภาพของดาวเทียม
Landsat ระบบ TM วัตถุที่มีขนาดตั้งแต่ 30  30 เมตร จึงจะเห็นในภาพและมีส่วนสัมพันธ์กับรูปร่าง คือ
49
การวิเคราะห์ ภาพ
การตรวจหา / การจาแนก
ประเภท
การวัด / คานวณพื้นที่
การแก้ปัญหา
การวิเคราะห์ ภาพด้ วยสายตา การประมวลผลภาพด้ วยคอมพิวเตอร์

ขั้นตอน เทคนิคและ องค์ประกอบ เทคนิคและ ขั้นตอน


การวิเคราะห์ เครื่องมือ เครื่องมือ การวิเคราะห์
องค์ ประกอบพืน้ ฐาน :
 ทดสอบสมมุติฐาน  แบบจาลองที่คิดขึ้น  สีและระดับสี  ค่าสถิติของตัวอย่าง  การรับรู้โดยรูปแบบ
ลาดับความสาคัญ เชิงสถิติ
 ลาดับเหตุผล  ข้อมูลประกอบ ของการจัดรู ปแบบเชิ งพืน้ ที่ :  ข้อมูลประกอบ  การรับรู้โดยรูปแบบ
- เอกสาร  ขนาด - ความเป็นไปได้ ความสัมพันธ์
 การนาหลักฐาน - การวัดใน อันดับแรก  วิธีการโดยใช้ทฤษฎี
 รูปร่าง
ไปสู่ข้อสรุป ห้องปฏิบัติการ การตัดสินใจ
 เนื้อภาพ
- รหัสการแปลภาพ  แบบจาลองทาง  การใช้เหตุผลโดย
 รูปแบบ
- การออกภาคสนาม คณิตศาสตร์ อาศัยสัญลักษณ์
 ความสูง
- การมองภาพสามมิติ
 เงา
- วิธีการค้นหา
 สถานที่
 ความเกี่ยวพัน
แบบแผนของการวิเคราะห์ ข้อมูลภาพดาวเทียมด้ วยสายตาและคอมพิวเตอร์
50

องค์ประกอบของการแปลภาพ (Elements of Image Interpretation)


ระดับความเข้ม (Black and White Tone)
องค์ประกอบพื้นฐาน
สี (Color)
(Primary Elements)
การมองสามมิติ (Stereoscopic Parallax)
ขนาด (Size)
การจัดรูปแบบเชิงพื้นที่ของระดับความเข้มและสี รูปร่าง (Shape)
(Spatial Arrangement of Tone and Color) ความหยาบ ละเอียดของเนื้อภาพ (Texture)
รูปแบบ (Pattern)
การวิเคราะห์จากองค์ประกอบพื้นฐาน ความสูง (Height)
(Based on Analysis of Primary Elements) เงา (Shadow)
องค์ประกอบสภาวะแวดล้อม ตาแหน่งที่ตั้ง (Site)
(Contextual Elements) ความเกี่ยวพัน (Association)

เป็นการจาลองสัดส่วนของวัตถุ ตามอัตราส่วนของมาตราส่วนของภาพที่ปรากฏในรูปของความกว้าง ยาว


หรือพื้นที่ เช่น ความแตกต่างระหว่างแม่น้าและคลอง พื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติ และสวนป่า
3. รูปร่าง (Shape) รูปร่างเป็นส่วนประกอบอีกอย่างหนึ่ง ในการที่จะตีความหมาย วัตถุหรือ
พื้นที่ปรากฏในภาพถ่าย พื้นที่แต่ละแบบ วัตถุแต่ละอย่าง จะมีลักษณะรูปร่างเฉพาะอย่าง เช่น ลาน้า แม่น้า
ถนน มีรูปร่างเป็นลายเส้น พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม รูปร่างของวัตถุที่เป็นเฉพาะตัว
อาจสม่าเสมอ หรือรูปร่างไม่สม่าเสมอ เช่นสนามบิน พื้นที่นาข้าว ถนน คลองชลประทาน เขื่อนเก็บกัก
น้า
4. เนื้อภาพ (Texture) ระดับความหยาบละเอียดของผิววัตถุในภาพถ่ายมีส่วนสัมพันธ์กับขนาด
ของวัตถุจริง วัตถุชนิดเดียวกันที่มีความสม่าเสมอในด้านขนาดและรูปร่าง เมื่ออยู่รวมกันจานวนมากๆ จะ
มีความละเอียดมากกว่าวัตถุชนิดเดี่ยวกัน แต่มีรูปร่างหลายแบบรวมกันและมีขนาดไม่เท่ากัน ในการ
วินิจฉัยความหยาบละเอียดจะแสดงออกในลักษณะของพื้นผิวภาพ เช่นละเอียดมากและราบเรียบ (Very
Fine and Smooth Texture) ละเอียด (Fine) ปานกลาง (Medium) หยาบ (Coarse) และหยาบมาก (Very
Coarse) เป็นผลมาจากความสม่าเสมอของวัตถุที่รวมกันอยู่ เช่น สวนยางพารามีเนื้อภาพละเอียด
เนื่องจากมีขนาดความสูงใกล้เคียงกันซึ่งแตกต่างจากพืชไร่และสวนผสม
5. รูปแบบ (Pattern) ลักษณะการจัดเรียงตัวของวัตถุ ปรากฏเด่นชัดระหว่างความแตกต่าง
ตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แม่น้า คลอง กับคลองชลประทาน บ่อ สระน้ากับเขื่อน
51

6. ความสูงและเงา (Height and shadow) ความมืดในภาพหรือส่วนที่ถูกปิดบัง ขึ้นอยู่กับมุมของ


ดวงอาทิตย์กับพื้นผิวโลก ประกอบกับความสูงต่าของภูมิประเทศ เมื่อนามาศึกษาประกอบกับลักษณะ
รูปแบบของลาน้า (Drainage Pattern) จะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงลักษณะของภูมิประเทศได้ เช่น เงาบริเวณเขา
หรือหน้าผา
7. พื้นที่ (Site) หรือตาแหน่งที่ตั้งของวัตถุที่พบตามธรรมชาติ เช่น พื้นที่ป่าชายเลนพบบริเวณ
ชายฝั่งทะเลน้าท่วมถึง สนามบินอยู่ใกล้แหล่งชุมชน
8. ความเกี่ยวพัน (Association) วัตถุบางอย่างมีความเกี่ยวพันกับสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น บริเวณที่มี
ต้นไม้เป็นกลุ่มๆ มักเป็นที่ตั้งของหมู่บ้าน ไร่เลื่อนลอยอยุ่ในพื้นที่ป่าไม้บนเขา
การแปลภาพเพื่อจาแนกวัตถุได้ดีและถูกต้อง ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นอย่างใด
อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างพร้อม ๆ กันไป ตามความยากง่ายและมาตราส่วนที่แตกต่างกันไป ซึ่งอาจไม่
แน่นอนเสมอไป รูปร่าง สี ขนาด อาจใช้เป็นองค์ประกอบในการแปลภาพพื้นที่หนึ่งหรือลักษณะหนึ่ง
ส่วนอีกบริเวณหนึ่งของพื้นที่เดียวกันอาจจะใช้องค์ประกอบอีกอย่างหนึ่งก็ได้ นอกจากนี้ จาเป็นต้อง
คานึงถึงลักษณะข้อมูลที่ได้รับจากภาพจากดาวเทียมอีก 3 ลักษณะมาประกอบการพิจารณา คือ
1. ลักษณะการสะท้อนช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุ แบบหลายช่วงคลื่น (Multispectral) ซึ่ง
สัมพันธ์กับความยาวช่วงคลื่นแสงในแต่ละแบนด์โดยวัตถุต่าง ๆ จะสะท้อนแสงในแต่ละช่วงคลื่นไม่เท่ากัน
ทาให้สีของวัตถุในภาพแต่ละแบนด์แตกต่างกันในระดับสีขาว-ดา ซึ่งทาให้สีแตกต่างในภาพสีผสมด้วย
2. ลักษณะรูปร่างของวัตถุที่ปรากฏในภาพ แตกต่างตามมาตราส่วนและรายละเอียดภาพจาด
ดาวเทียม เช่น ระบบ MSS วัตถุหรือพื้นที่ขนาด 80 ม.  80 ม. จึงจะปรากฎในภาพ และระบบ PLA มี
ขนาด 10 ม.  10 ม. เมื่อคุ้นเคยกับลักษณะรูปร่างวัตถุ ทาให้ทราบลักษณะที่จาลองในภาพจากดาวเทียมจะ
มีลักษณะเดียวกัน
3. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของวัตถุตามช่วงเวลาที่ดาวเทียมบึนทึกภาพ ให้ประโยชน์ในการ
ติดตามศึกษาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแบบต่อเนื่องๆ เช่น ดาวเทียม Landsat บันทึกภาพบริเวณเดิมทุก ๑๖ วัน
สามารถติดตามการบุกรุกทาลายป่า การเติบโตของพืช ตั้งแต่ปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว ลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทาให้มีความแตกต่างของระดับสีในภาพขาวดา และภาพสีผสม ซึ่งลักษณะเช่นนี้
เหมาะแก่การศึกษาและติดตามผลการเปลี่ยนแปลงสภาพของทรัพยากรธรรมชาติ และภัยจากธรรมชาติ

เทคนิคในการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม
1.) ให้จาแนกหรือแยกประเภทพื้นที่จากสิ่งที่เห็นได้ง่าย และรู้จักดีเสียก่อน แล้วค่อยๆ แยกในสิ่งที่
ยากหรือไม่รู้จัก
2.) ให้ดาเนินการแปลจากสิ่งที่ใกล้ตัวไปหาไกลตัว เช่น หมู่บ้าน ถนน แหล่งน้า และป่าไม้
52

3.) การแปลควรเริ่มต้นจากเรื่องทั่วๆ ไป เช่น ประเภทของการใช้ที่ดินในระดับที่ 1 เช่น จาแนก


พื้นที่เกษตรกรรม ป่าไม้ แหล่งน้า แล้วจึงค่อยพิจารณาแยกรายละเอียดในแต่ละประเภทการใช้ที่ดินในระดับ
ที่ 2 เช่น พื้นที่การเกษตรก็แยกเป็นการเกษตรประเภทใด ได้แก่ ที่นา พืชไร่ เป็นต้น

ตารางแสดงการจาแนกระดับประเภทการใช้ที่ดินจากภาพถ่ายดาวเทียม

ประเภทการใช้ที่ดิน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3


แหล่งชุมชน ที่อยู่อาศัย หมู่บ้าน ตัวเมือง
สาธารณูโภค เส้นทางคมนาคม ถนน ทางรถไฟ สนามบิน ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง
แหล่งน้า แม่นา้ บึง หนอง และ - -
อ่างเก็บน้า

พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เพาะปลูก ที่นา พืชไร สวน ทุ่งหญ้า อ้อย มันสาปะหลัง


ข้างโพด อื่น

พื้นที่ป่าไม้ ป่าไม้ ป่าทึบ ป่าโปร่ง ป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ


ป่าเต็งรัง ป่าชายเลน
ป่าปลูก ป่าเสื่อมโทรม

คุณสมบัติของผู้แปล
การที่จะวินิจฉัยวัตถุต่างๆ ในภาพถ่ายดาวเทียมจะเป็นต้องอาศัยความรู้ และประสบการณ์
ตลอดจนความชานาญหลายอย่างประกอบกัน จึงจะเป็นผู้ที่สามารถแปลภาพถ่ายดาวเทียมได้ดีและถูกต้อง
มีข้อผิดพลาดน้อย จะต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญได้แก่ ความสามารถของสายตา ความรู้ภูมิหลัง ประสบการณ์
และความสามารถของจิตใจในการตัดสินใจอย่างถูกต้องและฉับไว
53

4.2 การประมวลผลภาพดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นระบบรับสัญญาณระยะไกล (Remote Sensing System) จะมี
คุณสมบัติที่สาคัญ ได้แก่ ความละเอียดเชิงพื้นที่ (Spatial Resolution) ความละเอียดเชิงคลื่น (Spectral
Resolution) และ ความละเอียดของระดับแสง (Radiometric Resolution) นอกจากนี้ คุณสมบัติที่สาคัญ
ของตัวระบบเองก็คือ ความละเอียดในด้านเวลา (Temporal Resolution) ซึ่งหมายถึง ช่วงเวลาที่มีการ
กลับมารับสัญญาณ ณ บริเวณเดิม กล่าวโดยสังเขป ความละเอียดเชิงพื้นที่ (Spatial Resolution) โดยทั่วไป
จะหมายถึง พื้นที่ภูมิประเทศซึ่งอุปกรณ์รับสัญญาณสามารถบันทึกได้ จากระยะความสูงที่กาหนด ณ จุด
ของเวลาหนึ่ง (Instantaneous Field of View : IFOV) ความละเอียดเชิงคลื่น (Spectral Resolution)โดย
ส่วนมาก เครื่องรับสัญญาณ (Sensor) ของดาวเทียม จะบันทึกสัญญาณโดยแบ่งออกเป็นหลายช่วงคลื่น
(Multiband or Multispectral) ซึ่งมีจานวนและความกว้างของช่วงคลื่นต่างกัน ข้อมูลจากดาวเทียมที่มีการ
แบ่งช่วงคลื่นที่แคบและมีหลายช่วงคลื่น จะสามารถแยก (Discriminate) รายละเอียดต่างๆ ได้ดี ความ
ละเอียดของระดับแสง (Radiometric Resolution) คือ จานวนของค่าระดับตัวเลข (Digital Level) ที่ใช้ในการ
บันทึก และแสดงข้อมูลภาพซึ่งถ้าแบ่งออกเป็นหลายระดับ ก็จะสามารถบันทึกและแสดงรายละเอียดต่าง ๆ
ได้มากขึ้น โดยจานวนระดับจะถูกกาหนดในลักษณะเป็นกลุ่มของเลขฐานสอง (Bit) สาหรับค่าระดับ
ตัวเลขจากศูนย์ (ดา) จนถึงค่าที่มากที่สุด (ขาว)

ข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็น ข้อมูลเชิงคัวเลข (Digital image data) เก็บในรูปของเทป


แม่เหล็กไฟฟ้าเรียกว่า CCT (Computer Compatible Tape) สามารถนามาสร้างเป็นภาพ และประมวลผล
ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งแต่ละภาพจะครอบคลุมพื้นที่แตกต่างกัน ตามชนิดดาวเทียมเช่น ดาวเทียม
Landsat ระบบ TM มีขนาดภาพ 185  185 ตร.กม. บันทึกภาพใน 7 ช่วงคลื่น (แบนด์ : band) ตั้งแต่ช่วง
คลื่นสีน้าเงิน (Visible Blue) จนถึง อินฟราเรดความร้อน (Thermal Infrared) แต่ละแบนด์ประกอบด้วย
จุดภาพ (pixel or picture element) สี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดเท่า ๆ กัน เรียงตัวอย่างมีระบบเป็น แถวลาดับ 2
มิติ (Two - dimensional Array) และ มีขนาดแตกต่างกัน ตามความละเอียดของจุดภาพ สาหรับ ระบบ TM
มีขนาดจุดภาพ 30 ม.  30 ม. มีจานวน 35 ล้านจุดภาพ/แบนด์ ดังนั้น การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมาก
จาเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยถ้าเป็นการจัดเก็บข้อมูลชนิด 8 bit (1 byte) แต่ละจุดภาพจะมีค่าระดับ
8
ความสว่าง (Brightness Value : BV) ระหว่าง 0 (ดา) – 255 (ขาว) หรือ 2 = 256ระดับ หรือถ้าเป็นภาพสี
ผสมระหว่าง 3 แบนด์ ก็จะสามารถให้ระดับสีได้ถึง 256 3 สี (16,777,216 สี) และสามารถประมวลผลได้ k-
dimensions อีกด้วย (k คือจานวนแบนด์ที่ใช้ในการวิเคราะห์) ซึ่งสามารถใช้คอมพิวเตอร์และข้อมูลเชิง
สถิติจากกลุ่มตัวอย่างช่วยในการจาแนกข้อมูลแต่ละจุดภาพ ออกเป็นชั้นข้อมูลแสดงการใช้ที่ดินในบริเวณ
นั้น ๆ ได้
54

ภาพในบริ เวณเดียวกันที่ประกอบขึน้ จากจุดภาพ (pixel) ที่ มีความละเอียด 30 เมตร


(ซ้ าย) เปรี ยบเที ยบกับ จุดภาพ ที่ มีความละเอียด 1 เมตร (ขวา)
55

สัญญาณที่ถูกส่งจากดาวเทียมมายังสถานีรับฯ ภาคพื้นดิน จะถูกบันทึกไว้ในเทปซึ่งมีความถี่สูง


(หรือ High Density Tape-HDT) เพื่อนาไปสร้างเป็นเทปคอมพิวเตอร์ (Computer Compatible Tape-CCT)
หรือ ฟิล์มขนาดต่างๆ ต่อไป
ประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวิเคราะห์แปลตีความด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ คือข้อมูลภาพเชิง
ตัวเลข (Digital Image Data) ที่บันทึกบนสื่อต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีนี้ ถึงแม้ต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง แต่มีข้อดีเด่นชัดบางประการคือ สามารถ
นามาจัดการได้หลายอย่าง (Versatility) นามาทาซ้าได้ (Repeatability) และยังสามารถรักษาสภาพของความ
ละเอียดถูกต้องของข้อมูลเดิมไว้ได้ (Preservation of the Original Precision )
การวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์ หรือการวิเคราะห์ข้อมูลภาพเชิงตัวเลข (Digital
Image Processing) ครอบคลุมกรรมวิธีต่างๆ แบ่งแยกตามภารกิจได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกันคือ
1.1 การสร้างภาพกลับคืน (Image Restoration)
1.2 การปรับปรุงคุณภาพของภาพ (Image Enhancement)
1.3 การจาแนกประเภทข้อมูลจากภาพ (Image Classification))
1.1 การสร้างภาพกลับคืน Image Restoration
การสร้างภาพกลับคืน คือการหาและชดเชยหรือแก้ไขความคลาดเคลื่อนของข้อมูล (Data errors)
คลื่นรบกวน (Noise) และความเพี้ยนเชิงเรขาคณิต (Geometric Distortion)
สัญญาณที่บันทึกได้และถูกส่งมายังสถานีรับฯ นั้น อาจเกิดความคลาดเคลื่อนในลักษณะต่างๆกันได้
ความคลาดเคลื่อนนี้หมายถึง การที่ข้อมูลที่ได้รับมีลักษณะคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง คือ ความคลาด
เคลื่อนไปจากความเป็นจริงที่ปรากฏบนพื้นโลก
ความคลาดเคลื่อนหลัก ได้แก่ ความคลาดเคลื่อนทางด้านแสง (Radiometric Distortion) และ
ความคลาดเคลื่อนทางด้านเรขาคณิต (Geometric Distortion) ความคลาดเคลื่อนทั้งสองประการนี้ เกิดขึ้น
จากสาเหตุหลายประการ เช่น
- ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ระหว่างพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับพื้นผิวโลกและกับชั้นบรรยากาศห่อหุ้ม
โลก ก่อนที่พลังงานนั้นจะถูกบันทึก โดยดาวเทียม ( ปฏิกิริยานี้ ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนทางด้านแสง )
- การเคลื่อนที่ของดาวเทียม และการหมุนรอบตัวเองของโลก รวมทั้งการแกว่งของกระจก
กวาดภาพ ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกัน และทาการบันทึกสัญญาณ (การเคลื่อนไหวต่าง ๆ นี้ ก่อให้เกิดความคลาด
เคลื่อนทางเรขาคณิต) รวมทั้ง
- ความบกพร่องของอุปกรณ์ที่ใช้บันทึกสัญญาณด้วย
ความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ เหล่านี้ เกิดขึ้นกับข้อมูลที่ส่งมายังสถานีรับฯ ดังนั้นก่อนที่จะนาข้อมูลหรือ
สัญญาณที่ได้รับนี้ไปใช้ประโยชน์หรือไปแปลวิเคราะห์ตีความภาพต่อไป จึงจาเป็นต้องมีการแก้ไข
56

ความคลาดเคลื่อนเหล่านี้เสียก่อน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริงและ
ถูกต้องมากที่สุด ขบวนการปรับแก้ที่สาคัญคือ การปรับแก้ระดับสีเทา หรือ ระดับแสง (Radiometric
Correction) และ การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนหรือความเพี้ยนทางเรขาคณิต (Geometric Correction) การ
สร้างภาพกลับคืนนี้ มักเป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญประจาสถานีรับฯ แต่การที่ผู้ใช้ข้อมูลทราบ
ขบวนการที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้สามารถวินิจฉัยและใช้ข้อมูลได้ดีขึ้น
1.1.1 การปรับแก้ระดับสีเทา ( Radiometric Correction)
ความคลาดเคลื่อนทางด้านแสง มีสาเหตุการเกิดมาจากปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศและความ
บกพร่องของอุปกรณ์การกวาดรับภาพ ทั้งนี้แล้วแต่กรณีไป
วิธีการปรับแก้ระดับสีเท่าหรือแสง ที่จะกล่าวถึงในนี้ ได้แก่
- Atmospheric Correction
- Sixth-line Striping
Atmospheric Correction คือการปรับแก้ระดับสีเทาที่คลาดเคลื่อน โดยมีสาเหตุมาจาก
ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศ ปฏิกิริยาดังกล่าว ที่มีอิทธิพลต่อลักษณะของข้อมูล ได้แก่ การกระจัดกระจายใน
ชั้นบรรยากาศ (atmospheric scattering) และ การดูดซับในบรรยากาศ (atmospheric absorption)
การกระจัดกระจายในชั้นบรรยากาศ มีผลทาให้ค่าความสว่าง (Brightness Value - BV) ของ
ข้อมูลเพิ่มมากขึ้น มักเกิดขึ้นกับช่วงคลื่นที่สั้น เช่น ช่วงคลื่นสีเขียว หรือ 0.5-0.6 ไมครอน
การดูดซับในบรรยากาศ มีผลทาให้ค่าความสว่าง (BV) ของข้อมูลลดลง มักเกิดขึ้นในช่วง
คลื่นที่ยาว เช่น อินฟราเรด 0.8-1.1 ไมครอน
ปฏิกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้ ทาให้ข้อมูลในแบนด์อินฟราเรด มักมีสีค่อนข้างคล้า และข้อมูลในแบนด์
สีเขียว มักมีสีค่อนข้างจาง ความสว่างนี้ลดความคมชัดของภาพลง ซึ่งขบวนการที่ใช้แก้ไขปรากฏการณ์
ดังกล่าวนี้เรียกว่า การกาจัดหมอกแดด (Haze Removal) โดยการนาค่า BV ที่ต่าที่สุดในแต่ละแบนด์ไป
หักออกจากค่า BV ทั้งหมดของแบนด์นั้น นั่นคือไปหักออกจากทุกจุดภาพ โดยถือหลักการที่ว่า ค่า BV
เหล่านี้เพิ่มขึ้นมีผลจากการกระจัดกระจาย
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการดูดซับในบรรยากาศ ยากต่อการแก้ไข เพราะการดูดซับดังกล่าว
นี้ เกิดจากการดูดซับของไอน้าในบรรยากาศ การแก้ไขจึงจาต้องอาศัยข้อมูลทางภูมิอากาศของบริเวณภาพ
นั้น และวันที่ที่บันทึกสัญญาณภาพนั้น แต่การดูดซับน้าไม่ทาให้คุณภาพของภาพ (ความคมชัด ) ด้อยลงมาก
เท่าสาเหตุจากการกระจัดกระจาย การแก้ไขปรากฏการณ์นี้จึงมักถูกมองข้ามไป
Sixth-line Striping Correction เช่นการที่ระบบ MSS ทาการกวาดภาพโดยดีเทคเตอร์
(Detector) 6 ตัวนั้น และถึงแม้อุปกรณ์ดังกล่าวจะได้รับการปรับแก้ (calibrated) ขณะติดตั้งแล้ว แต่ความ
บกพร่องยังเกิดขึ้นได้ในบางโอกาส มีผลทาให้ scan line ที่ ๖ มีค่าความสว่าง ( BV ) หรือมีค่าเป็นตัวเลข
(digital Number-DN) ที่สูงกว่า หรือ ต่ากว่า ( สว่างกว่าหรือคล้ากว่า scan line อื่น ๆ ภาพที่ได้มีลักษณะ
เป็นเส้นขาวเล็ก ๆ หรือ ดาเล็ก ๆ คาดทุก ๆ แถวที่ 6 ตลอดทั้งภาพ (scene)
57

วิธีการแก้ไขที่ง่ายที่สุด คือการใช้ normalizing factors เป็นตัวคูณค่า BV ของ pixels ต่าง ๆ ใน


เส้นที่ข้อมูลเสีย คือ เส้นที่หกเหล่านั้น เพื่อให้ได้ค่า mean และ standard deviation เท่ากันทั้งภาพค่า
normalizing factor หรือ correction factor คือค่า standard deviation นั่นเอง
การปรับแก้ระดับสีเท่านี้มักกระทาก่อนการนาข้อมูลมาวิเคราะห์หรือแปลตีความมักกระทาที่
สถานีรับฯ หลายคนจึงจัดการปรับแก้ระดับสีเท่านี้อยู่ในขบวนการ Data preprocessing คือ การปรับแก้ก่อน
นาไปวิเคราะห์ไม่ว่าจะด้วยสายตา หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์
1.1.2 การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (Geometric Correction )
การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิตที่เป็นพื้นฐานมักกระทาที่สถานีรับ ฯ ก่อนนา
ข้อมูลนั้นมาผลิตเป็นเทป CCT หรือ ฟิล์ม การปรับแก้ดังกล่าว เป็นการปรับแก้ความคลาดเคลื่อนทาง
เรขาคณิตทั้งที่เป็นระบบ (systematic distortions) และที่ไม่เป็นระบบ (non systematic distortions) การ
ปรับแก้ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิตมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ คือ
- เพื่อขจัดความคลาดเคลื่อน ฯ ออกจากภาพ และ
- เพื่อจัดปรับตาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏบนภาพให้สอดคล้องกับโปรเจคชั่นของแผน
ที่ (Cartographic Projection)
ความเพี้ยนเชิงเรขาคณิตที่เป็นระบบ (Systematic Distortions) ได้แก่ความเพี้ยนที่เกิดขึ้น
เหมือนกันบนทุก ๆ ภาพ และเป็นความเพี้ยนที่ทราบอยู่แล้ว หรือ คานวณได้ ความเพี้ยนเหล่านี้ได้แก่ scan
skew , scanner distortion และ variation in scanner mirror velocity
Scan skew เกิดจากการเคลื่อนไปข้างหน้าของยานดาวเทียม ขณะที่กระจกทาการกวาดภาพ
ทาให้เกิดความเพี้ยนตามเส้น scan line แก้ไขได้โดยการเพิ่มอัตราความเร็วในการ sampling ตามแนว scan
line ให้เร็วกว่าตามแนววงโคจร
Scanner distortion เกิดจากการที่ระยะทางของช่วง sampling (57 เมตร) มักจะเพิ่มขึ้นที่
บริเวณขอบภาพ คือเป็นสัดส่วนกับค่า tangent ของมุมที่กวาดภาพ(5.8 องศา ) ซึ่งจัดว่าเล็ก ความผิดเพี้ยนจึง
เกิดขึ้นน้อย
Variation in scanner mirror velocity คือ การที่กระจกกวาดภาพในความเร็วไม่เท่ากัน
ถึงแม้จะมีการ calibrate หรือการปรับตั้งก่อนขึ้นโคจรแล้วก็ตาม กระจกมักหยุดนิ่งที่ปลายสุดของการกวาด
แต่ละเส้น ก่อนที่จะหันกลับมาเริ่มการกวาด scan line ต่อไป แก้ไขได้โดยการหาค่าความเร็วของการกวาด
ของกระจก
ความเพี้ยนเชิงเรขาคณิตที่ไม่เป็นระบบ (Non systematic distortions) ได้แก่ ความผิดเพี้ยนซึ่งไม่
เท่ากันบนทุกภาพ แต่ละภาพมีความผิดเพี้ยนที่ไม่เหมือนกัน และไม่สามารถจะทานายได้ ต้องทาการแก้ไข
แต่ละภาพไป ความผิดเพี้ยนดังกล่าวเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอนในด้านระดับความสูงของการโคจรของ
ดาวเทียม และความไม่แน่นอนในด้านความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวเทียม แก้ไขได้โดยใช้ข้อมูลที่ได้จาก
การติดตามดาวเทียม (tracking data) และ จากข้อมูลจุดควบคุมภาคพื้นดิน (ground control information)
58

ในการบันทึกสัญญาณแต่ละภาพ ดาวเทียมใช้เวลา 28 วินาที เป็นขณะเดียวกันกับที่โลกมีการ


หมุนรอบตัวเองด้วย ดังนั้น จึงมีการผิดเพี้ยนเกิดขึ้นในทิศทางของการกวาดภาพ แต่จะมากน้อยเพียงใดจะ
เป็นฟังก์ชั่น (function) ของแนวการโคจรและการมุ่งหน้าของยานดาวเทียม การแก้ไขกระทาทีละกลุ่ม 6
scan line โดยทาการเลื่อนออกไป (offset) ทีละ ๖ เส้น เพื่อชดเชยให้ตรงกับความเป็นจริงในการที่โลกมีการ
หมุนรอบตัวเอง ทาให้ภาพแต่ละ frame มีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมด้านขนาน
ความแตกต่างในอาการทรงตัวหรือความมั่นคงของดาวเทียมขณะเคลื่อนที่ (เช่น roll , pitch และ
yaw ) ซึ่งเป็นอาการเอียงรอบแกนหมุนทั้งสาม คือ XYZ ทาให้เกิดความผิดเพี้ยนทางเรขาคณิต ซึ่งต้องทา
การแก้ไขแต่ละภาพไป วิธกี ารคือ เลือกสิ่งที่เห็นชัดเจนบนภาพ และทราบตาแหน่งพิกัดอย่างแน่นอน
เป็นจุดควบคุมภาคพื้นดิน (ground control points - GCP’S) ตาแหน่ง (ค่าพิกัด) ของ GCP’S ที่ปรากฏบน
ภาพ กับ ค่าพิกัด GCP’S จริงซึ่งอ้างอิงกับระบบพิกัดภาคพื้นดิน จะใช้เพื่อหาความสัมพันธ์ของการแปลง
(Geometric Transformations) ระหว่างระบบพิกัดทั้งสอง จากระบบพิกัดของภาพไปสู่ระบบพิกัด
ภาคพื้นดิน และนาไปใช้ปรับแก้ภาพต่อไป
Digital Geometric Registration or Rectification คือ การขจัดความผิดเพี้ยนทางเรขาคณิตเพื่อ
ทาการปรับซ้อน (register) ข้อมูลภาพที่แก้ไขแล้วนี้สู่โปรเจคชั่นของแผนที่ หรือสู่ภาพอีกภาพหนึ่ง (ซึ่งได้
ปรับแก้สู่โปรเจคชั่นแผนที่แล้ว) กระทาได้ 2 ขั้นตอน คือ
- การ Transformation เป็นการปรับแก้ทางตาแหน่งของแต่ละจุดภาพสู่โปรเจคชั่นแผนที่
- การ Resampling โดยหลังจากการปรับแก้ทางตาแหน่งของจุดภาพสู่โปรเจคชั่นแผนที่แล้ว
จะต้องมีการคานวณค่าความสว่าง (Brightness value) หรือค่า DN (digital number) ของแต่ละจุดภาพใหม่
โดยอาศัยค่าความสว่างของจุดภาพเดิม
ขั้นตอนแรกเป็นการกาหนดตาแหน่งของจุดภาพในภาพใหม่ (output image) และขั้นตอนที่สอง
คือ การกาหนดค่า DN ให้แก่จุดภาพในภาพใหม่ การกาหนดตาแหน่งของจุดภาพในภาพใหม่
มักใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการแปลงพิกัดในระบบสองมิติแบบต่าง ๆ โดยก่อนอื่นจะต้องหา
องค์ประกอบที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดสองมิติของภาพกับระบบพิกัดสองมิติภาคพื้นดินก่อน
โดยอาศัยจุดที่เห็นเด่นชัดบนภาพ เช่น จุดตัดกันของถนน มุมบ่อน้า ขอบชายฝั่ง ซึ่งทราบค่าพิกัดในระบบ
สองมิติของภาพ เช่น row – column และทราบค่าพิกัดในระบบสองมิติภาคพื้นดิน เช่น Easting – Northing
ซึ่งอาจได้จากการสารวจภาคพื้นดิน หรือ ได้จากแผนที่ที่มีความละเอียดถูกต้องสูง เป็นจุดควบคุมภาคพื้นดิน
(Ground Control Point : GCP) อย่างน้อย 2 จุด เพื่อหาพารามิเตอร์ ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัด
ทั้งสองอย่างน้อย 4 ตัว ได้แก่ การหมุน (Rotation) มาตราส่วน (Scale Factor) การเลื่อนทางแกน X (X –
translation) และ การเลื่อนทางแกน Y (Y – translation) ซึ่งโดยปกติจะใช้มากกว่า 2 จุด ซึ่งกระจายอยู่ทั่ว
ทั้งภาพ เพื่อให้ได้ความถูกต้องสูงขึ้น และ/หรือ ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนขึ้น ตามสมมุติฐาน
ขององค์ประกอบความคลาดเคลื่อนความคลาดเคลื่อนที่มากขึ้น ซึ่งจะมีพารามิเตอร์มากกว่า 4 ตัว โดย
59

หลังจากทราบพารามิเตอร์ในการแปลงค่าพิกัดจากระบบพิกัดภาคพื้นดินสู่ระบบพิกัดภาพแล้ว ตาแหน่งของ
จุดภาพในระบบพิกัดภาพจะสามารถคานวณได้จากค่าพิกัดภาคพื้นดิน โดยเขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
x = f1 (X , Y)
y = f2 (X , Y)
โดย (x , y) = พิกัดของจุดภาพ (row , column)
(X , Y) = พิกัดพื้นภาคพื้นดิน (easting , northing)
f1 , f2 = ฟังค์ชั่นการแปลงพิกัด

ในขั้นตอนแรก การ Transformation จะเป็นการกาหนดตาแหน่งที่อ้างอิงกับระบบพิกัด


ภาคพื้นดินที่ถูกต้องให้กับจุดภาพ (pixel) ที่ว่างเปล่า (ไม่มีค่าความสว่างของจุดภาพนั้น) ซึ่งอาจจะ
กาหนดให้ขนาดของจุดภาพใหม่ มีความละเอียดเท่ากับจุดภาพเดิม หรือใหญ่กว่าเดิมก็ได้ แต่ไม่นิยมให้มี
ขนาดเล็กกว่าเดิม เนื่องจากไม่ช่วยให้เห็นภาพได้ละเอียดขึ้น นอกจากเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะบางอย่าง
แล้วคานวณกลับไปหาตาแหน่งของจุดภาพที่อ้างกับระบบพิกัดภาพ (row , column) ซึ่งแต่ละจุดจะมีค่า
ความสว่าง โดยใช้ฟังค์ชั่นการแปลงพิกัดที่ได้ ซึ่งเมื่อแปลงแล้วจะเกิดการซ้อนทับกันของจุดภาพใหม่ (ว่าง)
กับจุดภาพเดิม (มีค่าความเข้ม) ดังภาพด้านซ้ายมือ

โดยปกติการซ้อนทับกันของจุดภาพทั้งสองจะไม่ทับกันสนิทแต่จะมีการเหลื่อมกันเล็กน้อย
ต่อจากนั้น ต้องมีการหาค่าความสว่างให้แก่จุดภาพ (ว่าง) ขึ้นใหม่ ด้วย โดยการประมาณค่าในช่วง
(interpolate) จากค่าของจุดภาพใกล้เคียงในภาพเดิม แล้วจึงนาค่าความสว่างที่ได้ใส่ให้กับจุดภาพใหม่ ดัง
ภาพด้านขวามือ ขบวนการนี้เรียกว่า Resampling มีเทคนิคที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่
60

- Nearest neighbor interpolation การ resampling โดยพิจารณาจากการซ้อนทับกันของจุดภาพ


ใหม่บนจุดภาพเดิม ถ้าใกล้เคียงกับจุดภาพเดิมจุดใดมากที่สุดก็ใช้ค่าความสว่างของจุดภาพเดิมนั้นเป็นค่า
ความสว่าง (brightness value : BV) หรือ Digital number : DN ของจุดภาพใหม่ (ซึ่งอ้างบนระบบพิกัด
ภาคพื้นดิน)
61

- Bilinear interpolation การ resampling หาค่า DN ของจุดภาพใหม่ ซึ่งคานวณได้จากจุดภาพเก่า


4 จุดรอบจุดภาพใหม่ที่ต้องการ
62

- Cubic interpolation หรือ Cubic convolution คือ การ resampling หาค่า DN ของจุดภาพ
ใหม่ ซึ่งคานวณได้จากจุดภาพเก่า 16 จุดรอบจุดภาพใหม่ที่ต้องการ เป็นวิธีที่ให้ภาพมีคุณภาพดีที่สุด แต่ใช้
เวลาในการคานวณมากที่สุด
63

ตัวอย่างภาพต้นฉบับ

ภาพใหม่ที่ผ่านการ Resampling ด้วยวิธี Nearest neighbor interpolation


64

ภาพใหม่ที่ผ่านการ Resampling ด้วยวิธี Bilinear interpolation

ภาพใหม่ที่ผ่านการ Resampling ด้วยวิธี Cubic convolution


65

1.2 การปรับปรุงคุณภาพของภาพ (Image Enhancement)


การปรับปรุงคุณภาพของภาพเป็นการแก้ไขภาพให้เหมาะแก่การใช้หรือการวิเคราะห์มากขึ้น
กรรมวิธีทั้งหลายที่นามาใช้เป็นการเปลี่ยนค่าตัวเลขเดิมของภาพ กระทาหลังขั้นตอนของกระบวนการสร้าง
ภาพกลับคืน และกระทาในแต่ละแบนด์แยกจากกัน เช่นเดียวกับการสร้างภาพกลับคืน
ทั้งการสร้างภาพกลับคืน และการปรับปรุงคุณภาพของภาพ ส่วนมากกระทาโดยใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพราะต้องอาศัยการคานวณ และต้องมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาก
การปรับปรุงคุณภาพของภาพ เป็นการใช้เทคนิคต่าง ๆ โดยเฉพาะเทคนิคทางสถิติ ประยุกต์ใช้
เข้ากับข้อมูลเดิม เปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูล ทาให้ได้ข้อมูลใหม่ที่มีความคมชัด และง่ายต่อการแปล
วิเคราะห์ตีความมากขึ้น ไม่ว่าจะนาข้อมูลนั้นไปสร้างเป็นภาพและแปลตีความด้วยสายตา หรือนาไป
วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของภาพให้ดีขึ้น ให้ผล
แตกต่างกัน และเน้นหรือขยายความชัดเจนของข้อมูลที่แตกต่างกัน เช่น ในการแปลด้านธรณีวิทยา หรือ
ลักษณะทางกายภาพอื่น ๆ มักต้องการขยายความชัดเจน (enhance) ของการวางตัวต่าง ๆ (lineament)
เทคนิคที่ช่วยด้านนี้ ได้แก่ edge enhancement และ filtering เป็นต้น หรือในการแปลด้านการหาเนื้อที่ป่า
ไม้ หรือหามวลชีวะ (biomass) ที่ปลุกคลุมพื้นผิวโลก เทคนิคที่เหมาะสมอาจได้แก่ ratioing หรือ density
slicing เป็นต้น เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพของภาพมีหลายวิธีการและหลายทางเลือกไม่จากัด การจะใช้
วิธีการใดวิธีการหนึ่งเป็นการเลือกตามความประสงค์ของแต่ละบุคคล ขอยกตัวอย่างวิธีต่าง ๆ พอสังเขป
1.2.1 Contrast enhancement เนื่องจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการบันทึกและแสดงผลภาพ
โดยทั่วไปจะสามารถแสดงความแตกต่างของระดับสีเทาได้ 256 ระดับ ตั้งแต่ 0 (ดา) – 255 (ขาว) เป็นอย่าง
ต่า แต่ข้อมูลภาพดาวเทียมแต่ละแบนด์ ที่ได้จากเครื่องรับสัญญาณ (Sensor) จะไม่ค่อยมีการบันทึกค่าได้เต็ม
ช่วงดังกล่าว (0 –255) แต่จะอยู่ในช่วงแคบ ๆ เช่น 59 - 159 ดังนั้น ถ้าสามารถที่จะขยายค่า ระดับความเข้ม
เช่น จาก 59 – 159 ออกไปแสดงผลจนเต็มช่วง ที่ตั้งแต่ 0 – 255 ได้ ก็จะได้ภาพที่เห็นความแตกต่าง
(contrast) ของรายละเอียดได้ดีขึ้น ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ขอยกตัวอย่างบางวิธี ดังนี้
- Linear contrast stretch เป็นการขยายช่วงของค่าความเข้มสีเทาเดิม (ที่แคบ) ออกไป
จนเต็มช่วง 0 – 255 เช่น ค่าน้อยที่สุด กาหนดให้เท่ากับ 0 ค่ามากที่สุด เท่ากับ 255 ค่าอื่น ๆ ก็ถูกคานวณขึ้น
ใหม่ ตามสมการเส้นตรง รายละเอียดในภาพ ถ้าเป็นสีอ่อนอยู่แล้วก็จะอ่อนขึ้น ถ้าเข้มก็จะเข้มขึ้น ทาให้
เห็นความแตกต่าง (contrast) ของรายละเอียดชัดเจนขึ้น
Histogram equalization ข้อด้อยประการหนึ่งของการเน้นภาพด้วยวิธี Linear contrast
stretch ก็คือ ช่วงระดับการแสดงผล (0 – 255) จะใช้เพื่อแสดง ระดับสีเทาของข้อมูลที่มีจานวน (จุดภาพ)
น้อย เท่า ๆ กับที่ใช้แสดงข้อมูล (จุดภาพ) ที่มีจานวนมาก ด้วยวิธีการ Histogram equalization ซึ่งเป็นว
แบบ non – linear contrast stretch จะเป็นการกาหนดช่วงของการแสดงผล บนพื้นฐานของปริมาณจุดภาพ
ช่วงที่มีปริมาณจุดภาพมากจะครอบคลุมช่วงการแสดงผล (0-255) มากกว่าช่วงที่มีจานวนจุดภาพน้อย
66

แผนภาพแสดงการ Contrast enhancement แบบต่าง ๆ


(a) ฮิสโตแกรมของการบันทึกค่าพลังงานในช่วงคลื่น (แบนด์) ตัวอย่าง ซึ่งมีค่าระหว่าง 60 – 158
(b) ถ้าไม่มีการยืด (stretch) ออกไป ช่วงการแสดงผลตั้งแต่ 0 – 59 และ 159 – 255 ก็จะไม่ถูกใช้ประโยชน์
(c) การยืดค่า 60 – 158 ออกไปแสดงผลเต็มช่วง 0 – 255 แบบ Linear contrast stretch
(d) การยืดค่า 60 – 158 ออกไปแสดงผลเต็มช่วง 0 – 255 แบบ Histogram equalization
67

ข้อมูลตัวอย่าง ภาพดาวเทียม Landsat ระบบ TM แบนด์ 4

ฮิสโตแกรมของภาพแสดงค่าระดับสีเทาของภาพ มีค่าตั้งแต่ 12 –43


( จากที่สามารถแสดงผลได้ 0 –255 ) ทาให้เห็นความแตกต่างจองรายละเอียดไม่เด่นชัด
68

ข้อมูลภาพดาวเทียมที่ผ่านการปรับปรุง ด้วยวิธี Linear contrast stretch

ฮิสโตแกรมข้อมูลภาพดาวเทียมที่ผ่านการปรับปรุง ด้วยวิธี Linear contrast stretch


69

ข้อมูลภาพดาวเทียมที่ผ่านการปรับปรุง ด้วยวิธี Histogram equalization

ฮิสโตแกรมข้อมูลภาพดาวเทียมที่ผ่านการปรับปรุง ด้วยวิธี Histogram equalization


70

1.2.2 Density Slicing เทคนิคการปรับปรุงภาพ โดยค่าระดับสีเทา (0 –255) ตามแนวแกน X ของ


ฮิสโตแกรม จะถูกแบ่ง (slice) โดยกาหนดเป็นช่วง ๆ ทุกค่าที่มีค่าอยู่ในช่วงที่จะถูกกาหนดให้มีสัญลักษณ์
(สี) เดียวกัน เช่น ถ้ากาหนดให้มี 5 ช่วง ค่าระดับสีเทา 0 – 255 ก็จะถูกแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ค่าระดับสีเทาที่
อยู่ในช่วงใด ก็จะถูกกาหนดให้มีสัญลักษณ์เดียวกันในภาพที่เป็นผลลัพธ์

ข้อมูลภาพดาวเทียม Landsat ระบบ TM แบนด์ 3


71

ภาพดาวเทียม Landsat ระบบ TM แบนด์ 3


ที่ผ่านการทา Density Slicing โดยแบ่งเป็น 5 ช่วง

1.2.3Color Composite Image การทาภาพสีผสมจากภาพดาวเทียมสามารถทาได้โดยการนา


ภาพจากดาวเทียมขาวดา ๓ ช่วงคลื่นใดๆ มาผสมเป็นภาพสีผสม ให้รายละเอียดข้อมูลต่างๆ ชัดเจนกว่าภาพ
ขาวดา โดยสามารถทาได้ทั้งภาพวันที่เดียวกัน (single-date image) และภาพจากดาวเทียมหลายวัน (multi-
date image) รวมทั้งภาพจากดาวเทียมต่างกัน (multi-sensor image) เช่น การผสมภาพสี ของ Landsat
ระบบ TM แบนด์ 5 , แบนด์ 4 กับ ของ SPOT ระบบ PLA / RGB
72

ภาพสีผสมจาก ภาพดาวเทียม SPOT ระบบ Multispectral ระบบ Panchromatic (ขาว-ดา)

ภาพสีผสมจากดาวเทียม ERS-1 SAR ( 25 Dec. 93) กับ LANDSAT TM (11 May 93)
73

1.3 การจาแนกประเภทข้อมูลจากภาพ (Image Classification)


การจาแนกประเภทรายละเอียด จากข้อมูลภาพแบบตัวเลข (Digital Image Classification) เป็น
การวิเคราะห์ข้อมูลภาพดาวเทียมในเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) เพื่อที่จะจาแนกข้อมูลแต่ะจุดภาพ
ออกเป็นหมวดหมู่ตามชนิดของสิ่งที่ปกคลุมพื้นโลก โดยแยกออกเป็นประเภท (Class) ของสิ่งที่ต้องการจะ
ศึกษา ตามปกติ จะใช้ข้อมูลจากหลายช่วงคลื่น (Multispectral) มาทาการวิเคราะห์ โดยอาศัยรูปแบบเชิง
คลื่น (Spectral Pattern) ของข้อมูลในแต่ละจุดภาพเป็นหลักเกณฑ์ในการจัดหมวดหมู่ (Categorization)
ทั้งนี้ อาศัยหลักที่ว่า รายละเอียดต่างชนิดกันจะประกอบไปด้วยค่าที่บันทึกการสะท้อน และการแผ่พลังงาน
ในแต่ละช่วงคลื่น (แบนด์) ที่ต่างกัน โดยเรียกการจาแนกในลักษณะนี้ว่า การจาแนกประเภท
แบบ Spectral Pattern Recognition ซึ่งมี 2 แนวทางในการปฏิบัติ คือ การจาแนกประเภทแบบกากับ
(Supervised) และ แบบไม่กากับ (Unsupervised)

การจาแนกประเภทแบบกากับ (Supervised Classification) วิธีการนี้ ผู้วิเคราะห์จะเป็นผู้กาหนด


จานวนประเภท (class) ของการใช้ที่ดิน ที่ต้องการจาแนก ในกระบวนการแบ่งประเภทชั้นข้อมูลของแต่ละ
จุดภาพ โดยกาหนดข้อมูลเชิงสถิติที่จะใช้อธิบายประเภทของรายละเอียดการใช้ที่ดินแต่ละชนิดภายใน
ภาพนั้น โดยการใช้บริเวณตัวอย่างในภาพ ซึ่งเป็นตัวแทนของประเภทการใช้ที่ดินแต่ละชนิด เพื่อใช้เป็น
ตัวแทนทางสถิติที่จะอธิบายลักษณะเชิงคลื่น (Spectral attributes) ของการใช้ที่ดินแต่ละประเภทที่กาหนดขึ้น
จากนั้นข้อมูลแต่ละจุดภาพ (pixel) ก็จะถูกเปรียบเทียบเชิงสถิติกับข้อมูลตัวอย่างของแต่ละประเภทการใช้
ที่ดินที่กาหนด แล้วจึงใช้ทฤษฎี และหลักการตัดสินใจทางสถิติ กาหนดว่าจุดภาพนั้นควรจะถูกจาแนก
ประเภทเข้าไปอยู่ในกลุ่มของการใช้ที่ดินประเภทใดซึ่งการปฏิบัติประกอบด้วย
74

ข้ อมูลภาพตัวอย่ างถูกบันทึ กใน 5 ช่ วงคลื่น (แบนด์ )


ฉะนั้น แต่ ละจุดภาพจะบันทึ กค่ าการสะท้ อนพลังงาน (DN ) 5 ค่ า / จุดภาพ

Training Stage Classification Stage Output Stage


- ผู้วิเคราะห์ จะเป็ นผู้ - ข้ อมูลแต่ ละจุดภาพ (pixel) การเอาผลลัพธ์ ออกมาในรู ป
กาหนดจานวนประเภท จะถูกเปรี ยบเที ยบเชิ งสถิติกับ ของแผนที่ ตามมาตราส่ วนที่
(class) ของการใช้ ข้ อมูลตัวอย่ างของแต่ ละประเภท ต้ องการ ส่ วนประกอบที่ อาจ
ที่ ดิน ที่ ต้องการจาแนก การใช้ ที่ดินที่ กาหนด แล้ วจึ งใช้ ได้ มาอีกอาจอยู่ในรู ปของ
- เลือกจุดภาพจานวน ทฤษฎี และหลักการตัดสิ นใจทาง ตารางแสดงเปอร์ เซ็นต์ หรื อ
หนึ่งเพื่อเป็ นข้ อมูลเชิ ง สถิติ กาหนดว่ าจุดภาพนั้นควร พืน้ ที่ ของแต่ ละประเภทของ
สถิติที่จะใช้ อธิ บาย จะถูกจาแนกประเภทเข้ าไปอยู่ใน ทรั พยากร หรื อการใช้ ที่ดินที่
ประเภทของ กลุ่มของการใช้ ที่ดินประเภทใด ได้ จากการจาแนกประเภท
รายละเอียดการใช้ ที่ดิน ดังกล่ าว
แต่ ละชนิด
75

1 ) การเลือกข้อมูลพื้นที่ตัวอย่าง (Training Stage)


การกาหนดจานวนประเภท (Class) ของการใช้ที่ดิน เพื่อ กาหนดพื้นที่ตัวอย่าง ให้
พิจารณารายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในภาพ และประเภทของการใช้ที่ดินที่ต้องการจานกประกอบกันประกอบ
กัน พื้นที่ตัวอย่างจะต้องเป็นตัวแทนที่ดี และมีความสมบูรณ์ในตัว สาหรับแต่ละประเภทการใช้ที่ดินที่
กาหนด นั่นคือ ในลักษณะพื้นที่ของการใช้ที่ดินหนึ่ง ๆ จุดภาพที่เลือกเป็นพื้นที่ตัวอย่าง จะต้องไม่ปะปน
กับชนิดอื่น และพื้นที่ตัวอย่าง จะต้องมีความเพียงพอกับความหลากหลายของลักษณะการสะท้อนพลังงาน
ของการใช้ที่ดินประเภทนั้น ๆ เพื่อคานวณค่าสถิติเฉพาะของรายละเอียดประเภทนั้น เช่น ถ้าต้องการเลือก
พื้นที่ตัวอย่างในการจาแนกพื้นที่น้า แต่ในข้อมูลมีลักษณะการสะท้อนแสงของน้าและน้าที่มีตะกอน
จะต้องเลือกจุดภาพที่เป็นพื้นที่ตัวอย่างจากบริเวณทั้งสอง นอกจากนี้ เพื่อความน่าเชื่อถือทางสถิติ จานวน
จุดภาพของพื้นที่ตัวอย่าง ที่ใช้เป็นตัวแทนของประเภทการใช้ที่ดินหนึ่ง ๆ ควรจะมีจานวนตั้งแต่ 10 - 100
จุดภาพ ต่อ 1 ช่วงคลื่น (แบนด์) ที่ใช้ในการจาแนก ทั้งนี้ ยิ่งจานวนจุดภาพมากขึ้น ก็จะเป็นตัวแทนทางสถิติ
ที่ดีของพื้นที่ตัวอย่างในแต่ละประเภท และควรที่จะเลือกบริเวณที่เป็นพื้นที่ตัวอย่างให้กระจายทั่วทั้งบริเวณ
การเลือกบริเวณตัวอย่าง 20 แห่ง แต่ละแห่งมีจานวน 40 จุดภาพ จะได้ตัวแทนที่ดีกว่าที่จะเลือกเพียง 1 แห่ง
แต่มี 800 จุดภาพ

ตัวอย่างภาพดาวเทียม Landsat TM (แบนด์ 123 B-G-R)


และ
การเลือกบริเวณพื้นที่ตัวอย่างของประเภทการใช้ที่ดนิ 13 ประเภท อันประกอบด้วยจุดภาพจานวนหนึ่ง
เพื่อเป็นตัวอย่างทางสถิติในการจาแนกประเภทแบบ Supervised
76

2 ) การจาแนกประเภท (Classification Stage) วิธีการจาแนกประเภทข้อมูล (Classifier)


แบบ Supervised ที่นิยมใช้คือ
Minimum Distance to Means classifier การจาแนกประเภทข้อมูล โดยพิจารณาค่า
สะท้อนช่วงคลื่นของแต่ละจุดภาพว่า มีความห่างน้อยที่สุดจากค่าจุดศูนย์กลาง (ค่าเฉลี่ย) ของข้อมูลตัวอย่าง
ในแต่ละประเภทข้อมูล

- จากภาพสมมุติให้ใช้ข้อมูลภาพ 2 ช่วงคลื่น (แบนด์)ในการจาแนกรายละเอียด (ในสถานการณ์


จริงจะใช้ 3 แบนด์ หรือมากกว่า)
- โดยกาหนดประเภทข้อมูลการใช้ที่ดินที่ต้องการจาแนก ได้แก่ แหล่งน้า : W ทราย : S
ป่าไม้ : F เขตเมือง : U ข้าวโพด : C และ หญ้า : H โดยเลือกจุดภาพตัวอย่างจานวนหนึ่งเพื่อเป็น
ตัวแทนของประเภทการใช้ที่ดินดังกล่าว
- การ Plot ค่า DN ของจุดภาพตัวอย่างแต่ละจุด โดยให้ค่า DN ของแบนด์หนึ่งเป็นแกนตั้ง อีก
แบนด์หนึ่งเป็นแกนนอน จะได้ Scatter Diagram ของข้อมูลพื้นที่ตัวอย่างดังภาพ (แทนด้วยตัวอักษร W S
F U C และ H) ซึ่งแต่ละกลุม่ จะเป็นตัวแทนของรูปแบบการสะท้อนพลังงานของการใช้ที่ดินแต่ละประเภท
ที่ต้องการจาแนก
77

- ในการจาแนกประเภทแบบ Minimum Distance to Means ในขั้นแรก ค่าเฉลี่ย (mean) ของ


แต่ละประเภทข้อมูลตัวอย่างในแต่ละแบนด์จะถูกคานวณ เพื่อที่จะกาหนด mean vector ของข้อมูลตัวอย่าง
แต่ละประเภท แสดงโดยเครื่องหมายกากบาทในภาพ
- จากภาพ สมมุติว่าต้องการจาแนกประเภทของจุดภาพหมายเลข 1 ค่า DN ของจุดภาพ
หมายเลข 1 ในแต่ละแบนด์ จะถูก plot เพื่อแสดงตาแหน่งของจุดภาพ ต่อจากนั้น ระยะทางระหว่างจุด
หมายเลข 1 กับ ค่าศูนย์กลางของแต่ละประเภทข้อมูลตัวอย่าง (กากบาท) จะถูกคานวณขึ้น หลังจากนั้น
จุดภาพหมายเลข 1 ก็จะถูกจาแนกประเภทตามระยะระหว่างจุดหมายเลข 1 กับ ค่าศูนย์กลางของข้อมูล
ตัวอย่างที่ใกล้ที่สุด ในกรณีนี้คือ ข้าวโพด : C
Maximum Likelihood Classification การจาแนกประเภทข้อมูลโดยพิจารณาค่า mean vector
ของข้อมูลแต่ละประเภท รวมทั้งcovariance matrix โดยตั้งสมมุติฐานว่าแต่ละประเภทข้อมูลที่มีการกระจาย
แบบปกติ (normal distribution) แล้วคานวณค่าความน่าจะเป็น (probability) ของแต่ละจุดภาพ ว่าถูก
จาแนกในประเภทข้อมูลใด โดยทั่วไปวิธีนี้ให้ความถูกต้องมากที่สุดและใช้เวลาคอมพิวเตอร์มากด้วย
รายละเอียดสามารถค้นคว้าได้จากเอกสารอ้างอิง

การจาแนกประเภทแบบไม่กากับ (Unsupervised Classification) คอมพิวเตอร์จะทาการ


วิเคราะห์และจาแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Cluster) ตามลักษณะการรวมกลุ่มเชิงคลื่น (Spectral Grouping)
ของข้อมูล จากหลักที่ว่า ลักษณะเชิงคลื่นของชั้นข้อมูลประเภทเดียวกันจะต้องมีการรวมกลุ่มที่ใกล้เคียงกัน
ในระวางที่ใช้อ้างอิง และแยกจากกัน สาหรับชั้นข้อมูลที่ต่างกัน จานวนกลุ่ม (Cluster) ที่แยกออกมา เป็น
เพียงชั้นข้อมูลเชิงคลื่น (Spectral Class) ที่แบ่งออกตามกลุ่มค่าการสะท้อนแสงที่บันทึกไว้ของแต่ละช่วง
คลื่น (จานวนแบนด์) ที่ใช้ในการวิเคราะห์ หลังจากนั้น จึงทาการเปรียบเทียบชั้นข้อมูลที่จาแนกได้ กับ
ลักษณะพื้นที่จริงในภูมิประเทศจากข้อมูลอ้างอิง เพื่อจาแนกออกเป็นรายละเอียดทางพื้นที่จริงแต่ละ
ประเภท รายละเอียดสามารถค้นคว้าได้จากเอกสารอ้างอิง
78

ตัวอย่างการจาแนกประเภทแบบ Unsupervised
โดยกาหนดจานวนกลุ่ม (cluster) เชิงคลื่น ออกเป็น 6 ประเภท (class)

ตัวอย่างการจาแนกประเภทแบบ Unsupervised
โดยกาหนดจานวนกลุ่ม (cluster) เชิงคลื่น ออกเป็น 15 ประเภท (class)
79

การแสดงผล (Output Stage)


ขั้นสุดท้ายของขบวนการจาแนกประเภทข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ได้แก่การเอาผลลัพธ์
ออกมาในรูปของแผนที่ตามมาตราส่วนที่ต้องการ ส่วนประกอบที่อาจได้มาอีกอาจอยู่ในรูปของตารางแสดง
เปอร์เซ็นต์ หรือพื้นที่ของแต่ละประเภทของทรัพยากร หรือการใช้ที่ดินที่ได้จากการจาแนกประเภทดังกล่าว

ตัวอย่างข้อมูลภาพดาวเทียม Landsat TM ภาพสีธรรมชาติ แบนด์ 3,2,1 (RGB)


80

ตัวอย่างข้อมูลภาพดาวเทียม Landsat TM แบนด์ 4,3,2 (RGB)


พืชพันธุ์ปรากฏเป็นสีแดงเพราะมีการสะท้อนในช่วงอินฟราเรด (แบนด์ 4) มาก
81

ตัวอย่างการแสดงผลข้อมูลที่ได้จากการจาแนกประเภท
82

ที่กล่าวมาแล้ว เป็นเรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมด้วยสายตาและด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งทั้งสอง


ประการต่างก็มีข้อได้เปรียบต่างกัน ๆ การแปลตีความด้วยสายตามีข้อได้เปรียบที่การตีความรายละเอียดของ
ภูมิประเทศ ประเภทจุด (Point features) และ เส้น (Linear features) การวิเคราะห์ภาพด้วยคอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือที่ทาห้ได้ภาพที่มีคุณภาพมากขึ้น ช่วยให้การแปลตีความด้วยสายตามีประสิทธิภาพ และมีข้อ
ได้เปรียบในการจาแนกประเภทรายละเอียดทางพื้นที่ (Area features) โดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่ขนาดใหญ่
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่เลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือทั้งสองวิธีพร้อมกันนั้น ก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ
การศึกษาขอบเขตการศึกษา พื้นที่ต้องการศึกษาขนาดเล็กหรือใหญ่ข้อมูลที่จะใช้ศึกษาและประกอบ
การศึกษา เครื่องมือที่จะใช้ในการวิเคราะห์และขีดความสามารถบุคลากรที่จะดาเนินการศึกษาาตลอดจน
งบประมาณ เป็นต้น ถ้าสถานภาพอานวยการใช้วิธีทั้งสองอย่างประกอบกันจะทาให้ผลที่มีความถูกต้อง
และเชื่อถือได้มากกว่า อย่างไรก็ตามในการวิเคราะห์ข้อมูลดาวเที่ยมเช่นนี้ ผู้ที่มีประสบการณ์และรู้จักพื้นที่
ดีจะมีส่วนให้ได้ผลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้มากขึ้น
83
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมสารวจทรัพยากรในประเทศไทย

ด้วยตระหนักถึงความสาคัญของการนาเทคโนโลยีด้านการสารวจระยะไกล (Remote Sensing)


มาใช้ในการพัฒนาประเทศ และเป็นเครื่องมือในการสารวจทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
สูงสุดและยั่งยืน รัฐบาลไทยจึงมีมติให้เข้าร่วมโครงการสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม Landsat
ขององค์การบริการหารบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NASA) ภายใต้การดาเนินงานของ
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2514 โดยมีบทบาทหน้าที่ในการ
กาหนดนโยบายการประสานงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การส่งเสริมการใช้ข้อมูล และการ
ให้บริการข้อมูลดาวเทียมแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในระยะเริ่มต้น โครงการสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วย
ดาวเทียม (ได้เปลี่ยนสถานภาพเป็นกองสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียมในปี พ.ศ. 2522) สั่งซื้อ
ข้อมูลจากดาวเทียม Landsat -1 จากศูนย์ข้อมูล EROS Data Center ใน สหรัฐอเมริกา เป็นฟิล์มขาว-
ดาเนกาตีฟ โพสิตีฟ และเทปคอมพิวเตอร์ (CCT) เพื่อนามาผลิตให้ผู้ใช้ข้อมูลต่อไป แต่เนื่องจากการได้
ข้อมูลมานั้นล่าช้า และเพื่อเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีด้านนี้ให้ก้าวรุดหน้าตลอดจนขยายขอบเขตการ
บริการข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ ในปลายปี พ.ศ. 2524 ประเทศไทย จึงได้จัดตั้งสถานีรับสัญญาณ
ภาคพื้นดินเป็นแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีรัศมีครอบคลุม 2, 500 กิโลเมตร ขึ้นที่เขต
ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร รับข้อมูลโดยตรงจากดาวเทียม Landsat -2 ระบบ MSS และดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา (เชื่อมต่อสัญญาณให้กรมอุตุนิยมวิทยา)
ในปี พ.ศ. 2530 สถานีรับฯ ได้รับการพัฒนาปรับปรุงให้มีขีดความสามารถในการรับสัญญาณ
และผลิตข้อมูลรายละเอียดสูง คือ ระบบ Thematic Mapper TM ของดาวเทียม Landsat -5 ซึ่งมีรายละเอียด
ภาพ 30 เมตร  30 เมตร และข้อมูล High Resolution Visible (HRV) ของดาวเทียม SPOT ของฝรั่งเศส
ซึ่งมีรายละเอียดภาพ 20 เมตร  20 เมตร ในระบบ MLA (Multispectral Linear Array) และรายละเอียด
ภาพ 10 เมตร  10 เมตร ในระบบ PLA (Panchromatic Linear Array) รวมถึงข้อมูลดาวเทียม MOS
(Marine Observation Satellite) ขององค์การพัฒนาอวกาศแห่งชาติญี่ปุ่น (NASDA) ต่อมาปี พ.ศ. 2535 ได้
เริ่มรับข้อมูลดาวเทียม NOAA ขององค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NOAA)
และ พ.ศ. 2536 พัฒนาปรับปรุงเพื่อรับสัญญาณและผลิตข้อมูลไมโครเวฟระบบ SAR ของดาวเทียม ERS
ขององค์การอวกาศยุโรป (ESA) ข้อมูลไมโครเวฟมีประโยชน์มากสาหรับประเทศที่มีเมฆปกคลุมเป็น
ระยะเวลานานและประโยชน์ทางด้านสมุทรศาสตร์ สถานีรับฯ ไทยจึงนับเป็นสถานรับแห่งแรกของโลก
ที่รับสัญญาณและผลิตข้อมูลดาวเทียมสารวจทรัพยากรถึง 6 ดวง กองสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วย
ดาวเทียมยังมีแผนในการรับข้อมูลดาวเทียม RADASAT ของแคนาดา และดาวเทียม IRS ของอินเดีย
ศูนย์บริการข้อมูล กองสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม สานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติทาหน้าที่ให้บริการข้อมูลดาวเทียมสารวจทรัพยากรแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนทั้ง
ในและต่างประเทศ นอกจากนี้กองสารวจฯ ยังมีการจัดตั้งศูนย์ภูมิภาคสาหรับการศึกษาและวิจัยรีโมทเซน
ซิ่งในประเทศขึ้น 3 แห่งที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ตลอดจนมีผู้แทนจาหน่ายในต่างประเทศถึง 6 แห่ง คือ EOSAT ในสหรัฐอเมริกา ACRES ในออสเตรเลีย
RESTEC ในญี่ปุ่น และบริษัทเอกชนในอินโดนีเซียอีก 3 แห่ง

สำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) – สทอภ.


Geo – Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) - GISTDA
ต่อมารัฐบาลได้มีนโยบายที่จะปฏิรูประบบราชการอย่างต่อเนื่องตลอดมา โดยคณะรัฐมนตรีใน
การประชุม เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2541 มีมติเห็นชอบในหลักการให้ส่วนราชการดังต่อไปนี้ จัดตั้ง
องค์การมหาชน โดยประกอบด้วย
1. งานโรงพยาบาลของรัฐ (โรงพยาบาลที่มีความพร้อม) (กระทรวงสาธารณสุข)
2. การประเมินคุณภาพการศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ/กรมวิชาการ)
3. สถานีวิทยุโทรทัศน์ช่อง 11 (กรมประชาสัมพันธ์)
4. กรมวิทยาศาสตร์บริการ
5. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542

ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 ดังนั้น กระทรวงวิทยาศาสตร์


เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้แต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการสารวจ
ข้อมูลระยะไกล โดยมีรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นประธาน และมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็น
กรรมการ เพื่อพิจารณาเสนอรูปแบบ โครงสร้างและวิธีการ จัดตั้งองค์กรตามนโยบาย ของรัฐบาล ซึ่งได้
พิจารณาแล้วเห็นว่ากองสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กับฝ่ายประสานและส่งเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สานักงาน
ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นหน่วยงาน ที่มีบทบาทและหน้าที่ ในการจัดหาและจัดบริการสาธารณะ
ตามพระราชบัญญัติ องค์การมหาชน พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ทั้งสองหน่วยงานความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์และ
สนับสนุนเกื้อกูลกัน จึงเป็นการเหมาะสมอย่างยิ่งในการจัดตั้งองค์การมหาชน " สำนักงำนพัฒนำ
เทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) " โดยการ ปรับเปลี่ยนสภานภาพกองสารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติกับฝ่ายประสานและส่งเสริมการ
พัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้เสนอขอจัดตั้งองค์การมหาชน "สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
และภูมิสารสนเทศ" (สทอภ.) ไปยังคณะกรรมการปฎิรูประบบราชการและคณะกรรมการได้พิจารณาให้
เห็นชอบในหลักการในวันที่ 17 มีนาคม 2543 แล้วได้นาเสนอต่อคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ
หลักการให้ดาเนินการ ในวันที่ 27 มิถุนายน 2543 ในวันที่ 21 สิงหาคม 2543 สานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาตรวจและเห็นชอบร่างในร่างพระราชกฤษฎีกาและในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2543 จึงได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา โดยสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) - สทอภ.
เป็นหน่วยงานของรัฐ ในรูปแบบองค์การมหาชน ซึ่งมุ่งเน้นการบริการข้อมูลดาวเทียมและภูมิสารสนเทศ
บริการวิชาการต่างๆ ตลอดจนการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชน

สถานที่ตั้งและรัศมีของการรับสัญญาณ
ปัจจุบันมีสถานีรับสัญญาณภาคพื้นดินจากระบบ HRPT ขอบข่ายทั่วโลกประมาณ 24 แห่งทั่วโลก
โดยสถานีรับฯ มีขอบข่ายการรับสัญญาณในรัศมี 2,500 กิโลเมตร จากกรุงเทพมหานคร มีรัศมีทาการ
ครอบคลุมประเทศต่างๆ ในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย บรูไน พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา บังคลาเทศ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา ภูฎาน ไต้หวัน ฮ่องกง
สาธารณรัฐประชาชนจีน (ตอนใต้ของแม่น้าแยงซีเกียงลงมา)
สถานีรับสัญญาณในประเทศไทย รับสัญญาณได้ 2 ระบบคือ
1.ระบบรับสัญญำณ APT อยู่ที่สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เขตจัตุจักร กรุงเทพฯ เมื่อ
ดาวเทียมอยู่ในรัศมีทาการ เครื่องรับสัญญาณสามารถรับข้อมูลโดยอัตโนมัติ แล้วบันทึกไว้บนเทปสารอง
ข้อมูล และสามารถเรียกพิมพ์เป็นภาพสีผสมได้ในภายหลัง
2. ระบบรับสัญญำณ HRPT อยู่ที่สถานีรับสัญญาณภาคพื้นดิน กองสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้วย
ดาวเทียม เขตลาดกระบัง ประกอบด้วยจานรับสัญญาณแบบแอ่งกรวย (Parabola) และเครื่องติดตามการ
โคจรของดาวเทียม รวมทั้งเครื่องบันทึกและแปลงสัญญาณเก็บสารองข้อมูลไว้ในรูปเทปคอมพิวเตอร์
การรับสัญญาณจากดาวเทียม
ประกอบด้วย ระบบรับสัญญาณจากดาวเทียม และระบบบันทึกข้อมูลและแสดงข้อมูลบนจอภาพ
1.ระบบรับสัญญาณข้อมูล (Data Acquisition System, DAS) ลักษณะการทางาน แบ่งเป็น 2
ส่วนคือ
1.1 นาร่อง (Tracking) เป็นระบบที่ประกอบด้วยจานรับสัญญาณ (Antenna) และหน่วย
ควบคุมจานรับสัญญาณ (Antenna Control Unit) อุปกรณ์ทั้งสองนี้ทางานร่วมกัน กล่าวคือจานรับสัญญาณ
ทาหน้าที่รับและรวมสัญญาณคลื่นที่ส่งมาจากดาวเทียมในความถี่ต่างๆ แล้วส่งผ่านเข้าสู่ระบบรับสัญญาณ
ในขณะที่รับสัญญาณอยู่นั้น อุปกรณ์ควบคุมจานทาหน้าที่ควบคุมจานรับสัญญาณให้เคลื่อนติดตาม
ดาวเทียมไปตามแนวโคจรของดาวเทียมดวงนั้นๆ ทาให้การส่งสัญญาณจากดาวเทียมมายังสถานีรับฯ
เป็นไปอย่างสม่าเสมอตลอดเวลาที่ดาวเทียมโครจรผ่าน
1.2 การรับสัญญาณ (Receiving) เป็นระบบที่ประกอบด้วยอุปกรณ์รับคลื่นสัญญาณต่างๆ ที่
ดาวเทียมส่งมาตามความถี่ย่านที่ดวงนั้นใช้งาน โดยอุปกรณ์แปลงสัญญาณคลื่นทาการแปลงคลื่นเหล่านั้น
จากสัญญาณเชิงอุปมาน (Analog) เป็นเชิงตัวเลข (Digital) เพื่อส่งเข้าระบบบันทึกข้อมูล
2. ระบบบันทึกและแสดงบนจอภาพ (Recording and Playback System)
2.1 ระบบบันทึก (Recording System) ทาหน้าที่นาสัญญาณที่ได้จากระบบรับสัญญาณจาก
ดาวเทียมมาผ่านกรรมวิธีในการแปลงสัญญาณข้อมูลให้อยู่ในรูปเชิงตัวเลข แล้วบันทึกลงบนเทปความ
หนาแน่นสูง และจานเก็บข้อมูล

ระบบการรั บ
สัญญาณและบันทึ ก
ข้ อมูลดาวเที ยม
LANDSAT,
SPOT และ
ERS-1
ระบบกำรรับสัญญำณและบันทึกข้อมูลดำวเทียม NOAA

ก.) กำรบันทึกลงบนแถบบันทึกควำมหนำแน่นสูง (High Density Digital Tape -HDDT)


ข้อมูลดาวเทียมได้รับการบันทึกลงในเครื่องเทปความหนาแน่นสูง (High Density Digital Recorder -
HDDR) เป็นฐานข้อมูลต้นฉบับ (Original Database) ด้วยอัตราความเร็วของการบันทึก 84.5 Mbit/sec.
จานวน 28 ร่อง (Track) สาหรับดาวเทียม LANDSAT ด้วยอัตราความเร็วของการบันทึก 495 Mbit/sec.
สาหรับดาวเทียม SPOT และด้วยอัตราความเร็วของการบันทึก 105 Mbit/sec. สาหรับดาวเทียม ERS-1
ข.) กำรบันทึกข้อมูลลงบนจำนเก็บข้อมูล (Hard Disk) วิธีนี้เป็นการบันทึกข้อมูลลงบน
แผ่นบันทึกแข็ง (Hard Disk) โดยตรง ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่ในการควบคุมการจัดเก็บข้อมูล
ดาวเทียม เนื่องจากขนาดความจุของการบันทึกข้อมูลของแผ่นบันทึกแข็งมีขนาดจากัดคือ สามารถบรรจุ
ข้อมูลดาวเทียมได้เพียง 3 แนว (ข้อมูลจากดาวเทียม NOAA) เท่านั้น (ภาพจากดาวเทียม 3 ภาพ (Scene)
ภาพละ 5 ช่วงคลื่น) ดังนั้นเพื่อให้มีพื้นที่ว่างในการเก็บข้อมูลดาวเทียมครั้งต่อๆ ไป จึงจาเป็นต้องทาการ
เทปเก็บถาวร (Achive Tape) ข้อมูลดาวเทียมนั้นเก็บไว้ทุกครั้งบนเทปข้อมูลคอมพิวเตอร์ (CCT) ที่ความจุ
6250 dpi
2.2 ระบบแสดงข้อมูลบนจอภาพ (Playback System)
เป็นการแสดงภาพจากดาวเทียมบนจอสี (Color Monitor) ซึ่งแสดงภาพในขณะที่รับ
สัญญาณข้อมูลดาวเทียมได้ทันที พร้อมกับบันทึกข้อมูลนั้น จอภาพแสดงได้ทั้งภาพสีและขาว-ดา อีกทั้งยัง
แสดงภาพจากดาวเทียมที่บันทึกไว้แล้วก่อนหน้านั้น ระบบนี้แสดงเฉพาะภาพจากดาวเทียม LANDSAT
และ SPOT เท่านั้น
ระบบแสดงข้ อมูลบนจอภาพ
สถานีรับสัญญาณดาวเทียม MOS-1, ERS-1 และ JERS-1
สถานีรับสัญญาณดาวเทียม MOS-1 ทั่วโลกทั้งในปัจจุบันและที่จะจัดตั้งในอนาคตอันใกล้นี้มี
9 แห่ง คือ ในประเทศญี่ปุ่น ที่ Hatoyama, Showa Base และ Kumamoto ของ ESA (European Space
Agency) ที่ Tromso, Fucino, Maspalomas, Kiruna ประเทศออสเตรเลียที่ Alice Springs และในประเทศ
ไทยที่กรุงเทพฯ สถานีรับสัญญาณดาวเทียม MOS-1 ในประเทศไทยจะจัดตั้งในบริเวณสถานีรับสัญญาณ
ดาวเทียม LANDSAT ซึ่งจะรับข้อมูล 3 ระบบ คือ MESSR, VTIR และ MSR คาดว่าจะติดตั้ง คือ ระบบรับ
และบันทึกข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย
1. จานอวกาศ (Antenna) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 เมตร รับสัญญาณในช่วง X-Band (8
GHz) สาหรับข้อมูล MESSR และ VTIR รับสัญญาณในช่วง S-Band (2.2 GHz) สาหรับข้อมูล MSR
2. ระบบบันทึกข้อมูลบันทึกข้อมูล MESSR, VTIR, MSR, TLM (Telemetry Data) และเวลา
สัญญาณ (Time Signal) ลงใน HDDT ขนาด 28 ร่อง โดยจะบันทึกข้อมูล MESSR และ VTIR ด้วย
อัตราเร็ว 8.87 Mbps (High Data Rate) ส่วน MR และ TLM ด้วยอัตรา 2,000 bps และ 1,064 bps (Low
Data Rate)
อุปกรณ์แสดงภำพดูเร็ว (Quick Look Display Equipment)
การแสดงภาพถ่าย (Image Display) สาหรับแสดงภาพขณะที่รับสัญญาณ ซึ่งจะเป็นภาพจาก
ระบบใดระบบหนึ่ง คือ MESSR หรือ VTIR หรือ MSR โดยที่ข้อมูล MESSR จะสามารถแสดงเป็นภาพสี
ผสมจาก 3 ช่วงคลื่น ส่วน VTIR และ MSR จะเป็นภาพสีเทียม (Pseudo Colour) ของช่วงคลื่นใดช่วงคลื่น
หนึ่งอุปกรณ์ถ่ายภาพ สามารถถ่ายภาพข้อมูลจากระบบใดระบบหนึ่ง คือ MESSR หรือ VTIR หรือ MSR
ซึ่งภาพที่ถ่ายนี้อาจจะเป็นคนละภาพกับที่แสดงบนจอภาพก็ได้
การผลิตและการบริการข้อมูลดาวเทียมสารวจทรัพยากร

กำรผลิตข้อมูล
สถานีรับสัญญาณภาคพื้นดินรับคลื่นสัญญาณต่าง ๆ จากดาวเทียมในความถี่ของแต่ละดาวเทียม
โดยมีอุปกรณ์แปลงคลื่นสัญญาณจากสัญญาณ Analog เป็น Digital และบันทึกข้อมูลนั้นลงในเทปความ
หนาแน่นสูง HDDT (High Density Digital Tape) จากนั้นจึงจะนาข้อมูลในเทปนั้นมาผลิตข้อมูลใน
รูปแบบต่าง ๆ โดยผ่านการแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากดาวเทียม การรับสัญญาณและอื่น ๆ สาหรับการ
ผลิตข้อมูลหลัก ๆ ของสถานีรับสัญญาณในประเทศไทย แบ่งได้ 2 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 เป็นการผลิตเพื่อจัดทาแคตาล็อกข้อมูล ประเมินปริมาณเมฆ และภาพข้อมูลอย่างย่อเพื่อ
ช่วยในการเลือกสั่งข้อมูล เช่น ภาพดูเร็ว (Quick Look) และ Microfiche ซึ่งทาด้วยระบบ MQS (Micro
Quick Look System) และอื่น ฯลฯ สาหรับข้อมูลทั้ง 2 แบบมีเฉพาะดาวเทียม LANDSAT และ SPOT มี
ลักษณะตามตาราง ปัจจุบันมีแต่ Microfiche

Quick Look Microfiche


ชนิดของวัสดุ
ฟิล์มโพสิตีฟขำว-ดำ 240 มม. ฟิล์มโพสิตีฟสี 10.5 ซม. x 14.5 ซม.
ข้อมูล LANDSAT : ช่วงเวลา 1 วัน 16 วัน (1 cycle)
: พื้นที่ 1 แนวโคจร (track) 9 ภาพ/แผ่น 64 ภาพ/แผ่น แบ่งตามพื้นที่
: ช่วงคลื่นทีใ่ ช้ แบนด์ 4 แบนด์ 1 2 4 - น้าเงิน เขียว แดง
ข้อมูล SPOT : ช่วงเวลา 1 วัน 1 วัน
: พื้นที่ ตามแนวภาพถ่าย 9 ภาพ/แผ่น ตามแนวถ่ายภาพ
: ช่วงคลื่นทีใ่ ช้ PLA - แบนด์ 1 PLA - แบนด์ 1
MLA - แบนด์ 3 MLA - 1 2 3 - น้าเงิน เขียว แดง
ตำรำงแสดงรำยละเอียดของภำพ Quick Look และ Microfiche

สาหรับภาพดูเร็วของข้อมูลดาวเทียม ERS เป็นแบบ Digital Quick Look ของดาวเทียม NOAA


เป็นภาพพิมพ์สีขนาด 10 นิ้ว ต่อ ภาพ 1 วัน และของดาวเทียม MOS และ JERS/OPS เป็นฟิล์มสไลด์สี
ขนาด 35 มม. สาหรับข้อมูลดาวเทียม JERS กาลังพัฒนาเป็นแบบ Digital Quick Look เช่นกัน
ส่วนที่ 2 เป็นการผลิตข้อมูลของผู้ใช้โดยผ่านศูนย์บริการข้อมูล ชนิดข้อมูลภาพ (Photographic
Products) สถานีรับฯ จะผลิตเป็นฟิล์มต้นฉบับเนกาตีฟสาหรับภาพขาว-ดา และฟิล์มโพสิตีฟสีสาหรับ
ภาพสีเพื่อส่งไปอัดขยายภาพอีกครั้งหนึ่ง ส่วนข้อมูลเชิงตัวเลข (Digital Products) สถานีรับฯ จะผลิตตาม
ใบสั่งแล้วส่งให้ศูนย์บริการข้อมูลเพื่อจัดส่งให้ลูกค้าต่อไป ระบบการผลิตข้อมูลมีอยู่หลายระบบ เช่น
ดัชนีพื้นที่ภำพของแต่ละพื้นทีข่ อง Microfiche ของข้อมูลดำวเทียม LANDSAT

- ระบบ GICS (Geocoded Image Correction System) เป็นระบบหลักในการผลิตข้อมูลจาก


ดาวเทียม LANDSAT และ SPOT นอกจากนี้ยังสามารถนาข้อมูลจากดาวเทียมดวงอื่น เช่น NOAA, ERS
และ JERS มาผลิตในรูปแบบเช่นเดียวกับข้อมูล LANDSAT ทั้งข้อมูลภาพและข้อมูลเชิงตัวเลข
- ระบบ METDAS เป็นระบบที่ใช้ในการผลิตข้อมูลดาวเทียม NOAA
- ERS SAR Processing System เป็นระบบที่ใช้ผลิตข้อมูลดาวเทียม ERS ระบบ SAR ในรูปแบบ
ของ CEOS
- ระบบ JERS Processing System เป็นระบบที่ใช้ผลิตข้อมูลดาวเทียม JERS ในรูปแบบของ
NASDA
แผนภูมิแสดงกำรปฏิบัติงำนและกำรประสำนงำนกำรผลิตข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้

ชนิดและลักษณะของข้อมูลมำตรฐำนที่ให้บริกำร
ศูนย์บริการข้อมูลฯ ให้บริการข้อมูลดาวเทียมสารวจทรัพยากร LANDSAT, SPOT, NOAA,
ERS, MOS และ JERS ข้อมูลดาวเทียมแต่ละดวงจะมีลักษณะแตกต่างกันทั้งประเภท ระดับการผลิต และ
รูปแบบ ประเภทของข้อมูลที่ให้บริการ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1 ) ชนิดข้อมูลภาพ (Photographic Products) ได้แก่
- ฟิล์มโพสิตีฟขาว-ดา และสี
- ภาพพิมพ์ขาวดา และสีเท่าต้นฉบับ ขยาย 2 เท่า และ 4 เท่า
2 ) ชนิดเชิงตัวเลข (Digital products) ได้แก่
- เทปข้อมูลคอมพิวเตอร์ CCT (Computer Compatible Tape) 1600 และ 6250 bpi
- เทปข้อมูลแบบ 8 มม. เทปคาร์ทริดจ์ (8 mm. Cartridge Tape) 2.3 G และ 5G
ข้อมูลเชิงตัวเลขทั้ง 2 ประเภท มีโครงสร้างของเทปแบบ CCRS LGSOWG Format ตาม
โครงสร้างมาตรฐานเดียวกัน กาหนดโดยคณะทางานกลุ่มประเทศที่มีสถานีรับ (Landsat Ground Station
Operation Working Group -LGSOWG) ซึ่งแบ่งการจัดเรียงข้อมูลได้ 2 แบบ คือ
ภาพพิมพ์ สี ภาพพิมพ์
ขาว-ดา

เทปข้อมูลคอมพิวเตอร์ (CCT) เทปข้อมูลแบบ 8 มม. เทปคำร์ทริดจ์


- BSQ (Band Sequential) แบนด์เรียงสลับแบนด์ จะจัดเรียงแยกทีละแบนด์ โดยแบนด์หนึ่ง ๆ จะ
จัดเรียงทุกบรรทัดภาพอยู่ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน
- BIL (Band Interleaved by Line) แบนด์เรียงสลับบรรทัด ข้อมูลของแต่ละบรรทัดภาพ (line) จะถูก
จัดเรียงแต่ละแบนด์สลับกันไป และเรียงตามลาดับของแบนด์จนครบทุกแบนด์ อยู่ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน

แสดงกำรจัดเรียงข้อมูลแบบ BSQ และ BIL

ระดับการผลิต (Level Processing)


ข้อมูลจากดาวเทียมที่รับและบันทึกลงเทปความหนาแน่นสูง HDDT ยังเป็นข้อมูลดิบซึ่งจะมี
ความผิดพลาดเชิงคลื่น และเชิงเรขาคณิต อันเนื่องจากบรรยากาศ ดาวเทียม การรับสัญญาณ ความโค้งของ
โลก และอื่น ฯลฯ ดังนั้นต้องมีกระบวนการผลิตและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องดังนี้ :
1 ) การปรับแก้เชิงคลื่น (Radiometric Correction) เป็นการแก้ไขความผิดพลาดซึ่งเกิดจาก
สัญญาณรบกวนในบรรยากาศ เครื่องวัด มุมดวงอาทิตย์ และลักษณะภูมิประเทศ
2 ) การปรับแก้เชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เป็นการปรับแก้ความเพี้ยนเชิงเรขาคณิต
ของข้อมูลดาวเทียมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงบนพื้นผิวโลก โดยการสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างระบบพิกัดภาพและระบบพิกัดภูมิศาสตร์
ศูนย์บริการข้อมูล ฯ ได้ให้บริการระดับการผลิตข้อมูล 3 แบบ ดังนี้
1 ) ข้อมูล Bulk :
- ระดับ 0 : Uncorrected. Radiometrically and geometrically raw.
- ระดับ 1 : Radiometrically corrected. Detector offsets applied.
- ระดับ 4 : Radiometrically correctd. Across-track geometric corrections applied.
2 ) ข้อมูล Georeferenced:
- ระดับ 5 : Radiometrically corrected. Two dimensional resampling to a map
projection. No GCPs (Ground Control Points) (Systematic)
- ระดับ 6 : Radiometrically corrected. Two dimensional resampling to a map
projection. GCPs (Precision)
3 ) ข้อมูล Geocoded :
- ระดับ 8 : Radiometrically and geometrically corrected. Two dimensional
resampling. Geocoded (rotated and aligned to a map projection) No GCPs.
No DTM (Digital Terrain Model) (Systematic)
- ระดับ 9 : Radiometrically and geometrically corrected. Two dimensional
resampling. Geocoded (rotated and aligned to a map projection) GCPs.
(Precision)

รูปแบบของข้อมูลที่ให้บริการ แบ่งได้ 6 แบบ คือ


1 ) ภาพ Fullpass - เป็นภาพเต็มตลอดแนวถ่ายภาพของรัศมีครอบคลุมของสถานีรับฯ มีเฉพาะ
ข้อมูลดาวเทียม NOAA ระบบ AVHRR ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 4 400 กม. x 5,760 กม.
2 ) ภาพ Full Scene - เป็นภาพที่แบ่งตามมาตรฐานดัชนีภาพของแต่ละดาวเทียม ตามระบบ
อ้างอิงสากล (Worldwide Reference Systme - WRS) เช่น ภาพ Full Scene ของ Landsat TM ครอบคลุม
พื้นที่ 184 กม. x 172 กม. ส่วนของดาวเทียม SPOT ประมาณ 64-85 กม. x 60 กม. เป็นต้น
3 ) ภาพ Quadrant - เป็นภาพ 1/4 ของภาพ Full Scene มีเฉพาะข้อมูลดาวเทียม LANDSAT
ระบบ TM ครอบคลุมพื้นที่ 94 กม. x 88 กม. ผู้ใช้สามารถเลือกได้ 12 Quadrant ดังรูปด้านล่าง
ลักษณะข้อมูลของแต่ละระดับกำรผลิต
4 ) ภาพ Subscene - เป็นภาพครอบคลุมพื้นที่ 41 กม. x 36 กม. สามารถเลือกสั่งได้โดยกาหนดค่า
พิกัดทางภูมิศาสตร์ (ละติจูด และลองจิจูด เป็นองศา และลิปดา)
5 ) ภาพ Map Sheet - เป็นภาพตามระวางแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 ของกรมแผนที่
ทหาร ครอบคลุมพื้นที่ 28 กม. x 28 กม.
6 ) ภาพ Subarea - เป็นภาพครอบคลุมพื้นที่ 17 กม. x 15 กม. สามารถเลือกสั่งได้โดยกาหนดค่า
พิกัดทางภูมิศาสตร์ (ละติจูด และลองจิจูด เป็นองศา และลิปดา) มีเฉพาะข้อมูลดาวเทียม SPOT ระบบ
PLA

การบริการข้อมูล
สำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) – สทอภ. เป็น
หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการจัดหา การบริการข้อมูล รวมถึงการส่งเสริมการใช้ข้อมูลจาก
ดาวเทียมสารวจทรัพยากรให้แพร่หลายและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ทั้งในและต่างประเทศ ในการ
ให้บริการข้อมูลนั้น ศูนย์บริการข้อมูล ฯ มีเจ้าหน้าที่พร้อมให้คาแนะนาในการสั่งข้อมูลตลอดจนได้
จัดทาสื่อที่ช่วยในการสั่งข้อมูล เช่น แผนที่ดัชนีภาพข้อมูลดาวเทียม สมุดภาพตัวอย่างข้อมูล รายการข้อมูล
ดาวเทียมที่รับสัญญาณและเปอร์เซ็นต์เมฆที่ปกคลุม ภาพดูเร็ว (Quick Look) และ Microfiche เพื่อช่วยใน
การตัดสินใจในการเลือกสั่งข้อมูล โดยศูนย์บริการได้จัดทาโฮมเพจ (Homepage) เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร
ด้านการบริการข้อมูลจากดาวเทียมแก่ผู้ใช้ทั่วโลก ซึ่งเรียกดูได้ที่
http://www.gistda.or.th/
E-mail : info@gistda.or.th
ชนิดและลักษณะของข้อมูลของดาวเทียมแต่ละดวงที่ให้บริการ

ข้อมูลภำพ ข้อมูลเชิงตัวเลข
ดำวเทียม ระดับกำรผลิต รูปแบบ พื้นที่ภำพ ฟิล์มขำว-ดำ ภำพพิมพ์ ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ CCT และ 8 มม.
และสี และสี 1 เท่ำ และสี 2 เท่ำ และสี 4 เท่ำ เทปคำร์ทริดจ์
LANDSAT BULK level 4 Full Scene 184 กม. X 172 กม. 1 : 1,000,000 1 : 1,000,000 1 : 500,000 1 : 250,000 CCRS LGSAWG
TM Quadrant 94 กม. X 88 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000 Format
BIL และ BSQ
1600 และ 6250BPI
2.3 และ 5G
GEOREFERENCED Full Scene 184 กม. X 172 กม. 1 : 1,000,000 1 : 1,000,000 1 : 500,000 1 : 250,000
level 5,6 Quadrant 94 กม. X 88 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000
GEOCODED * Full Scene 184 กม. X 172 กม. 1 : 1,000,000 1 : 1,000,000 1 : 500,000 1 : 250,000
level 8,9 Subscene 41 กม. X 36 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000
Map sheet 28 กม. X 28 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000
SPOT BULK level 0 Full Scene 64-85 กม. X 60 กม. - - - - CNES Format / BIL
PLA & MLA 1600,6250 BPI และ
2.3. 5G
BULK level 4 Full Scene 64-85 กม. X 60 กม. 1 : 400,000 1 : 400,000 1 : 200,000 1 : 100,000 CCRS LGSAWG
GEOCODED * Full Scene 64-85 กม. X 60 กม. 1 : 400,000 1 : 400,000 1 : 200,000 1 : 100,000 Format
level 8,9 Subscene 41 กม. X 36 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000 BIL และ BSQ
Map sheet 28 กม. X 28 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000 1600 และ 6250BPI
Subarea 17 กม. X 15 กม. 1 : 80,000 1 : 80,000 1 : 40,000 1 : 20,000 2.3 และ 5G
(เฉพาะ PLA)
MOS BULK Full Scene 100 กม. X 100 กม. - - - - NASDA Format
ข้อมูลภำพ ข้อมูลเชิงตัวเลข
ดำวเทียม ระดับกำรผลิต รูปแบบ พื้นที่ภำพ ฟิล์มขำว-ดำ ภำพพิมพ์ ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ CCT และ 8 มม.
และสี และสี 1 เท่ำ และสี 2 เท่ำ และสี 4 เท่ำ เทปคำร์ทริดจ์
JERS / OPS GEOREFERENCED Full Scene 75 กม. X 75 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000 NASDA LGSOWG
level 5,6 Format
GEOCODED * Full Scene 100 กม. X 90 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000 BIL และ BSQ
level 8,9 Subscene 41 กม. X 36 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000 1600 และ 6250BPI
2.3 และ 5G
JERS / SAR GEOCODED * Full Scene 100 กม. X 90 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000 NASDA LGSOWG
level 8,9 Subscene 41 กม. X 36 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000 Format
CCRS LGSAWG
Format
BIL และ BSQ
1600,6250 BPI และ
2.3, 5G
NOAA RAW level 0 Full Scene 4400 กม. X 5760 กม. - - - - NOAA LAC 1B
AVHRR Format (METDAS
SYSTEM)
BULK level 4 Full Scene 3100 กม. X 3000 กม. 1 : 20,000,000 1 : 20,000,000 1 : 10,000,000 1 : 5,000,000 CCRS LGSAWG
Format
GEOREFERENCED Full Scene 3100 กม. X 3000 กม. 1 : 20,000,000 1 : 20,000,000 1 : 10,000,000 1 : 5,000,000 BIL และ BSQ
level 5,6 1600 และ 6250BPI
GEOCODED * Fullpass 4400 กม. X 5760 กม. 1 : 32,000,000 1 : 32,000,000 1 : 16,000,000 1 : 8,000,000 2.3 และ 5G
level 8,9 Full Scene 4100 กม. X 36000 กม. 1 : 20,000,000 1 : 20,000,000 1 : 10,000,000 1 : 5,000,000
Subscene 2050 กม. X 1800 กม. 1 : 10,000,000 1 : 10,000,000 1 : 5,000,000 1 : 2,500,000
ข้อมูลภำพ ข้อมูลเชิงตัวเลข
ดำวเทียม ระดับกำรผลิต รูปแบบ พื้นที่ภำพ ฟิล์มขำว-ดำ ภำพพิมพ์ ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ ภำพพิมพ์ขำว-ดำ CCT และ 8 มม.
และสี และสี 1 เท่ำ และสี 2 เท่ำ และสี 4 เท่ำ เทปคำร์ทริดจ์
ERS / SAR RAW Full Scene - - - - CEOS Format
1600 และ 6250BPI
SLC Full Scene - - - -
2.3 และ 5G
Quadrant - - - -

PRI Full Scene - - - -

PRS Full Scene - - - -

GEOCODED * Full Scene 125 กม. X 125 กม. 1 : 800,000 1 : 800,000 1 : 400,000 1 : 200,000 CCRS LGSAWG
Level 8,9 Full Scene 100 กม. X 90 กม. 1 : 500,000 1 : 500,000 1 : 250,000 1 : 125,000 Format
Subscene 41 กม. X 36 กม. 1 : 200,000 1 : 200,000 1 : 100,000 1 : 50,000 BIL และ BSQ
1600 และ 6250BPI
2.3 และ 5G
หมายเหตุ : 1 ) การสั่งข้อมูล GEOCODED * ต้องใช้พิกัดภูมิศาสตร์ (องศา และลิปดา) ของจุดศูนย์กลางของพืน้ ที่ทศี่ ึกษา
2 ) สีผสมมาตรฐานของภาพสีดาวเทียม
LANDSAT ใช้แบนด์ 2 3 4 - น้าเงิน เขียว แดง
SPOT ใช้แบนด์ 2 3 4 - น้าเงิน เขียว แดง
JERS / OPS ใช้แบนด์ 2 3 4 - น้าเงิน เขียว แดง
3 ) เป็นข้อมูลพิเศษ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทีศ่ ูนย์บริการข้อมูล ฯ
สถานภาพการรับสัญญาณดาวเทียมสารวจทรัพยากร (กันยายน 2545)
ดำวเทียม / ระบบ เริ่มรับสัญญำณ หยุดรับสัญญำณ หมำยเหตุ
*LANDSAT-2 / MSS มกราคม 2525 มีนาคม 2525
ข้อมูลมีปัญหา line start anomaly
*LANDSAT-3 / MSS มีนาคม 2525
1/3 ทางด้านซ้ายไม่มีภาพ
*LANDSAT-4 / MSS เมษายน 2526 ตุลาคม 2530
*LANDSAT-5 / MSS เมษายน 2527 สิงหาคม 2531
*** LANDSAT-5 / TM ธันวาคม 2530 กันยายน 2544
*** SPOT-1/ PAN,MLA ธันวาคม 2530 ธันวาคม 2532
*** SPOT-2/ PAN,MLA กรกฎาคม 2534 ธันวาคม 2541
*MOS-1/ MESSR ,VTIR พฤษภาคม 2531 มีนาคม 2538 ไม่บริการ
*MOS-1B / MESSR , VTIR กุมภาพันธ์ 2534 เมษายน 2539
*JERS-1/
ตุลาคม 2536 ตุลาคม 2541
SAR, OPS
*** ERS-1/ SAR มีนาคม 2536 กันยายน 2538
*** ERS-2/ SAR สิงหาคม 2539 ตุลาคม 2542
*** NOAA / AVHRR กรกฎาคม 2535 สิงหาคม 2544
ข้อมูลบันทึกเป็นช่วงตามสัญญา
### IRS-1C, IRS-1D / กุมภาพันธ์ 2543 - กรกฎาคม 2543
กุมภาพันธ์ 2543 ปัจจุบัน
PAN, LISS III, WiFs พฤศจิกายน 2543 - พฤษภาคม 2544
ธันวาคม 2544 - มิถุนายน 2545
### RADARSAT-1/ SAR กรกฎาคม 2543 ปัจจุบัน โปรแกรมให้ส่งสัญญาณตามการขอรับบริการ
### LANDSAT-7/ ETM+ กันยายน 2544 ปัจจุบัน
* ปัจจุบันไม่มีให้บริการ
**** หยุดรับสัญญาณ แต่ยังให้บริการ
### ยังรับสัญญาณและให้บริการ
ขั้นตอนการสั่งข้อมูล
1. ผู้ใช้ข้อมูลสามารถขอติดต่อรับบริการโดยตรงที่ศูนย์บริการข้อมูล ฯ เขตจตุจักร เพื่อ
สอบถามรายละเอียดในเบื้องต้น อย่างไรก็ตามเพื่อให้ได้ข้อมูลตามความต้องการและไม่ผิดพลาด ผู้ใช้
ข้อมูลควรจะเดินทางมาติดต่อกับเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการข้อมูล เพื่อคัดเลือกข้อมูลก่อนสั่งผลิต
2. เลือกชนิดของดาวเทียม และระบบบันทึกข้อมูล ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และประโยชน์ของ
การใช้งาน
3. เลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ และแบบของข้อมูล ซึ่งขึ้นกับปัจจัยในการวิเคราะห์ของผู้ใช้ข้อมูล
เช่น เครื่องมือในการวิเคราะห์ บุคลากร ความรู้และประสบการณ์ ฯลฯ
4. ค้นหาระวางภาพของบริเวณที่ศึกษา โดยดูจากแผนที่ดัชนีภาพของแต่ละดาวเทียม
5. ผู้ใช้สามารถตรวจสอบรายละเอียดจากแคตาล็อกข้อมูลว่ามีการบันทึกไว้หรือไม่ มีประมาณ
เมฆปกคลุมและคุณภาพของข้อมูลเป็นอย่างไร เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น
6. จากนั้นตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นที่เลือกไว้ (ปริมาณเมฆ คุณภาพของข้อมูล) กับข้อมูลภาพ
Quick Look (ฟิล์มดูเร็ว) หรือ Microfiche สี ซึ่งใช้เป็นตัวอย่างภาพอีกครั้งหนึ่ง
7. เมื่อได้รายการข้อมูลตามที่ต้องการแล้ว กรอกรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการสั่งลงในแบบฟอร์ม
ใบสั่งข้อมูลของแต่ละดาวเทียม โดยระบุชนิดของผลิตภัณฑ์ แบบของข้อมูล รหัสข้อมูล และราคาที่
ปรากฏในใบราคา
8. ในกรณีส่วนราชการ ผู้ใช้ข้อมูลต้องทาหนังสือขอรับบริการข้อมูล โดยมีหัวหน้าส่วนราชการ
เป็นผู้ลงนาม ระบุรายละเอียดตามที่เลือกไว้ เช่น บริเวณที่ศึกษา ดัชนีภาพ วันที่บันทึกข้อมูล ชนิดของ
ข้อมูล ฯลฯ และวัตถุประสงค์ของการใช้งาน สาหรับเอกชน ปฏิบัติเช่นกันโดยมีผู้ที่มีอานาจสูงสุดลง
นาม
อนึ่ง กาหนดเวลาแล้วเสร็จของการผลิตขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูล ปริมาณของงานและ จานวน
ของผู้ใช้ข้อมูล โดยปกติ ข้อมูลภาพ(Photographic Product) ใช้เวลาประมาณ 6 – 8 สัปดาห์ และข้อมูลเชิง
ตัวเลข (Digital product) ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์หลังจากได้รับอนุมัติ และใบสั่งได้กรอกไว้ละเอียด
ชัดเจน ครบถ้วน และถูกต้องแล้ว อย่างไรก็ตาม หากผู้ใช้ต้องการขอรับบริการชนิดเร่งด่วน หรือมีข้อ
สงสัยอื่นๆ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ศูนย์บริการข้อมูล ฯ
196 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0 - 2940 - 6420 - 9, Fax 0 - 2561-3035
http://www.gistda.or.th/ หรือ E-mail : info@gistda.or.th
เอกสารอ้างอิง

วินิตา เผ่านาค (2531) หลักการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียม : มหาวิทยาลัยรามคาแหง .


Lillesand T.M. and Kiefer R.W. (1994) Remote sensing and image interpretation 3rd ed., John Wiley & Sons, Inc.
Website : http://www.rs.psu.ac.th/rs/rs_index.htm
http://www.gistda.or.th/
http://www.cla.sc.edu/geog/rslab/
http://rst.gsfc.nasa.gov/

You might also like