You are on page 1of 111

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

โครงการ การเตรียมแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา

โดย ผศ.ดร.อภิญญา ดวงจันทร และคณะ

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2547
สัญญาเลขที่ RDG4650005

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

โครงการ การเตรียมแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา

คณะผูวิจัย สังกัด
1. ผศ.ดร.อภิญญา ดวงจันทร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
2. นายผดุงศักดิ์ รัตนเดชโสภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ชุดโครงการสนับสนุนผูปฏิบัติการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
(1)

สารบัญ
หนา
สารบัญ (1)
สารบัญตาราง (3)
สารบัญภาพ (6)
Executive Summary 1
บทคัดยอ 3
แบบสรุปโครงการวิจยั ฝายอุตสาหกรรม (ฝาย 5) 5
ตารางเปรียบเทียบวัตถุประสงคกิจกรรมที่วางแผนไว กิจกรรมที่ดําเนินการมา
และผลที่ไดรบั 6
บทนํา 7
วัตถุประสงค 7
ทฤษฎี 8
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับอิมัลชัน 8
สารเคลือบผิว (surface coating) 23
งานวิจยั ที่เกีย่ วของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก 32
งานวิจยั ที่เกีย่ วของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิก 37
งานวิจยั ที่เกีย่ วของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดนอนไอออนิก 37
งานวิจยั ที่เกีย่ วของกับแอสฟลทอิมลั ชันชนิดแอมโฟเทอริก 38
อุปกรณและวิธีการ 40
วัตถุดิบ 40
อุปกรณ 47
การทดสอบ 49
วิธีการทดลอง 51
เอกสารนี้ดผลการทดลองและการวิ
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
เคราะห ผลการทดลอง 56
โดย ผู้ใช้ทสรุ
ั่วไปปผลการวิจัย 91
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ เอกสารและสิ ่งอางอิง 23:59:59
03/10/2562 93
(2)

สารบัญ

ภาคผนวก 95
ภาคผนวก ก ตัวอยางการคํานวณปริมาณแสงรังสีอัลตราไวโอเลต 96
ภาคผนวก ข การคํานวณตนทุนการผลิตแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบ
หลังคา 98

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
(3)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
1 คุณสมบัติของแอสฟลทชนิด “SHELL MEXIPHALTE R.115/15” 40
2 คุณสมบัติของน้ํามันเตาเกรด A 44
3 ผลการละลายแอสฟลทของตัวทําละลายโดยใชแอสฟลทปริมาณ 40 กรัม และตัว
ทําละลาย 45 กรัม 56
4 แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากน้ํามันเตา TERIC N100 และน้ํา ที่ปริมาณตาง ๆ
โดยใชแอสฟลทปริมาณ 40 กรัม 57
5 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 เปนตัวอิมลั ซิฟายชนิดนอนไอออ
นิก 58
6 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 เปนตัวอิมัลซิฟายและทําการเติม
Synthalen L ทําหนาที่เปนตัวชวยทําอิมัลชัน 60
7 สูตรของอิมัลชันของสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพของแอสฟลทอิมัลชัน 61
8 ผลการผสมของอิมัลชันของสารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 5-1 ถึง 5-6 กับแอส
ฟลทอิมัลชันตามสูตรที่ 4-4 62
9 ผลของปริมาณของน้ํามันเบนซินและน้ํามันสนที่ใชเปนตัวละลายรวมกับน้ํามัน
เตาแทนน้ํามันเตาในการ เตรียมแอสฟลทอมิ ัลชันตามสูตรตัวอยางที่ 4-4 64
10 ผลการทดลองเตรียมแอสฟลทอิมัลชันที่ประกอบไปดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํา
35-40 กรัม น้าํ มันเตา 20-25 กรัม น้ํามันสน 15-20 กรัม โดยใช Brij®96V,
TWEEN 80 และTWEEN 85 เปนสารลดแรงตึงผิว (นอนไอออนิก) 65
11 ผลของปริมาณ และสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุตาง ๆ ตอการเตรียมแอสฟลท
อิมัลชันที่ประกอบไปดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม Synthalen L 0.15 กรัม
น้ํามันเตา 20 กรัม น้ํามันสน 15 กรัม 67
เอกสารนี้ดาวน์ 12โหลดมาจากระบบ
ผลการทดลองเติมTUDC อิมัลชันของสารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 5-6 ลงในแอส
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก แอนไอออนิก
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และ แคทไอออนิ
และหมดอายุ 03/10/2562 ก ดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชัน: อิมัลชันของสารเติมแตง
23:59:59
เปน 8:2 โดยน้าํ หนัก 68
(4)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา
13 การทดสอบสมบัติการแหงที่ผิว ความทนความรอน ความทนน้ํา ของแอสฟลต
อิมัลชันที่เติมสารเติมแตง 69
14 การทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตของแอสฟลตอิมัลชันที่เติมสารเติม
แตงที่ปริมาณแสงตอพื้นที่ 537 กิโลจูล/ตารางเมตร 73
15 ความหนืดตาม ASTM D2196 (rheological properties of non-newtonian
materials by rotational (Brookfield) viscometer) ของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสาร
ลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N100 ที่เติมสารเติมแตงอัตราสวน
8:2 โดยน้ําหนัก เปรียบเทียบกับสารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาด 76
16 สูตรของสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพเพื่อใหฟลมของอิมัลชันเมื่อทาแลว
ไมเกิดการเยิ้มของอิมัลชัน 77
17 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม ที่
เติมสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพ 82
18 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:2 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม ที่
เติมสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพ 84
19 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:3 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม ที่
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDCบปรุงคุณภาพ
เติมสารเติมแตงในการปรั 85
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ระยะเวลาการแห
ดาวน์โหลดเมื20่อ 03/09/2562 งตัวของสารเคลือบหลังคาเมื่อใชตัวทําละลายชนิดตาง ๆ ในสูตร
20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562
การผสม แอสฟ 23:59:59
ลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม น้ํามันเตา 20 กรัม ตัวทําละลาย 15 กรัม
TERIC N100 5 กรัม Synthalen L 0.15 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 13.65 กรัม
แบไรตและทัลกอยางละ 11.95 กรัม 87
21 ระยะเวลาการแหงและลักษณะทางกายภาพของสารเคลือบหลังคาที่องคประกอบตาง ๆ 90
(5)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางผนวกที่
ข 1 ราคาต น ทุ น สารเคมี สํ าหรับ การผลิตแอสฟ ลทอิ มัล ชั น เพื่อใช เ ป น สารเคลือ บ
หลังคาที่ผสมสารเติมแตงดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตง 8:2.5
โดยน้ําหนัก 95

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
(6)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
1 โครงสรางอยางงายของอิมัลชัน (ก) O/W และ (ข) W/O 9
2 ลักษณะของอิมัลชัน (ก) แบบสองวัฏภาค และ (ข) แบบเชิงซอน 9
3 ประเภทของฟลมที่ผิวระหวางน้ําและน้ํามันที่เกิดจากสารอิมัลซิฟาย 11
4 Lamellar liquid crystal ซึ่งประกอบดวย น้าํ - สารอิมัลซิฟาย – น้ํามัน – สารอิมัลซิ
ฟาย – น้ํา เรียงตัวอยางตอเนือ่ ง 12
5 ลักษณะการเรียงตัวของฟลมที่หุมรอบหยดน้ํามันของอิมลั ซิฟายชนิดประจุลบ 13
6 โครงสรางโมเลกุลอยางงายของสารลดแรงตึงผิว 14
7 โครงสรางทางเคมีของสารอิมัลซิฟายชนิด TWEEN 80 42
8 โครงสรางทางเคมีของสารอิมัลซิฟายชนิด TWEEN 85 43
9 โครงสรางทางเคมีของ Carbopol 45
10 โครงสรางทางเคมีของไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส 45
11 (ก) แผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 0.6
มิลลิเมตร
(ข) แผนทองเหลือง ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร
ตรงกลางมีชองวางขนาด 100 มิลลิเมตร × 100 มิลลิเมตร
(ค) แผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาด 5 × 5 เซนติเมตร 48
12 ตูแสงอัลตราไวโอเลตสําหรับทดสอบความทนตอแสงอัลตราไวโอเลต 48
13 การทดสอบการรั่ว
(ก) รอยรั่วที่สรางขึ้นบนแผนกระเบื้องโดยสวานไฟฟาขนาดเสนผานศูนยกลาง
17/64 นิ้ว
(ข) ผาดิบสําหรับปดรูรั่วขนาด 3 เซนติเมตร × 3 เซนติเมตร 49
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
(7)

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพที่ หนา
14 ผลการทดสอบความทนความร อ นของแอสฟ ล ท อิ มั ล ชั น ต อ สารเติ ม แต ง
อัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว
(นอนไอออนิก)
(ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa HS 80/SPF เปนสารลดแรง
ตึงผิว (แอนไอออนิก)
(ค) แอสฟลทอมิ ัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคท
ไอออนิก)
(ง) สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด 71
15 ผลการทดสอบความทนความน้ําของแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงอัตราสวน
8:2 โดยน้ําหนัก
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว
(นอนไอออนิก)
(ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa HS 80/SPF เปนสารลดแรง
ตึงผิว (แอนไอออนิก)
(ค) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคท
ไอออนิก)
(ง) สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด 72
16 ผลการทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตที่ปริมาณแสง 537 กิโลจูล/ตาราง
เมตร
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
(นอนไอออนิก)TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป (ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa HS 80/SPF เปนสารลดแรง
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59ก)
ตึงผิว (แอนไอออนิ
(ค) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคท
ไอออนิก)
(ง) สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด 74
(8)

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพที่ หนา
17 ฟลมซอมแซมรอยรั่วบนกระเบื้องโดยใชแอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100
ที่เติมสารเติมแตงอัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก
(ข) สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด 75
18 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC
N 100ที่เติมสารแตงที่ประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต
และทัลก เปนอยางละ 35 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัมที่
อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก 79
19 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC
N 100 ที่เติมสารแตงที่ประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต
และทัลก เปนอยางละ 35 กรัม ที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน
8:2.5 โดยน้ําหนัก
(ก) ฟลมทดสอบการทนรอน
(ข) ฟลมทดสอบการทนน้ํา
(ค) ฟลมซอมแซมรอยรั่วบนกระเบื้อง 80
20 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชอัตราสวนสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก
ชนิด TERIC N 100 และสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกชนิด CTAB เปน 3:1
ที่เติมสารเติมแตงที่ประกอบไปดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต
และทัลก เปนอยางละ 30 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัมที่
อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก 81

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
1

Executive Summary

1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การเตรียมแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา


(ภาษาอังกฤษ) Production of Asphalt Emulsion for Roof Coating
คําสําคัญ แอสฟลท อิมัลชัน สารเคลือบหลังคา สารอิมัลซิฟาย
Keywords asphalt, emulsion, roof coating, emulsifier

2. หัวหนาโครงการ
ชื่อ-สกุล นางสาวอภิญญา ดวงจันทร
หนวยงานที่สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ที่อยู ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 พหลโยธิน
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท 02-9428555 ตอ 1211 โทรสาร 02-9428555 ตอ 1232
E-mail fengapd@ku.ac.th
ลงนาม (ลายเซ็น) ___________________________________

4. ระยะเวลาดําเนินการ 24 เดือน
5. ปญหาที่ทําวิจัยและความสําคัญของปญหา
สารเคลื อ บหลั ง คาที่ ทํ า การผลิ ต และจํ า หน า ยในป จ จุ บั น เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากบริ ษั ท
ตางประเทศ สูตรที่ใชในการผลิตเปนความลับ และมีการผูกขาดทางการคา ทําใหเสียดุลทางการคา
และเนื่องจากวัตถุดิบสวนใหญสามารถจัดหาไดภายในประเทศ แตไมสามารถทําการผลิตไดเอง
หากทําการคนควา และวิจัยการผลิตสารเคลือบหลังคาอยางจริงจัง จะทําใหสามารถคิดคนสูตรใน
การผลิตสารเคลือบหลังคาไดเองภายในประเทศ ลดการผูกขาดและเสียเปรียบทางการคา และ
ผลิตภัณฑที่ไดมีราคาถูกและมีคุณภาพดีกวาที่ขายในทองตลาด ความรูที่ไดจากงานวิจัยนี้ยังสามารถ
เอกสารนี้ดขยายผลสู
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป การพัฒนาและผลิตสารกันซึมในงานอื่น ๆ ตอไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
2

6. วัตถุประสงค
ศึกษาการทําแอสฟลทอิมัลชันจากแอสฟลทที่ไดจากน้ํามันปโตรเลียมโดยใชสารอิมัลซิ
ฟายชนิดแอนไอออนิก แคทไอออนิก และนอนไอออนิก เปรียบเทียบเพื่อหาชนิดของอิมัลชันที่
เหมาะสม และพัฒนาใชในงานเคลือบหลังคาใหมีประสิทธิภาพดี

7. ระเบียบวิธีวิจัย (โดยยอ)
- ศึ ก ษาและค น คว า เบื้ อ งต น ถึ ง งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งจากการตรวจเอกสาร ซึ่ ง มี ที่ ม าจาก
สิทธิบัตร เอกสารทางวิชาการ และขอมูลทางอินเตอรเน็ต
- ศึกษาคุณสมบัติของแอสฟลทอิมัลชันเมื่อใสสารอิมัลซิฟายชนิด แอนไอออนิก แคทไอออ
นิก และนอนไอออนิก เมื่อใชแอสฟลทท่ไี ดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม
- ศึกษาการเติมสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพของแอสฟลทอิมัลชัน
- วิเคราะหคุณภาพของผลิตภัณฑที่ได ไดแก การทดสอบการแหงที่ผิว การทนรอน การทน
น้ํา การทนตอแสงอัลตราไวโอเลต ความหนืด การทนไฟ และการแหงตัว (Drying time)
- วิเคราะหความคุมทุนเชิงเศรษฐศาสตร

8. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับในเชิงความรูพื้นฐานและการใชประโยชนตา ง ๆ
ไดผลิตภัณฑสารเคลือบหลังคาชนิดแอสฟลทอิมัลชันที่สามารถใชงานไดดี ราคาถูก และ
งานวิจัยเปนหัวขอวิทยานิพนธสําหรับนิสิตปริญญาโท

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
3

บทคัดยอ

แอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคามีสวนประกอบหลักประกอบดวยแอสฟลท
ตัวทําละลาย น้ํา สารอิมัลซิฟาย และสารเติมแตง ทําการเตรียมโดยหลอมละลายแอสฟลทและผสม
กับตัวทําละลายเมื่ออุณหภูมิ 85-90°C ทําการผสมแอสฟลทที่หลอมละลายกับสารละลายอิมัลซิ
ฟาย ซึ่งประกอบดวยสารลดแรงตึงผิว คารบอกซีไวนิลพอลิเมอร และน้ํา ที่มีอุณหภูมิ 75-80°C ได
แอสฟลทอิมัลชันที่ยังไมไดเติมสารเติมแตง นําสารเติมแตงซึ่งประกอบดวย CaCO3 ทัลก และ
BaSO4 ผสมในแอสฟลทอิมัลชัน ที่มีอุณหภูมิ 60°C ไดสารเคลือบหลังคา
ผลการศึกษาชนิดสารอิมัลซิฟายตอคุณภาพของสารเคลือบหลังคา เมื่อใชสารอิมัลซิฟาย
แอนไอออนิกชนิด Nansa. HS80/SPF แคทไอออนิกชนิดเซทีลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด
(CTAB) และนอนไอออนิกชนิดโนนิลฟนอลอีทอกไซเลท (TERIC N 100) พบวาสารเคลือบ
หลังคาที่ใชอิมัลซิฟายชนิด TERIC N 100 ใหผลการทดสอบดีที่สุด เมื่อทาสารเคลือบนี้ลงบนแผน
เหล็กพบวาสามารถแหงไดภายใน 24 ชั่วโมง ทนรอนที่อุณหภูมิ 100°C ทนน้ํา และแสง
อัลตราไวโอเลต เมื่อนําไปใชจริงกับกระเบื้อง พบวากันน้ําซึมได เมื่อใชสารอิมัลซิฟาย แอนไอออ
นิกชนิด Nansa. HS 80/SPF ฟลมของสารเคลือบไมทนน้ํา และเมื่อใชสารอิมัลซิฟายแคทไอออนิก
ชนิด CTAB ฟลมไมทนความรอนเกิดการแตกของฟลม
การทดลองนําแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่ผลิตจากบริษัททิปโกแอสฟลท จํากัด
(มหาชน) ที่ขายในทองตลาดมาผสมกับแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 ที่ผลิตในงานวิจัยนี้ที่
อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันชนิดนอนไอออนิกตอแคทไอออนิกเทากับ 1:1, 1:2 และ 1:3 พบวาที่ทุก
อัตราสวนทนน้ํา แตไมทนรอนฟลมเกิดการหลอมละลาย
ทําการปรับปรุงสูตรแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 สูตรที่ดีที่สุดโดยน้ําหนัก
ประกอบดวยแอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตาขน 160 กรัม น้ํา 40 กรัม Terric N100 3.75 กรัม คารบอก
ซีไวนิลพอลิเมอร 0.11 กรัม HEC เซลลูโลส 1 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 14.21 กรัม แบไรต 12.18
กรัม ทัลก 12.18 กรัม และเบนโทน 1.42 กรัม คุณสมบัติใกลเคียงกับที่มีขายในทองตลาด และ
เอกสารนี้ดระยะเวลาการแห
าวน์โหลดมาจากระบบงใกลเคียงกันTUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
4

Abstract

Asphalt emulsion for roof coating consists of asphalt, water, emulsifier, and additives.
The preparation procedure is as follows. Asphalt was melted and mixed with fuel oil at 85-90°C.
The asphalt solution was mixed with emulsifier solution (75-80°C), which consists of a
surfactant, carboxyvinyl polymer and water. The additives mixture which consists of CaCO3, talc,
and BaSO4 was to be added into the asphalt solution at 60°C. The test results of asphalt
emulsions using anionic emulsifier (Nansa HS 80/SPF), cationic emulsifier (cetyltrimethyl
ammoniumbromide, CTAB), and nonionic emulsifier (nonyl phenol ethoxylate, TERIC N 100)
showed that asphalt emulsion using TERIC N 100 gave the best performance. It was able to dry
within 24 h, stable under heat at 100°C, and resisted water and ultraviolet ray. Coating on tile,
asphalt emulsion showed no water penetration. Nansa HS 80/SPF asphalt emulsion did not resist
water and the film of CTAB asphalt emulsion was cracked from heat test.

Cationic asphalt emulsion from Tipco company as found sold in the market was mixed
with TERIC N 100 asphalt emulsion at different weight ratios of TERIC N 100 emulsion to
cationic emulsion 1:1, 1:2 and 1:3. None has passed the water penetration test. TERIC N 100
asphalt emulsion was further improved and the best formula consists of 40 g of asphalt, 160 g of
condensed fuel oil, 40 g of water, 3.75 g of TERIC N100, 0.11 g of carboxyvinyl polymer, 1 g of
HEC cellulose , 14.21 g of CaCO3, 12.18 g of BaSO4, 12.18 g of talc, and 1.42 g of bentone. The
test properties and drying time were as good as the commercial one.

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
5

เอกสารแนบ 2

แบบสรุปโครงการวิจัยฝายอุตสาหกรรม (ฝาย 5)

สัญญาเลขที่ RDG4650005 ชื่อโครงการ การเตรียมแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา


หัวหนาโครงการ ผศ.ดร.อภิญญา ดวงจันทร สถาบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
โทรศัพท 02-9428555 ตอ 1203, 1211 โทรสาร 02-9428555 ตอ 1232
E-mail address fengapd@ku.ac.th

ความสําคัญ / ความเปนมา
แอสฟลทอิมัลชัน สารเคลือบหลังคา สารอิมัลซิฟาย สารลดแรงตึงผิว

วัตถุประสงคโครงการ
ศึกษาการทําแอสฟลทอิมัลชันจากแอสฟลทที่ไดจากน้ํามันปโตรเลียมโดยใชสารอิมัลซิฟายชนิดแอนไอ
ออนิก แคทไอออนิกและนอนไอออนิก เปรียบเทียบเพื่อหาชนิดของสารอิมัลซิฟายที่เหมาะสม และพัฒนาใชใน
งานเคลือบหลังคาใหมีประสิทธิภาพดี

ผลที่ไดรับ บรรลุวัตถุประสงค โดยทําให หางหุนสวนจํากัด รุงเรืองฮารดแวร


สามารถผลิตสาร ศึกษาการทําแอสฟลทอิมัลชันจากแอสฟลท สามารถนําสูตรสารเคลือบหลังคาที่ไดไป
เคลือบหลังคาจาก ที่ไดจากน้ํามันปโตรเลียมโดยใชสารอิมัลซิ พัฒนาสูภ าคอุตสาหกรรม
สารอิมัลซิฟายชนิด ฟายชนิดแอนไอออนิก แคทไอออนิกและ
นอนไอออนิกชนิด นอนไอออนิก เปรียบเทียบเพื่อหาชนิดของ
TERIC N100 ที่เติม สารอิมัลซิฟายที่เหมาะสม และพัฒนาใชใน
สารเติมแตง งานเคลือบหลังคาใหมีประสิทธิภาพดี

การนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน
เอกสารนีการเตรี
้ดาวน์ยมแอสฟ โหลดมาจากระบบ
ลทอิมัลชันเพื่อใชเปTUDC
นสารเคลือบหลังคาซึ่งใชในงานซอมแซมหลังคา ซึ่งมี ผศ.ดร.อภิญญา ดวง
โดย ผู้ใช้จันททรั่วไปเปนหัวหนาโครงการ และนายผดุงศักดิ์ รัตนเดชโสภา เปนนักวิจัย สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะ
ดาวน์โหลดเมื
วิ ศ
่อ 03/09/2562
วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย
20:57:18 โดยงานวิจัยนี้หางหุนสวนจํากัด รุงเรืองฮารดแวร นําไปพัฒนาสู
เกษตรศาสตร
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ภาคอุตสาหกรรม
6

เอกสารแนบ 3
กิจกรรม ผลที่ไดรับ ผลการดําเนินงาน หมายเหตุ
1. ตรวจเอกสารเพื่อศึกษากระบวนการ 1. เขาใจขั้นตอนการเตรียมและทดสอบของแอสฟลท 100% -
เตรียมและทดสอบของแอสฟลทอิมัลชัน อิมัลชัน วัสดุและอุปกรณพรอมใชงาน
และการเตรียมวัสดุและอุปกรณ
2. ศึกษาการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันจาก 2. สามารถเตรียมและเขาใจกลไกการเกิดแอสฟลท 100% -
สารลดแรงตึงผิวทั้งชนิดนอนไอออนิก อิมัลชันจากสารลดแรงตึงผิวทั้งชนิดนอนไอออนิก
แอนไอออนิก และแคทไอออนิก แอนไอออนิก และแคทไอออนิกได
3. เปรียบเทียบแอสฟลทอิมัลชันชนิดตาง ๆ 3. ไดแอสฟลทอิมัลชันชนิดที่ใหผลดีที่สุด (เตรียมจาก 100% -
เมื่อเติมสารเติมแตงโดยการทดสอบการ สารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N
แหงที่ผิว การทนรอน การทนน้ํา และการ 100)
ทนตอแสงอัลตราไวโอเลต
4.ปรับปรุงคุณภาพของแอสฟลทอิมัลชันให 4. แอสฟลทอิมัลชันเตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิด 100% -
มีคุณสมบัติที่ดี นอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 สามารถแหงที่ผิว
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ภายใน 24 ชั่วโมง การทนรอน การทนน้ํา ตามมาตรฐาน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางมะตอยอิมัลชันเคลือบผิว
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59 วัสดุ และการนําไปใชจริงกับหลังคาระยะเวลาการแหง
ใกลเคียงกับสารเคลือบหลังคาในทองตลาด

6
7

บทนํา

ในปจจุบันมีการผลิตสารที่ใชเคลือบหลังคาเพื่อซอมแซมรอยรั่ว โดยผลิตภัณฑสามารถทํา
จากวัสดุไดหลายชนิด เชน แอสฟลท บิทูเมน ทาร (tar) และพิทช (pitch) แตเนื่องจากทาร และพิทช
เปนสารคารซิโนเจนเปนพิษตอสิ่งแวดลอม (Chatterjee และ Millburn, 1996) ดวยเหตุนี้จึงนิยมใช
แอสฟลท และบิทูเมนเปนวัตถุดิบ ในการผลิตสารเคลือบหลังคานั้นแอสฟลทตองทําใหอยูในรูป
ของแอสฟลทอิมัลชัน โดยเติมสารละลายแอสฟสทดวยสารอิมัลซิฟายรูปแบบตาง ๆ สําหรับสาร
อิมัลซิฟายที่ใชโดยทั่วไปอยูในรูปของ แอนไอออนิก แคทไอออนิก นอนไอออนิก และแอมโฟเท
อริก ซึ่งแอนไอออนิก และนอนไอออนิกมีขอดี คือ สามารถผสม กับเศษหิน (aggregate) ไดดี แตมี
การเกาะยึดของแอสฟลทกับเศษหินไมดี สวนขอดีของแคทไอออนิกคือ แอสฟลทสามารถยึดเกาะ
ไดดีกับเศษหินเนื่องจากแรงดึงดูดทางไฟฟา โดยแคทไอออนิกมีประจุบวก และเศษหินมีประจุลบ
แต ข อ เสี ย คื อ ถนนที่ ปู ด ว ยแอสฟ ล ท อิ มั ล ชั น ชนิ ด แคทไอออนิ ก จะไม แ ข็ ง แรง และไม ท นทาน
(Tamaki และคณะ, 1999)

เนื่องจากสารเคลือบหลังคาที่มีจําหนายอยูในประเทศไทยนั้นถึงแมจะมีคุณภาพดี และราคา
ไมแพงเกินไปแตเปนผลิตภัณฑของบริษัทตางประเทศ สูตรที่ใชในการผลิตเปนความลับ ถึงแมวา
จะมีวัตถุดิบสวนใหญในประเทศแตก็ไมสามารถผลิตไดเอง หากมีการศึกษา คนควา วิจัย เกี่ยวกับ
สารเคลือบหลังคาอยางจริงจัง และพัฒนาผลงานวิจัยสูภาคอุตสาหกรรมก็จะเปนผลดี ทําใหสามารถ
ผลิตสารเคลือบหลังคาไดเองภายในประเทศ และมีราคาถูกกวาที่ขายในทองตลาด ลดการผูกขาด
และเสียเปรียบทางการคา นอกจากนี้ความรูจากการพัฒนา และวิจัยสามารถขยายผลสูการพัฒนา
และผลิตสารกันซึมในงานอื่น ๆ ตอไป งานวิจัยนี้ทําการศึกษาการผลิตแอสฟลทอิมัลชันในรูปของ
แอนไอออนิก แคทไอออนิก และนอนไอออนิก และปรับปรุงคุณภาพแอสฟลทอิมัลชันในงาน
เคลือบหลังคาใหมีประสิทธิภาพดีกวา หรือทัดเทียมผลิตภัณฑในทองตลาด

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC วัตถุประสงค


โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
ศึ ก ษาการทํ า แอสฟ ล ท อิ มั ล ชั น จากแอสฟ ล ท ที่ ไ ด จ ากน้ํ า มั น ป โ ตรเลี ย มโดยใช ส าร
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
อิมัลซิฟายชนิดแอนไอออนิก แคทไอออนิกและนอนไอออนิก เปรียบเทียบเพื่อหาชนิดของสาร
อิมัลซิฟายที่เหมาะสม และพัฒนาใชในงานเคลือบหลังคาใหมีประสิทธิภาพดี
8

ทฤษฎี

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับอิมัลชัน

อิมัลชัน หมายถึง ผลิตภัณฑรูปแบบหนึ่งที่ประกอบดวยของเหลวอยางนอย 2 ชนิด ซึ่งไม


เขากันหรือไมละลายในกันและกัน เชน น้ําและน้ํามัน ถูกนํามาไวดว ยกันในลักษณะที่ผสมผสาน
เขาเปนเนื้อเดียวกันไดโดยอาศัยสารอิมัลซิฟาย อิมัลชันที่เกิดขึ้นถามองดวยตาเปลาจะเห็นลักษณะ
เปนเนื้อเดียวกัน แตถาสองดวยกลองจุลทรรศนจะเห็นเปน 2 วัฏภาค คือ หยดเล็ก ๆ ของของเหลว
ชนิดหนึ่งที่เรียกวา “วัฏภาคภายใน” (internal or dispersed phase) กระจายตัวแทรกอยูในของเหลว
อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกวา “วัฏภาคภายนอก” (external or continuous phase) (พิมพร, 2540)

ชนิดของอิมัลชัน

แบงตามชนิดของของเหลวที่เปนวัฏภาคภายในและวัฏภาคภายนอก ไดเปน 3 ชนิด คือ

1. อิมัลชันชนิดน้ําในน้ํามัน (W/O emulsion) อิมัลชันชนิดนี้มีวัฏภาคภายในเปนน้ํา วัฏภาค


ภายนอกเปนน้ํามัน

2. อิมัลชันชนิดน้ํามันในน้ํา (O/W emulsion) อิมัลชันชนิดนี้กลับกับชนิดแรก คือ มีวัฏภาค


ภายในเปนน้ํามัน วัฏภาคภายนอกเปนน้ํา

3. อิมัลชันเชิงซอน (multiple emulsion) เปนอิมัลชันที่มีวัฏภาคภายในซอนกันอยู ซึ่งเปน


ของเหลวตางชนิดกัน เชน W/O/W หรือ O/W/O อิมัลชันเชิงซอนนี้สามารถกลับเปนอิมัลชัน
ธรรมดาไดเชน W/O/W ซึ่งมีน้ําเปนวัฏภาคภายนอก แตวัฏภาคภายในซึ่งเปนน้ํามันจะมีหยดเล็ก ๆ
เอกสารนี้ดของน้
าวน์โําหลดมาจากระบบ TUDC
ซอนอยูอีกที เมื่อกลับเป นอิมัลชันธรรมดา จะกลายเปนชนิด O/W
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ลักษณะโครงสร างอยางงายของอิมัลชันแบบตาง ๆ แสดงในภาพที่ 1 และ 2
9

(ก) (ข)

ภาพที่ 1 โครงสรางอยางงายของอิมัลชัน (ก) O/W (ข ) W/O


ที่มา: พิมพร (2536)

(ก) (ข)

ภาพที่ 2 ลักษณะของอิมัลชัน (ก) แบบสองวัฏภาค และ (ข) แบบเชิงซอน


ที่มา: ศิริรัตน (2545)

กลไกการเกิดอิมัลชัน
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562
ปกติของเหลวสองชนิ 20:57:18
ดซึ่งไมเขากันเมื่อถูกนํามารวมกันจะแยกกันอยูเปน 2 ชั้น เนื่องจาก
และหมดอายุ 03/10/2562
เกิดแรงตึ งระหวางผิวขึ23:59:59
้น แตเมื่อมีการเขยาซึ่งเปนการเพิ่มพลังงานและเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสระหวาง
ของเหลวทั้งสอง จะทําใหของเหลวนั้นกระจายตัวเปนหยดเล็ก ๆ ในกันและกันได และมีลักษณะ
ของอิมัลชันเกิดขึ้น แตเปนเพียงเหตุการณที่เกิดขึ้นชั่วคราว ซึ่งหลักการทางอุณหพลศาสตรอธิบาย
10

ไดวาการเขยาเปนการเพิ่มพลังงานอิสระที่พื้นผิว (surface free energy) ของเหลวจึงเขากันได


ชั่วคราว สภาวะนี้ถือวาไมคงสภาพ เพราะเมื่อหยุดเขยาของเหลวเหลานั้นจะพยายามกลับมารวมตัว
และแยกชั้นดังเดิม เนื่องจากมีการปรับสภาพใหเขาสูจุดคงสภาพโดยการลดพื้นที่การสัมผัสระหวาง
กันใหนอยที่สุด

เหตุการณดังกลาวนี้สามารถทําใหเกิดขึ้นอยางถาวร กลาวคือ เกิดการกระจายตัวเปนหยด


เล็กในกันและกันของของเหลวทั้งสองชนิดโดยที่ยังคงสภาพอยู ซึ่งไมกลับแยกชั้นดังเดิมไดโดย
การเติมสารอิมัลซิฟายลงไปกอนการเขยา

ดังนั้น การเกิดอิมัลชันไดตองอาศัยกระบวนการ 2 ขั้นตอน คือ

1. การทําใหของเหลวที่เปนวัฏภาคภายในแตกกระจายเปนหยดเล็ก ๆ โดยอาศัยการให
พลังงานซึ่งอาจใชในรูปของความรอน (heat) การคนหรือเขยา (mechanical agitation) การ
สั่นสะเทือนโดยคลื่นเสียง (ultrasonic vibration) หรือไฟฟา (electricity) เปนตน

2. การทําใหหยด เล็ก ๆ ที่กระจายตัวอยูนั้นคงสภาพอยูไดซึ่งอาศัยสารอิมัลซิฟายดังกลาว


แลว มีผูอธิบายกลไกการทํางานของสารอิมัลซิฟายไวดังนี้ (พิมพร, 2540)

2.1. ลดแรงตึงระหวางผิวของของเหลวทั้งสอง เปนการลดพลังงานอิสระที่ผิวดวย ทําให


โอกาสที่หยดวัฏภาคซึ่งกระจายตัวอยูนั้นรวมตัวกันไดนอยลง เปนการเพิ่มความคงตัวทางอุณหพล
ศาสตร

2.2. เกิดฟลมที่แข็งแรงและยืดหยุนโดยรอบหยดวัฏภาคภายใน ความแข็งแรงและ


ลักษณะการเรียงตัวของโมเลกุลของฟลมนี้แตกตางกันออกไป แลวแตชนิดและความเขมขนของ
เอกสารนี้ดสารอิ
าวน์โมหลดมาจากระบบ
ัลซิฟายที่ใช ฟลมอาจมีTUDCการเรียงตัวเปนโมเลกุลเดี่ยว (monomolecular film) โดยหันดานมี
โดย ผู้ใช้ทประจุ
ั่วไป เขาหาวัฏภาคน้ํา ดานไมมีประจุเขาหาวัฏภาคน้ํามัน ฟลมชนิดนี้มักเกิดจากการใชสารลดแรง
ดาวน์โหลดเมื
ตึ ง ผิ ่อเป03/09/2562
ว น สารอิ ม ั ล ซิ ฟ าย 20:57:18
หรือมีการเรียงตัวซอนกันของโมเลกุล (multimolecular film) เกิดจากการ
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ใชคอลลอยดที่ชอบน้ําเปนสารอิมัลซิฟาย หรือมีการเรียงตัวของอนุภาคเล็กละเอียดของของแข็ง
(solid particle film) ซึ่งเกิดจากการใชของแข็งเล็กละเอียดบางชนิดซึ่งดูดซับที่ผิวของวัฏภาคทั้งสอง
ได ดังแสดงในภาพที่ 3
11

ภาพที่ 3 ประเภทของฟลมที่ผิวระหวางน้าํ และน้าํ มันที่เกิดจากสารอิมลั ซิฟาย


ที่มา : พิมพร (2536)

ฟลมที่เกิดขึ้นรอบหยดวัฏภาคภายในนี้ทําหนาที่เปนกันชน (mechanical barrier)


ปองกันการสัมผัสกันโดยตรงของหยดวัฏภาคภายใน ซึ่งกลไกนี้ถือวาสําคัญที่สุด เพราะตราบใดที่
กันชนนี้ยังคงอยูจะไมทําใหหยดวัฏภาคภายในรวมตัวกันได ความแข็งแรงของกันชนนี้ยังขึ้นกับ
ปริมาณของสารอิมัลซิฟายที่ใสลงไปดวย ถามีปริมาณมากพอ การเรียงตัวของโมเลกุลบนฟลมก็จะ
เอกสารนี้ดหนาแน
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป น (closely packed) ทําใหอิมัลชันมีความคงตัวมากขึ้น
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562
มีผูศึกษาเกี23:59:59
่ยวกับคุณสมบัติหรือพฤติกรรมของฟลมที่เกิดขึ้นระหวางผิวนี้เรื่อยมา จน
ปจจุบันนี้ มีสมมติฐานใหมอธิบายวา อิมัลชั นที่คงตัว นั้นเชื่อวาเกิดจากมีชั้นของผลึกของเหลว
(liquid crystalline layers) อยูระหวางผิวของหยดวัฏภาคภายในกับวัฏภาคภายนอก โดยมีโครงสราง
เปนสามมิติ ดังแสดงในภาพที่ 4
12

Emulsifier

water

Emulsifier
oil
Emulsifier

water

Emulsifier

ภาพที่ 4 Lamellar liquid crystal ซึ่งประกอบดวย น้ํา- สารอิมัลซิฟาย – น้ํามัน – สารอิมัลซิฟาย –


น้ํา เรียงตัวอยางตอเนื่อง
ที่มา : พิมพร (2540)

ขออธิบายใหมนี้ยังอาจใชศึกษาเพื่ออธิบายปฏิกิริยาระหวางกันของหยดวัฏภาคภายใน ซึ่ง
เปนสาเหตุทําใหอิมัลชันเกิดการรวมตัวกันและแยกชั้นไดตอไป และเชื่อวาใชอธิบายกลไกการ
ทํางานของสารอิมัลซิฟายที่เปนสารลดแรงตึงผิวชนิดไมมีประจุ ซึ่งทําใหอิมัลชันคงตัวไดดวย

2. 3. เกิดชั้นคูของไฟฟาสถิตเปนกันชนทางไฟฟา (electrical double layer) ซึ่งกันชนทาง


ไฟฟานี้เกิดจากกลุมโมเลกุลที่มีประจุ (electrically charged groups) ซึ่งอยูรอบ ๆ ผิวของหยดวัฏ
เอกสารนี้ดภาคภายใน
าวน์โหลดมาจากระบบ กลไกนี้ใชอธิบายอิTUDC
มัลชันชนิด O/W ไดเปนอยางดี ตัวอยางที่เห็นชัดเจนคือ การใช
โดย ผู้ใช้ทsodium
ั่วไป soap เปนสารอิมัลซิฟาย โมเลกุลที่เรียงตัวกันเปนฟลมหอหุมหยดวัฏภาคภายในจะหันดาน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ หั ว ที03/10/2562
่ เ ป น ไอออนเข า23:59:59
หาวั ฏ ภาคน้ํ า ไอออนที่ มี ป ระจุ ล บซึ่ ง เกิ ด จากกลุ ม ของคาร บ อกซี เ ลต
(carboxylate group) รอบหยดวัฏภาคภายในจะถูกลอมรอบดวยประจุบวกอีกชั้น ดังแสดงในภาพ
ที่ 5
13

ภาพที่ 5 ลักษณะการเรียงตัวของฟลมที่หุมรอบหยดน้ํามันของอิมัลซิฟายชนิดประจุลบ
ที่มา : พิมพร (2536)

ความตางศักยไฟฟาที่เกิดจากไอออนประจุลบนี้จะผลักกัน ทําใหหยดน้ํามันไมมโี อกาส


เขาใกลกัน อยางไรก็ตาม แมวาสารอิมัลซิฟายแตละชนิดซึ่งทําหนาที่ในการทําใหเกิดอิมัลชันและ
รักษาความคงตัวของผลิตภัณฑไวไดนั้นอาจอาศัยกลไกอยางใดอยางหนึ่งหรือมากกวา 1 อยาง และ
อาจมีกลไกการทํางานตางกันไปบาง แตขอสําคัญ คือ ตองเปนสารที่สามารถถูกดูดซับอยูท ี่
ผิวสัมผัสระหวางวัฏภาคทั้งสองได และสรางฟลมหรือกันชนลักษณะใดก็ได โดยปริมาณของสาร
อิมัลซิฟายตองมากพอที่จะเกิดฟลมที่แข็งแรงหนาแนนรอบหยดวัฏภาคภายใน จึงจะถือวาสารอิมัล
ซิฟายทําหนาที่ไดอยางสมบูรณ

สารอิมัลซิฟาย

สารที่ทําหนาที่เปนสารอิมัลซิฟายไดมีมากมายหลายชนิด ซึ่งสามารถแบงไดเปน 3 กลุม


ใหญ ดังนี้

1. สารลดแรงตึงผิว TUDC
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
เปนสารซึ่งมีค23:59:59
และหมดอายุ 03/10/2562 ุณสมบัติชอบทั้งน้ําและน้ํามัน (amphiphilic) เพราะโครงสรางของสารมีทั้ง
กลุมที่ชอบน้ํา (hydrophilic group) และกลุมที่ชอบน้ํามัน (lipophilic group) ในโมเลกุลเดียวกันดัง
แสดงดังภาพที่ 6 ทําใหสามารถเชื่อมรอยตอระหวางวัฏภาคน้ําและวัฏภาคน้ํามันไดเปนอยางดี จึง
ทํ า หน าที่ เ ป น สารอิ มั ลซิ ฟ ายไดโ ดยมี ก ลไกทั้ง การลดแรงตึง ระหว างผิ ว ของของเหลวทั้ ง สอง
14

การเกิดฟลมที่แข็งแรงและยืดหยุนโดยรอบหยดวัฏภาคภายใน และการเกิดชั้นคูของไฟฟาสถิตเปน
กันชนทางไฟฟา สารลดแรงตึงผิวมีทั้งชนิดแอนไอออนิก แคทไอออนิก และนอนไอออนิก เปน
สารอิมัลซิฟายกลุมที่นิยมใชมากที่สุด

lipophilic part hydrophilic part

ภาพที่ 6 โครงสรางโมเลกุลอยางงายของสารลดแรงตึงผิว
ที่มา: ศิริรัตน (2545)

2. คอลลอยดที่ชอบน้ํา (hydrated lyophilic colloids)

เปนสารโมเลกุลใหญที่ถูกดูดซับไดที่ผิวสัมผัสระหวางน้ํากับน้ํามัน แตไมมีผลในการลด
แรงตึ ง ผิ ว ระหว า งผิ ว ให กั บ ของเหลวทั้ ง สองหรื อ มี ผ ลน อ ยมาก สารเหล า นี้ ทํ า หน า ที่ เ ป น สาร
อิมัลซิฟายไดโดยสรางฟลมชนิดเรียงตัวซอนกันหอหุมรอบหยดวัฏภาคภายใน ซึ่งเปนกันชนที่
แข็งแรงแนนหนาพอที่จะตานทานการรวมตัวกันของหยดวัฏภาคภายในไดดีดังแสดงในภาพที่ 3
นอกจากนี้ สวนที่ละลายน้ําจะชวยเพิ่มความหนืดใหกับวัฏภาคภายนอก ทําใหโอกาสที่หยดวัฏภาค
ภายในจะรวมตัวหรือเกาะกลุมกันมีนอยลง สารกลุมนี้มักทําใหเกิดอิมัลชันชนิด O/W เพราะชวย
เพิ่มความหนืดใหกับน้ําดวย ตัวอยางของสารกลุมนี้ คือ อคาเซีย (acacia) เจลาติน (gelatin) เพคติน
(pectin) เปนตน การใชสารเหลานี้เป นสารอิมัลซิ ฟายจะตองใชแรงหรือพลังงานในการเตรีย ม
อิมัลชัน เพราะไมทําใหแรงตึงผิวระหวางผิวลดลงมากนัก และตองควบคุมอัตราสวนของน้ํา น้ํามัน
เอกสารนี้ดและสารอิ มัลซิฟายเปนอยางดีTUDC
าวน์โหลดมาจากระบบ มักใชในแงของสารอิมัลซิฟายชวย (auxiliary emulsifiers) และสาร
โดย ผู้ใช้ทเพิั่วไป
่มความหนืดมากกวา คอลลอยดบางตัวไมถูกดูดซับที่ผิวสัมผัสของวัฏภาคน้ําและน้ํามัน แตชวย
ดาวน์โหลดเมื
เพิ ่ ม
่อ 03/09/2562
ความหนื ด ของวั ฏ
20:57:18
ภาคน้ ํ า โดยการพองตั ว เช น ตรากาแคนธ (tragacanth) เมธิ ล เซลลู โ ลส
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
(methylcellulose) และอนุพันธุของมัน จึงมักใชรวมกับ อคาเซีย ในการเตรียมอิมัลชัน และใชเปน
สารเพิ่มความหนืด
15

3. อนุภาคของแข็งขนาดละเอียดบางชนิด (finely divided solid particles)

ผงละเอียดของสารกลุมนี้ถูกดูดซับไดที่ผิวสัมผัสระหวางวัฏภาคโดยมีความสามารถในการ
เปยกน้ําและน้ํามันไดตางกัน ทําหนาที่เปนสารอิมัลซิฟายโดยสรางฟลมที่เกิดจากการเรียงตัวของ
อนุภาคเล็กละเอียดของของแข็ง ดังแสดงในภาพที่ 1 สารกลุมนี้ตองมีผงละเอียดเล็กมากเมื่อเทียบกับ
ขนาดหยดวัฏภาคภายใน บางชนิดอาจมีประจุซึ่งทําใหเกิดชั้นคูของไฟฟาสถิตเปนกันชนทางไฟฟา
รอบหยดวัฏภาคภายในได จะทําใหอิมัลชันยิ่งมีความคงตัวมากขึ้น ตัวอยางสารกลุมนี้คือ เบนโท
ไนท (bentonite) อะลูมิ เนี ยมไฮดรอกไซด (aluminium hydroxide) แมกนี เซียมไฮดรอกไซด
(magnesium hydroxide) คอลลอยดอลอะลูมีเนียมซิลิเกต (colloidal aluminium silicate) คอลลอย -
ดอลแมกนีเซียมซิลิเกต (colloidal magnesium silicate) เปนตน ผงเหลานี้จะแสดงขั้ว (polar solid) ทํา
ใหเปยกน้ําไดดีกวาน้ํามันและเกิดอิมัลชันชนิด O/W ผงที่ไมแสดงขั้ว (non polar solid) จะเปยก
น้ํามันไดดีกวาน้ํา และเกิดอิมัลชันชนิด W/O ไดแก ผงถาน กลีเซอริลโมโนสเตียเรท (glyceryl
monostearate) เปนตน

สําหรับเบนโทไนทซึ่งถูกดูดซับที่ผิวสัมผัสระหวางวัฏภาคนั้น จะตองทําใหเปยกน้ํากอนจึง
จะเกิดฟลมที่คงตัว ชนิดของอิมัลชันขึ้นอยูกับลําดับการผสม ถาทําใหเบนโทไนทเปยกน้ํากอนจะ
ไดอิมัลชันชนิด O/W แตถาทําใหเปยกน้ํามันกอนจะไดอิมัลชันชนิด W/O

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอชนิดของอิมัลชัน

ชนิดของอิมัลชันจะยึดถือตามสวนประกอบที่เปนวัฏภาคภายในและภายนอก คือ ชนิด


O/W และชนิด W/O ซึ่งปจจัยที่เปนตัวกําหนดชนิดของอิมัลชันที่ไดมีดังนี้ คือ

1. ชนิดของสารอิมัลซิฟาย
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป สารอิมัลซิฟายจะกําหนดชนิดของอิมัลชันไดจากคาการละลายโดยทั่วไปยึดหลักวา สาร
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ อิมัลซิ03/10/2562
ฟายละลายไดดีใ23:59:59
นวัฏภาคใด วัฏภาคนั้นจะเปนวัฏภาคภายนอก โดยหลักการนี้จะตองสัมพันธ
สอดคลองกับอัตราสวนของวัฏภาคน้ํากับน้ํามัน และลําดับการผสมดวย
16

1.1 สารลดแรงตึงผิว เปนสารที่โมเลกุลมีทั้งสวนที่ชอบน้ําและชอบน้ํามัน ดังนั้น การ


ละลายของสารกลุมนี้ ทํานายไดจากคา HLB (hydrophilic – lipophilic balance) ซึ่งเปนคาสมดุล
ของสวนที่ชอบน้ํากับชอบน้ํามัน คานี้ถูกกําหนดขึ้นจากการศึกษาสารลดแรงตึงผิวชนิดไมมีประจุ
ในการกระจายตัวในน้ํา โดยทั่วไปสารลดแรงตึงผิวที่มีคา HLB สูงคือ 8-18 จะละลายน้ําได ทําให
เกิดอิมัลชันชนิด O/W บางครั้งจะยึดคา HLB > 7 สารลดแรงตึงผิวที่มีคา HLB ต่ํา คือ 4-6 จะ
ละลายน้ําไมดี ทําใหเกิดอิมัลชันชนิด W/O (Al-Sabagh, 2002) บางครั้งจะยึดคา HLB < 7 กรณีของ
สารลดแรงตึงผิวชนิดประจุบวกหรือประจุลบซึ่งไมมีคา HLB นั้น กําหนดชนิดของอิมัลชันไดจาก
ความสามารถในการละลายเชนกัน

1.2 คอลลอยดที่ชอบน้ํา ซึ่งละลายน้ําไดแตไมละลายน้ํามัน ทําใหเกิดอิมัลชันชนิด


O/W

1.3 ของแข็งเล็กละเอียด กําหนดชนิดของอิมัลชันไดจากอํานาจในการเปยกน้ําหรือ


น้ํามัน ถาเปนชนิดที่เปยกน้ําไดดีกวาน้ํามัน ทําใหเกิดอิมัลชันชนิด O/W และในทางกลับกัน แตมี
ขอยกเวนสําหรับเบนโทไนท ซึ่งทําใหเกิดอิมัลชันชนิด O/W หรือ W/O ก็ไดแลวแตลําดับการผสม

2. อัตราสวนโดยปริมาตรของวัฏภาคน้ํากับน้ํามัน (phase volume ratio)

โดยปกติแลวสารอิมัลซิฟายที่ละลายดีในน้ําจะทําใหเกิดอิมัลชันชนิด O/W หลักการนี้จะ


เปนไดจริงตอเมื่อวัฏภาคน้ํามัน (ภายใน) มีไมเกิน 74 % ถามีปริมาณมากกวานี้จะเกิดการกลับวัฏ
ภาค (phase inversion) ทันที กลายเปนชนิด W/O และไมคงสภาพเนื่องจากสารอิมัลซิฟายละลายได
ดีในน้ํา ซึ่งควรเปนวัฏภาคภายนอก สารอิมัลซิฟายที่ละลายดีในน้ํามันจะทําใหเกิดอิมัลชันชนิด
W/O แตถาปริมาณวัฏภาคน้ํา (ภายใน) มีเกิน 40% จะกลับไดอิมัลชันชนิด O/W และไมคงสภาพ
การที่อิมัลชันชนิด O/W มีคาอัตราสวนวัฏภาคภายในไดสูง (74%) กวาอิมัลชันชนิด W/O (40%)
เอกสารนี้ดเพราะฟ ลมที่หุมรอบหยดน้ําTUDC
าวน์โหลดมาจากระบบ เปนฟลมที่มีประจุทําหนาที่เปนกันชนที่แข็งแรงในการปองกันการ
โดย ผู้ใช้ทรวมตั
ั่วไป วของหยดน้ํามันไดดี แตฟลมที่หุมรอบหยดน้ํา (กรณีอิมัลชันชนิด W/O) เปนฟลมไมมีประจุ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ จึงไม03/10/2562
เกิดการผลักกันของประจุ
23:59:59ขึ้น ความสามารถในการเปนกันชนจึงดอยกวา

ดังนั้น อัตราสวนของวัฏภาคน้ํากับน้ํามันจึงเปนปจจัยรวมกับการละลายของสารอิมัลซิฟาย
ในการกําหนดชนิดของอิมัลชันที่ได และบางครั้งอาจตองคํานึงถึงลําดับการผสมดวย
17

กรณีที่ปริมาณของวัฏภาคทั้งสองมีพอ ๆ กัน (50:50) ปจจัยในเรื่องอัตราสวนโดยปริมาตร


ของวัฏภาคน้ํากับน้ํามัน จะไมมีอิทธิพลตอชนิดของอิมัลชันที่ได คือ โอกาสที่จะเกิดอิมัลชันชนิด
O/W หรือ W/O มีเทากัน ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของสารอิมัลซิฟายหรือลําดับการผสมหรืออื่น ๆ มากกวา

3. ลําดับการผสม

โดยทั่วไปการผสมนั้นมักเติมของเหลวที่เปนวัฏภาคภายในลงไปในของเหลวอีกชนิด เชน
ในการเตรียมอิมัลชันของ water – mineral oil – sorbitan monooleate จะตองเติมน้ําลงในน้ํามัน
พรอมกับผสมไปดวยจึงไดอิมัลชันชนิด W/O (โดยวัฏภาคน้ําไมเกิน 40%) แตถาเติมวัฏภาคทั้งสอง
ลงไปพรอมกันแลวคนผสมจะไดอิมัลชันชนิด O/W แทน (แมมีอัตราสวนของวัฏภาคน้ําแค 20-
30%) ในทํานองเดียวกันถาตองการเตรียมอิมัลชันชนิด O/W ควรจะเติมวัฏภาคน้ํามันลงในวัฏภาค
น้ําพรอมกับกวนผสมไปดวย

4. ความหนืดของแตละวัฏภาค

การเพิ่มความหนืดใหแกวัฏภาคใด วัฏภาคนั้นมีแนวโนมที่จะเปนวัฏภาคภายนอก

การทดสอบชนิดของอิมัลชัน

วิธีการทดสอบชนิดอิมัลชันวาเปน O/W หรือ W/O มีหลายวิธี ดังนี้

1. Dilution test อิมัลชันชนิด O/W เมื่อหยดลงในน้ําจะกระจายตัวไดดี แตถาเปนชนิด


W/O จะคงเปนหยดบนผิวน้ํา แตกระจายตัวไดดีในน้ํามัน ถาเปนครีมเหนียวจะตองคนชวย ถา
กระจายตัวในน้ําจะเปนชนิด O/W แตถาดูแลเปนเงาและลอยเหนือน้ําจะเปนชนิด W/O
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป 2. Dye test ทดสอบโดยการเติมสีชนิดละลายน้ํา เชน เมธิลลีนบลู ลงในอิมัลชันและคน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ ถาสีล03/10/2562
ะลายไดดีจะเปนชนิ ด O/W แตถาสียังคงเปนเม็ด ๆ ไมละลายจะเปนชนิด W/O อาจใชกลอง
23:59:59
จุลทรรศนชวยจะดูงายขึ้น ถาเห็นหยดน้ํามันใส ๆ กระจายในสี แสดงวาเปนชนิด O/W วิธีนี้ควร
ระวังถาสีมีประจุตรงกันขามกับสารอิมัลซิฟาย จะตกตะกอนและแยกได
18

3. Conductivity test เปนการทดสอบความสามารถในการนําไฟฟาได ถาเปนอิมัลชัน


ชนิด O/W ซึ่งวัฏภาคภายนอกเปนน้ําจะนําไฟฟาไดดี วิธีนี้ใชไดดีกับสารอิมัลซิฟายชนิดมีประจุ ถา
เปนชนิดนอนไอออนิกอาจไมไดผล

4. Filter paper wetting test อิมัลชันชนิด O/W เมื่อหยดลงบนกระดาษกรองจะเปยกได


อยางรวดเร็ว

5. CoCl2/filter paper test อิมัลชันชนิด O/W เมื่อหยดลงบนกระดาษกรองที่ชุบดวย


CoCl2 จะเปลี่ยนจากสีน้ําเงินเปนสีชมพู แตอิมัลชันที่ไวตออิเล็กโทรไลตจะทดสอบโดยวิธีนี้ไมได

6. Fluorescence test อาศัยคุณสมบัติในการเรืองแสง UV ของหยดน้ํามัน ถาเปนอิมัลชัน


ชนิด O/W จะเกิดการเรืองแสงเปนจุด ๆ แตชนิด W/O จะเรืองแสงทั่วไปหมด

ความคงตัว (stability)

ความคงตัวของอิมัลชันเปนสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงอยางยิ่ง การเพิ่มความคงตัวอาจทําได
โดยเลือกสวนประกอบของวัฏภาคน้ํา น้ํามัน และสารอิมัลซิฟายที่เหมาะสมเพื่อใหไดอิมัลชันที่มี
ความคงตัวทางกายภาพ

ความไมคงตัวทางกายภาพของอิมัลชันมักเกิดจากการรวมตัวของหยดวัฏภาคภายในแลว
แยกออกจากวัฏภาคภายนอก ซึ่งเกิดได 3 ลักษณะ คือ

1. การเกิดครีม (creaming)

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
เปนลักษณะที่วัฏภาคภายในแยกไปรวมกั นลอยอยูชั้นบนหรือนอนกนภาชนะ ทําใหเห็น
โดย ผู้ใช้ทแยกเป
ั่วไป นชั้นครีม และชั้นอิมัลชันที่เจือจาง มักเกิดกับอิมัลชันที่มีความหนืดต่ํา เปนความไมคงตัวที่
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ เกิดขึ03/10/2562
้นไมถาวร เมื่อเขย23:59:59
าสามารถทําใหชั้นที่แยกนี้ผสมกันไดดังเดิม การปองกันการเกิดครีม อาจทํา
ไดโดยลดขนาดหยดวัฏภาคภายใน เชน ใช เครื่องโฮโมจีไนเซอร (homogenizer) หรือทําให
วัฏภาคทั้งสองมีความหนาแนนเทากัน หรือเพิ่มความหนืดใหกับวัฏภาคภายนอกโดยใชสารเพิ่ม
ความหนืด
19

2. Flocculation

เปนความไมคงตัวชนิดไมถาวรเชนกัน แตรุนแรงกวา การเกิดครีม เพราะหยดอนุภาค


ภายในที่แยกตัวมารวมกันนี้เกิดแรงเกาะกันอยางออน ๆ จะนําไปสูการเกิด coalescence ซึ่งเปน
ความไมคงตัวอยางถาวรได flocculation นี้อาจเกิดกอน หลัง หรือระหวางการเกิดครีมได การเขยา
ใหกลับสูสภาพเดิมจะขึ้นกับแรงเกาะกันระหวางอนุภาค ซึ่งพิจารณาไดจากคุณสมบัติทางเคมีของ
สารอิมัลซิฟาย อัตราสวนวัฏภาคภายในกับวัฏภาคภายนอก ความเขมแข็งของสารอิเล็กโทรไลต
และสารอิมัลซิฟายชนิดมีประจุ การปองกันการเกิด flocculation อาจทําไดโดยทําใหมีแรงผลัก
ระหวางชั้นคูของไฟฟาสถิตเปนกันชนทางไฟฟาสูงพอ โดยใชสารอิมัลซิฟายที่มีประจุที่ดูดซับไดดี
ที่ผิวสัมผัสระหวางสองวัฏภาค ทําใหเกิดฟลมแข็งแรงที่เรียงตัวใกลชิดหนาแนน หรือถาเปนสาร
อิมัลซิฟายชนิดไมมีประจุ ควรใชความเขมขนสูงพอที่จะเกิดฟลมหนาหุมรอบหยดวัฏภาคภายใน

3. Coalescence

เปนความไมคงตัวชนิดถาวร โดยหยดอนุภาควัฏภาคภายในเกิดหลอมรวมตัวเขากันเปน
หยดที่โตขึ้นจนแยกออกเปนชั้นน้ําและน้ํามันอยางชัดเจน เนื่องจากฟลมที่หุมรอบหยดวัฏภาค
ภายในไมแข็งแรงหรือถูกทําลายลง ซึ่งอาจเกิดจากการเติมสารที่เขาไมไดกับสารอิมัลซิฟาย การถูก
ทําลายโดยจุลินทรีย หรือการเพิ่มอุณหภูมิซึ่งทําใหสารอิมัลซิฟายบางชนิดตกตะกอน การปองกัน
coalescence อาจทําไดโดยเลือกชนิดและปริมาณของสารอิมัลซิฟายอยางเหมาะสม หรือเพิ่มความ
หนืดแกวัฏภาคภายนอก

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคงตัวของอิมัลชัน

อิมัลชันที่มีความคงตัว หมายถึง อิมัลชันที่มีลักษณะเปนเนื้อเดียวกัน ไมเกิดการแยกชั้น


เอกสารนี้ดหรื
าวน์อเปลี ่ยนไปจากเดิมแมภายหลั
โหลดมาจากระบบ TUDCงการผลิตนานเปนป ปจจัยที่มีผลตอความคงตัวของอิมัลชันมีดังนี้
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
1. สารอิมัลซิฟ23:59:59
และหมดอายุ 03/10/2562 าย

การเลือกใชสารชนิดใดเพื่อเปนสารอิมัลซิฟายจะตองคํานึงถึงคุณสมบัติและปริมาณที่ใช
เพราะมีผลตอความแข็งแรงของฟลมที่หอหุมรอบหยดวัฏภาคภายในซึ่งทําใหอิมัลชันคงตัวอยูได
20

ถาเลือกอยางไมเหมาะสมหรือขาดการศึกษาถึงคุณสมบัติของสารอิมัลซิฟายที่ใช อาจทําใหอิมัลชัน
ไมคงสภาพไดตัวอยางเชน

1.1 สารอิมัลซิฟายชนิดน้ํามันในน้ํา อิมัลชันชนิด O/W ฟลมที่เกิดรอบหยดน้ํามัน


จะตองมีประจุไฟฟา และปริมาณโมเลกุลประจุตองมากพอ เพื่อใหเกิดการผลักกันของหยดน้ํามันที่
ถูกหุมไว สวนที่ไมมีประจุของสารอิมัลซิฟายจะตองจับกันดวยแรงที่มากพอเพื่อใหฟลมเกิดความ
แข็งแรง แรงที่จับกันนี้จะมากหรือนอยขึ้นกับโครงสรางสวนที่ไมชอบน้ํา ซึ่งเปนแกนคารบอน
อะตอมของกรดไขมัน ถาเปนไขมันอิ่มตัวแกนตรง (saturated straight chain) จะเกิดฟลมที่แข็งแรง
ไดอิมัลชันมีความหนืดสูงและคงตัวดี ถาเปนไขมันไมอิ่มตัวแบบทรานส (trans-unsaturated chain)
จะได อิ มั ล ชั น ที่ ค งตั ว แต ค วามหนื ด ลดลง แต ถ า เป น ไขมั น ไม อิ่ ม ตั ว แกนหั ก งอแบบซิ ส (sis-
unsaturated chain) จะไดอิมัลชันที่ไมคงสภาพ เพราะแรงจับกันระหวางโมเลกุลของไขมันเหลานี้
ไมแข็งแรงพอและการเรียงตัวไมใกลชิดหนาแนน ทําใหฟลมไมคงสภาพ

1.2 สารอิมัลซิฟายชนิดน้ําในน้ํามัน อิมัลชันชนิด W/O นี้ ฟลมที่เกิดรอบหยดน้ําไม


จําเปนตองมีประจุไฟฟา แตสารอิมัลซิฟายจะตองมีอํานาจในการลดความตึงระหวางผิวของน้ําและ
น้ํามันไดมาก และละลายดีในน้ํามัน จึงจะไดอิมัลชันที่คงสภาพ

นอกจากนี้ปริมาณของสารอิมัลซิฟายจะตองเพียงพอในการทําใหเกิดฟลมหุมรอบวัฏ
ภาคภายในไดหมด ยิ่งถาตองการใหหยดวัฏภาคภายในมีขนาดเล็กมาก ยิ่งตองใชสารอิมัลซิฟายที่มี
ความเขมขนสูง โดยทั่วไปถาใชสารลดแรงตึงผิวเปนสารอิมัลซิฟาย อาจใชปริมาณตั้งแต 1-10%

2. เทคนิคการผสม

เครื่องมือที่ใชผสมมีผลตอรูปแบบการไหล (flow pattern) ของของเหลว ถาเครื่องผสมทํา


เอกสารนี้ดให
าวน์เกิดโหลดมาจากระบบ
การไหลวน (turbulentTUDC flow) จะทําใหการผสมเขากันดีที่สุด สงผลใหอิมัลชันมีความคงตัว
โดย ผู้ใช้ทเพราะสารอิ
ั่วไป มัลซิฟายมีโอกาสสัมผัสกับผิวสัมผัสของน้ํากับน้ํามันมากที่สุด นอกจากนี้ อัตราเร็วใน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ การผสมก็ มีความสําคัญ23:59:59
03/10/2562 ถาใชอัตราเร็วสูงเทากับเปนการเพิ่มพลังงานมากขึ้น หยดวัฏภาคภายในเกิด
การกระจายตัวละเอียดเล็กมาก ทําใหอิมัลชันคงตัว
21

3. อุณหภูมิที่ใชผสม

ทั้ง 2 วัฏภาคควรมีอุณหภูมิเทากันหรือใกลเคียงกัน โดยทั่วไปอุณหภูมิที่ใชในการผลิต


อิมัลชันอยูประมาณ 70-75OC การใชอุณหภูมิต่ํากวานี้วัฏภาคน้ํามันอาจจะหลอมเหลวไมหมด

4. เวลาที่ใชในการผสม

เวลาที่ใชในการผสมตองมากพอที่จะทําใหสารลดแรงตึงผิวที่อยูในทั้งสองวัฏภาคอยูใน
สภาพสมดุล ซึ่งจะทําใหอิมัลชันคงตัวมากขึ้น ถาใชเวลาผสมนอยไปอาจทําใหสารลดแรงตึงผิวเกิด
การเคลื่อนยายจากวัฏภาคหนึ่งไปอีกวัฏภาคหนึ่ง ทําใหคุณสมบัติทางกายภาพและความคงตัวของ
อิมัลชันเปลี่ยนไป

5. อัตราเร็วที่ใชในการทําใหเย็นตัว

ถาทําใหอิมัลชันเย็นตัวลงเร็วไปจะเกิดการตกผลึกของสารพวกขี้ผึ้ง (wax) และไขมัน (fat)


ทั้งหลาย ทําใหอิมัลชันที่ไดเนื้อและความหนืดเปลี่ยนไปได

สารอิมัลซิฟายชวย

สารอิมัลซิฟายชวยมีทั้งที่ไดจากธรรมชาติ และการสังเคราะห แตที่ไดจากการสังเคราะหมี


ขอดีกวาที่ไดจากธรรมชาติในแงของสวนประกอบหรือคุณสมบัติที่แนนอน ตัวอยางของสารอิมัล-
ซิฟายชวยที่ไดจากการสังเคราะหไดแก

1. Cellulosics เปนเซลลูโลสสังเคราะห ซึ่งมีการเติมสารตาง ๆ บน กลุมไฮดรอกซิล


เอกสารนี้ด(hydroxyl
าวน์โหลดมาจากระบบ
group) ทําใหไดเTUDC
ซลลูโลสที่ถูกแทนที่ (substituted cellulosics) ตาง ๆ โดยออกเปน 4
โดย ผู้ใช้ทกระบวนการ
ั่วไป ดังนี้
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
1.1 Methocel ไดจากการนํา เสนในเซลลูโลสจากใยฝายมาทําใหพองตัวในสารละลาย
ของคอสติกโซดา (caustic soda) ไดเปนอัลคาไลเซลลูโลส (alkali cellulose) จากนั้นทําปฏิกิริยากับ
เมธิลคลอไรด (methyl chloride) ไดเปน เมธิลเซลลูโลส (methyl cellulose) นํามาทําใหบริสุทธิ์และ
22

บดเปนผง นอกจากนี้อาจมีการเติม พรอพิลีนออกไซด (propylene oxide) ในเมธิลคลอไรดกอน


นํามาทําปฏิกิริยากับเซลลูโลสไดเปนพรอพิลีนไกลคอลอีเธอรของเซลลูโลส (propylene glycol
ether of cellulose) ซึ่งทําใหละลายในสารอินทรียขึ้น

1.2 ไฮดรอกซีเอธิลเซลลูโลส (hydroxyethylcellulose) ไดจากการเติม เอธิลลีนออกไซด


(ethylene oxide) ในโมเลกุลของเซลลูโลสทําใหการละลายน้ําเพิ่มขึ้นตามจํานวนของเอธิลีนออก
ไซดที่เติมลงไป

1.3 โซเดียมคารบอกซีเมธิลเซลลูโลส (sodium carboxymethylcellulose) เกิดจากการ


นําอัลคาไลเซลลูโลสมาทําปฏิกิริยากับโซเดียมโมโนคลอโรอะซิเตท (sodium monochloroacetate)

1.4 ไฮดรอกซี พรอพิ ลเซลลู โ ลส (hydroxypropylcellulose) เกิ ด จากการนํ าอัล คาไล


เซลลูโลสมาทําปฏิกิริยากับพรอพิลีนออกไซด

2. คารบอกซีไวนิลพอลิเมอร (carboxyvinyl polymer) หรือ carbopol เปนคารบอกซีพอลิ-


เมอรที่ถูกเชื่อมสายโซ (crosslinked carboxyvinyl polymer) ซึ่งกระจายในน้ําทันทีไดเปนสารที่
กระจายตัวมีฤทธิ์เปนกรดและความหนืดต่ํา (low-viscosity acidic dispersion) ใชเปนสารเพิ่มความ
หนืดแกอิมัลชัน

การใชในแงของสารอิมัลซิฟาย (พิมพร, 2540) พบวา เฮกซิลลามีน (hexylamine) และเกลือ


ของ 2-เอธิลเฮกซิลเอมีน (2-ethylhexyl amine salts) ของ carbopol ใชเปนตัวทําอิมัลชันชนิด O/W

3. Pyrogenic หรือ fumed silicas เตรียมโดยนําซิลิคอนเตตระคลอไรด (silicon


tetrachloride) มาทําปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis) ในไอกาซที่รอน (ประมาณ 1,100OC)
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทสารเพิ
ั่วไป ่มความหนืด
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เปนสารซึ่งชวยเพิ่มความหนืดใหกับอิมัลชัน อาจเรียกชื่อวาสารอิมัลซิฟายชวย เพราะการ
เพิ่มความหนืดเปนการเพิ่มความคงตัวโดยเฉพาะอยางยิ่งอิมัลชันที่มีวัฏภาคภายในนอย ถาไมใชสาร
เพิ่ ม ความหนื ด แก วั ฏ ภาคภายนอกช ว ยจะทํ า ให ห ยดน้ํ า มั น มี โ อกาสแยกมารวมตั ว กั น ง า ยขึ้ น
23

นอกจากนี้ ยังชวยปรับปรุงคุณสมบัติการไหลของอิมัลชันและความหนืดใหดีขึ้น ทําใหอิมัลชันไม


เหลวจนเกินไป

การผลิตอิมัลชัน

การผลิตอิมัลชันในระดับอุตสาหกรรมมีอยู 2 วิธี

1. วิธีไมใชความรอน (cold process) เปนการผลิตอิมัลชันที่อุณหภูมิหองโดยอาศัยพลังงาน


กล เชน การคนผสม วิธีนี้ประหยัดพลังงาน แตมีขอเสียคือ ไดอิมัลชันที่มีขนาดอนุภาคใหญ

2. วิธีใชความรอน (conventional hot process) เปนการผลิตอิมัลชันซึ่งอาศัยทั้งพลังงาน


ความรอนและพลังงานกล โดยการใหความรอนในแตละวัฏภาค (น้ํากับน้ํามัน) ที่อุณหภูมิเดียวกัน
คือประมาณ 70-90OC จากนั้นคนผสมวัฏภาคทั้งสองเขาดวยกันโดยอาศัยพลังงานกล เชน เครื่องปน
เครื่องผสม เพื่อใหสารอิมัลซิฟายมีโอกาสแทรกอยูระหวางวัฏภาคทั้งสองไดดีขึ้นเมื่อเกิดอิมัลชันที่
สมบูรณแลวจึงลดอุณหภูมิลงมาจนถึงอุณหภูมิหองหรือใกลเคียงโดยมีการคนผสมตลอดเวลาดวย
ซึ่งกินเวลานาน ถาตองการใหเย็นเร็วขึ้นอาจใชวิธีหลอดวยน้ําเย็น ซึ่งอัตราเร็วในการทําใหอิมัลชัน
เย็นลงนี้มีผลตอคุณภาพของอิมัลชันดวย ตองศึกษาและควบคุมเปนอยางดี

สารเคลือบผิว (Surface Coating)

วัตถุประสงคของการเคลือบผิว

วัตถุประสงคของการเคลือบผิวมีอยูดวยกัน 2 ประการ คือ

เอกสารนี้ด1.าวน์เพืโหลดมาจากระบบ
่อปองกันพื้นผิววัสดุจากมลภาวะต
TUDC าง ๆ สารเคลือบผิวจะชวยใหผิวหนาของวัสดุที่ถูกเคลือบ
โดย ผู้ใช้ทั่วไปมีความทนทานตออากาศ น้ํา และสารเคมีตาง ๆ นอกจากนี้ สารเคลือบผิวยังชวยใหผิวหนาของ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ วั03/10/2562
สดุมีความแข็งแรงขึ ้น ทนทานตอการขัดสีไดมากขึ้น และอายุการใชงานยาวนานขึ้น
23:59:59
24

2. เพื่อตกแตงใหแลดูสวยงาม ความสวยงามของวัสดุ หลังการเคลือบผิวหนา ดวยสารเคลือบผิว


อาจมาจากสี (color) จากความเงา (gloss) จากลวดลายตกแตง (texture) หรือจากความสวาง
(lighting) หรือจากทั้งหมดรวมกัน

สวนผสมที่เติมในสารเคลือบผิวเพื่อเพิ่มคุณภาพที่สําคัญ

สารยึด หรือสิ่งนํา คือ สารที่ทําหนาที่ยึดประสานอนุภาคของสารประกอบในสารเคลือบผิว


เขาไวดวยกันใหเกิดเปนฟลมของสารเคลือบผิวติดแนนกับพื้นผิวที่ถูกเคลือบ ตัวอยางของสารยึด
ไดแก น้ํามันแหงเร็ว (drying oil) เรซินธรรมชาติ เรซินสังเคราะห เปนตน

ตัวทําละลาย มีหนาที่ชวยปรับความหนืดของสารเคลือบผิว เพื่อใหเหมาะสมตอการผลิต


หรือสะดวกตอการใช ตัวทําละลายสวนใหญเปนสารอินทรีย

สารเติมแตง เปนสารที่เติมลงไปเพียงเล็กนอย เพื่อชวยใหสารเคลือบผิวมีคุณสมบัติพิเศษ


ตาง ๆ เชน ทําใหสารเคลือบผิวแหงเร็วขึ้น ทําใหไมขึ้นรา เปนตน

การเกิดฟลม (Film Formation)

การเปลี่ยนสภาพจากสารเคลือบผิวในภาชนะบรรจุ ไปเปนฟลมที่ติดยึดแนนกับผิว และทํา


ใหผิวมีความทนทานเพิ่มขึ้นคือ กระบวนการเกิดฟลม ซึ่งแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ

1. แอพพลิ เ คชั น (Application) เป น การนํ า สารเคลื อ บผิ ว ไปเคลื อ บผิ ว หน า หรื อ ทํ า ให
ผิวหนาของวัสดุเกิดเปนฟลมบาง ๆ ขึ้น การทําอาจใชแปรง ลูกกลิ้ง การพน หรือการจุมก็ได

2. ฟกเซชัน (Fixation)TUDC
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ เปนการทําใหฟลมติดแนน ไมหลุดออกจากผิวหนา และไมเกิดเปน
โดย ผู้ใช้ทชัั่ว้นไปของฟลมที่ไมตองการ ตัวอยาง เชน กรณีที่เปนสารเคลือบผิวที่มีตัวทําละลายอินทรียเปน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ สวนประกอบ การเกิดเป
03/10/2562 นฟลมในขั้นตอนฟกเซชัน จะเกิดโดยการระเหยของตัวทําละลาย หรือถา
23:59:59
สารเคลือบผิวเปนแบบระบบลาเทกซ (latex system) ขั้นตอนฟกเซชัน จะเกิดโดยการระเหยของน้ํา
เปนตน
25

3. การบม (Curing) เปนการทําใหฟลมที่ผานขั้นตอนฟกเซชันแลวมีความทนทานดีขึ้น ซึ่ง


อาจทําไดโดยการใชแสง ความรอนหรืออากาศ เชน สีน้ํามันทาบานจะเกิดการบม โดยการทํา
ปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ เปลี่ยนสภาพจากของเหลวเปนฟลมแหงแข็งที่มีความทนทาน
เพิ่มขึ้น หรือการนําสารเคลือบ (enamel) ที่ทําจากพอลิเมอรชนิดเทอรโมเซตไปอบ ก็เปนการบมอีก
วิธีหนึ่ง

กระบวนการการเกิดฟลมของสารเคลือบผิวบางชนิด ไมจําเปนตองมี 3 ขั้นตอนเสมอไป


ตัวอยาง เชน แลกเกอร มีขั้นตอนฟกเซชัน และการบมรวมกัน โดยอาศัยการระเหยของตัวทําละลาย
ระหวางการแอพพลิเคชัน

น้ํามันที่ใชในอุตสาหกรรมเคลือบผิว

น้ํามันที่ใชในสารเคลือบผิวที่สําคัญไดแก น้ํามันลินสีด (linseed oil) น้ํามันทัง (tung oil)


น้ํามันโออิทิซิกา (oiticica oil) และ น้ํามันละหุงที่ถูกกําจัดน้ําออก (dehydrated castor oil)

การเคลือบผิวบางโดยแอสฟลทและแอสฟลทผสม

สารเคลือบผิวแอสฟลทนี้ทําการเตรียมในลักษณะอิมัลชัน ตัวอยางการนําไปใชงาน เชนใช


ในการเคลือบหลังคา (asphalt emulsion roof coating) กรณีของแอสฟลทอิมัลชัน น้ําจะเปน
ของเหลวเฟสตอเนื่อง และแอสฟลทที่ทําหนาที่เปนสารยึดเปนของเหลวเฟสกระจาย เปนอิมัลชัน
แบบน้ํามันในน้ํา (O/W) (Chatterjee and Millburn, 1997) โดยมีสารอิมัลซิฟายลอมรอบโมเลกุล
ของแอสฟลท เพื่อใหเกิดอิมัลชันที่ถาวร ซึ่งสารอิมัลซิฟายสวนใหญเปนสารลดแรงตึงผิว อิมัลชันที่
เกิดขึ้นอาจเปนชนิดน้ํามันในน้ํา (oil-in-water, O/W) หรือ น้ําในน้ํามัน (water-in-oil, W/O)

เอกสารนี้ดสาวน์
วนประกอบแอสฟ ลทอิมัลชัTUDC
โหลดมาจากระบบ น
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
แอสฟลทอิมัล23:59:59
และหมดอายุ 03/10/2562 ชันประกอบดวยสวนประกอบหลักคือ น้ํา สารอิมัลซิฟาย แอสฟลท และ
สารชวยเพิ่มประสิทธิภาพ
26

1. น้ําเปนเฟสตอเนื่อง โดยน้ําที่ใชนี้ตองระวังเกี่ยวกับความกระดางของน้ําดวยเพราะ
ไอออนของน้ํากระดางอาจไปทําปฏิกิริยากับสารอื่น หรือไปเปลี่ยน ionic strength ของเฟสน้ําของ
อิมัลชัน ทําใหคุณภาพของสารเคลือบผิวลดลง (Chatterjee and Millburn, 1997)

2. สารอิมัลซิฟาย สวนใหญไดแกสารลดแรงตึงผิว โมเลกุลประกอบดวยสวนที่ชอบน้ํามัน


(lipophilic) ประกอบดวยสายโซของสารอะลิฟาติก และสวนที่ชอบน้ํา (hydrophilic) เชน หมูคาร
บอกซิล หมูซ ัลโฟเนต และ หมูไฮดรอกซิล เปนตน ซึ่งแบงไดเปนชนิดตาง ๆ ตามลักษณะที่
โมเลกุลเกิดการแตกตัวเปนอิออน คืออาจอยูในรูปของ แคทไอออนิก แอนไอออนิก นอนไอออนิก
หรือแอมโฟเทอริก (amphoteric) (อรอุษา, 2544)

2.1 สารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิก เมื่อแตกตัวเปนไอออนแลว สวนทีเ่ ปนสายโซ


ยาวมีประจุลบแบงไดเปน 3 ชนิดที่สําคัญคือ

2.1.1 เกลือของกรดไขมันที่มีโมเลกุลยาว ๆ หรือ สบู กรดไขมันมีจํานวนคารบอน


ตั้งแต 12-18 อะตอม (เชน กรดลอริก กรดปาลมมิติก กรดสเตียริก และกรดโอลีอิก) และมักจะเปน
กรดไขมันหลายชนิดผสมกันเพราะไดมาจากน้ํามันพืช สวนประจุบวกอาจเปนโลหะ แอมโมเนียม
หรือแอมโมเนียมที่ถูกแทนที่ โลหะเชนโซเดียม แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ซึ่งสบูจากโลหะ
เหลานี้ละลายน้ําไดทําใหไดอิมัลชันชนิด O/W สวนสบูที่ไดจากอะลูมิเนียมหรือโลหะไดเบสิก
(dibasic metals) ไมละลายน้ํา จึงใหอิมัลชันชนิด W/O

สบูจากสารลดแรงตึงผิวที่ไดจากแอมโมเนียมนิยมใชมากกวาสบูที่ไดจากโซเดียม
เปนสารอิมัลซิฟาย เนื่องจากแอมโมเนียสามารถระเหยออกไปจากฟลมเหลือเพียงกรดไขมันซึ่งไมมี
สมบัติเปนสารอิมัลซิฟาย ฟลมจึงทนน้ําไดดีกวาเมื่อใชสบูจากโซเดียมเปนสารอิมัลซิฟาย

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ 2.1.2 Fatty alcoholTUDCsulphate ไดจากการทําปฏิกิริยาเอสเทอรแอลกอฮอลดวยกรดซัล


โดย ผู้ใช้ทฟุั่วรไปิก แลวนําไปทําใหเปนกลางดวยดาง เชน โซเดียมลอริลซัลเฟต โซเดียมโอลีอิลซัลเฟต สารลด
ดาวน์โหลดเมื
แรงตึ ่องผิ03/09/2562
ว นี ช
้ อบน้ า
ํ จึ งช ว 20:57:18
ยให
เกิดอิมัลชันชนิด O/W
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
2.1.3 Aliphatic and aromatic sulphonates เชน ไอโซโพรพิลแนฟทาลีนซัลโฟเนต
ชวยใหเกิดอิมลั ชันชนิด O/W
27

2.2 สารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิก เมื่อแตกตัวเปนไอออนแลวสวนที่เปนสายโซ


ยาวมีประจุบวก เชน โดเดซิลไตรเมทิลแอมโมเนียมคลอไรด

2.3. สารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก ไมเกิดการแตกตัวเปนไอออนในสารละลาย


เตรียมได จากปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอรของกรดไขมันที่มีโซยาว หรือปฏิกิริยาการเกิดอีเทอรของ
fatty alcohol ที่มีโซยาวกับโพลิออลที่มีโซยาว หรือใชกรดหรือแอลกอฮอลมาทําปฏิกิริยากับ
เอธิลีนออกไซดไดสารตอไปนี้คือ R-COO(CH2CH2O)nCH2CH2OH และ R-O(CH2CH2O)nCH2CH2OH
โดยคาของ n เปลี่ยนแปลงตามอัตราสวนของสารเริ่มตน สารลดแรงตึงผิวนี้บางตัวใหอิมัลชันชนิด
O/W บางตัวให W/O มักใชรวมกับสารอิมัลซิฟายชนิดอื่น

2.4 สารลดแรงตึงผิวชนิดแอมโฟเทอริก สารลดแรงตึงผิวชนิดนีเ้ มื่อแตกตัวเปนไอออน


แลว สวนทีเ่ ปนสายโซยาวจะมีประจุบวกหรือลบขึ้นอยูก ับ pH ของสารละลาย

3. แอสฟลท เปนวัสดุสีดํา หรือน้ําตาลมีบิทูเมนที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ หรือจากการกลั่น


น้ํามันปโตรเลียม เปน สวนประกอบสวนใหญ (Chatterjee and Millburn, 1997) แอสฟลท
ประกอบดวย สารไฮโดรคารบอนที่มีน้ําหนักโมเลกุลสูงมาก ละลายไดในสารละลายไฮโดรโฟบิก
(hydrophobic solvent) บางชนิด แอสฟลทธรรมชาติที่มีปริมาณสวนประกอบของแรธาตุนอย คือ
แอสฟลไทท (asphaltites) เทานั้นที่สามารถใชในการผลิตสารเคลือบผิวได สําหรับแอสฟลไททแลว
มีเพียง กิลโซไนท (gilsonite) ที่มีจดุ ออนตัว (softening point) สูง ปริมาณแรต่ํา (<1%) และมี
ความสามารถในการละลายสูงในสารประกอบไฮโดรคารบอนที่เหมาะสม โดยธรรมชาติผลิตภัณฑ
ชนิดนี้จะมีสีดาํ มีสมบัติความเปนเรซิน (resinous) ความเปนเทอรโมพลาสติกจะขึ้นกับมวลโมเลกุล
ที่สูง ไมมีสวนประกอบที่เปนสารคารซิโนเจน (carcinogenic constituents)

ประโยชนของแอสฟลทคือเมื่อเติมอนุภาคขนาดละเอียด ทําใหเกิดสารที่มีผิวตอเนือ่ งเปน


เอกสารนี้ดฟาวน์
ลมกัโนหลดมาจากระบบ
น้ําไดดี ใชทําสารเคลืTUDC
อบหลังคา หรือทาผิวภายนอกเชนถนน หรือทางเทา
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562
ในแอสฟ ล ท อิ ม ั 20:57:18
ล ชัน แอสฟลทเปนเฟสไมตอเนื่อง (discontinuous phase) กระจายตัวอยาง
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ไมสม่ําเสมอในอิมัลชัน การทําใหแอสฟลทอิมัลชันกระจายเปนเนื้อเดียวกัน (uniform dispersion)
ในน้ําที่มีสารตัวเติม และไมแตกเมื่อใชงานเปนสิ่งที่ทาทาย เมื่อทําการทาแอสฟลทอิมัลชันลงไป น้ํา
จะระเหยออกไป สารอิมัลซิฟายยังคงอยูในระบบแตตองไมใหแอสฟลทกลับมาเปนอิมัลชันอีก
28

เมื่อไปเจอกับน้ํา การเลือกใชสารอิมัลซิฟายจึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อกันไมใหเกิดการแยกชั้นของ


อิมัลชันในภาชนะบรรจุกอนการใชงาน

4. สารชวยเพิม่ ประสิทธิภาพ เชน สารยึด ตัวเติม (filler) พลาสติไซเซอร หรือสารกระตุน


ใหเกิดการยึดเกาะ (adhesion promoter) ตัวทําละลาย เปนตน ปกติความคงตัว และการบม (curing)
ของแอสฟลทอิมัลชันจะขึ้นกับการมีของแข็งเติมลงในอิมัลชัน และขึ้นกับชนิดและปริมาณของ
ของแข็งที่เติมลงไปนั้นเปนอยางมาก

4.1 พลาสติไซเซอร เนื่องจาก กิลโซไนทแข็งและเปราะมากจึงไมสามารถที่จะทําใหเกิด


เปนฟลมไดโดยไมเติมสารอื่น ดังนั้นจึงตองเติม เรซิน (resin) และ/หรือพลาสติไซเซอร บิทูเมนที่
ทําใหออนตัว (softer bitumen) หรือน้ํามันแร (mineral oil) สามารถใชเปนสารที่ชวยใหมีสมบัติ
ความเปนพลาสติกได การรวมกิลโซไนทกับสารอื่นโดยการเติมน้ํามันพืชแหงเร็ว ตัวอยางเชน
น้ํามันลินสีด หรือน้ํามันทัง จะไดสีแอลฟลทผสมที่มีเกรดสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อทําการใหความ
รอนแกสารยึดทั้งสอง

4.2 ปรับปรุงสมบัติการละลาย สีแอสฟลท และแอสฟลทผสม จะถูกผลิตและใชในรูป


ของสารละลาย ตัวทําละลายที่ใชไดแกสารประกอบไฮโดรคารบอนอะโรมาติก (aromatic) และ
อะลิฟาติก (aliphatic) ที่มีชวงจุดเดือดปกติ เชนเดียวกับที่โรงงานอุตสาหกรรมสีใชเปนตัวทําละลาย
ตัวอยางเชน ตัวทําละลายที่มีแรปนอยู (mineral spirit) มีจุดเดือดอยูในชวง 140-200°C ตัวทําละลาย
แนฟธาเบา (light solvent naphtha) จุดเดือดอยูในชวง 155-180°C สําหรับสีแอสฟลท หรือแอสฟลท
ผสมที่ไมไดเติมตัวทําละลายปจจุบันไมคอยไดใชแลว

4.3 สารทําใหเปนฟลม และเพิ่มสมบัติทางกล สารที่ใชเติมลงไปในแอสฟลทเพื่อเพิ่ม


คุณสมบัติที่ทําใหเปนฟลม สมบัติทางกล ความตานทานสภาพอากาศ และลดความเสื่อมสภาพ เชน
เอกสารนี้ดแป
าวน์งแรโหลดมาจากระบบ
(talc) 10-20%โดยน้ําTUDC
หนัก และไมคา (mica) หรือผงอะลูมินัม 1-5%โดยน้ําหนัก สารที่ใช
โดย ผู้ใช้ทปั่วอไปงกันการตกตะกอน เชน มอนทโมริลโลไนท-เบนโทน (montmorillonite-bentone) 0.5-1.5%โดย
ดาวน์โหลดเมื
น้ า

่อก03/09/2562 20:57:18
หนั
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
29

เนื่องจากสีที่ติดมาของกิลโซไนทมีนอย สีที่ใชแอสฟลทเปนองคประกอบจึงสามารถเติม
สารสีดวยผงสีอนินทรีย (inorganic pigment) เชน เหล็กออกไซด (iron oxide) โครเมียมออกไซด
(chromium oxide) หรืออะลูมินัม

4.4 ตัวเติม สารที่ใชเปนตัวเติม เชน ดินเหนียว ทราย เสนใย (เชนเสนใยแกว หรือฝาย)


สารพอลิเมอรเชน ยาง (rubber) ยางลาเท็กซ ยางสไตรีนบิวตะไดอีน (SBR)

คุณสมบัติและการใชงาน

สีแอสฟลทมีความตานทานที่ดีตอสภาพอากาศ ความแปรปรวนของอุณหภูมิ การกลั่นตัว


ความเสื่อมสภาพ และคุณสมบัติความตานทานตอการสึกกรอนที่ดี และสามารถติดไดดีกับสารที่
เปนโลหะ แอสฟลท ผาสักหลาดที่ใชกับหลังคา

สี แ อสฟ ล ท ที่ มี ก ารผสมกิ ล โซไนท ด ว ยการเติ ม น้ํ า มั น แห ง เร็ ว ถู ก ใช ใ นการป อ งกั น
โครงสรางเหล็กที่อยูกลางแจง เชน สะพาน โครงหอ เนื่องจากความตานทานตอความรอน สีชนิดนี้
จึงใชในการปองกันการผุกรอนในโรงงานที่ใชถานโคกเปนเชื้อเพลิง และโรงงานที่มีการระเบิด
ภายในเตาเผา ปองกันคอนกรีตที่ถูกอัดจากอากาศ

สีแอสฟลทที่มีการเติมบิทูเมนที่ทําใหออนตัว จะมีการผสมดวยน้ํามันแร บิทูเมนที่ทําให


ออนตัว หรือน้ํามัน (ไขมัน) แหงเร็ว สารเหลานี้ใชในการปองกันและผนึกหลังคา

การเคลือบผิวบางโดยบิทูเมน

สวนประกอบ
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป สีบิทูเมนประกอบไปดวยสารบิทูเมนซึ่งเปนสารยึด ลักษณะทั่วไปของบิทูเมนคือ ระเหยได
ดาวน์โหลดเมื
น อ ย่อสี03/09/2562 20:57:18น ทรี ย ซึ่ ง ได จ ากกระบวนการของน้ํ า มั น แร แ ละป โ ตรเลี ย ม
ค ล้ํ า ส ว นผสมของสารอิ
และหมดอายุ มีพฤติ03/10/2562
กรรมแบบวิสโคอิ 23:59:59
ลาสติก (viscoelastic) ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ คุณสมบัติอยางหนึ่ง
ของบิ ทู เ มนคื อ สามารถกระจายตั ว ในระบบคอลลอยด ซึ่ ง มี ก ารกระจายของแอสฟ ล ที น
(asphaltene) อยางเสถียรในเฟสของน้ํามันที่มีจุดเดือดสูง เชน มอลทีน (maltenes)
30

บิทูเมนเปนเทอรโมพลาสติก มีความตานทานตออากาศ ความตานทานตอน้ํา ดูดซับน้ําได


นอยมาก ไมกอใหเกิดพิษในน้ํา ละลายไดในสารประกอบไฮโดรคารบอน

สําหรับการนําไปใชงานจะขึ้นอยูกับชนิดของบิทูเมนซึ่งมีสมบัติที่แตกตางกัน ตัวอยาง
บิทูเมนที่ใชงานกัน เชน บิทูเมนที่ไดจากการกลั่นหนัก (hard distillation bitumen) ออกซิเดชัน-
บิทูเมน (oxidation bitumen) หรือ บิทูเมนที่ไดจากการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูง (high-vacuum
bitumen) หรือที่เรียกวา บิทูเมนหนัก (hard bitumen) บิทูเมนที่ใชในการผลิตสีบิทูเมนแหง
สีบิทูเมนที่ใชกันน้ํา (waterborne bitumen paints) ซึ่งอยูในรูปของบิทูเมนอิมัลชัน (bitumen
emulsion) ผลิตจากบิทูเมนที่ไดจากการกลั่นหนัก

คุณสมบัติของบิทูเมนหลากหลายชนิดเปนสิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกที่จะนําไปใชงาน
ใหเหมาะสมกับงานมากที่สุด ออกซิเดชันบิทูเมนมีชวงอุณหภูมิระหวางที่กลายเปนของเปราะ
จุดแตกหัก (fracture point) ต่ํากวา 0°C มาก และ จุดออนตัวกวางที่สุด ชวงที่มีคุณสมบัติเปน
พลาสติก (plasticity) ระหวางอุณหภูมิ 90 และ130°C บิทูเมนที่ไดจากการกลั่นหนักมีชวงที่มี
คุณสมบัติเปนพลาสติกระหวางอุณหภูมิ 60 และ 70°C และจุดแตกหักอยูประมาณ 0°C บิทูเมนที่
ไดจากการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูงมีชวงที่มีคุณสมบัติเปนพลาสติกที่อุณหภูมิ 80°C และจุด
แตกหักอยูประมาณ 0°C บิทูเมนที่ไดจากการกลั่น และบิทูเมนที่ไดจากการกลั่นภายใตสุญญากาศ
อยางสูงเปนสารที่มีชวงความเปนพลาสติกที่ขยายออกไดมากกวาออกซิเดชันบิทูเมน

บิทูเมนที่ไดจากการกลั่น และการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูงมีชวงความเปนพลาสติกที่
จํากัดและจุดแตกหักที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับออกซิเดชันบิทูเมน แตก็มีสิ่งที่ทดแทนซึ่งเปนขอดี คือ
บิทูเมนที่ไดจากการกลั่น และการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูงตองการตัวทําละลายนอย จึงทําให
เกิดสิ่งปนเปอนตอสิ่งแวดลอมนอย เมื่อเทียบกับที่สีที่มีความหนืด และความแข็งที่เทากัน ตัวทํา
เอกสารนี้ดละลายของบิ
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
ทูเมนที่ไดจากการกลั ่น และการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูงมีความคงตัว คือมีอายุ
โดย ผู้ใช้ทการเก็
ั่วไป บที่นานสวนตัวทําละลายของออกซิเดชันบิทูเมนมีแนวโนมที่จะขนขึ้นลักษณะเปนเจล (gel)
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ ตัวทํา03/10/2562
ละลายของบิทูเมนที ่ไดจากการกลั่น และการกลั่นภายใตสุญญากาศอยางสูงสามารถแทรกซึม
23:59:59
เขาไปในรูพรุนไดดีกวา หลังจากแหงแลวสามารถที่จะยึดติดกับชนิดของสารไดกวางกวา ความ
ตานทานอากาศดีกวาและดูดซับน้ํานอย เนื่องจากมีความคงตัวตอรังสียูวีดีกวาออกซิเดชันบิทูเมน
จึงมีความตานทานตอการเสื่อมสภาพดีกวา
31

ผลิตภัณฑที่ไดจากปโตรเลียมบางสวนและสารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคารบอนที่มีชวง
จุดเดือดอยูระหวาง 130 ถึง 200°C เปนตัวทําละลายที่เหมาะสมกับสารละลายบิทูเมน เบนซีน
(mineral spirit) เหมาะที่จะใชเปนตัวทําละลาย เนื่องจากกลิ่นไมรุนแรง และในความเปนจริงแลว
เปนพิษตอสิ่งแวดลอมนอยกวา เมื่อใชสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีคลอรีนเปนองคประกอบ
(chlorinated hydrocarbon) เปนตัวทําละลาย ซึ่งมีสมบัติเปนพิษตอสิ่งแวดลอมจึงควรหลีกเลี่ยงที่จะ
นํามาใช

บิ ทู เ มนที่ ใ ช กั น น้ํ า อาจเป น อิ มัล ชั น ที่ อยู ใ นรู ป ประจุ ลบ (anionic) ประจุ บวก (cationic)
หรือไมมีประจุ (nonionic) และมีการเติมสารอิมัลซิฟาย และถาจําเปนอาจจะเติมตัวเพิ่มความคงตัว
(stabilizer) ที่ใชกันอยูในอุตสาหกรรมสี คุณสมบัติของสีบิทูเมนซึ่งอยูในรูปของสารละลายและ
อิมัลชัน ตัวอยางเชน ความคงตัว สมบัติทางกล (mechanical) ความตานทานตออากาศ น้ํา และ
สารเคมี คุณสมบัติการปองกันการสึกกรอน (corrosion protection) ซึ่งสามารถทําใหดีขึ้นโดยการ
เติมสารเติมแตง (extender) ซึ่งสารเติมแตงที่เหมาะสม ไดแก หินชนวน (ground slate) หินปูน
(ground lime stone) ปูนขาว (chalk) แปงแร และไมคา (25-45%โดยน้ําหนัก) ขึ้นกับชนิดของสาร
ปรุงแตงที่เติมและคุณสมบัติที่ตองการ สําหรับการใชสารปรุงแตงจะตองเติมสารที่ปองกันการ
ตกตะกอนลงไปดวย ในกรณีที่ตองการความตานทานตอสภาพอากาศเปนระยะเวลานานสามารถที่
จะเติมเขมา (soot) ลงไป

บิทูเมนสามารถที่จะเติมสีได ตัวอยาง เชน เหล็กออกไซด หรือผงอะลูมินัม

คุณสมบัติและการใชงาน

ฟลมแหงของสีบิทูเมนมีความตานทานตอน้ํา สารละลายเกลือ กรดเจือจาง และแอลคาไล


เอกสารนี้ด(alkalis) สีที่มีการเติมสารปรุTUDC
าวน์โหลดมาจากระบบ งแตงจะมีความตานทานตอสภาพอากาศ สมบัติความเปนเทอรโม
โดย ผู้ใช้ทพลาสติ
ั่วไป ก (thermoplasticity) ของสีบิทูเมน คือ ความตานทานลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สีบิทูเมนไม
ดาวน์โหลดเมื
ทนต
่ออตั03/09/2562
ว ทํ า ละลายอิ น
20:57:18
ทรี ย เชื้อเพลิง น้ํามัน และไขมัน (grease) สีบิทูเมนไมเปนพิษและยังสามารถ
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
สัมผัสโดยตรงกับน้ําดื่มได
32

เนื่ องจากคุ ณ สมบั ติที่ ดี และราคาต่ําสี บิทูเมน จึงถูก ใชในการปองกันโครงสร างที่เ ปน
คอนกรีต หลังคา หลังคาที่เปนโลหะ ที่เก็บน้ําดื่ม ยุงฉาง ทอที่ทําจากคอนกรีตเสริมแรงดวยเสนใย
คอนกรีต เหล็ก

การเคลือบผิวบางโดยบิทูเมนผสม

คุณสมบัติของสีบิทูเมนสามารถที่จะปรับปรุงโดยการเติมสารที่ทําใหเกิดฟลม ตัวอยาง เชน


สมบั ติ ค วามเป น เทอร โ มพลาสติ ก สามารถลดลงได และ/หรื อ สมบั ติ ท างกล เช น ความแข็ ง
(hardness) ความสามารถในการขยายตัว (extensibility) สามารถทําใหเพิ่มขึ้นไดโดยการเติมพอลิ
เมอร เช น พอลิ เ อทิ ลี น (polyethylene) พอลิ พ รอพิ ลี น (polypropylene) พอลิ ไ อโซบิ ว ที น
(polyisobutene) และสไตรีน-บิวทาไดอีนโคพอลิเมอร (styrene-butadiene copolymer) ความ
ตานทานตอสารเคมีสามารถเพิ่มได และการเคลือบมีความตานทานตอการสึกกรอนสูง โดยการเติม
แอลคิด เรซิน (alkyd resin)

การเติมสารยึดสีในการบมปฏิกิริยา (reaction-curing paint binder) ตัวอยางเชน เอพอกซี


เรซิน (epoxy resin) และพอลิยูรีเทน (polyurethane) ไมใชในรูปสารละลายเนื่องจากไมเขาเปนเนื้อ
เดียวกัน มีเพียงสารเอพอกซีเรซินสูง (high epoxy resin) ที่สามารถเขากันได โดยการเติมฟนอล
(phenol) ซึ่งสามารถละลายได และน้ํามันอะโรมาติก

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก

Chatterjee and Milburn (1997) ไดทําแอสฟลทอิมัลชันซึ่งประกอบดวยน้ําเปนเฟสตอเนื่อง


แอสฟลทเปนเฟสกระจาย สารอิมัลซิฟาย และสารเติมแตง (filler) สารอิมัลซิฟายที่ใชมีทั้งชนิดแอน
ไอออนิ ก และนอนไอออนิก โดยสารอิมัลซิฟายกลุมที่เ ปน ชนิดแอนไอออนิก คื อ “Witconate
เอกสารนี้ดAOS” ซึ่งเปนสารละลายของสTUDC
าวน์โหลดมาจากระบบ วนผสมของ อัลฟา-โอเลฟน ซัลโฟเนท (alpha-olefin sulfonate) และ
โดย ผู้ใช้ท“Witco
ั่วไป 1298” ซึ่งไดแกสารละลายโดเดซิล เบนซีน ซัลโฟเนท (dodecyl benzene sulfonate) สวน
ดาวน์โหลดเมื ่อมัล03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59กคือ “Emcol CNP-120” ซึ่งเปนสารละลายโนนิล ฟนอล คารบอก
สารอิ ซิ ฟ ายชนิ ด นอนไอออนิ
ซิเลท (nonyl phenol carboxylate) แอสฟลทที่ใชมีชื่อทางการคาวา “AC-20”
33

Chatterjee and Milburn (1997) พบวาอิมัลชันที่เตรียมไดมีความคงตัวดีมากไมเกิดการแยก


ชั้นแมทิ้งไวเปนเวลานาน และมีคุณสมบัติการบมตัวที่ดี คือเมื่อทาที่ผิวจะเกิดการระเหยของน้ํา และ
แข็งตัวในระยะเวลาอันสั้น เขาพบวาหากเลือกชนิดของสารอิมัลซิฟายที่เหมาะสมสามารถที่จะ
เปลี่ยนคุณสมบัติการไหลของอิมัลชันไดตั้งแตของเหลวไหลไดงาย เมื่อทาฟลมมีลักษณะบาง จนถึง
คุณสมบัติ thixotropic คือไหลไดดีเมื่อใหแรงเฉือน

สารแอสฟ ล ท ที่ ใ ช ส ามารถใช แ อสฟ ล ท จ ากธรรมชาติ ห รื อ จากกระบวนการต า ง ๆ


Chatterjee and Milburn (1997) เลือกใชแอสฟลทที่มีความหนืด 20-150 poise ที่ 60°C แอสฟลทที่
อยูในอิมัลชันนี้มีลักษณะเปนอนุภาคหรือหยดของเหลวที่มีความละเอียดมากโดยมีขนาดประมาณ
5-10 ไมครอน โดยขณะเตรียมแอสฟลทไดทําใหรอนจนเปนของเหลวแตไมรอนเกินไปจนน้ําเดือด
ออกไป

อัตราสวนของแอสฟลท น้ํา และสารอิมัลซิฟายเมื่อนํามาผสมกันแลวไดอิมัลชันแบบ O/W


โดยในงานวิจัยของ Chatterjee and Milburn (1997) ใชสัดสวนดังนี้คือ แอสฟลท 50-70 wt%
สารเติม 10-30 wt% สารอิมัลซิฟาย 0.2-2 wt% น้ํา 30-50 wt% pHของอิมัลชันประมาณ 7-10 การ
ปรับ pH กระทําโดยเติมสารโซเดียมไฮดรอกไซด หรือ กรดซัลโฟนิก (sulfonic acid) มีการใชผง
สารเติม ประกอบดวยปูนขาว (lime) ดินเหนียวเกรดอิมัลชัน (emulsion grade clay) ทรายซิลิกา
(silica sand) ดินเหนียวเบนโทไนท (bentonite clay) ผงคารบอน (carbon black) เสนใย อนุภาคที่เติม
เหลานี้มีขนาดเล็กกวา เศษหิน ในงานวิจัยของ Chatterjee and Milburn (1997) ใชขนาด 0.5 ไมครอน
ถึง 0.01 หรือ 5 มิลลิเมตร นอกจากนี้ยังเติมสารอื่น ๆ อีกเชน fuel oil, kerosene, latex หรือ พอลิเมอร
อื่น ๆ และสารที่มีคุณสมบัติ thixotropic เพื่อปรับ และควบคุมความหนืดของผลิตภัณฑที่ได

เมื่อเปรียบเทียบอิมัลชันที่มีการใสสารเติมแตง โดยเปลี่ยนสารอิมัลซิฟายเปนแอนไอออนิก
ชนิดอื่น เชน กรดไขมันของน้ํามันทอลล (tall oil fatty acid) และสารอิมัลซิฟายชนิดแคทไอออนิก
เอกสารนี้ดพบว
าวน์าโไม เสถียร ไมสามารถเขTUDC
หลดมาจากระบบ ากันได และเกิดการแยกชั้น สวนอิมัลชันที่เตรียมขึ้นจากสารอิมัลซิ
โดย ผู้ใช้ทฟายที
ั่วไป ่ใชในงานของ Chatterjee and Milburn (1997) มีความคงตัว และผสมเขากันไดดี
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
Suchanec (1997) ทําแอสฟลทอิมัลชันซึ่งใชสารอิมัลซิฟายที่มีสวนประกอบของลิกนิน
โดยสารอิมัลซิฟายมีสวนประกอบที่เปนเรซินประกอบดวยลิกนินที่ใชคือ ALCELL ® lignin และ
พอลิเมอไรซโรซินที่ใชคือ Poly-Pale ® resin (ประกอบดวย โรซินแอซิดไดเมอร และมอนอ-
34

เมอริกโรซินแอซิด) อาจมีการเติม โรซินแอซิด และAHI resin ที่ใชคือ Vinsol ® resin ซึ่งเตรียมได


โดยการผสม และหลอมสวนประกอบดังกลาว จากนั้นนําของผสมที่หลอมแลวมากวนจนกระทั่ง
เขาเปนเนื้อเดียวกัน ทําใหเย็นจนแข็งตัว มีการใชเกลือของสารที่สวนประกอบเปนเรซินทําหนาที่
เปน air-entraining agent และสารอิมัลซิฟาย คือ Vinsol ® NVX soap แอสฟลทที่ใชคือ EBS
(Emulsion Base Stock) X-Hard จากบริษัท Shell Oil

Schilling (1997) ไดทําบิทูมินัสอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก โดยเลือกแอสฟลทที่ใชในการ


เตรียมอิมัลชันชนิด “Amoco EB-20” ผสมกับ 65% asphalt residue และ/หรือชนิด “Exxon
125/150” penetration asphalt ผสมกับ 65% asphalt residue สารอิมัลซิฟายที่ใชคือ เกลือโลหะ
อัลคาไลเอิรธของกรดไขมันของน้ํามันทอลล (alkali earth salts of tall oil fatty acid) กรดไขมันของ
น้ํามันทอลลที่ถูกฟอรทิไฟด (fortified) โรซินของน้ํามันทอลล (tall oil rosin) และชันสนที่ถูก
ฟอรทิไฟดซึ่งมีคุณภาพดีเทากับการผสมลิกนินคราฟ (kraft lignin) และสารอิมัลซิฟายชนิด
นอนไอออนิก สารอิมัลซิฟายชนิดแอนไอออนิกที่ใชคือ “M28B” ซึ่งเปนเกลือโซเดียมของน้ํามัน
ทอลลที่ประกอบดวยโรซิน 28% และ pH เทากับ 11.5 สารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพคือ
พอลิเมอร เชน ยางบิวทาไดอีน (SBR) สไตรีน บล็อกโคพอลิเมอร (SBS) เอทิลีนไวนิลอะซิเตท-
โคพอลิเมอร (EVA) และตัวปรับปรุงคุณภาพ (modifier) อื่นที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุงคุณภาพของ
บิทูเมนใหดีขึ้น สําหรับ SBR-latex ในงานของ Schilling (1997) ใช Butonal NS-120, BASF หรือ
ยางธรรมชาติในรูปลาเท็กซ (natural rubber latex) เศษหิน (aggregate) ที่ใชเปนชนิดกราไนท
(granite) หรือควอทไซท (quartzite)

การใชอิมัลชันชนิดแอนไอออนิกนั้นมีขอดีคือสารอิมัลซิฟายจากน้ํามันทอลลมีราคาถูก แต
ขอเสียคือ การเกาะยึดของแอสฟลทกับเศษหิน นั้นไมแข็งแรง เนื่องจาก เศษหิน สวนใหญมีประจุ
ลบจึงเกิดการผลักกันระหวางประจุลบของแอสฟลท และประจุลบของเศษหิน ทําใหการเกาะยึดไม
ดี ตัวเศษหิน เมื่อเปยกน้ํา น้ําจะเปนตัวกันไมใหเศษหินเกาะยึดกับแอสฟลทไดดี การที่จะลดไมให
เอกสารนี้ดเกิาวน์
ดผลจากน้ ํานี้ทําไดโดยการเติ
โหลดมาจากระบบ มสารลดแรงตึงผิวชนิดเอมีน หรือไดเอมีน ลงในแอสฟลท เชนสาร
TUDC
โดย ผู้ใช้ทethylene
ั่วไป oxide condensate ของ alkyl triamines ที่มีสายโซยาว
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
สารชวยการเกาะยึดที่ราคาไมแพงคือ tall oil-based polyethylene amine condensation แต
การเกาะยึดไมสูงมากจนนาพอใจ เมื่อใชกับอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก Schilling (1997) จึงไดทํา
การปรับปรุงบิทูมินัสอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก ใหมีความยึดเกาะไดดีขึ้น โดยเติมสารเพิ่มการเกาะ
35

ยึดชนิด polyamidoamine ลงในสารอิมัลชัน การยึดเกาะไดดีนี้เกิดจากการที่สารที่เติมลงไปสามารถ


แทรกซึมไปยังบริเวณระหวางแอสฟลทกับเศษหิน สารนี้จะไปทําใหผิวของเศษหินไมชอบน้ําและ
ไลน้ําออกไป นอกจากนี้สารนี้ยังเพิ่มการเกาะยึดโดยไปลดประจุลบ (ทําใหเปนกลาง) ของสารอิมัล
ซิฟายชนิดแอนไอออนอีกดวย โดย Schilling (1997) ไดใชสารกระตุนใหเกิดการเกาะติด (adhesion
promoter) เปนพอลิเมอรจากปฏิกิริยาของสไตรีน(α-เมธิลสไตรีน) กับ อะคริลิก(เมทาไซลิก)แอซิด
โดยเลือกจาก JONCYRL ® 678,680, MOREZ ® 300 ซึ่งเปนสไตรีน-อะคริลิก เรซิน
กั บ พอลิ อั ล คิ ลี น สารเอมี น ที่ เ ติ ม เลื อ กจาก เอมี น ผสม ประกอบด ว ยไตรเอทิ ลี น เตตระมี น
(triethylene tetramine) และเอมีน เอทิล ไพเพอเรซีน (amine ethyl piperazine) แทลโล ไตรเอมีน
(tallow triamine) หรือไดเอทิลีนไกลคอล (diethylene glycol) นอกจากนี้ยังสามารถเติมกรดไขมัน
ของน้ํ า มั น ทอลล (ใช L-5 หรื อ C-3B) หรื อ กรดไขมั น ของน้ํ า มั น ทอลล ที่ ถู ก ฟอร ทิ ไ ฟด เช น
DIACID ® 1550 (ซึ่งคือ กรดไขมันของน้ํามันทอลล –อะคริลิก แอซิด แอดดัก) Triacid ® (คือ
กรดไขมันของน้ํามันทอลลแอดดักกับฟูมาริก แอซิด) เพื่อเกิดปฏิกิริยารวมไดเปนพอลิอะไมโดเอ
มีน (polyamidoamine) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบอิมัลชันที่ใชสารกระตุนพบวาการเคลือบมีประสิทธิภาพ
ดีขึ้นกวาการใชอิมัลชันที่ใช อะไมโดเอมีนซึ่งไดจากกรดไขมันของน้ํามันทอลล เชน INDULIN
AS-Special และINDULIN AS-101 ซึ่งเปนสารกระตุนที่ใชกันทั่วไป

ในปเดียวกัน Schilling (1997) ไดคนคิดสารชวยการยึดเกาะอีกรูปแบบหนึ่งคือใช พอลิ-


อะไมโดเอมีน ซึ่งเตรียมไดจากปฏิกิริยาของพอลิอัลคิลีน พอลิเอมีนซึ่งคือ เอมีนผสม ประกอบดวย
ไตรเอทิลีนเตตระมีน และอะไมโดเอทิลไพเพอเรซีน (amidoethyl piperazine) กับสารผสมระหวาง
กรดไลโนลิอิกที่ถูกพอลิเมอไรซ (polymerized linoleic acids) คือ DIMER 1500 ประกอบดวย
60-65% dimer acid กับ 30-40% trimer acid รวมกับสไตรีน(α-เมธิลสไตรีน) อะคริลิก(เมทาไซลิก)
แอซิด โคพอลิเมอร คือ JONCYRL ® 680, VANCRYL 64, 65 เมื่อเปรียบเทียบกับอิมัลชันที่ใช
INDULIN AS ซึ่งเปนสารกระตุนการยึดเกาะที่ใชกันทั่วไปพบวาประสิทธิภาพดีกวา

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
ในปตอมา Schilling TUDC
and Crews (1998) ไดทําการปรับปรุงสภาพของบิทูมินัสอิมัลชันชนิด
โดย ผู้ใช้ทแอนไอออนิ
ั่วไป ก ใหมี การยึดเกาะไดดีขึ้นซึ่งอิมัลชันเตรียมจากแอสฟลทคือ “Exxon 85/100”
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
penetration asphalt
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59 และ 65% asphalt residue โดยไดปรับเปลี่ยนเพียงชนิดสารที่เปนตัวกระตุนให
เกิดการยึดเกาะโดยสารชวยการยึดเกาะผลิตจากปฏิกิริยาของกรดไขมันของน้ํามันทอลล และ/หรือ
กรดไขมันของน้ํามันทอลลที่ถูกปรับปรุงคุณภาพ เชน Ac-TOFA, DTC-155, DTC-195, Fu-TOFA,
L-5 กั บ พอลิ อั ล คิ ลี น เอมี น โดยเลื อ ก เอมี น ผสม ประกอบด ว ยไตรเอทิ ลี น เตตระมี น และ
36

อะไมโดเอทิล ไพเพอเรซีน, HCHO, PEHA, TEPA หรือTETA ไดเปนพอลิอะไมโดเอมีน จากนั้น


นําไปผสมรวม กับบิส-เฮกซะเมทิลลีนไตรเอมีน (bis-hexamethylenetriamine) ซึ่งพบวาอิมัลชันที่
ไดมีคุณภาพดีขึ้น

ในปเดียวกัน Schilling (1998) ไดทําการปรับปรุงสภาพของบิทูมินัสอิมัลชันชนิดแอนไอ


ออนิก ใหมีการยึดเกาะไดดีขึ้นซึ่งอิมัลชันเตรียมจากแอสฟลทคือ “Amoco EB-20” เปลี่ยนเพียง
ชนิดสารที่เปนตัวกระตุนใหเกิดการยึดเกาะโดยใชสารที่ผลิตไดจากปฏิกิริยาของ สไตรีน-มาเลอิก
แอนไฮไดรด (styrene-maleic anhydride) เชน SMA-1000, 2000, 3000 กับพอลิอัลคิลีน เอมีนคือ
เอมีนผสม ประกอบดวยไตรเอทิลีนเตตระมีน และอะไมโดเอทิล ไพเพอเรซีน, DEG โดยสามารถ
เติมกรดไขมันของน้ํามันทอลล เชน L-5 เพื่อเกิดปฏิกิริยารวมไดเปนพอลิอะไมโดเอมีน

Tamaki et al. (1999) ไดทําแอสฟลทอิมัลชันชนิด O/W สําหรับงานปูพื้นถนน (paving of


road) ซึ่งประกอบดวย น้ํา แอสฟลท และใชสารอิมัลซิฟายชนิดแอนไอออนิก แอสฟลทที่ใชคือ
“JIS K 2208” สารอิมัลซิฟายที่ใชเลือกจาก อะลิฟาติกเอมีน (aliphatic amine) อะมิเนทเทด ลิกนิน
(aminated lignin) ไอไมดาโซลีน (imidazolines) และอะไมโดบีเทน (amidobetaines) โดยมีการเติม
สารประกอบพอลิฟโนลิกเพื่อทําหนาที่เปน protective colliod และยังทําหนาที่เพิ่มการยึดเกาะที่ดี
สารชวยในการกระจายตัวชนิดประจุลบ (anionic polymeric dispersants เชน naphthalenesulfonic
acid/ formaldehyde condensate, melaminesulfonic acid/ formaldehyde condensate, polycarboxylic
acid copolymers) และ/หรือ กรดไฮดรอกซีคารบอซิลิก (hydroxycarboxylic acids เชน gluconic
acid, glucoheptonic acid, arabonic acid, malic acid, และ citric acid) และหรือกลุมของสารที่
ประกอบดวย แซคคาไรด (saccharides เชน glucose, maltose, fructose, galactose, saccharose,
dextrin และ dextran) แอลกอฮอลน้ําตาล (sugar alcohol เชน sorbitol, polyethylene glycol,
glycerol, ethylene glycol, propylene glycol, polyglycerol และ diethylene glycol) และพอลิไฮดริก
แอลกอฮอล (polyhydric alcohol) อิมัลชันที่ไดมีความคงตัวในการเก็บ สามารถผสมเขากันไดดีกับ
เอกสารนี้ดเศษหิ
าวน์โนหลดมาจากระบบ
มีฟองนอย มีการยึดTUDC
เกาะที่ดีและมีความตานทานตอการรอนออก พื้นถนนที่ไดมีความ
โดย ผู้ใช้ทแข็
ั่วไปงแรง ทนทาน และไมรอน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เขาพบวาการมีกรดแทนนิน (tannin acid) หรือ สารประกอบแทนนิน (tannin compound)
ในแอสฟลทอิมัลชัน จะทําใหอิมัลชันผสมกับเศษหินไดดี แอสฟลทเกาะยึดกับเศษหินไดดีและไม
รอนออกเมื่อใชงาน
37

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิก

Redelius (1996) ใชแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกคือ BE60M, BE65M, BE65R,


PME89, P92-212-01 ตัวอยางสารอิมัลซิฟายชนิดแคทไออนิก เชน fatty amine สารประกอบ
quarternary ammonium สาร ethoxylated amines, amidoamine และ imidazolines โดยมีการเติมตัว
ทําใหขน (thickener) ชนิดนอนไอออนิก คือ ยูริเทน อิทอกไซเลท (urethane ethoxylate) เชน
Collacral PU 75, 85, Acrysol RM 8, Bermodol PUR 2100, Collacral DS 6049, Atlas G1822, 1823
เศษหินเปนชนิด Farsta granite สารปรับสภาพเปนกลาง (neutralizing substance) คือ สารที่มี
องค ป ระกอบเป น สารอิ น ทรี ย เช น เอมี น มวลโมเลกุ ล ต่ํ า (ตั ว อย า ง เช น monoethanolamine,
diethanolamine, triethanolamine และaminopropanol) เกลือของกรดอินทรีย (ตัวอยาง เชน
trisodium citrate) เกลืออนินทรีย (ตัวอยาง เชน sodium carbonate, sodium borate, sodium silicate
และtrisodium phosphate) และโลหะอัลคาไลไฮดรอกไซด (alkali metal hydroxide) (ตัวอยาง เชน
sodium หรือpotassium hydroxide) สารตัวเติมใหแตกตัว (breaking additive) ที่ใชคือ สารละลาย
ของ Hypermer A60, Diamin BG และBA9-700 ใน Nytex 800

Tamaki et al. (1999) ไดทดลองใชสารลดแรงตึงผิวแบบแคทไอออนิกที่มีความเปนขั้วสูง


พบวาใช ได ดีและไดให ความเห็นว า สารลดแรงตึงผิวแบบแคทไอออนิ กที่มีความเปน ขั้วสู ง มี
ความสามารถในการอุมน้ําไดดีจึงทําใหอิมัลชันมีเสถียรภาพดีเมื่อนํามาผสมกับเศษหิน และสาเหตุ
ที่สารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกเหมาะกับงานปูผิวถนนเพราะ เศษหิน ที่ใชในงานปูผิวถนน
นั้นมีประจุลบ เมื่อมาสัมผัสกับแอสฟลทอิมัลชันที่มีสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนที่มีประจุบวก
จะเกิดการทําใหเปนกลางของประจุ อิมัลชันเกิดการแตกออกเมื่อเจอกับเศษหิน และแอสฟลทจะ
เกาะยึดกับผิวของเศษหิน สารลดแรงตึงผิวที่ Tamaki et al. (1999) ใชประกอบดวยเกลือของ
polyamine

เอกสารนี้ดงานวิ
าวน์โจหลดมาจากระบบ
ัยที่เกี่ยวของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดนอนไอออนิก
TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562
Isobe and 20:57:18Tamaki (2000) ไดทําสารอิมัลซิฟายชนิดนอนไอออนิกเพื่อใชในการ
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เตรียมแอสฟลทอิมัลชันที่มีความคงตัว และสามารถเก็บไวไดนาน เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชัน
ชนิ ด นอนไอออนิ ก ทั่ ว ไปมี ค วามคงตั ว ต อ สารเคมี แต ไ ม ส ามารถเก็ บ ไว ไ ด น าน โดยสาร
อิ มั ล ซิ ฟ ายที่ ใ ช เ ป น บล็ อ กพอลิ เ มอร ที่ ไ ด จ ากการเติ ม อั ล คิ ลี น ออกไซด ล งไปในแอลกอฮอล
38

ที่มีสายโซยาวซึ่งปลายสายโซถูกปดดวยเอทิลีนออกไซด เชน RO(EO)8(PO)4(EO)8(R=Lauryl),


RO(EO)5(PO)5(EO)15(R=Myristyl, RO(EO)15(PO)5(EO)5(R=Cocoyl), RO(EO)3(PO)5(EO)30(R=Oleyl),
RO(EO)25(PO)5(EO)25(R=Cocoyl), RO(PO)3(EO)40(R=Cocoyl), RO(EO)16(PO)4(R=Lauryl), RO-
(EO)5(PO)5(EO)100(R=Myristyl), RO(EO)5(PO)15(EO)15(R=Cocoyl), RO(EO)50(R=Lauryl), Nonylphenol-
(EO)20, RO(EO)30(PO)4-(EO)30(R=Lauryl), HO(EO)70(PO)30(EO)70OH, RO(EO)25(PO)4(EO)25-
(R=Myristyl), Amido-modified lignin โดยที่ R เปน แอลคิล หรือแอลคินิล

ตัวทําละลายที่ใชกับสารอิมัลซิฟายชนิดนอนไอออนิก เชน น้ํา แอลกอฮอลที่มีมวลโมเลกุล


ต่ํา (lower alcohol) ไกลคอล พอลิออกซีเอทิลีนไกลคอล (polyoxyethylene glycol) แซคคาไรด
เชน กลูโคส หรือซอรบิทอล (sorbitol) และไฮโดรโทรป (hydrotrobe) เชน กรดไขมันโมเลกุลต่ํา
เอมีนโมเลกุลต่ํา พาราโทลูอีนซัลโฟนิคแอซิด (p-toluenesulfonic acid) หรืออีเทอรคารบอกไซลิก
แอซิด (ethercarboxylic acid) แอสฟลทที่ใชคือ “JIS K 2208” สารที่เติมเพื่อชวยใหสารอิมัลซิฟาย
สามารถเก็บไวไดนานคือ พอลิเมอรที่ละลายน้ําประกอบดวย พอลิไวนิลแอลกอฮอล (poly (vinyl
alcohol)) ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส (hydroxyethyl cellulose) แคทไอออไนซเซลลูโลส (cationized
cellulose) เมทิลเซลลูโลส (methyl cellulose) และกัม (gum) เมื่อทําการทดสอบอิมัลชันที่ไดพบวา
สามารถเก็บไวไดในสภาพที่มีความคงตัวดีมาก

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแอมโฟเทอริก

Chatterjee and Milburn (1996) ไดทําแอสฟลทอิมัลชันชนิดแอมโฟเทอริกที่มีการใสตัวเติม


ลงไปเพื่อปรับสภาพใหมีสมบัติ thixotropic คือเมื่อใหแรงความหนืดจะลดลง และยังมีสภาพ
ตานทานการแยกชั้นไดดี แอสฟลทที่ใชคือ Ashland AC-20 และChevron AC-20 สําหรับสารอิมัลซิ
ฟายชนิดแอมโฟเทอริกที่ใชคือ lauryl dimethyl betaine (REWOTERIC®AM-DML-35) และ N-
lauryl-beta-iminopropionic acid, mono-sodium salt (REWOTERIC®AM-LP); glycinates เชน N-
เอกสารนี้ดcocoy-lamidoethyl-N-(2-hydroxymethyl)-N-carboxymethyl
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC glycine, disodium salt (REWOTERIC®-
โดย ผู้ใช้ทAM-2C-W)
ั่วไป และ N-lauryl (REWOTERIC®AM-B-15); propionate เชน sodium cocoamphopropionate
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ (REWOTERIC®AM-KSF-40);
03/10/2562 23:59:59และ sulfobetaines เชน lauryl hydroxy sultaine (REWOTERIC®-
AM-HC) และ cocamidopropyl hydroxysultaine (REWOTERIC®AM-CAS)
39

สารตัวเติมที่เติม เชน ดินเหนียว ทราย และหรือเสนใย (เชน เสนใยแกว และหรือฝาย) และ


บางกรณีใชพอลิเมอร เชน ยาง ลาเท็กซ หรือ SBR มีการใชโซเดียมไฮดรอกไซดเพื่อปรับคา pH ให
เหมาะสมคือ ประมาณ 11 แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดมีความคงตัวมากกวาเมื่อเทียบกับแอสฟลท
อิมัลชันที่เตรียมโดยใชสารอิมัลซิฟายตางชนิดกัน

ในงานวิจั ยนี้ทํ าการศึก ษาการเตรียมแอสฟลท อิมัลชันเพื่อใชเคลือบหลังคา โดยศึกษา


เปรียบเทียบการใชสารอิมัลซิฟายชนิดแอนไอออนิก แคทไอออนิก และนอนไอออนิก และพัฒนา
คุณภาพการเคลือบหลังคาโดยการใชสารเติมแตงชนิดตาง ๆ โดยจากงานวิจัยที่ไดมีผูศึกษามากอน
หน า นี้ ส ามารถใช เ ป น แนวทางในการเลื อ กสารเติ ม แต ง โดยจะเลื อ กวั ส ดุ ที่ ส ามารถหาได ใ น
ทองตลาดราคาถูก และสามารถใชงานไดจริง

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
40

อุปกรณและวิธีการ

วัตถุดิบ

วัตถุดิบที่ใชเตรียมแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบกันซึมในงานวิจัยนี้ประกอบดวย
แอสฟลท น้ํากลั่น สารอิมัลซิฟาย ตัวทําละลาย และสารเติมแตง โดยแอสฟลท เปนเฟสไมตอเนื่อง
น้ํากลั่นเปนเฟสตอเนื่อง โดยมีสารอิมัลซิฟายทําหนาที่เปนสารลดแรงตึงผิว ตัวทําละลายเพื่อชวย
ละลายแอสฟลทที่มีลักษณะเปนของแข็งที่อุณหภูมิหองใหสามารถผสมกับสารอิมัลซิฟายที่อยูใน
รูปของสารละลายได และสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพ ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. แอสฟลท

แอสฟ ล ท ที่ ใ ช ไ ด จ ากการกลั่ น น้ํ า มั น ป โ ตรเลี ย ม ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป น ของแข็ ง สี ดํ า ที่


อุณหภูมิหองเปนผลิตภัณฑของบริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด มีชื่อทางการคาวา “SHELL
MEXIPHALTE R.115/15” ซึ่งมีคุณสมบัติดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 คุณสมบัติของแอสฟลทชนิด “SHELL MEXIPHALTE R.115/15”

การทดสอบ หนวย วิธีทดสอบ ชวง


ความถวงจําเพาะ @25/25oC ASTM D-70 1.01-1.06
o
จุดออนตัว (softening point) C ASTM D-36 110-120
เพนิเทรชัน (penetration)@25oC 0.1 มม. ASTM D-5 10-20
การยืดดึง (ductility)@25oC ซม.ตอนาที ASTM D-113 2
การสู ญเสี ย น้ํ า หนั ก เนื่ อ งจากการระเหย % โดยน้ําหนักสูงสุด ASTM D-6 0.20
เอกสารนี้ด(loss
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไปon heating) o
ดาวน์โหลดเมื ่อ 03/09/2562
จุดวาบไฟ (flash point) 20:57:18 C ต่ําสุด ASTM D-92 200
และหมดอายุ 03/10/2562
การละลายใน 23:59:59เทน
1, 1, 1ไตรคลอโรอี % โดยน้ําหนักต่ําสุด ASTM D-2042 99
(1, 1, 1 trichloroethane)
41

2. แอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิก

แอสฟลท อิมั ลชัน ที่ใ ชใ นงานวิจัย นี้ไ ดจ ากการเตรี ยมจากสารตั้งต นคื อแอสฟ ลท ชนิด
“SHELL MEXIPHALTE R.115/15” โดยใชสารอิมัลซิฟายชนิดนอนไอออนิก แอนไอออนิก และ
แคทไอออนิก นอกจากนั้นแลวยังใชแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกสําเร็จรูปชนิด CRS-2 และ
CSS-1h ซึ่งเปนของบริษัท ทิปโกแอสฟลท จํากัด (มหาชน)

3. น้ํา

สําหรับงานวิจัยนี้ใชน้ํากลั่นเพื่อปองกันความกระดางของน้ํา เพราะไอออนของน้ํากระดาง
อาจไปทําปฏิกิริยากับสารอื่น หรือไปเปลี่ยน ionic strength ของเฟสน้ําของอิมัลชัน ทําใหคุณภาพ
ของสารเคลือบผิวลดลง (Chatterjee and Millburn, 1997)

4. สารอิมัลซิฟาย

การเกิดอิมัลชันเปนการทําใหของเหลวชนิดหนึ่งที่มีปริมาณนอย ๆ แตกตัวเปนหยดเล็ก ๆ
ที่เรียกวาวัฏภาคภายในกระจายตัวในของเหลวอีกชนิดหนึ่งที่จัดเปนวัฏภาคภายนอก โดยอาศัยการ
ใหพลังงาน ซึ่งอาจจะอยูในรูปของความรอน การคน เปนตน โดยที่หยดเล็ก ๆ กระจายตัวอยูใน
ของเหลววัฏภาคภายนอกนั้นคงตัวอยูไดนาน ซึ่งทําไดโดยอาศัยสารลดแรงตึงผิวทําหนาที่ลดแรงตึง
ผิวของของเหลวทั้งสอง เพื่อลดพลังงานอิสระของพื้นผิว ทําใหโอกาสที่หยดของของเหลวที่เปน
วั ฏ ภาคภายใน ซึ่ ง กระจายตั ว อยู นั้ น รวมตั ว กั น ได น อ ยลง เป น การเพิ่ ม ความคงตั ว ทางอุ ณ ห-
พลศาสตร

สารอิมัลซิฟายที่ใชในงานวิจัยนี้ประกอบดวย 3 กลุม ดังนี้


เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป 4.1 สารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เป น สารอิ มั ล ซิ ฟ ายที่ ไ ม เ กิ ด การแตกตั ว เป น ไอออนในสารละลาย โดยสารที่ เ ลื อ กมา
ประกอบไปดวย
42

ก. TERIC N100 มีชื่อทางเคมีวา โนนิลฟนอลอีทอกไซเลท (nonyl phenol


ethoxylate) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีเปน (C4H9)2CHC6H4(OC2H4)OH เปนของบริษัท อีสเอเชีย
ติก (ประเทศไทย) จํากัด มหาชน (East Asiatic (Thailand) Public Company Limited)

ข. Brij®96V มีชื่อทางเคมีวา พอลิออกซีเอทิลีน (10) โอลิลอีเทอร (polyoxyethylene


(10) oleyl ether) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีเปน C18H35(OCH2CH2)10OH เปนของบริษัทฟลุคกา
(Fluka)

ค. TWEEN 80 มีชื่อทางเคมีวา พอลิออกซีเอทิลีน (20) ซอรบิแทน โมโน-โอลิเอท


(polyoxyethylene(20)sorbitan mono-oleate) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีดังแสดงในภาพที่ 7 เปน
ของบริษัทเอเชียแปซิฟกสเปเชียลตี้เคมิคอล จํากัด (Asia Pacific Specialty Chemicals Limited)

ภาพที่ 7 โครงสรางทางเคมีของสารอิมัลซิฟายชนิด TWEEN 80

ง. TWEEN 85 มีชื่อทางเคมีวา พอลิออกซีเอทิลีน (20) ซอรบิแทน ไตร-โอลิเอท


(polyoxyethylene(20)sorbitan tri-oleate) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีดังแสดงในภาพที่ 8 เปนของ
บริษัทฟลุคกา (Fluka)
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
43

ภาพที่ 8 โครงสรางทางเคมีของสารอิมัลซิฟายชนิด TWEEN 85

4.2 สารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิก

เปนสารอิมัลซิฟายที่เมื่อแตกตัวเปนไอออนแลว สวนที่เปนสายโซยาวมีประจุลบ โดยสาร


ที่เลือกมาประกอบไปดวย

ก. Nansa. HS 80/SPF มีชื่อทางเคมีวา โซเดียมโดเดซิลเบนซีนซัลโฟเนท (Na-dodecyl


benzene sulfonate) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีเปน CH3(CH2)11C6H4SO3- Na+ เปนของบริษัท อีส
เอเชียติก (ประเทศไทย) จํากัด มหาชน

ข. Nansa. LSS 480/B มีชื่อทางเคมีวา อัลฟาโอเลฟนซัลโฟเนท (α-olefin sulfonate)


เปนของบริษัท อีสเอเชียติก (ประเทศไทย) จํากัด มหาชน

4.3 สารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิก

เมื่ อแตกตัว เปนไอออนแลว สวนที่ เ ปนสายโซย าวมีประจุบวก โดยสารที่ เลือ กคือ


เอกสารนี้ดCTAB
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป มีชื่อทางเคมีวา เซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด (cetyl trimetyl ammonium bromide)
ดาวน์โหลดเมื
ซึ่งมีส่อูต03/09/2562 20:57:18
รโครงสรางทางเคมี เปน C16H33N(CH3)3Br เปนของบริษัท ฟลุคกา
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
44

5. สารชวยเพิ่มประสิทธิภาพ

5.1 ตัวทําละลาย

ก. น้ํามันเตาเกรด A มีลัก ษณะเปนของเหลวสี ดํ า หนืด ไดจากการกลั่ น น้ํามั น


ปโตรเลียม เปนผลิตภัณฑของบริษัท เชฟรอนเท็กซโกโกลบอลลูบริแคนทคาลเท็กซออย (ประเทศ
ไทย) จํากัด (ChevronTexaco Global Lubricants Caltex Oil (Thailand) Limited) ซึ่งมีคุณสมบัติดัง
ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 คุณสมบัติของน้ํามันเตาเกรด A

การทดสอบ วิธีทดสอบ ชวงจําเพาะ ผลการทดสอบ


ความหนืดคิเนมาติก (kinematic viscosity) ASTM D445 7-80 63.24
@50oC, cSt.
จุดวาบไฟ (flash point), oC ASTM D93 ต่ําสุดที่ 60 69
น้ําและตะกอน, %โดยปริมาตร ASTM D1796 สูงสุดที่ 1.0 0.1
จุดไหลเท (pour point), oC ASTM D97 สูงสุดที่ 24 -18
ปริมาณกํามะถัน, %โดยน้ําหนัก ASTM D4294 สูงสุดที่ 2.0 1.97
ความถวงจําเพาะ @15.6/15.6oC ASTM D1298 สูงสุดที่ 0.985 0.9402
ความหนาแนน @15oC, กิโลกรัม/ลิตร ASTM D1298 - 0.9391

ข.น้ํ า มั น สน ซึ่ ง มี ผู จั ด จํ า หน า ยคื อ บริ ษั ท ศรี ไ ทยเกษมอิ ม ปอร ต จํ า กั ด ภายใต
เครื่องหมายการคา “เครื่องหมายตราเบ็ด”

5.2 ตัวชวยทําอิมัลชันTUDC
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ สังเคราะห
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562
เป นสารที ช

20:57:18
วยเพิ่มความเสถียรใหกับอิมัลชันโดยทําหนาที่คลายกับสารอิมัลซิฟาย
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ก. คารบอกซีไวนิลพอลิเมอร (carboxyvinyl polymer) หรือ Carbopol เปนคารบอกซี
พอลิเมอรที่ถูกเชื่อมสายโซ (crosslinked carboxyvinyl polymer) ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีดัง
45

แสดงในภาพที่ 9 ซึ่งกระจายในน้ําทันทีไดเปนสารที่กระจายตัวมีฤทธิ์เปนกรดและความหนืดต่ํา
(low-viscosity acidic dispersion) (พิมพร 2540) สําหรับสารที่ใชในงานวิจัยนี้มีชื่อทางการคาวา
“Synthalen L” ของบริษัท อีสเอเชียติก (ประเทศไทย) จํากัด มหาชน

ข. ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส (hydroxyethylcellulose) (พิมพร 2540) ไดจากการเติม


เอธิลลีนออกไซด (ethylene oxide) ในโมเลกุลของเซลลูโลสทําใหการละลายน้ําเพิ่มขึ้นตามจํานวน
ของเอธิลลีนออกไซดที่เติมลงไป มีชื่อทางการคาวา “Natrosol” ซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีดัง
แสดงในภาพที่ 10 ของบริษัท เฮอคิวลีส (Hercules)

ภาพที่ 9 โครงสรางทางเคมีของ Carbopol

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59

ภาพที่ 10 โครงสรางทางเคมีของไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส
46

5.3 สารทําใหเปนฟลม และเพิ่มสมบัติทางกล

ทําหนาที่เพิ่มคุณสมบัติที่ทําใหเปนฟลม สมบัติทางกล ความตานทานสภาพอากาศ


และลดความเสื่อมสภาพโดยเลือกใช ทัลก (talc) (อรอุษา 2544) ซึ่งคือ แมกนีเซียมซิลิเกตที่มีน้ําปน
อยูดวย มีสูตรโครงสราง 3MgO.4SiO2.H2O สําหรับแรธาตุชนิดอื่น ๆ มักมี Ca หรือ Al แทนที่ Mg
อยูบางเปนสวนนอย ทัลกมีโครงสรางเปนเสนใย (fibrous structure) แตอาจมีโครงสรางเปนแผน
บาง ๆ ปนอยูบาง

5.4 เอกซเทนเดอร (extender)

5.4.1 สารทนเคมีภัณฑ (chemical-resistance) แบไรต (Barytes, BaSO4) (อรอุษา


2544) เปนเอกซเทนเดอร (extender) ธรรมชาติที่มี BaSO4 เปนองคประกอบสวนใหญ มีอนุภาคเปน
ผลึกและมีรูปรางกลมไมสม่ําเสมอ แบไรตทนกรดและดางไดดี และมีการดูดกลืนน้ํามันต่ํามาก
ดังนั้น จึงมีผลตอความขน (consistency) นอยมาก

5.4.2 อนุภาคของแข็งละเอียดบางชนิด (finely divided solid particles) ผงละเอียดของ


สารกลุมนี้ถูกดูดซับไดที่ผิวสัมผัสระหวางวัฏภาค (interface) โดยมีความสามารถในการเปยกน้ํา
และน้ํามันไดตางกัน ทําหนาที่คลายสารอิมัลซิฟายโดยสรางฟลมที่เรียกวา particulate film สารกลุม
นี้จะตองมีผงละเอียดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดหยดวัฏภาคภายใน บางชนิดอาจมีประจุซึ่งกอใหเกิด
ชั้นคูของไฟฟาสถิตเปนกันชนทางไฟฟารอบหยดวัฏภาคภายในได จะทําใหอิมัลชันยิ่งมีความคงตัว
มากขึ้น โดยงานวิจัยนี้ใช Bentone EW ของบริษัท อีสเอเชียติก (ประเทศไทย) จํากัด มหาชน

5.4.3 แคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) เปนเอกซเทนเดอรที่นิยมใชมากที่สุด เนื่องจากมี


ราคาถูก ซึ่งแคลเซียมคารบอเนตมีฤทธิ์เปนดาง โดยแคลเซียมคารบอเนตสังเคราะหมีคา pH อยู
เอกสารนี้ดในช
าวน์วโงหลดมาจากระบบ
9.5-10.5 TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
47

อุปกรณ

อุปกรณการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

ทําการหลอมแอสฟลทใหอยูในรูปของเหลว และผสมตัวทําละลายโดยใชหมอสแตนเลส
ทําใหรอนบนเตา hotplate และใชแทงแกวในการกวนผสม แอสฟลทที่ถูกหลอมผสมกับตัวทํา
ละลายถูกกวนผสมเขากับสารละลายอิมัลซิฟายดวยเครื่องปนผสมยี่หอมารา (MARA®) ขนาด 1.25
ลิตร และสารเติมแตงถูกทําการปนผสมในเครื่องผสมยี่หอมูลิเนกซ (Moulinex blender) ขนาด
1.25 ลิตร แอสฟลทอิมัลชันผสมกับสารเติมแตงภายในบีกเกอรขนาด 250 มิลลิลิตรโดยใชแทงแกว
คนผสม

อุปกรณการทดสอบคุณสมบัติของแอสฟลทอิมัลชัน

ทดสอบสมบั ติ ก ารแห ง ที่ ผิ ว ความทนความร อ น และความทนน้ํ า ตามมาตรฐาน


ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางมะตอยอิมัลชันเคลือบผิววัสดุ (2531) โดยใชแผนทดสอบประกอบดวย
แผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 0.6 มิลลิเมตรที่แหง สะอาด
และกําจัดไขมันออกแลว แผนทองเหลืองที่แหงและสะอาด ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร
หนา 1.6 มิลลิเมตร ตรงกลางมีชองวางขนาด 100 มิลลิเมตร × 100 มิลลิเมตร ดังแสดงในภาพที่ 11
(ก) และ (ข) ตามลําดับ เตรียมแผนทดสอบดังที่กลาวมาแลวในอุปกรณการทดสอบคุณสมบัติ วาง
แผนทองเหลืองลงบนแผนเหล็กในแนวระดับ ใสตัวอยางลงในชองวางของแผนทองเหลือง ใหลน
ขอบบนของแผนทองเหลืองเล็กนอย ใชแผนโลหะสันตรงปาดสวนที่ลน ยกแผนทองเหลืองออก
ทันที วางไวในแนวระดับที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 24 ชั่วโมง ทําการอบในตูอบที่สามารถควบคุม
อุณหภูมิไดที่ 100 ± 5 องศาเซลเซียส การทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตแผน ทดสอบ
โดยใชแผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาด 5 × 5 เซนติเมตร หนา 0.6 มิลลิเมตร ดังแสดงในภาพที่ 11
เอกสารนี้ด(ค)
าวน์ใชโหลดมาจากระบบ
ตูแสงอัลตราไวโอเลตดั งแสดงในภาพที่ 12 การนําไปใชจริงกับหลังคากระเบื้อง ใชแผน
TUDC
โดย ผู้ใช้ทกระเบื
ั่วไป ้องที่เจาะรูเสนผานศูนยกลางขนาด 17/64 นิ้ว ดวยสวานไฟฟา ดังแสดงในภาพที่ 13 (ก)
ดาวน์โหลดเมื
ผ าดิ
่อสํ03/09/2562
บ า หรั บป ด รู รว
่ ั
20:57:18
ขนาด 3 เซนติเมตร × 3 เซนติเมตร ดังแสดงในภาพที่ 13 (ข)
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
48

(ก) (ข) (ค)

ภาพที่ 11 (ก) แผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 0.6 มิลลิเมตร


(ข) แผนทองเหลือง ขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร ตรงกลางมี
ชองวางขนาด 100 มิลลิเมตร × 100 มิลลิเมตร
(ค) แผนเหล็กปราศจากสนิม ขนาด 5 × 5 เซนติเมตร

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื
ภาพที่อ่ 12 ตูแสงอัลตราไวโอเลตสํ
03/09/2562 20:57:18าหรับทดสอบความทนตอแสงอัลตราไวโอเลต
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
49

(ก) (ข)

ภาพที่ 13 การทดสอบการรั่ว
(ก) รอยรั่วที่สรางขึ้นบนแผนกระเบื้องโดยสวานไฟฟาขนาดเสนผานศูนยกลาง17/64 นิ้ว
(ข) ผาดิบสําหรับปดรูรั่วขนาด 3 เซนติเมตร × 3 เซนติเมตร

การทดสอบ

ทํ า การทดสอบสมบั ติ ก ารแห ง ที่ ผิ ว ความทนความร อ น ความทนน้ํ า ตามมาตรฐาน


ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางมะตอยอิมัลชันเคลือบผิววัสดุ (2531) ทนตอแสง อัลตราไวโอเลต และ
การนําไปใชจริงกับหลังคากระเบื้องของแอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง

1. การแหงที่ผิว

การทดสอบทํ า ได โ ดยเตรี ย มแผ น ทดสอบดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ในอุ ป กรณ ก ารทดสอบ
เอกสารนี้ดคุาวน์ โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วณไปสมบัติ วางแผนทองเหลืองลงบนแผนเหล็กในแนวระดับ ใสตัวอยางลงในชองวางของแผน
ดาวน์โหลดเมื
ทองเหลื่อ 03/09/2562 20:57:18
อง ใหลนขอบบนของแผ นทองเหลืองเล็กนอย ใชแผนโลหะสันตรงปาดสวนที่ลน ยกแผน
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ทองเหลืองออกทันที วางไวในแนวระดับที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 24 ชั่วโมง ตรวจการแหงโดยใช
นิ้วมือแตะที่ผิวตัวอยางแลวตรวจดูการเปอนนิ้วและฟลม โดยที่ตองไมเปอนนิ้ว และฟลมตองไม
แตกหรือยน
50

2. ความทนความรอน

ทําการเตรียมแผนทดสอบเหมือนกับการแหงที่ผิวแตทําเครื่องหมายรอบฟลมไว วางแผน
ทดสอบไวในแนวระดับ (แนวราบ) ที่ 27± 2 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง อบในตูที่อุณหภูมิ 100
องศาเซลเซียส โดยวางแผนทดสอบในแนวดิ่ง นาน 2 ชั่วโมง แลวตรวจดูฟลม เมื่อทดสอบแลว
ฟลมตองไมพอง ยน หรือหลุดลอนออกจากแผนทดสอบ

3. ความทนน้ํา

ทดสอบไดโดยเตรียมแผนทดสอบเหมือนการทดสอบการแหงที่ผิว อบที่อุณหภูมิ 60± 3


องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชั่วโมง โดยวางในแนวระดับ แลวแชแผนทดสอบในน้ําซึ่งอยูในภาชนะ
แกว ที่อุณหภูมิ 27± 2 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง นําขึ้นจากน้ํา ตองไมปรากฏอนุภาคของแอส
ฟลทในน้ํา แลวตรวจดูฟลม เมื่อทดสอบแลว ฟลมตองไมพอง ไมหลุดลอนจากแผนทดสอบ และ
ไมกลับเปนอิมัลชัน

4. ความทนตอแสงอัลตราไวโอเลต

เนื่องจากเครื่องมือวัดความเขมแสงที่ใชไมสามารถวัดความเขมแสงของแสงอาทิตยได และ
ความเขมแสงของแสงอาทิตยไมสามารถควบคุมใหมีปริมาณที่แนนอนได ซึ่งยากกับการทดสอบ
และเปรียบเทียบแผนทดสอบที่ทดสอบคนละเวลา จึงไดสรางตูกําเนิดแสงอัลตราไวเลตขนาดกวาง
16 เซนติเมตร ยาว 144.5 เซนติเมตร สูง 22 เซนติเมตร ซึ่งมีความเขมแสงอยูระหวางชวง 64-354
ลักซ โดยแตละตําแหนงที่วางแผนทดสอบรูคาความเขมแสงที่แนนอน โดยสามารถเปรียบเทียบแต
ละตัวอยางที่ปริมาณแสงเดียวกัน ปริมาณแสงคํานวณไดจากความเขมแสงคูณกับระยะเวลาทดสอบ
เอกสารนี้ดการทดสอบทํ
าวน์โหลดมาจากระบบ
าไดโดยนําสารตัTUDC
วอยางทาบนแผนเหล็กขนาด 5 เซนติเมตร × 5 เซนติเมตรโดย
โดย ผู้ใช้ทควบคุ
ั่วไป มความหนาประมาณ 1.2 มิลลิเมตร แลวนําไปไวในตูแสงอัลตราไวโอเลตที่ทราบคาความ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562
เขมแสงที 23:59:59่ฟลมเปลี่ยนสภาพ
่แนนอน ดูระยะเวลาที
51

5. ความหนืดตาม ASTM D2196 (rheological properties of non-newtonian materials by rotational


(Brookfield) viscometer)

สารตัวอยางถูกวิเคราะหความหนืดตาม ASTM D2196 โดยสงตัวอยางไปวิเคราะหที่กรม


วิทยาศาสตรบริการโดยใชเครื่อง “Brookfield”

6. การนําไปใชจริงกับหลังคากระเบื้อง

นําสารตัวอยางทาบนแผนหลังคากระเบื้องที่เจาะรูขนาด 17/64 นิ้วดวยสวานไฟฟา แลว


วางทับดวยผาดิบขนาด 3 เซนติเมตร × 3 เซนติเมตร จากนั้นทาทับอีกรอบ ทิ้งไวใหแหง 24 ชั่วโมง
จึงนําแผนทดสอบไปวางเอียงทํามุมประมาณ 30 องศา แลวปลอยน้ําไหลผาน สังเกตรอยรั่ววามี
น้ําซึมหรือไม

วิธีการทดลอง

1. การเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

เนื่องจากแอสฟลทที่ใชในการทดลองนี้มีลักษณะหนืดมากจนคลายของแข็งเวลานํามา
เตรียมแอสฟลทอิมั ลชัน จึงต องทําใหอยูในลักษณะของเหลวที่สามารถทําการกวนผสมเขากั บ
สวนประกอบอื่น ๆ ได ดังนั้นจึงทําการศึกษาหาวิธีในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันโดยทําการ
ทดลองดังนี้

1.1 ศึกษาตัวทําละลายที่เหมาะสม
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ทําการหลอมแอสฟลทโดยนําแอสฟลทใสลงในหมอสแตนเลสใหความรอนดวยเตา
ดาวน์โหลดเมื อ
่ 03/09/2562
hotplate จนแอสฟ ล ท ห
20:57:18
ลอมเป นของเหลว จึงหยุดการใหความรอนเติมตัวทําละลายลงในแอสฟลท
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ที่อยูในรูปของเหลว ทําการกวนดวยแทงแกวใหแอสฟลทและตัวทําละลายเขากัน ถาแอสฟลทจับ
ตัวเปนกอนเล็กนอย ทําการใหความรอนออน ๆ พรอมกับทําการคนจนแอสฟลทเปนเนื้อเดียวกับ
ตัวทําละลาย โดยการทดลองนี้ไดทําการศึกษาตัวทําละลาย 3 ชนิดคือ เฮกเซน (จุดเดือดประมาณ
52

68.7 oC) น้ํามันเบนซิน (จุดเดือดต่ํากวา 25-210oC) และน้ํามันเตา (จุดเดือดสูงกวา 220-700oC) โดย


ใชแอสฟลทปริมาณ 40 กรัม ตอตัวทําละลาย 45 กรัม

1.2 ศึกษาขั้นตอนการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

เมื่อหาตัวทําละลายที่สามารถละลายแอสฟลทไดแลวจึงทําการศึกษาขั้นตอนการเตรียม
แอสฟลทอิมัลชันโดยขั้นตอนการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันมีดังตอไปนี้

1. ใหความรอนแอสฟลทปริมาณ 40 กรัมจนหลอมเปนของเหลวภายในภาชนะที่
ตั้งอยูบนเตาไฟฟา ชนิด hotplate จึงหยุดการใหความรอน ซึ่งจุดออนตัวของแอสฟลทที่ใชประมาณ
110-120oC

2 เติมตัวทําละลายปริมาณ 45-60 กรัมลงในแอสฟลทที่อยูในรูปของเหลว ทําการ


กวนแอสฟลทและตัวทําละลาย ถาแอสฟลทจับตัวเปนกอนเล็กนอย ใหทําการใหความรอนออน ๆ
พรอมกับทําการกวนจนแอสฟลทเปนเนื้อเดียวกับตัวทําละลาย

3 ทําการเตรียมสารละลายอิมัลซิฟายโดยในเบื้องตนทดลองโดยใชสารลดแรงตึงผิว
ชนิดนอนไอออนิกกอนคือ TERIC N100 จากนั้นจึงทําการทดลองใชชนิด แคทไอออนิก และแอน
ไอออนิกตอไป ทําการเติม TERIC N100 ปริมาณ 20- 28 กรัมลงในน้ํากลั่นปริมาณ 16-45 กรัม ทํา
การใหความรอนเพื่ อช วยให สารอิมัลซิ ฟายละลายไดและเปนอุ ณหภูมิที่เหมาะสมในการผสม
ควบคุมอุณหภูมิที่ประมาณ 50oC

4 เติมแอสฟลทที่ละลายในตัวทําละลายทีละนอยลงในสารละลายอิมัลซิฟายที่ถูก
บรรจุอยูในเครื่องปนผสมยี่หอมารา ขนาด 1.25 ลิตร พรอมทั้งทําการกวนผสม จนอิมัลชันเนียน
เอกสารนี้ดเปาวน์
นเนืโหลดมาจากระบบ
้อเดียวกัน กวนเปนระยะTUDC
ประมาณ 5 ครั้ง ครั้งละ 15 วินาที
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59ลทอิมัลชันจับตัวเปนเม็ดเมื่อทาบนพื้นผิว
1.3 การแกปญหาแอสฟ

เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่ไดเมื่อนําไปทาบนพื้นผิวกระดาษมีลักษณะเปนเม็ดของ
แอสฟลทเล็ก ๆ ไมเนียนเปนเนื้อเดียวกัน จึงไดมีการควบคุมอุณหภูมิขณะผสม แอสฟลทอิมัลชันที่
53

เตรียมมีสวนประกอบดังนี้คือ แอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตา 60 กรัม TERIC N100 28 กรัม และน้ํา


24 กรัม ซึ่งระหวางขั้นตอนการหลอม และละลายแอสฟลทกับตัว ทําละลายควบคุมอุณหภูมิที่
ประมาณ 85oC และในขั้นตอนเตรียมสารละลายอิมัลซิฟายควบคุมอุณหภูมิที่ประมาณ 70-75o ให
คงที่จนกระทั่งปนผสมแอสฟลท และสารละลายอิมัลซิฟาย

2. การศึกษาหาสูตรที่เหมาะสมของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจาก TERIC N100

เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดจากสารละลายอิมัลซิฟายชนิด TERIC N100 ดวย


วิธีการดังกลาวไปแลว ถึงแมวาจะมีลักษณะเนียนเปนเนื้อเดียวกันแตเมื่อตั้งทิ้งไว จะเกิดการแยก
เฟสของอิมัลชัน จึงทําการทดลองเพื่อหาสวนประกอบที่เหมาะสม เมื่อไดทําการควบคุมอุณหภูมิ
ขณะผสม โดยศึกษาผลของปริมาณของ TERIC N100 ปริมาณของน้ําและตัวทําละลายตอความคง
ตัวของแอสฟลทอิมัลชัน ซึ่งใชแอสฟลทปริมาณ 40 กรัม น้ํามันเตาเปนตัวทําละลายปริมาณ 30-55
กรัม TERIC N100 3-30 กรัม น้ํากลั่นปริมาณ 16.5-40 มิลลิลิตร

2.1 การทดลองเพื่อลดปริมาณ TERIC N100 ในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดยังตองใชสารอิมัลซิฟายที่คอนขางสูงมากคือ
ประมาณ 18 เปอรเซ็นต จึงไดทําการเติมผงละเอียดของ Synthalen L ซึ่งทําหนาที่เปนสารอิมัลซิ
ฟายชวยเพื่อลดปริมาณของสารอิมัลซิฟายลงในขั้นการเตรียมสารละลายอิมัลซิฟายโดยในขั้นตอน
ที่เตรียมสารละลายอิมัลซิฟายนั้นใหเติม TERIC N100 ปริมาณ 3-30 กรัม และ Synthalen L 0.15
กรัม

2.2 การเตรียมอิมัลชันของสารเติมแตง

แอสฟลทอิมัลชันTUDC
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ ที่เตรียมไดเมื่อทาบนพื้นผิว ในเบื้องตนไดทดลองทาบนผิวกระดาษ
โดย ผู้ใช้ทแข็
ั่วไปงปรากฏวายังแหงชาอยูมาก จึงทําการเติมสารเติมแตงเพื่อทําใหสมบัติการแหงตัวดีขึ้น และ
ดาวน์โหลดเมื
ต อ
่อ 03/09/2562
งการปรั บ ปรุ ง คุ ณ
20:57:18
สมบั ติอื่น ๆ เชน ความตานทานตอกรด เบส และอื่ น ๆ โดยสารเติม แตง
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ประกอบไปดวย Natrosol แคลเซียมคารบอเนต แบไรต Bentone EW และทัลก โดยมีขั้นตอนการ
เตรียมอิมัลชันของสารเติมแตงดังนี้
54

1 ทําการอุนน้ํา 100-150 มิลลิลิตรที่อุณหภูมิ 60 oC

2 เติมน้ําที่อุน และสารเติมแตงที่มีลักษณะเปนผงอนุภาคเล็กที่มีลักษณะคลายแปง
เชน แคลเซียมคารบอเนต แบไรต ทัลก อยางละ 10-30 กรัม ลงปนผสมในเครื่องผสมยี่หอมูลิเนกซ
ขนาด 1.25 ลิตร ใหเปนเนื้อเดียวกันจนไดของเหลวสีขาวขุนคลายน้ําแปง สําหรับผงอนุภาคเล็กทีใ่ ช
ตองระวังผงที่จับตัวเปนกอนตองแยกออก เพราะจะทําใหอิมัลชันที่ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันมี
ลักษณะของฟลมที่ไมเนียน

3 เติมสารกลุม Natrosol ปริมาณ 1-3 กรัม และBentone EW 4-7 กรัมที่ทําใหเกิด


คอลลอยดที่หนืด เพื่อชวยใหผงอนุภาคเล็กที่มีลักษณะคลายแปงคงตัวไมตกตะกอนและสารกลุมนี้
ยังทําหนาที่เปนตัวชวยทําอิมัลชันอีกดวย โดยอิมัลชันของสารเติมแตงที่เตรียมไดตองนําไปผสมกับ
แอสฟลทอิมัลชันเลยเนื่องจากเมื่อตั้งทิ้งไวน้ําจะระเหยและแหงแข็งได

จากนั้นผสมเขากับแอสฟลทอิมัลชัน โดยผสมในบีกเกอรและใชแทงแกวกวนผสม

2.3 การทดลองใชตัวทําละลายรวมในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่ผสมอิมัลชันของสารเติมแตงแลว ถึงแมวาจะแหงงายขึ้น
แตฟลมยังมีลักษณะที่คอนขางเหนอะหนะ และมีกลิ่นของน้ํามันเตาแรง จึงทดลองใชตัวทําละลาย
รวมโดยเลือกตัวทําละลาย 2 ชนิดคือ น้ํามันเบนซิน และน้ํามันสน ใชแอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40
กรัม TERIC N100 5 กรัม Synthalen L 0.15 กรัม แตทําการทดลองเปลี่ยนปริมาณของตัวทํา
ละลายรวมระหวาง 30-45 กรัม

3. การศึกษาการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันจากสารลดแรงตึงผิวชนิดไมมีประจุและมีประจุ
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งงานวิจัยนี้ใชสารอิมัลซิฟายชนิดไมมีประจุคือ TERIC N100, Brij®96V, TWEEN 80
ดาวน์โหลดเมื
และ
่อTWEEN
03/09/2562
85 ส ว
20:57:18
นสารอิ มัลซิฟายที่มีประจุ 2 ชนิดคือ ชนิดแอนไอออนิก และแคทไอออนิก
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
โดยที่สารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิกประกอบไปดวย Nansa. HS 80/SPF และ Nansa. LSS
480/B สวนสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกคือ CTAB โดยทําการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันชนิด
55

มีประจุเตรียมดวยวิธีการเดียวกับการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจาก TERIC N100 ที่ปริมาณ


ตาง ๆ โดยสังเกตความคงตัวของอิมัลชันเมื่อตั้งทิ้งไว และลักษณะฟลมเมื่อทาบนกระดาษ

4. การปรับปรุงคุณภาพของแอสฟลทอิมัลชันเมื่อเติมสารเติมแตง

เมื่อไดสารอิมัลซิฟายที่เหมาะสมแลว จากนั้นทําการปรับปรุงคุณภาพโดยการทดลองใช
แอสฟลทอิมัลชันผสม 2 ชนิด ที่อัตราสวนตาง ๆ แทนแอสฟลทอิมัลชันชนิดเดียว แลวหาปริมาณ
ของสารเติมแตงที่เหมาะสมในแตละอัตราสวนของแอสฟลทอิมัลชันผสม แลวทําการเปรียบเทียบ
หาสูตรที่ดีที่สุดโดยการทดสอบ

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
56

ผลการทดลองและวิเคราะหผลการทดลอง

1. การศึกษาตัวทําละลายที่เหมาะสม

ผลการทดลองละลายแอสฟลทดวยตัวทําละลายไฮโดรคารบอนชนิดตาง ๆ ที่มีจุดเดือด
ตางกัน ผลการละลายแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ผลการละลายแอสฟลทของตัวทําละลายโดยใชแอสฟลทปริมาณ 40 กรัม และตัวทําละ


ลาย 45 กรัม

ตัวอยางที่ ชนิดตัวทําละลาย ลักษณะทางกายภาพที่สามารถสังเกตได


1-1 เฮกเซน ระเหยหมดไมสามารถละลายแอสฟลทที่รอนได
1-2 น้ํามันเบนซิน ละลายไดบางสวนแตมีแอสฟลทบางสวนแยกเฟสอยางชัดเจน
1-3 น้ํามันเตา ละลายไดดี

จากผลการทดลองในตารางที่ 3 พบวาเฮกเซนระเหยหมดเนื่องจากแอสฟลทที่ถูกหลอมมี
อุณหภูมิคอนขางสูง (จุดออนตัวของแอสฟลทที่ใชประมาณ 110-120OC) และเฮกเซนมีจุดเดือด
คอนขางต่ํา (68.7oC) ดังนั้นเมื่อผสมเฮกเซนกับแอสฟลทที่อยูในรูปของเหลวที่อุณหภูมิสูงจึงทําให
เฮกเซนเดือดและระเหยหมดกอนที่จะละลายเขากับแอสฟลท สําหรับน้ํามันเบนซินซึ่งมีจุดเดือด
นอยกวา 200oC เมื่อนํามาเทลงในแอสฟลทที่อยูในรูปของเหลวพบวาสามารถละลายแอสฟลทได
บางสวน แตแอสฟลทสวนใหญเกิดการแยกเฟสและแข็งตัวอาจเปนผลเนื่องจากในน้ํามันเบนซิน
มีเพนเทนเปนองคประกอบซึ่งจะทําใหแอสฟลทีนที่มีอยูในแอสฟลทแยกเฟส สวนน้ํามันเตาเปน
ตัวทําละลายที่ดีสามารถละลายเปนเนื้อเดียวกับแอสฟลทที่ที่อยูในรูปของเหลวได

เอกสารนี้ด2.าวน์ศึกโษาขั ้นตอนการเตรียมแอสฟ
หลดมาจากระบบ TUDC ลทอิมัลชัน
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562ผลการทดลองเตรี ยมแอสฟลทอิมัลชันจากสวนประกอบที่ปริมาณตาง ๆ โดยใชแอสฟลท
23:59:59
ปริมาณ 40 กรัม ในตารางที่ 4 พบวาแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมโดยวิธีการเติมสารละลายอิมัลซิฟาย
ลงในแอสฟลทอยูในรูปของเหลวผสมน้ํามันเตาซึ่งเปนตัวทําละลาย มีทั้งการแยกชั้นอยางชัดเจน
ของเฟสน้ําและเฟสน้ํามันเมื่อตั้งทิ้งไว และแอสฟลทอิมัลชันที่ไมเกิดการแยกชั้นเมื่อตั้งทิ้งไว แตทั้ง
57

สองแบบเมื่อนําไปทาบนผิวกระดาษมีลักษณะของแอสฟลทจับตัวเปนเม็ดเล็ก ๆ ไมเนียนเปนเนื้อ
เดียวกัน และเมื่อเปรียบเทียบกับแอสฟลทอิมัลชันที่ใชเปนสารเคลือบกันซึมที่มีขายในทองตลาด
พบวาแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดยังแหงชากวาสารเคลือบกันซึมที่มีขายในทองตลาดอยูมาก ทั้งนี้
เพราะแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดยังไมไดใสสารเติมแตงใด ๆ ทั้งสิ้น ในขณะที่สารเคลือบกันซึม
ที่ขายในทองตลาดไดใสสารเติมแตงลงไปเรียบรอยแลว

ตารางที่ 4 แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากน้ํามันเตา TERIC N100 และน้ํา ที่ปริมาณตาง ๆ โดยใช


แอสฟลทปริมาณ 40 กรัม

ตัวอยาง แอสฟลท: น้ํามันเตา: ลักษณะที่สังเกตเมื่อตั้ง ลักษณะที่สังเกตเมื่อทาบน


ที่ TERIC N100: น้ํา ทิ้งไว 1วัน พื้นผิวกระดาษ
2-1 1: 1.1: 0.5: 1.1 แยกชั้นอยางเห็นไดชัด แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
2-2 1: 1.1: 0.6: 1.1 แยกชั้นบางสวน แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
2-3 1: 1.1: 0.7: 0.9 แยกชั้นบางสวน แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
2-4 1: 1.2: 0.7: 0.7 แยกชั้ นน อยลงเมื่ อ แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
เทียบกับตัวอยางที่ 2-3 เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
2-5 1: 1.2: 0.7: 0.4 ไมมีการแยกชั้น แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
2-6 1: 1.5: 0.7: 0.4 ไมมีการแยกชั้นมีความ แอสฟ ล ท เ ป น เม็ ด เล็ ก ๆ ไม
หนืดลดลงกวาตัวอยาง เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงยาก
ที่ 2-5
เอกสารนี้ดสารเคลื
าวน์โหลดมาจากระบบ
อบกันซึมที่มีขายในทTUDC
องตลาด ไมมีการแยกชั้น เนียนเปนเนื้อเดียวกันแหงงาย
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
58

3. การแกปญหาแอสฟลทอิมัลชันจับตัวเปนเม็ดเมื่อทาบนพื้นผิว

จากการทดลองเตรียมแอสฟลทอิมัลชันโดยการควบคุมอุณหภูมิขณะผสม แอสฟลทที่ถูก
หลอมและละลายกับน้ํามันเตาที่ 85-90OC และสารละลายอิมัลซิฟายที่ 75-80OC พบวาเมื่อทําการ
ควบคุมอุณหภูมิที่ทําการผสมและการกวนที่เหมาะสมโดยทําตามขั้นตอนที่กลาวมาขางตน แอส
ฟลทอิมัลชันที่ไดมีลักษณะเปนเนื้อเดียวกันและเมื่อทาที่พื้นผิวมีลักษณะเนียนเปนเนื้อเดียวกัน
ดังนั้นการควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมจึงมีความสําคัญมากตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

4. การศึกษาหาสูตรที่เหมาะสมของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจาก TERIC N100

เมื่อไดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันจึงทําการหาสูตรที่เหมาะสม
จากนั้นนําสูตรที่ไดเปลี่ยนชนิดของสารอิมัลซิฟาย แลวทําการเปรียบเทียบเพื่อหาชนิดที่ดีที่สุด ผล
การทดลองผลิตแอสฟลทอิมัลชันสูตรตาง ๆ ที่ใช TERIC N100 (สารอิมัลซิฟายชนิดนอนไอออนิก)
เปนสารอิมัลซิฟาย แสดงในตารางที่ 5

ตารางที่ 5 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 เปนตัวอิมัลซิฟายชนิดนอนไอออนิก

วัตถุดิบ
ตัวอยาง ลักษณะทางกายภาพที่
แอสฟลท น้ํา TERIC น้ํามันเตา
ที่ สามารถสังเกตได
(กรัม)
(มิลลิลิตร) N100 (กรัม) (กรัม)
3-1 40 16.5 30 46.5 เกิดเปนอิมัลชันที่คงตัว แต
ความหนืดสูงมาก ไมแยกชัน้
น้ํา
3-2 40 26.5 30 46.5 เกิดอิมัลชันทีค่ งตัวยังมีความ
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC หนืดสูงแตลดลงจากตัวอยาง
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ที่ 3-1 มีการแยกชั้นน้ําแต
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59 สามารถกวนผสมได
59

ตารางที่ 5 (ตอ)

วัตถุดิบ
ตัวอยาง ลักษณะทางกายภาพที่
แอสฟลท น้ํา TERIC น้ํามันเตา
ที่ สามารถสังเกตได
(กรัม) (มิลลิลิตร) N100 (กรัม) (กรัม)
3-3 40 40 30 55 เกิดอิมัลชันทีค่ งตัว มีความ
หนืดลดลง เปนที่นาพอใจมี
การแยกชั้นน้ํา แตสามารถ
กวนผสมใหเขากันได
3-4 40 40 20 55 เกิดเปนอิมัลชันแตมีการแยก
ชั้นน้ํา
3-5 40 40 10 55 ไมสามารถเกิดเปนอิมัลชันได

ปริมาณของสวนประกอบตาง ๆ ของแอสฟลทอิมัลชัน ยึดปริมาณการใชจากงานวิจัยของ


Schilling (1998) โดยปรับเปลี่ยนปริมาณใหเหมาะสม ตามตัวอยางที่ 3-1 ซึ่งมีความคงตัวของ
อิมัลชันแตความหนืดสูงมากจึงเพิ่มปริมาณน้ํา เมื่อเพิ่มปริมาณน้ําตามตัวอยางที่ 3-2 แอสฟลท
อิมัลชันมีความหนืดลดลง มีการแยกชั้นน้ําบางสวนแตสามารถกวนผสมได จากนั้นจึงเพิ่มน้ําเพื่อ
ลดความหนืด แตพบวาความหนืดยังไมลดลงตามที่ตองการหากเพิ่มน้ํามากขึ้นอีกอิมัลชันจะไม
เสถียร จึงเพิ่มปริมาณของน้ํามันเตาเปน 55 กรัม ตามสูตรที่ 3-3 พบวาเกิดอิมัลชันที่มีความคงตัว มี
ความหนืดลดลงตามที่ตองการ และมีการแยกชั้นน้ําหลังจากตั้งทิ้งไว 24 ชั่วโมง แตสามารถกวน
ผสมใหเหมือนเดิมได จากนั้นจึงทดลองลดปริมาณ TERIC N100 ลงเหลือ 20 กรัม ตามสูตร 3-4
พบวา เกิดเปนอิมัลชันที่คงตัวเชนเดียวกับ 3-3 จากนั้นจึงลดปริมาณ TERIC N100 ลงเหลือ 10 กรัม
ตามสูตร 3-5 พบวา ไมสามารถเกิดเปนอิมัลชัน สูตรที่เหมาะสมจึงไดแกสูตร 3-3 และ 3-4

เอกสารนี้ด5.าวน์การทดลองเพื
โหลดมาจากระบบ
่อลดปริมาณ TUDC
TERIC N100 ในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันโดยใชสารอิมัลซิฟายชวย
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
ผลของการเติมสารอิ มัลซิฟายชวยชนิด Synthalen L ทําใหแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดใช
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ปริมาณ TERIC N100 ลดลงและแอสฟลทอิมัลชันมีความคงตัวสูงขึ้นคือไมมีการแยกชั้นน้ํา ผลการ
ทดลองดังแสดงในตารางที่ 6 โดยสูตรเริ่มตนอางอิงจากสูตร 3-3 และ 3-4 และเพิ่ม Synthalen L ไป
60

จากนั้นปรับเปลี่ยนปริมาณ TERIC N100 รวมกับ Synthalen L ในชวงตั้งแต 1 ถึง 35 กรัม โดย


ปริมาณ อื่น ๆ คงเดิม

ตารางที่ 6 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TERIC N100 เปนตัวอิมัลซิฟายและทําการเติม


Synthalen L ทําหนาที่เปนตัวชวยทําอิมัลชัน

วัตถุดิบ
ตัวอยา แอส น้ํา TERIC น้ํามัน Synthalen L ลักษณะทางกายภาพที่
งที่ ฟลท (มิลลิลิตร) N100 เตา (กรัม) สามารถสังเกตได
(กรัม) (กรัม) (กรัม)
4-1 40 40 30 55 0.15 อิมัลชันคงตัว เนียนเปน
เนื้อเดียวกัน ไมมีการ
แยกชัน้ น้ํา
4-2 40 40 20 55 0.15 อิมัลชันคงตัว เนียนเปน
เนื้อเดียวกัน
4-3 40 40 10 55 0.15 อิมัลชันคงตัว เนียนเปน
เนื้อเดียวกัน
4-4 40 40 5 55 0.15 อิมัลชันคงตัว เนียนเปน
เนื้อเดียวกัน
4-5 40 40 3 55 0.15 อิมัลชันไมคงตัว แยก
ชั้นน้ํา ไมสามารถผสม
กันไดที่อณุ หภูมิหอง

เมื่อเติม Synthalen L 0.15 กรัม ลงในสูตร 3-3 กลายเปนสูตร 4-1 พบวาไดอิมัลชันที่คงตัว


เอกสารนี้ดกว
าวน์ า ไม มีการแยกชั้นน้ําเหมือนสู
โหลดมาจากระบบ ตร 3-3 และยังไดอิมัลชันที่เนียนเปนเนื้อเดียวกันอีกดวยดังตัวอยาง
TUDC
โดย ผู้ใช้ททีั่ว่ ไป
4-1 และเมื่อทดลองเติม Synthalen L 0.15 กรัม ลงในสูตร 3-4 ไดอิมัลชันคงตัวเนียนเปนเนื้อ
ดาวน์โหลดเมื
เดี ย
่อน03/09/2562
วกั เช น เดี ย วกั น ดั ง
20:57:18
ตั วอยางที่ 4-2 เมื่อลดปริมาณ TERIC N100 ลงเปนชวง 10, 5 และ 3 กรัม
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ตามลําดับ ดังตัวอยางที่ 4-3, 4-4 และ4-5 พบวาเมื่อลดปริมาณ TERIC N100 ลงเหลือ 5 กรัม
อิมัลชันยังคงมีความคงตัว เนียนเปนเนื้อเดียวกัน แตเมื่อลดลงเหลือ 3 กรัม อิมัลชันไมคงตัว และ
เกิดการแยกชั้นน้ํา และไมสามารถกวนผสมเกิดเปนอิมัลชันไดที่อุณหภูมิหอง จะเห็นไดวาการเติม
61

Synthalen L ลงในสูตรชวยลดปริมาณของ TERIC N100 ลดลงจาก 30 กรัม ตามสูตรในตัวอยางที่


4-1 เปนชวง 5 กรัม ตามสูตรในตัวอยางที่ 4-4 และแอสฟลทอิมัลชันมีความคงตัวสูงดวย ดังนั้นการ
เตรียมแอสฟลทอิมัลชันจะเตรียมตามสูตรในตัวอยางที่ 4-4 เพราะใช TERIC N100 นอยที่สุดและ
อิมัลชันยังคงมีความคงตัวสูง

6. การเตรียมอิมัลชันของสารเติมแตงเพื่อผสมกับแอสฟลทอิมัลชัน

เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่ยังไมผสมกับสารเติมแตงจะมีการแหงตัวชามากจึงทําการ
ทดลองเติมสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพของอิมัลชันที่ไดโดยเติมสารเติมแตงในรูปของอิมัลชัน
ของสารเติมแตง การทดลองเตรียมอิมัลชันของสารเติมแตง อัตราสวนของสวนประกอบตาง ๆ ดัง
แสดงในตารางที่ 7 เพื่อหาสูตรที่สามารถผสมเปนอิมัลชันของสารเติมแตง

ตารางที่ 7 สูตรของอิมัลชันของสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพของ แอสฟลทอิมัลชัน

ตัวอยาง วัตถุดิบ ลักษณะทางกายภาพ


ที่ น้ํา CaCO3 BaSO4 ทัลก Bentone EW Natrosol ที่สังเกตได
(มิลลิลิตร) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม)
5-1 100 - - - - 3 เจลใสหนืดที่ 60OC
5-2 100 30 - - - - คลายน้ําแปงเมื่อตั้ง
ทิ้งไวตกตะกอน
แยกชัน้ อยางชัดเจน
5-3 100 10 - - - 2 เกิดเปนครีมสีขาว
5-4 150 10 10 10 7 1 หนืดไมสามารถกวน
ผสมได
5-5 150 20
เอกสารนี้ดาวน์ โหลดมาจากระบบ TUDC20 20 4 1 ครีมสีขาวขน
โดย ผู้ใช้ทั่ว5-6
ไป 150 30 30 30 4 1 ครีมสีขาวขน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ตัวอยางที่ 5-1 เมื่อผสมน้ํากับ Natrosol ซึ่งเปนสารที่ทําใหเกิดเจล ที่อุณหภูมิหองพบวาไม
เกิดเจล แตเมื่อเพิ่มอุณหภูมิไปที่ 60OC พบวาเกิดเปนเจลได สวนสารอื่นเชน แคลเซียมคารบอเนต
เมื่อผสมกับน้ําในตัวอยางที่ 5-2 พบวาไมมีการละลายของแคลเซียมคารบอเนต เมื่อหยุดการกวน
62

เกิดการตกตะกอนอยางชัดเจน ดังนั้นหากตองการใหแคลเซียมคารบอเนต กระจายตัว และมีความ


คงตัวจึงควรเติม Natrosol ลงไปเพื่อใหอนุภาคของแคลเซียมคารบอเนต กระจายอยูตามโครงสราง
ของเจลแตหากใสแคลเซียมคารบอเนตลงไป 30 กรัม และ Natrosol ลงไป 3 กรัม จะมีความหนืดขน
มากเกินไป จึงลดปริมาณแคลเซียมคารบอเนต และ Natrosol ลงเหลือ 10 และ 2 กรัม ตามลําดับ ดัง
ตัวอยางที่ 5-3 พบวาเกิดเปนครีมสีขาว จากนั้นจึงไดทดลองเติมแบไรต ทัลก และ Bentone EW
ลงไป แบไรตจะคลายกับแคลเซียมคารบอเนตแตเมื่อละลายน้ําจะขุน และทัลกมีขนาดอนุภาคเล็ก
ยากแกการละลายน้ํา แตเมื่อปนในเครื่องก็สามารถละลายไดทั้งหมด สวน Bentone EW นั้นมี
ลักษณะเปนผงอนุภาคละเอียดคลาย clay เมื่อเติมลงไปเพียงเล็กนอยก็จะกระจายตัวไดดี และละลาย
น้ําได ในขั้นตอนการเตรียมจึงนําน้ําผสมกับแคลเซียมคารบอเนต แบไรต และทัลก กอนแลวจึง
เติม Bentone EW และ Natrosol ที่อุณหภูมิ 60OC เพื่อใหเกิดเจลที่อุณหภูมินี้ Bentone EW นั้นทํา
ใหเกิดความหนืดสูงมากดังตัวอยางที่ 5-4 เมื่อลดปริมาณ Bentone EW ลงจาก 7 กรัมเหลือ 4 กรัม
ในขณะที่เพิ่มปริมาณแคลเซียมคารบอเนต แบไรต และทัลก จากอยางละ 10 กรัมเปนอยางละ
20 กรัม ปรากฏวาความหนืดลดลงอยางมากดังตัวอยางที่ 5-5 ไดเปนครีมขาวขน และเมื่อปริมาณ
Bentone EW ยังคงเดิมคือ 4 กรัม แตปริมาณแคลเซียมคารบอเนต แบไรต และทัลกเพิ่มขึ้นเปน
อยางละ 30 กรัม ความหนืดขนกวาสูตร 5-5 เล็กนอยและมีลักษณะเปนครีมขาวขน จากนั้นจึงทํา
การทดลองผสมอิมัลชันของสารเติมแตงสูตรตาง ๆ กับแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมตามสูตรที่ 4-4 ใน
ตารางที่ 6 ซึ่งไดผลดังแสดงในตารางที่ 8

ตารางที่ 8 ผลการผสมของอิมัลชันของสารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 5-1 ถึง 5-6 กับแอสฟลท


อิมัลชันตามสูตรที่ 4-4

ตัวอยาง อิมัลชันของ อัตราสวนโดยน้ําหนักของ ลักษณะทางกายภาพที่สังเกตได


ที่ สารเติมแตง แอสฟลทอิมัลชัน:
ตัวอยางที่ อิมัลชันของสารเติมแตง
เอกสารนี้ดาวน์ 6-1โหลดมาจากระบบ
5-1 TUDC 7:3 เหลวมากใหฟล มบางที่มีการยึดเกาะบน
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ผิวกระดาษดีกวาเมื่อเทียบกับแอสฟลท
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 อิมัลชันที่ยังไมไดเติมสารเติมแตง
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
63

ตารางที่ 8 (ตอ)

ตัวอยาง อิมัลชันของ อัตราสวนโดยน้ําหนักของ ลักษณะทางกายภาพที่สังเกตได


ที่ สารเติมแตง แอสฟลทอิมัลชัน:
ตัวอยางที่ อิมัลชันของสารเติมแตง
6-2 5-2 7:3 ฟลมของอิมัลชันบางมีการยึดเกาะดี
เชนเดียวกับ 6-1 แตดานขึ้น
6-3 5-3 7:3 ใหผลคลายตัวอยางที่ 6-2
6-4 5-5 7:3 ฟลมแหงงายขึน้ มากกวา 6-1, 6-2 และ
6-3 แตดานขึ้นมากกวา
6-5 5-6 7:3 ฟลมแหงงายขึน้ มากกวาตัวอยางที่ 6-4
แตดานขึน้ มากกวา
6-6 5-6 8:2 คลายตัวอยางที่ 6-5 แตหนืดและดาน
นอยกวา

ผลของการผสมแอสฟลทอิมัลชันจากสูตรตามตัวอยางที่ 4-4 กับอิมัลชันของสารเติมแตง


ตัวอยางที่ 5-1 อัตราสวน 7:3 ลักษณะทางกายภาพที่สังเกตไดคือ เนื้อของอิมัลชันผสมเหลวขึ้น
และเมื่อทาบนผิวกระดาษใหฟลมบางที่การยึดเกาะดีขึ้น เมื่อเทียบกับแอสฟลทอิมัลชันที่ยังไมได
เติมสารเติมแตง เมื่อผสมกับอิมัลชันของสารเติมแตงตัวอยางที่ 5-2 ดวยอัตราสวน 7:3 เนื้อของ
อิมัลชันผสมเหลวขึ้นและเมื่อทาบนผิวกระดาษใหฟลมบางแตดานขึ้น ผลของการผสมกับอิมัลชัน
ของสารเติมแตงตัวอยางที่ 5-3 ดวยอัตราสวน 7:3ใหผลคลายกับเมื่อผสมกับสารเติมแตงตัวอยางที่
5-2 ผลของการผสมกับอิมัลชันของสารเติมแตงตัวอยางที่ 5-5 อัตราสวน 7:3 พบวาเมื่อทาอิมัลชัน
ผสมบนผิวกระดาษ ฟลมแหงงายขึ้นมาก เทียบกับแอสฟลทอิมัลชัน แตดานขึ้น ทํานองเดียวกันกับ
เมื่อผสมกับอิมัลชันของสารเติมแตงตัวอยางที่ 5-6 ดวยอัตราสวน 7:3 อิมัลชันใหฟลมแหงงายขึ้น
เอกสารนี้ดมากเมื
าวน์โหลดมาจากระบบ
่อทาบนผิวกระดาษ เมืTUDC
่อเทียบกับแอสฟลทอิมัลชันและตัวอยางที่ 6-4 แตดานดังนั้นเพื่อลด
โดย ผู้ใช้ทความด
ั่วไป าน จึงทดลองปรับอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตออิมัลชันของสารเติมแตง จากอัตราสวน
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 7:3 เป03/10/2562
น 8:2 โดยลดปริ23:59:59
มาณสารเติมแตง แตเพิ่มปริมาณของแอสฟลทอิมัลชัน ซึ่งอิมัลชันผสมที่ได
คลายที่อัตราสวน 7:3 แตดานนอยกวา
64

7. การทดลองใชตัวทําละลายรวมในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน

เนื่องจากการใชน้ํามันเตาเปนตัวทําละลาย ฟลมของอิมัลชันมีลักษณะคอนขางเหนอะหนะ
แหงยากอาจเนื่องมาจากการที่น้ํามันเตาระเหยยาก จึงทําการทดลองลดปริมาณน้ํามันเตา และใชตัว
ทําละลายรวมที่ระเหยงายกวา ผลการทดลองเปลี่ยนปริมาณ และชนิดของตัวทําละลายรวมซึ่งไดแก
น้ํามันเบนซินและ น้ํามันสน ตอการแหงของแอสฟลทอิมัลชันแสดงดังตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ผลของปริมาณของน้ํามันเบนซินและน้ํามันสนที่ใชเปนตัวละลายรวมกับน้ํามันเตาแทน
น้ํามันเตาในการเตรียมแอสฟลทอิมัลชันตามสูตรตัวอยางที่ 4-4

ตัวอยาง ตัวทําละลาย (กรัม) ลักษณะทางกายภาพที่สังกตได


ที่ น้ํามันเตา น้ํามันเบนซิน น้ํามันสน
7-1 30 15 - ความหนืดลดลงเมื่อเทียบกับตัวอยางที่ 4-4
แต เ นื้ อ ฟ ล ม เมื่ อ ทาบนกระดาษยั ง คง
เหนอะหนะอยูถึงแมจะแหงไวขึ้น
7-2 20 20 - ฟ ล ม เหนอะหนะน อ ยกว า ตั ว อย า งที่ 7-1
และความหนืดใกลเคียงกัน
7-3 20 - 20 ความหนืดใกลเคียงกับตัวอยางที่ 7-1 และ
7-2 แตเนื้อเนียนกวา 7-2
7-4 20 15 - หนืดกวา ตัวอยางที่ 7-2 ไมเนียน และฟลม
เหนอะหนะเชนเดียวกัน
7-5 20 - 15 คลายตัวอยางที่ 7-3 หนืดมากกวา และเนื้อ
อิมัลชันเนียนเชนเดียวกับตัวอยางที่ 7-3

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
เมื่อทดลองใชน้ํามันเบนซิ นเปนตัวทําละลายรวมกับน้ํามันเตาตามตัวอยางที่ 7-1 ซึ่งปริมาณ
โดย ผู้ใช้ทรวมของตั
ั่วไป วทําละลาย (45 กรัม) นอยกวาปริมาณน้ํามันเตาที่ใชเปนตัวทําละลายเดี่ยวในตัวอยางที่
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 4-4 (55 กรัม) พบวาความหนื
03/10/2562 23:59:59 ดของอิมัลชันลดลงเมื่อเทียบกับตัวอยางที่ 4-4 ฟลมของอิมัลชันเมื่อ
ทาบนกระดาษถึงแมจะแหงไวขึ้นแตยังคงเหนอะหนะอยู จึงทําการลดปริมาณน้ํามันเตาจาก 30 เปน
20 กรัม และเพิ่มปริมาณน้ํามันเบนซินจาก 15 เปน 20 กรัมตามตัวอยางที่ 7-2 ไดอิมัลชันที่มีฟลม
เหนอะหนะนอยกวาตัวอยางที่ 7-1 และเมื่อเปลี่ยนตัวทําละลายรวมจากน้ํามันเบนซิน (20 กรัม) เปน
65

น้ํามันสน (20 กรัม) ตามตัวอยางที่ 7-3 พบวาอิมัลชันที่ไดมีความหนืดใกลเคียงกับตัวอยางที่ 7-2 แต


เขากันไดดีเปนเนื้อเดียวกันมากกวา สําหรับตัวอยางที่ 7-4 และ 7-5 เปนการทดลองลดปริมาณตัว
ทําละลายรวมลงเหลือ 15 กรัม ผลการทดลองตามตัวอยางที่ 7-4 พบวา แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมได
ใหคุณสมบัติคลายแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากตัวอยางที่ 7-2 แตหนืดกวา และไมเนียน สําหรับ
แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมตามสูตรของตัวอยางที่ 7-5 คือใชน้ํามันเตา 20 กรัม และน้ํามันสน 15
กรัม ใหผลที่คลายคลึงกับตัวอยางที่ 7-3 คือใชน้ํามันเตา และน้ํามันสนอยางละ 20 กรัม และเนื้อ
เนียนเหมือนกัน แตหนืดมากกวาเล็กนอย จะเห็นไดวาน้ํามันสนเปนตัวทําละลายรวมกับน้ํามันเตา
ไดดีกวาน้ํามันเบนซินเพราะใหอิมัลชันที่มีเนื้อเนียนกวา และการใชตัวทําละลายรวมยังชวยลด
ปริมาณของตัวทําละลายน้ํามันเตาที่ใชไดอีกดวย ดังนั้นสูตรตัวทําละลายที่ใหผลเปนที่นาพอใจ
ที่สุดคือสูตร 7-5

8. การศึกษาหาสูตรที่เหมาะสมของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออ
นิก

สารลดแรงตึ ง ผิ ว ชนิ ด นอนไอออนิ ก ที่ ถู ก เลื อ กมาทดลองเตรี ย มแอสฟ ล ท อิ มั ล ชั น


นอกเหนือจาก TERIC N 100 คือ Brij®96V, TWEEN 80 และTWEEN 85 ซึ่งไดผลการทดลองดัง
แสดงตารางที่ 10

ตารางที่ 10 ผลการทดลองเตรียมแอสฟลทอิมัลชันที่ประกอบไปดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40


กรัม Synthalen L 0.15 กรัม น้ํามันเตา 20 กรัม น้ํามันสน 15 กรัม โดยใชBrij®96V,
TWEEN 80 และTWEEN 85 เปนสารลดแรงตึงผิว (นอนไอออนิก)

ตัวอยาง สารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก ลักษณะทางกายภาพที่สังเกตได


ที่ ชื่อทางการคา ปริมาณ (กรัม)
เอกสารนี้ดาวน์
8-1โหลดมาจากระบบ
TWEEN 80 TUDC 5 เกิดอิมัลชันแตไมเนียนเทาที่เตรียมจาก
โดย ผู้ใช้ทั่วไป TERIC N100
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ8-203/10/2562
TWEEN 8523:59:59 5 ความหนืดสูงมากจนแทบไมสามารถปนผสม
ได และเมื่อเย็นตัวมีลักษณะหนืดสูงใกลเคียง
จาระบี
66

ตารางที่ 10 (ตอ)

ตัวอยาง สารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก ลักษณะทางกายภาพที่สังเกตได


ที่ ชื่อทางการคา ปริมาณ (กรัม)
8-3 TWEEN 80 2.5 เกิ ด อิ มั ล ชั น ที่ ไ ม มี ค วามคงตั ว ไม ส ามารถ
กวนผสมใหเขากันได
8-4 TWEEN 85 2.5 อิมัลชันความหนืดสูงเนื้ออิมัลชันมองดวยตา
เปลาเนียนแตเมื่อทาบนผิวกระดาษเนื้อฟลม
ไมตอเนื่องกัน เมื่อตั้งทิ้งไวไมคงตัว
8-5 Brij®96V 2.5 อิ มั ล ชั น เมื่ อ ตั้ ง ทิ้ ง ไว แ ยกชั้ น เล็ ก น อ ยแต
สามารถกวนผสมให เ ข า กั น ได แต เ นื้ อ
อิมัลชันเมื่อทาบนกระดาษไดฟลมที่ไมคอย
เนียน

จากผลการทดลองในตารางที่ 10 พบวาการใช TWEEN 80 เปนสารลดแรงตึงผิวที่ปริมาณ


2.5 กรัม ตามสูตรที่ 8-3 แอสฟลทอิมัลชันที่ไดไมคงตัวเมื่อทําการกวนผสมภายหลังการตั้งทิ้งไว ไม
สามารถกลับมาผสมกันใหมไดเมื่อเพิ่มปริมาณเปน 5 กรัม มีผลทําใหเกิดอิมัลชัน แตฟลมมีความ
เนียนนอยกวา TERIC N100 สําหรับการทดลองเตรียมแอสฟลทอิมัลชันที่ใช TWEEN 85 เปนสาร
ลดแรงตึงผิวพบวาปริมาณของ TWEEN 85 มีผลตอความหนืดของแอสฟลทอิมัลชันมากดังเห็นได
จากปริมาณของ TWEEN 85 ในตัวอยางที่ 8-2 เปน 2 เทาของตัวอยางที่ 8-4 แต ผลของตัวอยางที่
8-2 กลับใหอิมัลชันที่มีความหนืดมากจนเกินไป สําหรับตัวอยางที่ 8-4 ไดอิมัลชันที่มีความหนืด
สูงเนื้ออิมัลชันมองดวยตาเปลาเนียนแตเมื่อทาบนผิวกระดาษเนื้อฟลมไมตอเนื่องกัน เมื่อตั้งทิ้งไว
ไมคงตัว ตัวอยางที่ 8-5 เปนการทดลองใช Brij®96V ปริมาณ 2.5 กรัมเปนสารลดแรงตึงผิวพบวา
อิมัลชันเมื่อตั้งทิ้งไวแยกชั้นเล็กนอยแตสามารถกวนผสมใหเขากันได แตเนื้ออิมัลชันเมื่อทาบนกระ
เอกสารนี้ดดาษได ฟลมที่ไมคอยเนียน ดังนั้นสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก การใช TERIC N 100 จึงได
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทคุั่วณไปสมบัติที่ดีที่สุด
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
67

9. การศึกษาหาสูตรที่เหมาะสมของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุ

แอสฟลทอิมัลชันชนิดแอนไอออนิก และแคทไอออนิกเตรียมจากวิธีการเดียวกับทีเ่ ตรียมโดย


ใช นอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 คือมีอัตราสวนดังนี้ แอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม Synthalen L
0.15 กรัม น้ํามันเตา 20 กรัม น้ํามันสน 15 กรัม และทําการเติมสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุตาง ๆ ที่
ปริมาณตาง ๆ แทนการใชสาร TERIC N 100 ซึ่งไดผลการทดลองดังแสดงใน ตารางที่ 11

ตารางที่ 11 ผลของปริมาณ และสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุตาง ๆ ตอการเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน


ที่ประกอบไปดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม Synthalen L 0.15 กรัม น้ํามันเตา 20
กรัม น้ํามันสน 15 กรัม

ตัวอยาง สารลดแรงตึงผิว ลักษณะทางกายภาพที่


ที่ ชื่อทางการคา ชนิด ปริมาณ (กรัม) สังเกตได
9-1 Nansa. HS 80/SPF แอนไอออนิก 5 ไมเกิดเปนอิมลั ชัน
9-2 Nansa. LSS 480/B แอนไอออนิก 5 ไมเกิดเปนอิมลั ชัน
9-3 CTAB แคทไอออนิก 5 ไมเกิดเปนอิมลั ชัน
9-4 Nansa. HS 80/SPF แอนไอออนิก 8 เกิ ด อิ มั ล ชั น แต มี ฟ อง ความ
หนื ด ต่ํ า เมื่ อ ตั้ ง ทิ้ ง ไว จ ะแยก
ชั้นแตสามารถกวนผสมใหเขา
เปนเนื้อเดียวกันใหมได
9-5 Nansa. LSS 480/B แอนไอออนิก 8 เกิ ด อิ มั ล ชั น แต มี ฟ องเยอะ
มากกวาตัวอยางที่ 9-4 ความ
หนื ด ต่ํ า เมื่ อ ตั้ ง ทิ้ ง ไว จ ะแยก
ชั้นแตสามารถกวนผสมใหเขา
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC เปนเนื้อเดียวกันใหมได
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื9-6่อ 03/09/2562
CTAB แคทไอออนิก
20:57:18 8 เกิดอิมัลชันเนื้อเนียนแตมีฟอง
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59 เล็กนอย ความหนืดต่ํา เมื่อตั้ง
ทิ้ ง ไว จ ะแยกชั้ น เล็ ก น อ ย แต
สามารถกวนผสมให เ ข า เป น
เนื้อเดียวกันใหมได
68

จากผลการทดลองในตารางที่ 11 พบวา ที่ความเขมขนประมาณ 3.5 เปอรเซ็นต (5 กรัม) ของ


สารลดแรงตึงผิวทั้ง Nansa. HS 80/SPF, Nansa. LSS 480/B และ CTAB ตามตัวอยางที่ 9-1, 9-2 และ
9-3 ตามลําดับพบวาสารลดแรงตึงผิวทั้ง 3 ชนิด ไมสามารถทําใหเกิดอิมัลชันได แตเมื่อทําการเพิ่ม
ความเขมขนของสารลดแรงตึงผิวจาก 3.5 เปน 6.5 เปอรเซ็นต (8 กรัม) Nansa. HS 80/SPF ตามสูตรใน
ตัวอยางที่ 9-4 ทําใหเกิดแอสฟลทอิมัลชันที่มีฟอง ความหนืดต่ําเมื่อเทียบกับแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียม
จาก TERIC N100 ตามสูตรตัวอยางที่ 4-4-เมื่อตั้งทิ้งไวจะแยกชั้นแตสามารถกวนผสมใหเขาเปนเนื้อ
เดียวกันใหมได ในขณะที่ Nansa. LSS 480/B ตามสูตรตัวอยางที่ 9-5 พบวา เกิดอิมัลชันแตมีฟองเยอะ
มากกวาตัวอยางที่ 9-4 ความหนืดต่ํา เมื่อตั้งทิ้งไวจะแยกชั้นแตสามารถกวนผสมใหเขาเปนเนือ้ เดียวกัน
ใหมได สําหรับ CTAB ตามตัวอยางที่ 9-6 ทําใหเกิดอิมัลชันเนื้อเนียน ความหนืดต่ํา มีฟองและเมื่อตั้ง
ทิ้งไวจะแยกชั้นนอยกวาแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไออนิกทั้ง 2 ตัว ที่
ปริมาณเดียวกันซึ่งสามารถกวนผสมใหเขาเปนเนื้อเดียวกันใหมไดเชนกัน

10. การทดลองเติมอิมัลชันของสารเติมแตงลงในแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิว
ชนิดนอนไออนิก แอนไอออนิก และ แคทไออนิก

ผลการทดลองเติมอิมัลชันของสารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 5-6 ลงในแอสฟลทอิมัลชัน


ที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก แอนไอออนิก และแคทไอออนิก โดยเลือกจาก
สูตรที่ใหผลดีที่สุด แสดงดัง ตารางที่ 12

ตารางที่ 12 ผลการทดลองเติมอิมัลชันของสารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 5-6 ลงในแอสฟลท


อิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก แอนไอออนิก และแคทไอ
ออนิกดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชัน:อิมัลชันของสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก

ตัวอยาง แอสฟลทอิมัลชัน ลักษณะทางกายภาพที่สังกตได


ที่ สารลดแรงตึงผิว ตัวอยางที่
เอกสารนี้ดาวน์ 10-1โหลดมาจากระบบ
TERIC N100 TUDC 7-5 เนื้อเนียนสวย คงตัว
โดย ผู้ใช้ทั่ว10-2
ไป Brij®96V
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 8-5 ไมสามารถเขาเปนเนื้อเดียวกันได
และหมดอายุ10-303/10/2562
TWEEN 8023:59:59 8-1 ไมสามารถเขาเปนเนื้อเดียวกันได
10-4 TWEEN 85 8-4 ไมสามารถเขาเปนเนื้อเดียวกันได
10-5 Nansa. HS 80/SPF 9-4 เขากันไดแตเนื่องจากแอสฟลตอิมัลชันที่เตรียมไดมี
ฟองมากเมื่อผสมสารเติมแตงก็ยังคงมีฟองอยู
69

ตารางที่ 12 (ตอ)

ตัวอยาง แอสฟลทอิมัลชัน ลักษณะทางกายภาพที่สังกตได


ที่ สารลดแรงตึงผิว ตัวอยางที่
10-6 Nansa. LSS 480/B 9-5 เขากันไดแตเนื้อไมเนียนมองเห็นเปนอนุภาคสีขาว
ในฟลม
10-7 CTAB 9-6 เขากันไดมีลักษณะของเนื้ออิมัลชันที่ดาน

จากผลการทดลองในตารางที่ 12 พบวาแอสฟลทอิมัลชันที่ใช สารลดแรงตึงผิวชนิดนอน


ไอออนิกที่ใหผลดีที่สุดคือ TERIC N100 จากสารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิกคือ Nansa. HS
80/SPF และจากสารสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกคือ CTAB และนําแอสฟลทอิมัลชันที่
เติมสารเติมแตงทั้ง 3 สูตรคือ ตามตัวอยาง 10-1, 10-5 และ 10-7 ไปทดสอบสมบัติการแหงที่ผิว
ความทนความรอน ความทนน้ํา และทนตอแสงอัลตราไวโอเลตเพื่อพิจาณาคุณสมบัติ และทําการ
เปรียบเทียบหาสูตรที่ดีที่สุด

11. การทดสอบสมบัติการแหงที่ผิว ความทนความรอน ความทนน้ํา ทนตอแสงอัลตราไวโอเลต


ของแอสฟลตอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง และการนําไปใชจริงกับกระเบื้อง

ผลการทดสอบการแหงที่ผวิ ความทนความรอน ความทนน้ําของแอสฟลทอิมัลชันที่เติม


สารเติมแตงตัวอยางที่ 10-1, 10-5 และ 10-7 แสดงในตารางที่ 13

ตารางที่ 13 การทดสอบสมบัติการแหงที่ผวิ ความทนความรอน ความทนน้ํา ของแอสฟลตอิมัลชันที่


เติมสารเติมแตง

เอกสารนี้ดาวน์ตัวโอยหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป างที่ ผลการทดสอบ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562การแห 20:57:18
งที่ผวิ ความทนความรอน ความทนน้ํา
และหมดอายุ 03/10/2562
10-1 แหง23:59:59
ไมตดิ มือ ฟลมเงา ไมเกิดการเยิ้ม ไมมีรอยแตก ทนน้ําได
(TERIC N100)
70

ตารางที่ 13 (ตอ)

ตัวอยางที่ ผลการทดสอบ
การแหงที่ผวิ ความทนความรอน ความทนน้ํา
10-5 แหงไมตดิ มือ แตมี ไมเกิดการเยิ้ม ไมมีรอยแตก ละลายน้ําบางสวน
(Nansa. HS หลุมฟองอากาศเล็ก ๆ แตฟลมมีลักษณะของการเกิด
80/SPF) ฟองเปนจุดกระจายอยู
10-7 แหงไมตดิ มือ ฟลม เกิดรอยแตก 1 ตําแหนงเปน ละลายน้ําบางสวน ซึ่ง
(CTAB) ดาน รอยเห็นชัด ฟลมดานขึ้น มีมากกวาตัวอยางที่
10-5
สารเคลือบ แหงไมตดิ มือ ฟลมมี เกิดการดานทีผ่ ิวหนาเปนบาง ทนน้ําได
หลังคาที่มีใน การจับตัวทีด่ ี ฟลมไม ตําแหนงกระจายทั่วไป
ทองตลาด ดานแตเปนเงานอยกวา
ตัวอยางที่ 10-1

คุณสมบัติการแหงที่ผิวของแอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง ทั้งที่เตรียมจาก TERIC


N100 ตามสูตรตัวอยางที่ 10-1 Nansa. HS 80/SPF ตามสูตรตัวอยางที่ 10-5 และ CTAB ตามสูตร
ตัวอยางที่ 10-7 โดยเตรียมแผนเหล็กปราศจากสนิมขนาดกวางยาวดานละ 150 มิลลิเมตร หนา 0.6
มิลลิเมตร วางแผนทองเหลืองลงบนแผนเหล็กในแนวระดับ ใสตัวอยางลงในชองวางของแผน
ทองเหลืองใหลนขอบบนของแผนทองเหลืองเล็กนอย ใชแผนโลหะสันตรงปาดสวนที่ลน ยกแผน
ทองเหลืองออกทันที วางไวในแนวระดับที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 24 ชั่วโมง แลวจึงตรวจการแหง
พบวาแอสฟลทอิมัลชันแหงไมติดมือ แตฟลมของทั้ง 3 ชนิดยังจับกันเองไมดีเทา สารเคลือบหลังคา
ที่มีทองตลาด โดยฟลมจากสูตรตัวอยางที่ 10-1 มีลักษณะเงาที่สุด ฟลมจากสูตรตัวอยางที่ 10-5
ถึงแมวาฟลมจะแหงไมติดมือ แตมีหลุมเล็ก ๆ เนื่องจากฟองอากาศในอิมัลชัน สวนฟลมจากสูตร
เอกสารนี้ดตัาวน์วอยางที่ 10-7 ฟลมมีลักษณะดาน ผลการทดสอบความทนความรอน โดยทําการเตรียมแผ น
โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ททดสอบเหมื
ั่วไป อนกับการทดสอบการแหงที่ผิวแตทําเครื่องหมายรอบฟลมไว วางแผนทดสอบไวใน
ดาวน์โหลดเมื ่อ 03/09/2562
แนวระดั บ (แนวราบ) ที20:57:18
่ 27± 2 องศาเซลเซี ย ส นาน 48 ชั่ ว โมง อบในตู ที่ อุ ณ หภู มิ 100 องศา
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
เซลเซียส โดยวางแผนทดสอบในแนวดิ่ง นาน 2 ชั่วโมง แลวตรวจดูฟลมของแอสฟลทอิมัลชันสูตร
ตัวอยางที่ 10-1 พบวาไมเกิดการเยิ้ม สังเกตไดจากไมมีการไหลของอิมัลชันออกนอกแนวเสนที่ได
ทําสัญลักษณไว ไมมีรอยแตก หรือดานดังภาพที่ 14 (ก) สูตรตัวอยางที่ 10-5 ไมเกิดการเยิ้ม ไมมี
71

รอยแตก แตฟลมมีลักษณะของการเกิดฟองเปนจุดกระจายอยูภาพที่ 14 (ข) สูตรตัวอยางที่ 10-7 เกิด


รอยแตก 1 ตําแหนงเปนรอยเห็นชัด ฟลมดานขึ้นภาพที่ 14 (ค) สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด
เกิดการดานที่ผิวหนาเปนบางตําแหนงกระจายทั่วไปดังภาพที่ 14 (ง)

(ก) (ข)

(ค) (ง)
ภาพที่ 14 ผลการทดสอบความทนความรอนของแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงอัตราสวน 8:2
โดยน้ําหนัก
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว (นอนไอ
ออนิก)
(ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa. HS 80/SPF เปนสารลดแรงตึงผิว
(แอนไอออนิก)
(ค) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคทไอออนิก)
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
สารเคลือบกันซึTUDC
มที่มีในทองตลาด
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59 ําโดยเตรียมแผนทดสอบเหมือนการทดสอบการแหงที่ผิว อบที่
ผลการทดสอบความทนน้
อุณหภูมิ 60± 3 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชั่วโมง โดยวางในแนวระดับ แลวแชแผนทดสอบใน
น้ําซึ่งอยูในภาชนะแกว ที่อุณหภูมิ 27± 2 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง ของอิมัลชันชนิดนอนไอ
72

ออนิกที่ใช TERIC N100 (สูตรตัวอยางที่ 10-1) สามารถทนน้ําไดไมมีการละลายของแอสฟลท


อิมัลชันในน้ํา ฟลมไมหลุดลอน ฟลมหลังทดสอบมีลักษณะดังภาพที่ 15 (ก) อิมัลชันชนิดแอนไอ-
ออนิกที่ใช Nansa. HS 80/SPF (สูตรตัวอยางที่ 10-5) เกิดการละลายน้ําบางสวนฟลมหลังทดสอบมี
ลักษณะดังภาพที่ 15 (ข) ขณะที่อิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่ใช CTAB (สูตรตัวอยางที่ 10-7)
ละลายน้ําออกมามากกวาของตัวอยางที่ 10-5 ฟลมหลังทดสอบมีลักษณะดังภาพที่ 15 (ค) สาร
เคลือบหลังคาที่มีในทองตลาดทนน้ําไดดีฟลมหลังทดสอบมีลักษณะดังภาพที่ 15 (ง)

(ก) (ข)

(ค) (ง)
ภาพที่ 15 ผลการทดสอบความทนน้ําของแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงอัตราสวน 8:2 โดย
น้ําหนัก
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว (นอนไอ
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
ออนิก) TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป (ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa. HS 80/SPF เปนสารลดแรงตึงผิว
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562
(แอนไอออนิ23:59:59
ก)
(ค) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคทไอออนิก)
(ง) สารเคลือบกันซึมที่มีในทองตลาด
73

สําหรับลักษณะของฟลมอิมัลชันที่ทาบนแผนทดสอบการทนรอน การทนน้ํา และทนตอ


แสงอั ล ตราไวโอเลต ดั ง แสดงในภาพที่ 14, 15 และ16 ที่ มี ลั ก ษณะคล า ยการเยิ้ ม ของอิ มั ล ชั น
เนื่องจากแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมไดมีความหนืดที่ต่ํากวาสารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด ซึ่ง
ขณะเตรียมแผนทดสอบโดยการวางแผนทองเหลืองประกบกับแผนทดสอบจะมีชองวางที่เกิดจาก
การประกบกันไมสนิท และอิมัลชันจึงไหลออกมาตามชองดังกลาว

ผลการทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตของแอสฟลตอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง
ตัวอยางที่ 10-1, 10-5 และ 10-7 แสดงในตารางที่ 14

ตารางที่ 14 การทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตของแอสฟลตอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงที่
ปริมาณแสงตอพื้นที่ 537 กิโลจูล/ตารางเมตร

ตัวอยางที่ ผลการทดสอบ
10-1 (TERIC N100) ฟลมดานขึ้นเล็กนอย แตยังคงเงา และไมมีรอยแตกราว
10-5 (Nansa. HS 80/SPF) ฟลมมีลักษณะกรอบขึ้นสังเกตไดจากบริเวณที่เคยเปน
ฟองอากาศ มีการหลุดของฟลม
10-7 (CTAB) ฟลมดานขึ้นแตไมมีรอยแตกราว
สารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด ฟลมดานขึ้นอยางเห็นไดชดั แตไมมีรอยแตกราว

คุณสมบัติการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตทดสอบในตูกําเนิดแสงอัลตราไวเลตขนาดกวาง
16 เซนติเมตร ยาว 144.5 เซนติเมตร สูง 22 เซนติเมตร ซึ่งมีความเขมแสงอยูระหวางชวง 64-354
ลักซ โดยแตละตําแหนงที่วางแผนทดสอบรูคาความเขมแสงที่แนนอน โดยเปรียบเทียบตัวอยางที่
ปริมาณแสงเดียวกัน ปริมาณแสงคํานวณไดจากความเขมแสงคูณกับระยะเวลาทดสอบการทดสอบ
เอกสารนี้ดทําวน์าไดโโหลดมาจากระบบ TUDCนเหล็กขนาด 5 เซนติเมตร × 5 เซนติเมตรควบคุมความหนา
ดยนําสารตัวอยางทาบนแผ
โดย ผู้ใช้ทประมาณ
ั่วไป 1.2 มิลลิเมตร แลวนําไปไวในตูแสงอัลตราไวโอเลตที่ทราบคาความเขมแสงที่แนนอน
ดาวน์โหลดเมื ่อ 03/09/2562
ผลการทดสอบตั วอยางที20:57:18
่ปริมาณแสงตอพื้นที่ 537 กิโลจูล/ตารางเมตร ของแอสฟลทอิมัลชันที่เติม
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
สารเติมแตงที่เตรียมจาก TERIC N100 ตามสูตรตัวอยางที่ 10-1 พบวาฟลมมีลักษณะดานขึ้น
เล็กนอย แตยังคงเงา ไมกรอบ และไมมีมีรอยแตกราวโดยฟลมหลังทดสอบมีลักษณะดังภาพที่ 16 ก
อิมัลชันชนิดแอนไอออนิกที่ใช Nansa. HS 80/SPF ตามสูตรตัวอยางที่ 10-5 พบวา ฟลมมีลักษณะ
74

กรอบขึ้นสังเกตไดจากบริเวณเคยเปนฟองอากาศ มีการหลุดของฟลม หลังการทดสอบมีลักษณะดัง


ภาพที่ 16 ข ขณะที่อิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่ใช CTAB ตามสูตรตัวอยางที่ 10-7 พบวาฟลมดาน
ขึ้นแตไมมีรอยแตกราวดังภาพที่ 16 ค สวนสารเคลือบหลังคาที่มีในทองตลาด พบวาลักษณะฟลม
ดานขึ้นอยางเห็นไดชัด แตไมมีรอยแตกราว ดังแสดงในภาพที่ 16 ง

(ก) (ข) (ค) (ง)

ภาพที่ 16 ผลการทดสอบการทนตอแสงอัลตราไวโอเลตที่ปริมาณแสง 537 กิโลจูล/ตารางเมตร


(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช TERIC N100 เปนสารลดแรงตึงผิว (นอนไอ
ออนิก)
(ข) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช Nansa. HS 80/SPF เปนสารลดแรงตึงผิว
(แอนไอออนิก)
(ค) แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงใช CTAB เปนสารลดแรงตึงผิว (แคทไอออนิก)
(ง) สารเคลือบกันซึมที่มีในทองตลาด

เมื่อทําการเปรียบเทียบผลการทดสอบการแหงที่ผิว ความทนความรอน ความทนน้ําและ


การทนตอแสงอัลตราไวโอเลตที่ปริมาณแสงตอพื้นที่ 537 กิโลจูล/ตารางเมตรของแอสฟลทอิมัลชัน
ที่เติมสารเติมแตงทั้งที่เตรียมจาก TERIC N100 ตามสูตรตัวอยางที่ 10-1 Nansa. HS 80/SPF ตาม
สูตรตัวอยางที่ 10-5 และCTAB ตามสูตรตัวอยางที่ 10-7 แอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงตัวที่
เอกสารนี้ดเตรี
าวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไปยมจาก TERIC N100 ที่อัตราสวนสารเติมแตง 8:2 ใหผลดีที่สุด
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
75

12. แอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก ชนิด TERIC N 100

12.1. ที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเทากับ 8:2 โดยน้ําหนัก

12.1.1. การทดสอบการนําไปใชจริงกับหลังคากระเบื้อง

แอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N
100 ที่เติมสารเติมแตงอัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก ถูกนํามาทดสอบการนําไปใชจริงโดยการสราง
รอยรั่วจําลองบนกระเบื้องขนาดเสนผานศูนยกลาง 17/64 นิ้ว โดยทาแอสฟลทอิมัลชันกอนชั้นแรก
บนรูรั่ว จากนั้นวางผาดิบขนาด 3 เซนติเมตร × 3 เซนติเมตร แลวทาทับอีกชั้นทิ้งไว 24 ชั่วโมง ได
ลักษณะฟลมที่ซอมรอยรั่วดังแสดงในภาพที่ 17

(ก) (ข)
ภาพที่ 17 ฟลมซอมแซมรอยรั่วบนกระเบื้องโดยใชแอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตง
(ก) แอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 ที่เติม
สารเติมแตงอัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก
(ข) สารเคลือบกันซึมที่มีในทองตลาด

12.1.2 การวิเคราะหความหนืดตาม ASTM D2196


เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป แอสฟลทอิมัลชัน ถูกนํามาวิเคราะหความหนืดตาม ASTM D2196 โดยสง
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ ตัวอย03/10/2562
างไปวิเคราะหที่ก23:59:59
รมวิทยาศาสตรบริการโดยใชเครื่อง “Brookfield” ไดผลดังแสดงในตารางที่
15
76

ตารางที่ 15 ความหนืดตาม ASTM D2196 (rheological properties of non-newtonian materials by


rotational (Brookfield) viscometer) ของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิด
นอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 ที่เติมสารเติมแตงอัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก
เปรียบเทียบกับสารเคลือบกันซึมที่มีขายในทองตลาด

ตัวอยาง ความหนืดตาม ASTM D2196 ที่อัตราสวน


แอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงโดยน้ําหนัก (cPs)
ไมเติม 8:2
แอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิว 17,700-17,750 2,165-2,193
ชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100
สารเคลือบหลังคาในทองตลาด 18,780-18,840

จากผลการทดสอบวิเคราะหความหนืดของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรง
ตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 พบวา คาความหนืดอยูในชวง 17,700-17,750 cPs สาร
เคลือบหลังคาในทองตลาดมีคาความหนืดอยูในชวง 18,780-18,840 cPs ซึ่งคาความหนืดของแอส
ฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 ที่ยังไมเติมสารเติมแตงมี
คาใกลเคียงกับสารเคลือบกันซึมในทองตลาด เมื่อเติมสารเติมแตง 8:2 โดยน้ําหนัก ลงในแอสฟลท
อิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 พบวาคาความหนืดลดลงมาก
จากชวง 17,700-17,750 cPs เหลือ 2,165-2,193 cPs ซึ่งการที่ความหนืดลดลงมากนี้ เปนผลมาจาก
ในอิมัลชันของสารเติมแตงมีสวนประกอบของน้ําอยูดวย จึงทําใหความหนืดลดลงอยางมาก และทํา
ใหเกิดการเยิ้มของฟลมเมื่อทาบนแผนทดสอบ

12.1.3 การปรับปรุงคุณภาพของแอสฟลทอิมัลชันเพื่อลดการเยิ้มของฟลม

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC มอิมัลชันของสารเติมแตงลงในแอสฟลทอิมัลชันทําใหความ


เนื่องจากการเติ
โดย ผู้ใช้ทหนื
ั่วไปดลดลงอยางมาก และทําใหฟลมอิมัลชันที่ทาบนแผนทดสอบการทนรอน การทนน้ํา และทนตอ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ แสงอั03/10/2562
ลตราไวโอเลตเกิ23:59:59
ดการเยิ้มของอิมัลชันจึงไดทําการทดลองปรับปรุงสูตรของสารเติมแตงดัง
แสดงใน ตารางที่ 16 เพื่อใหฟลมมีลักษณะที่อยูตัวคลายสารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาด
77

ตารางที่ 16 สูตรของสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพเพื่อใหฟลมของอิมัลชันเมื่อทาแลวไมเกิด
การเยิ้มของอิมัลชัน

ตัว วัตถุดิบ ลักษณะทาง


อยางที่ น้ํา CaCO3 BaSO4 ทัลก Bentone Natrosol กายภาพที่สังเกต
(มิลลิลิตร) (กรัม) (กรัม) (กรัม) EW (กรัม) (กรัม) ได
10-1 150 30 30 30 4 1 มีความหนืด 2,165-
2,193 cPs เหลว
กวาสารเคลือบ
หลังคาที่มีขายใน
ตลาด
ซึ่งมีความหนืด
18,780-18,840 cPs
11-1 150 30 30 30 4 2 หนืดขึ้นกวา
อิมัลชันสูตรเดิม

11-2 150 35 35 35 4 2 หนืดขึ้นกวา


ตัวอยางที่ 11-1
ฟลมยังคงเยิ้มอยู
11-3 150 40 40 40 4 2 หนืดไมสามารถ
กวนผสมได
11-4 150 40 35 35 4 2 หนืดขึ้นกวา
ตัวอยางที่ 11-2
สามารถกวนผสม
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC ไดคอนขางลําบาก
โดย ผู้ใช้ทั่วไป ฟลมยังเยิ้มแต
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 ลดลง
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
78

เพื่อใหสารเติมแตงซึ่งประกอบไปดวยน้ํา 150 กรัม แคลเซียมคารบอเนตทํา


หนาที่เปนเอกซเทนเดอรปริมาณ 30 กรัม แบไรตทําหนาที่เปนสารทนเคมีภัณฑปริมาณ 30 กรัม
ทัลกทําหนาที่เปนสารทําใหเปนฟลม และเพิ่มสมบัติทางกลปริมาณ 30 กรัม Bentone EW ทํา
หนาที่คลายสารอิมัลซิฟายปริมาณ 4 กรัม และNatrosol ทําหนาที่เปนตัวชวยทําอิมัลชันปริมาณ 1
กรัม ที่ผสมแอสฟลทอิมัลชันที่อัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก (สูตรตัวอยางที่ 10-1) ความหนืดลดลง
จากกอนเติมสารเติมแตง 17,700-17,750 cPs เปน 2,165-2,193 cPs จึงทําการปรับเปลี่ยนปริมาณ
สารเติมแตง และผสมกับแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N
100 ดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชัน ตอสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก โดยทําการเพิ่มปริมาณ
Natrosol จาก 1 กรัม เปน 2 กรัม เพื่อใหอิมัลชันของสารเติมแตงมีลักษณะเปนเจลและหนืดขึ้นดัง
สูตรในตัวอยางที่ 11-1 ซึ่งสารเติมแตงที่ไดหนืดขึ้นกวาสารในสูตรตัวอยางที่ 10-1 (มีความหนืด
2,165-2,193 cPs) และเมื่อผสมกับแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N 100 พบวา อิมัลชันยังเหลวอยู จึงไดเพิ่มปริมาณแคลเซียมคารบอเนต แบไรต และทัลก
ลงในสูตรที่ 11-1 อยางละ 35 กรัม และ 40 กรัม ดังสูตรในตัวอยางที่ 11-2 และ 11-3 ตามลําดับ
พบวา สารเติมแตงตามสูตรในตัวอยางที่ 11-2 หนืดขึ้นกวาตัวอยางที่ 11-1 และเมื่อเติมลงใน แอส
ฟลทอิมัลชัน และนําไปทาบนแผนทดสอบยังคงเยิ้มอยู สารเติมแตงตามสูตรตัวอยางที่ 11-3 ไม
สามารถปนผสมไดเพราะหนืดมากเกิดไป จึงไดปรับปริมาณของแคลเซียมคารบอเนตเปน 40 กรัม
แบไรต และทัลก เปนอยางละ 35 กรัม ตามสูตรในตัวอยางที่ 11-4 สารเติมแตงที่ไดหนืดขึ้นกวา
ตัวอยางที่ 11-2 สามารถกวนผสมไดแตคอนขางลําบาก และเมื่อผสมกับแอสฟลทอิมัลชัน อิมัลชันที่
ไดมีความหนืดเพิ่มขึ้นมาก เมื่อทาบนแผนทดสอบมีลักษณะที่ดีขึ้นคือมีการเยิ้มลดลงแตยังเยิ้มอยู
จึงนําสารเติมแตงเติมผสมแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N
100โดยที่ไมทําการผสมสารเติมแตงตาง ๆ ลงในน้ํากอน แตเติมโดยตรงลงในแอสฟลทอิมัลชัน
ดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก ซึ่งสารเติมแตงประกอบดวย
แคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก อยางละ 35 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol
2 กรัม พบวาอิมัลชันที่ไดเมื่อทาบนแผนทดสอบไมเกิดการเยิ้มดังแสดงในภาพที่ 18
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
79

ภาพที่ 18 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100ที่


เติมสารเติมแตงที่ประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก เปนอยาง
ละ 35 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัมที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอ
สารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก

12.2. ที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเทากับ 8:2.5 โดยน้ําหนัก

นําแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100


ซึ่งเติมสารเติมแตงซึ่งประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรตปริมาณ 35 กรัม ทัลก 35
กรัม ที่อัตราสวน 8:2.5 โดยน้ําหนัก ซึ่งอิมัลชันที่ไดมีลักษณะเนียนเปนเนื้อเดียวกัน มีความเสถียร
ไปทดสอบการแห งที่ผิว พบว าสามารถแหงไดภ ายใน 24 ชั่ว โมง ซึ่งฟลมมีลัก ษณะดานกวาที่
อัตราสวน 8:2 โดยน้ํ าหนั ก ผลการทดสอบความทนรอนพบว าสามารถทนร อน ฟลมหลังการ
ทดสอบดังแสดงในภาพที่ 19 (ก) และการทดสอบการทนน้ําสามารถทนน้ําโดยไมมีการละลายของ
เอกสารนี้ดแอสฟ
าวน์โหลดมาจากระบบ
ลทออกมาในน้ํา ฟลมTUDC
หลังการทดสอบดังแสดงในภาพที่ 19 (ข) เมื่อนําอิมัลชันไปทดสอบ
โดย ผู้ใช้ทซั่วอไปมแซมรูรั่วพบวาสามารถปองกันการซึมของน้ําไดอยางดี ฟลมทดสอบดังแสดงในภาพที่ 19 (ค)
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
80

(ก) (ข) (ค)


ภาพที่ 19 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100
ที่เติมสารแตงที่ประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก เปนอยาง
ละ 35 กรัม ที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2.5 โดยน้ําหนัก
(ก) ฟลมทดสอบการทนรอน
(ข) ฟลมทดสอบการทนน้ํา
(ค) ฟลมซอมแซมรอยรั่วบนกระเบื้อง
เมื่อนําไปทดสอบการแหงตัว (drying time) โดยผสมน้ําดวยอัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันที่เติม
สารเติมแตง (อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตง 8:2.5 โดยน้ําหนัก) ตอน้ําเปน 1:2 โดย
น้ําหนัก แลวนําไปทาบนกระดาษแข็งพบวาสามารถแหงไดภายใน 50 นาที ผลการทดสอบการแหง
ตัวของสารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาดใชเวลา 10 นาที การทดสอบการทนไฟโดยนําฟลมที่
อยูบนแผนโลหะที่ผานการทดสอบการแหงที่ผิวไปสัมผัสกับเปลวไฟโดยตรงพบวาไมเกิดการติด
ไฟ

เอกสารนี้ด13.
าวน์แอสฟ
โหลดมาจากระบบ TUDC งผิวรวมแคทไอออนิก-นอนไอออนิก
ลทอิมัลชันของสารลดแรงตึ
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
ถึงแมวาฟลมของแอสฟ
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59ลทอิมัลชันที่ใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N
100 ที่เติมสารเติมแตงที่ประกอบไปดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก อยางละ 30
กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัมที่อัตราสวนแอสฟลทอิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2
โดยน้ําหนัก จะไมเกิดการเยิ้มที่ขอบของฟลมทดสอบ และสามารถแหงไดภายใน 24 ชั่วโมงตาม
81

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางมะตอยอิมัลชันเคลือบผิววัสดุ แตยังคงแหงชากวาสารเคลือบ


หลังคาที่มีขายในทองตลาด จึงไดทดลองใชแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวผสม
ระหวางชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 และชนิดแคทไอออนิกชนิด CTAB ที่อัตราสวน
TERIC N 100: CTAB เปน 1:1 และ 3:1 โดยน้ําหนัก ที่ปริมาณสารลดแรงตึงผิวรวม 5 กรัม แอส
ฟลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม น้ํามันเตา 20 กรัม น้ํามันสน 15 กรัม และ Synthalen L 0.15 กรัม พบวาที่
อัตราสวน 1:1 แอสฟลทอิมัลชันมีลักษณะเหลวคลายกับแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรง
ตึงผิวชนิด CTAB ชนิดเดียว และที่อัตราสวน 3:1 แอสฟลทอิมัลชันมีลักษณะหนืดคลายแอสฟลท
อิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิด TERIC N 100 ชนิดเดียว ฟลมเนียนเปนเนื้อเดียวกัน และ
เมื่อผสมกับสารเติมแตงที่ประกอบไปดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก เปนอยาง
ละ 30 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัม ที่อัตราสวน 8:2 โดยน้ําหนัก อิมัลชันที่ได
เมื่อทาบนแผนทดสอบไมเกิดการเยิ้ม แตการแหงไมดีขึ้นดังแสดงในภาพที่ 20

ภาพที่ 20 ฟลมของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชอัตราสวนสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N 100 และสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกชนิด CTAB เปน 3:1ที่เติม
สารแตงที่ประกอบไปดวยแคลเซียมคารบอเนต 40 กรัม แบไรต และทัลก เปน
อยางละ 30 กรัม Bentone EW 4 กรัม และ Natrosol 2 กรัมที่อัตราสวนแอสฟลท
อิมัลชันตอสารเติมแตงเปน 8:2 โดยน้ําหนัก
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
จากนั้นทดลองผสมแอสฟ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18ลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
และหมดอายุ TERIC03/10/2562
N 100 กับแอสฟ23:59:59
ลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกทีม่ ีชื่อทางการคาวา “CSS-1h” ของบริษัททิป
โกแอสฟลท จํากัด (มหาชน) ที่อัตราสวน 1:1โดยน้ําหนักและทดลองเติมสารเติมที่สวนประกอบ
ตาง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 17
82

ตารางที่ 17 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม
ที่เติมสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพ

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
83

ตัวอยางที่ CaCO3 BaSO4 ทัลก ลักษณะทางกายภาพที่


(กรัม) (กรัม) (กรัม)
สังเกตได
12-1 7 6.5 6.5 ไมเสถียร
12-2 3.5 3.25 3.25 ยังคงหนืดสูงไมเสถียรมองเห็นเม็ดสารเติมแตงที่เขา
กันไดไมดีกับอิมัลชัน
12-3 3.75 3.25 3 การยึดเกาะต่ําไมเสถียร
12-4 3.75 3 3.25 การยึดเกาะต่ําไมเสถียร
12-5 4 3 3 การยึดเกาะต่ําไมเสถียร
12-6 4 3 2 ฟลมมีลักษณะดานความหนืดนอยกวาตัวอยางที่ 12-4
และ 12-5
12-7 4 2 2 ความหนืดนอยกวาสารเคลือบหลังคาที่ขายใน
ทองตลาด อิมัลชันเสถียร
12-8 5 2 2 ความหนืดใกลเคียงกับตัวอยางที่ 12-7 อิมัลชันเสถียร
12-9 6 2 2 ความหนืดสูงกวาตัวอยางที่ 12-7 อิมัลชันเสถียร
12-10 7 2 2 อิมัลชันยังคงเสถียรยังคงหนืดนอยกวาสารเคลือบ
หลังคาที่ขายในทองตลาดถึงแมจะไมมีการเยิ้มเมื่อมา
บนแผนทดสอบแตฟลมยังคงสามารถไหลไดเมื่อ
เอียงแผนทดสอบ

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
84

ตารางที่ 17 (ตอ)

ตัวอยางที่ CaCO3 BaSO4 ทัลก ลักษณะทางกายภาพที่


(กรัม) (กรัม) (กรัม)
สังเกตได
12-11 7 3 2 ความหนืดเพิ่มขึ้นกวาตัวอยางที่ 12-10 อยางชัดเจน
แตเนื้อฟลมยังไมเนียนเทาทีค่ วรเนื่องจากสามารถ
สังเกตเห็นเม็ดของสารเติมแตงได
12-12 7 2 3 ใหผลใกลเคียงตัวอยางที่ 12-11 แตความเนียนของ
ฟลมดีกวาเล็กนอย
12-13 7 2.5 2 ความหนืดสูงกวาสารเคลือบหลังคาที่มีขายใน
ทองตลาดเล็กนอยและเสถียร ไมเกิดการเยิม้ ที่ขอบ
ของฟลมบนแผนทดสอบ
12-14 7 2 2.5 ใหผลใกลเคียงกับตัวอยางที่ 12-13

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100


ผสมแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีทางการคาวา “CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนัก
ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม เมื่อเติม CaCO3 7 กรัม BaSO4 และทัลก อยางละ 6.5 กรัม
โดยปริมาณของสารเติมแตงเริ่มแรกคํานวณจากสูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่ใชสารอิมัลซิฟายชนิด
นอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 โดยสูตรที่ 12-1 อิมัลชันไมเขากันเนื่องจากปริมารสารเติมแตง
มากเกินไป จากนั้นลดปริมาณของสารเติมแตงลงคือ CaCO3 3.5 กรัม BaSO4 และทัลก อยางละ
3.25 กรัม อิมัลชันที่ไดยังคงหนืดสูงไมเสถียรมองเห็นเม็ดสารเติมแตงที่เขากันไดไมดี จึงทดลองลด
เอกสารนี้ดปริ
าวน์มาณของ
โหลดมาจากระบบ
BaSO และทัลกTUDC ทีละตัว ตัวละ 0.25 กรัม ดังตัวอยางที่ 12-3 และ 12-4 อิมัลชันที่ไดมี
ั่วไป ด เกาะที่ ไ ม ด4ี แ ละไม เ สถี ย ร จึ ง ทดลองลดปริ ม าณ BaSO และทั ล ก จากอย า งละ 3 กรั ม
โดย ผู้ใช้ทการยึ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 4
และหมดอายุ 03/10/2562
จนกระทั ่งเหลือ 2 กรัม23:59:59
และเพิ่มปริมาณของ CaCO3 จาก 4 กรัมเปน 7 กรัม ซึ่งจากการทดลองเพิ่ม
ปริมาณ CaCO3 ตามตัวอยางที่ 12-7 ถึง 12-10 ความหนืดของอิมัลชันเพิ่มขึ้นแตความเสถียรยังคงมี
อยู ในขณะที่การเพิ่ม BaSO4 หรือ ทัลก มีผลตอความหนืด ความเสถียรของอิมัลชันมาก ซึ่งอิมัลชัน
ตามตัวอยางที่ 12-10 ถึงแมจะมีความเนียนและเสถียรแตเมื่อนําไปทาบนแผนทดสอบฟลมเมื่อเอียง
85

แผนทดสอบฟลมเกิดการไหลไมอยูตัวเหมือนกับสารเคลือบหลังคาที่ขายในทองตลาดจึงทดลอง
เพิ่มปริมาณของ BaSO4 1 กรัม ตามตัวอยางที่ 12-11 ซึ่งใหผลใกลเคียงกับการเพิ่มปริมาณ ทัลก
1 กรัม ตามตัวอยางที่ 12-12 คือ ความหนืดเพิ่มขึ้นกวาตัวอยางที่ 12-10 อยางชัดเจน แตเนื้อฟลมยัง
ไมเนียนเทาที่ควรเนื่องจากสามารถสังเกตเห็นเม็ดของสารเติมแตงได จึงทําการเพิ่มปริมาณของ
BaSO4 0.5 กรัม ลงในสูตรที่12-10 ดังตัวอยางที่ 12-13 และปริมาณ 0.5 กรัม ดังตัวอยางที่ 12-14
โดยใหผลใกลเคียงกันคือความหนืดสูงกวาสารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาดเล็กนอยและ
เสถียร ไมเกิดการเยิ้มที่ขอบของฟลมบนแผนทดสอบ

การใชแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา “CSS-1h” ทําใหฟลมแหงไว


ขึ้นกวาแอสฟลทอิมัลชันที่ใชเพียงสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100 เพียงตัว
เดียว ดังนั้นจึงลองเปลี่ยนอัตราสวนของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอ
ออนิกชนิด TERIC N 100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา “CSS-
1h” ที่อัตราสวน 1:2 โดยน้ําหนัก โดยทําการเติมสารเติมแตงสูตรตาง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 18

ตารางที่ 18 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:2 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม
ที่เติมสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพ

ตัวอยางที่ CaCO3 BaSO4 ทัลก ลักษณะทางกายภาพที่


(กรัม) (กรัม) (กรัม)
สังเกตได
13-1 7 2 3 เหลวกวาสารเคลือบหลังคาในทองตลาดอิมัลชันเนื้อ
เนียนแตเมื่อทาบนแผนทดสอบยังคงมีการเยิ้ม
13-2 7 3 2 ใหผลเชนเดียวกับตัวอยางที่ 13-1
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป13-3 10 2 3 ฟลมมีความหนืดนอยกวาสารเคลือบหลังคาที่มีขาย
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 ในทองตลาดแตไมเกิดการเยิม้ ที่ขอบเมื่อทาบนแผน
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ทดสอบ
13-4 10 3 2 ใหผลใกลเคียงกับตัวอยางที่ 13-3
86

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100


ผสมแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีทางการคาวา “CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:2 โดยน้ําหนัก
เมื่อเติมสารเติมแตงที่ประกอบไปดวย CaCO3 7 กรัม BaSO4 2 กรัม และทัลก 3 กรัม ตามตัวอยางที่
13-1 และเมื่อเติมสารเติมแตงที่ประกอบไปดวย CaCO3 7 กรัม BaSO4 3 กรัม และทัลก 2 กรัม ตาม
ตัวอยางที่ 13-2 ใหผลใกลเคียงกับตัวอยางที่ 13-1 คือ อิมัลชันที่ไดมีลักษณะเหลวกวาสารเคลือบ
หลั ง คาในท อ งตลาดอิมั ลชัน เนื้อเนีย นแตเ มื่อ ทาบนแผ น ทดสอบยั ง คงมีก ารเยิ้ ม จึง ทํ า การเพิ่ ม
ปริมาณ CaCO3 ซึ่งสารเติมแตงประกอบไปดวย CaCO3 10 กรัม BaSO4 2 กรัม และทัลก 3 กรัม ตาม
ตัวอยางที่ 13-3 และ สารเติมแตงที่ประกอบไปดวย CaCO3 10 กรัม BaSO4 3กรัม และทัลก 2 กรัม
ตามตัวอยางที่ 13-4 อิมัลชันที่ไดมีลักษณะใกลเคียงกับตัวอยางที่ 3-3 คือ ฟลมมีความหนืดนอยกวา
สารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาดแตไมเกิดการเยิ้มที่ขอบเมื่อทาบนแผนทดสอบ จากนั้น
ทดลองเปลี่ยนอัตราสวนของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N 100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา “CSS-1h” เปน
อัตราสวน 1:3 โดยน้ําหนัก โดยทําการเติมสารเติมแตงสูตรตาง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 19

ตารางที่ 19 สูตรของแอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด
TERIC N100 ผสมกับแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา
“CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:3 โดยน้ําหนัก ปริมาณแอสฟลทอิมัลชันรวม 80 กรัม
ที่เติมสารเติมแตงในการปรับปรุงคุณภาพ

ตัวอยางที่ CaCO3 BaSO4 ทัลก ลักษณะทางกายภาพที่


(กรัม) (กรัม) (กรัม)
สังเกตได
14-1 10 2 3 เหลวกวาสารเคลือบหลังคาในทองตลาดอิมัลชันเนื้อ
เนียนแตเมื่อทาบนแผนทดสอบยังคงมีการเยิ้ม
เอกสารนี้ดาวน์14-2โหลดมาจากระบบ
10 3 TUDC2 ใหผลเชนเดียวกับตัวอยางที่ 14-1
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื14-3่อ 03/09/2562
10 20:57:18
3 3 ฟลมหนืดกวาตัวอยางที่ 14-2 อยางเห็นไดชัด
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
14-4 8 4 4 ความหนืดเปนที่นาพอใจคลายกับสารเคลือบหลังคา
ที่มีขายในทองตลาดเนื้อเนียนดี
87

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100


ผสมแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา “CSS-1h” ที่อัตราสวน 1:3 โดย
น้ําหนัก พบวาเมื่อเติมสารเติมแตงซึ่งประกอบไปดวย CaCO3 10 กรัม BaSO4 2 กรัม และทัลก
3 กรัม อิมัลชันที่ไดมีลักษณะเหลวกวาสารเคลือบหลังคาในทองตลาดอิมัลชันเนื้อเนียนแตเมื่อทา
บนแผนทดสอบยังคงมีการเยิ้ม เชนเดียวกับเมื่อเติมสารเติมแตงตามตัวอยางที่ 14-2 ซึ่งประกอบไป
ดวย CaCO3 10 กรัม BaSO4 3 กรัม และทัลก 2 กรัม จากนั้นจึงทําการเพิ่มปริมาณทัลกจากสูตรที่ 14-
2 เปน 3 กรัมตามตัวอยางที่ 14-3 พบวาอิมัลชันมีความหนืดสูงขึ้นโดยการเพิ่มปริมาณ BaSO4 หรือ
ทัลก ในปริมาณที่เทากับการเพิ่ม CaCO3 จะทําใหความหนืดของอิมัลชันที่เติม BaSO4 หรือ ทัลก
สูงขึ้นกวาการเพิ่ม CaCO3 ดังนั้นจึงทําการลดปริมาณ CaCO3 ลงเหลือ 8 กรัมและเพิ่ม BaSO4 และ
ทัลก เปนอยางละ 4 กรัม ซึ่งใหผลเปนที่นาพอใจอิมัลชันมีเนื้อเนียนและความหนืดใกลเคียงสาร
เคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาด

จากนั้นทดลองนําอัลคิดเรซินที่มีตัวทําละลายชนิดสายโซสั้นและสารเรงแหงเติมลงใน
อิมัลชันตามสูตรตั วอยางที่ 14-4 เพื่อปรับปรุงการแหงใหไวขึ้น โดยทดลองทาบนผิวกระดาษ
เปรียบเทียบซึ่งผลที่ไดคือเห็นความแตกตางจากอัลคิดเรซินที่มีตัวทําละลายชนิดสายโซสั้นและสาร
เรงแหงที่เติมลงไปเพียงเล็กนอย

13.1. ผลการทดสอบการแหงที่ผิว การทนรอน การทนน้ํา

แอสฟลทอิมัลชันที่มีคุณภาพดี ไดแก ที่อัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนักเมื่อเติมสารเติมแตง


ตามสูตร 12-14 อัตราสวน 1:2 โดยน้ําหนัก เมื่อเติมสารเติมแตงตามสูตร 13-3 และที่อัตราสวน 1:3
โดยน้ําหนัก เมื่อเติมสารเติมแตงตามสูตร 14-4 เมื่อนําไปทดสอบการแหงที่ผิวพบวาฟลมเมื่อเวลา
ผานไป 24 ชั่วโมง การแหงยังไมดีเทาที่ควรเนื่องจากมีลักษณะของฟลมที่คอนขางเหนอะหนะทั้ง
สูตรที่ 12-14, 13-3 และ 14-4 เมื่อนําไปทดสอบการทนรอน พบวาทั้งสูตรที่ 12-14, 13-3 และ 14-4
เอกสารนี้ดฟาวน์
ลมของแผ นทดสอบละลายออกจากแผ
โหลดมาจากระบบ TUDC นทดสอบ ผลการทดสอบการทนน้ําพบวาทั้งสามสูตร
โดย ผู้ใช้ทสามารถทนน้
ั่วไป ําไดแตฟลมบนแผนทดสอบถึงแมจะไมละลายออกมากับน้ําแตฟลมมีลักษณะนิ่มไม
ดาวน์โหลดเมื
แข็ ง


แรง
03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
88

13.2. การนําไปใชจริงกับหลังคากระเบื้องของแอสฟลทอิมัลชัน

แอสฟลทอิมัลชันสูตรที่ 12-14, 13-3 และ 14-4 เมื่อนําไปทดสอบซอมรอยรั่วจําลอง


บนหลังคากระเบื้องจริงพบวาทั้ง 3 สูตรสามารถกันน้ํารั่วซึมได แตลักษณะฟลมนิ่มไมแข็งแรง

13.3 การปรับปรุงการแหงของสารเคลือบหลังคา

เนื่องจากสารเคลือบหลังคามีคุณสมบัติในการแหงชา จึงไดทดลองเปลีย่ นชนิดของตัวทํา


ละลายเปนชนิดตาง ๆ ตามตารางที่ 20 แตยังคงใชน้ํามันเตาเชนเดิม เนื่องจากจําเปนตองใชน้ํามัน
เตาในการละลายแอสฟลท โดยทดลองทาบนแผนเหล็กขนาด 10 เซนติเมตร x 3 เซนติเมตร พื้นที่
การทา 0.5 เซนติเมตร x 8 เซนติเมตร หนา 4 มิลลิเมตร ผลการทดลองพบวา หากไมใชตัวทําละลาย
ใด ๆ สารเคลือบหลังคาที่ไดมีความคงตัวมากกวาเมื่อเติมตัวทําละลาย ระยะเวลาที่ใชในการแหงตัว
420 นาที เมื่อใช โทลูอีนผสม ไดสารผสมที่เหลวและแหงเร็วขึ้นเล็กนอย ระยะเวลาที่ใชในการแหง
387 นาที เมื่อเปลี่ยนเปน เมทานอล สารผสมเหลวนอยกวาเมื่อเติมโทลูอีน ระยะเวลาที่ใชในการ
แหง 327 นาที ลดลงจากเมื่อใชโทลูอีนเล็กนอย เมื่อใช solvent 8040 เกิดการแยกชัน้ อยางชัดเจนไม
สามารถใชเปนสวนผสมได และเมื่อทดลองนําสารเคลือบหลังคาที่ไมมีการเติมตัวทําละลายใด ๆ
มาอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที พบวาสารมีเนือ้ ที่แข็งขึ้น ระยะเวลาที่ใชใน
การแหง 182.4 นาที อยางไรก็ดีเมื่อเปรียบเทียบกับระยะเวลาทีใ่ ชในการแหงของสารเคลือบหลังคา
ในทองตลาด คือ 100 นาที สารเคลือบหลังคาที่ผลิตไดยงั คงแหงชากวามาก

ตารางที่ 20 ระยะเวลาการแหงตัวของสารเคลือบหลังคาเมื่อใชตัวทําละลายชนิดตาง ๆ ในสูตรการ


ผสม แอสฟลท 40 กรัม น้ํา 40 กรัม น้ํามันเตา 20 กรัม ตัวทําละลาย 15 กรัมTERIC
N100 5 กรัม Synthalen L 0.15 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 13.65 กรัม แบไรตและทัลก
อยางละ 11.95 กรัม

อุณหภูมิ เวลาที่ใชใน
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไปตัวทําละลาย ลักษณะที่สังเกตได (องศา การแหงตัว
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18 เซลเซียส) (นาที)
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
ไมเติมตัวทําละลาย คอนขางคงตัวมากกวาเมื่อเติมตัวทําละลายแลว 26 420
เมื่อทาลงบนแผนรองรับแลวเนื้อสารเหลว
โทลูอีน 26 387
แหงคอนขางชา
89

ตารางที่ 20 (ตอ)

อุณหภูมิ เวลาที่ใชใน
ตัวทําละลาย ลักษณะที่สังเกตได (องศา การแหงตัว
เซลเซียส) (นาที)
ผสมแลวสารมีลักษณะเหลวขึ้นแตนอยกวา
เมทานอล 26 327
โทลูอีน
อบที่อุณหภูมิ 50
องศาเซลเซียส 30 สารมีเนื้อที่แข็งขึ้นทาแลวแหงไวกวาเดิม 26 182.4
นาที
สารที่ขายใน
เนื้อสารเนียนมากที่สุด เนื้อสารแหงไวที่สดุ 26 100
ทองตลาด

นอกจากนี้ไดทดลองเติมเรซินในสารเคลือบหลังคา พบวาไมมีผลอยางมีนัยสําคัญตอการ
แหงตัว เชนเดียวกับการเพิ่มปริมาณสารเติมแตง แคลเซียมคารบอเนต แบไรต ทัลก และ HEC
เซลลูโลส ซึ่งหากเติมในปริมาณที่มากเกินไปสารเคลือบหลังคาจะไมเปนเนื้อเดียวกัน และไมชวย
ในการแหง และการเพิ่มน้ําชวยลดความหนืดลงแตไมมีผลตอการแหงเชนกัน

จากการที่เมื่อนําสารเคลือบหลังคาไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที


แลวทําใหระยะเวลาการแหงตัวลดลงมาก และตัวทําละลายที่ใชในการเพิ่มคุณสมบัติการแหงจะทํา
ใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น จึงไดทดลองทําการระเหยสารระเหยออกจากน้ํามันเตาไดน้ํามันเตาใน
ลักษณะขนคลายดินน้ํามันและปรับเปลี่ยนกรรมวิธีและสูตรการเตรียมสารเคลือบหลังคาใหมโดย
แบงเปน 3 ขั้นตอนดังนี้
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทขัั่ว้นไปตอนที่ 1 การเตรียมสารละลายอิมัลซิฟาย
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 ัลซิฟายประกอบดวย น้ํา 160 กรัม TERIC N100 15 กรัม Synthalen L 0.45
สารละลายอิม23:59:59
กรัม และ HEC เซลลูโลส 4 กรัม ละลายรวมกัน นําสารละลายไปใหความรอนใหมีอุณหภูมิ 60OC
90

ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมแอสฟลทอิมัลชัน
1. นําแอสฟลทไปหลอม อุณหภูมิที่หลอมตัวประมาณ 100 องศาเซลเซียส
2. น้ํามันเตาแบงออกเปนสองสวนโดย
ก. สวนแรกเติมสารละลายอิมัลซิฟายและใหความรอนที่ 60 องศาเซลเซียส
ข. สวนที่สองใหความรอนโดยอุณหภูมิ ใกลเ คีย งกับแอสฟลทคื อประมาณ 90
องศาเซลเซียส
3. เมื่อแอสฟลทหลอมตัวแลวเติมน้ํามันเตาสวนที่สองลงไปเพื่อละลายแอสฟลทใหอยูใน
รูปของเหลว
4. เติมน้ํามันเตาสวนแรกที่ผสมสารละลายอิมัลซิฟายลงในแอสฟลทกับน้ํามันเตาบางสวน
โดยรอใหอุณหภูมิแอสฟลทกับน้ํามันเตาลดต่ําลงมาประมาณ 60 องศาเซลเซียส กอนเติม
5. กวนใหเขากันใชวิธีกวนดวยแทงแกวแลวรอใหถึงอุณหภูมิหอง โดยทิ้งสารไวบนเตาให
ความรอน หามยกออกโดยเด็ดขาด เนื่องจากอุณหภูมิจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว แอสฟลท
จะไมเสถียร จะแยกตัวออกจากน้ํามันเตา ถาสารขนเกินไปใหเติมน้ําลงไปเล็กนอย

ขั้นตอนที่ 3 การผสมสารเติมแตงในแอสฟลทอิมัลชัน

สารเติมแตงประกอบดวย CaCO3 1.4 กรัม BaSO4 1.2 กรัม ทัลก 1.2 กรัม และBentone
EW 0.14 กรัม คนใหเขาเปนเนื้อเดียวกัน ตองใชเวลาประมาณ 5 นาที จากนั้นนําสารเติมแตงเติมลง
ในแอสฟลทอิมัลชันที่มีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส โดยใชการกวนดวยแทงแกว จะไดสารเคลือบ
หลังคาเปนของผสมเนื้อเดียวกันทดสอบผสมน้ํามันเตา สารละลายอิมัลซิฟาย และสารเติมแตงดวย
อัตราสวนโดยน้ําหนักตาง ๆ กันแลวนําสารเคลือบหลังคาที่ไดไปทดสอบการแหงโดยนําไปทาบน
แผนเหล็กขนาด 3 เซนติเมตร x 10 เซนติเมตร มีพื้นที่การทาแหง 0.5 เซนติเมตร x 8 เซนติเมตร
หนา 1 มิลลิเมตร (เนื่องจากที่ความหนา 4 มิลลิเมตรใชระยะเวลาการแหงนานมากจึงไดลดความ
หนาลงเหลือ 1 มิลลิเมตร) ไดผลดังแสดงในตารางที่ 21
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
91

ตารางที่ 21 ระยะเวลาการแหง และลักษณะทางกายภาพของสารเคลือบหลังคาที่องคประกอบตาง ๆ

เวลาที่ใชใน
องคประกอบ ลักษณะที่สังเกตได การแหงตัว
(นาที)
น้ํามันเตา 8 : สารอิมัลซิฟาย 1 : สารมีลักษณะขน สีน้ําตาลออนคลายสาร
-
สารเติมแตง 2 เคลือบหลังคาเกรดการคา
น้ํามันเตา 8 : สารอิมัลซิฟาย 2 สารมีลักษณะเหลวพอเหมาะ สีน้ําตาลออน
-
:สารเติมแตง 2 คลายสารเคลือบหลังคาเกรดการคา
น้ํามันเตา 8 : สารอิมัลซิฟาย 2: สารมีลักษณะ สีดําแหงและแข็งตัวไดไวกวา
52
แอสฟลท 1: :สารเติมแตง 2 สารเคลือบหลังคาที่ไมไดเติมแอสฟลท
น้ํามันเตา 8 : สารอิมัลซิฟาย 2: สารมีลักษณะ สีดําแหงแข็งกวาการเติม แอส
54
แอสฟลท 2: :สารเติมแตง 2 ฟลท เพียง 1 สวน
สารเคลือบหลังคาที่มีขายใน
เนื้อสารเนียน 47
ทองตลาด

เมื่อนําน้ํามันเตา 8 สวนมาผสมกับสารละลายอิมัลซิฟาย 1 สวน และสารเติมแตง 2 สวน


โดยน้ําหนัก โดยยังมิไดเติมแอสฟลทพบวาสารมีลักษณะขน สีน้ําตาลออนคลายสารเคลือบหลังคา
เกรดการคา และเมื่อเพิ่มสัดสวนใหมีสารละลายอิมัลซิฟายเปน 2 สวน พบวาสารมีลักษณะเหลว
พอเหมาะ สีนา้ํ ตาลออนคลายสารเคลือบหลังคาเกรดการคา จากนั้นจึงไดทดลองสูตรที่มีแอสฟลท 1
สวนพบวา สารแหงตัวไดไวกวาสารเคลือบหลังคาที่ไมไดเติมแอสฟลทคือ 52 นาทีเมื่อแหงฟลม มี
ลักษณะสีดํา และเมื่อเพิ่มสัดสวนแอสฟลทใหเปน 2 สวนพบวาฟลมมีลักษณะสีดํา แข็งกวาเมื่อเติม
แอสฟลท เพียง 1 สวน ระยะเวลาในการแหง 54 นาที ในขณะที่สารเคลือบหลังคาในทางการคาใช
เวลาในการแหง 47 นาที
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ
ดังนั้นปญหาการแหงTUDCตัวของสารเคลือบหลังคาที่ผลิตไดในงานวิจัยนี้สามารถแกไขไดโดย
โดย ผู้ใช้ทการระเหยสารบางส
ั่วไป วนออกจากน้ํามันเตาโดยใหน้ํามันเตาที่นํามาใชมลี ักษณะคลายดินน้ํามัน และ
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ ไมตอ03/10/2562
งใชตัวทําละลายอื23:59:59
่นชวย สูตรที่เหมาะสมคือ น้ํามันเตา 8 : สารอิมัลซิฟาย 2 : แอสฟลท 2 :
สารเติมแตง 2 ประกอบดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตา 160 กรัม น้ํา 40 กรัม Terric N100 3.75
กรัม Synthalen L 0.11 กรัม HEC 1 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 14.21 กรัม แบไรต 12.18 กรัม ทัลก
12.18 กรัม และเบนโทน 1.42 กรัม
92

14. ผลการคํานวณตนทุนการผลิตแอสฟลทอิมัลชันที่เติมสารเติมแตงเพื่อใชเปนสารเคลือบกันซึม

จากการคํานวณราคาตนทุนสําหรับการผลิตแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา
ที่มีสูตรประกอบดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตา 160 กรัม น้ํา 40 กรัม Terric N100 3.75 กรัม
Synthalen L 0.11 กรัม HEC 1 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 14.21 กรัม แบไรต 12.18 กรัม ทัลก 12.18
กรัม และเบนโทน 1.42 กรัม ปริมาณ 1 กิโลกรัม การคํานวณดังแสดงในภาคผนวก ข พบวาราคา
ตนทุนเฉพาะวัตถุดิบคือ 23.41 บาท หากคิดคาไฟฟา แรงงาน บรรจุภณ ั ฑ และอื่น ๆ สารเคลือบ
หลังคาที่ผลิตไดจะมีราคา 39.52 บาท ซึ่งราคาขายของสารเคลือบหลังคาที่มีขายในทองตลาดคือ 65
บาทตอ1 กิโลกรัม ซึ่งมีความเปนไปไดในการผลิต

สรุปผลการวิจัย

การเตรียมแอสฟลทอิมัลชันระหวางการผสมแอสฟลทที่ละลายในตัวทําละลายตองควบคุม
อุณหภูมิขณะผสมประมาณ 85-90oC สวนอุณหภูมิของสารละลายอิมัลซิฟายคือ 75-80 oC จากนั้นรอ
ใหสารละลายแอสฟลทมีอุณหภูมิประมาณ 75-80 oC จึงผสมกับสารละลายอิมัลซิฟายที่มีอุณหภูมิ
เดียวกันเมื่ออุณหภูมิลดลงประมาณ 60 oC แลวจึงเติมสารเติมแตง และใหเย็นลงอยางชา ๆ เพื่อให
ไดแอสฟลทที่เนียนเปนเนื้อเดียวกัน

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมโดยใชสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด Brij®96V,
TERIC N100, TWEEN 80 และTWEEN 85 สารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิกชนิด Nansa. HS
80/SPF และ Nansa. LSS 480/B และสารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกชนิด CTAB พบวาแอส
ฟลทอิมัลชันที่เตรียมจาก TERIC N100, Nansa. HS 80/SPF และ CTAB ที่ใหผลดีที่สุดในแตละ
กลุมของสารลดแรงตึงผิว เมื่ อนํามาเติมสารเติมแตงที่ประกอบไปดวยน้ํา 150 กรัม แคลเซีย ม
เอกสารนี้ดคาร
าวน์บโอเนตทํ
หลดมาจากระบบ TUDC
าหนาที่เปนเอกซ เทนเดอรปริมาณ 30 กรัม แบไรตทําหนาที่เปนสารทนเคมีภัณฑ
โดย ผู้ใช้ทปริ
ั่วไปมาณ 30 กรัม ทัลกทําหนาที่เปนสารทําใหเปนฟลม และเพิ่มสมบัติทางกลปริมาณ 30 กรัม
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562
Bentone EW ทําหนาที23:59:59
่คลายสารอิมัลซิฟายปริมาณ 4 กรัม และNatrosol ทําหนาที่เปนตัวชวยทํา
อิมัลชันปริมาณ 1 กรัมที่อัตราสวนแอสฟลอิมัลชันตอสารเติมแตง 8:2 โดยน้ําหนัก ผลการทดสอบ
พบวา แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจาก TERIC N100 ใหผลการทดสอบดีที่สุด ผลการแหงที่ผิว
สามารถแหงไดภายใน 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิหอง สามารถทนความรอนโดยฟลมไมไหลเยิ้มที่
93

อุ ณ หภู มิ 100 oC สามารถทนน้ํ า โดยไม มี ก ารหลุ ด ร อ นของฟ ล ม และสามารถทนต อ แสง


อัลตราไวโอเลตดี ที่ปริมาณแสงตอพื้นที่ 537 กิโลจูล/ตารางเมตร โดยผิวไมกรอบ หลุดรอน และ
ยังคงเงา ซึ่งมีคุณสมบัติใกลเคียงกับสารเคลือบหลังคาที่มีอยูในทองตลาด ยกเวนระยะเวลาการแหง
ที่แหงชากวา

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N 100


ผสมแอสฟลทอิมัลชันชนิดแคทไอออนิกที่มีชื่อทางการคาวา “CSS-1h” ที่อัตราสวน ชนิดนอนไอ
ออนิกตอแคทไอออนิกเทากับ 1:1 1:2 และ 1:3 โดยน้ําหนัก เมื่อนําไปทดสอบการแหงที่ผิวพบวา
ฟลมเมื่อเวลาผานไป 24 ชั่วโมง การแหงยังไมดีเทาที่ควรเนื่องจากมีลักษณะของฟลมที่คอนขาง
เหนอะหนะ เมื่อนําไปทดสอบการทนรอน พบวา ฟ ลมของแผนทดสอบละลายออกจากแผน
ทดสอบ ผลการทดสอบการทนน้ําพบวาทั้งสามสูตรสามารถทนน้ําได แตฟลมบนแผนทดสอบ
ถึงแมจะไมละลายออกมากับน้ําแตฟลมมีลักษณะนิ่มไมแข็งแรง เมื่อนําไปทดสอบซอมรอยรั่ว
จําลองบนหลังคากระเบื้องจริงพบวาทั้ ง 3 สูตรสามารถกันน้ํารั่ว ซึมได แตลักษณะฟลมนิ่มไม
แข็งแรง

แอสฟลทอิมัลชันที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิกชนิด TERIC N100


ไดรับการปรับปรุงใหมีระยะเวลาแหงเร็วขึ้นใกลเคียงกับสูตรทางการคา ซึ่งสูตรที่มีคุณภาพดีที่สุด
ในงานวิจัยนี้ประกอบดวยแอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตา 160 กรัม น้ํา 40 กรัม Terric N100 3.75 กรัม
Synthalen L 0.11 กรัม HEC 1 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 14.21 กรัม แบไรต 12.18 กรัม ทัลก 12.18
กรัม และเบนโทน 1.42 กรัม สามารถแหงไดภายใน 24 ชั่วโมง (ตามมาตรฐาน) ที่อุณหภูมิหอง
สามารถทนความรอนโดยฟลมไมไหลเยิ้มที่อุณหภูมิ 100oC สามารถทนน้ําโดยไมมีการหลุดรอน
ของฟลม ผานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมยางมะตอยอิมัลชันเคลือบผิววัสดุของสํานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม การใชงานจริงสามารถใชงานไดดีไมมีการซึมของน้ํา ไมติดไฟ
เมื่อสัมผัสตรงกับเปลวไฟ มีตนทุนการผลิตประมาณ 39.52 บาท ตอกิโลกรัม
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
94

เอกสารและสิ่งอางอิง

พิมพร สีลาพรพิสิฐ. 2536. อิมัลชันทางเครื่องสําอาง. โครงการตํารางานสงเสริมการวิจัยและ


ตํารากองบริการศึกษา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. 298 น.

_______ 2540. อิมัลชันทางเครื่องสําอาง. สํานักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 238 น.

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2531. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมยางมะตอย


อิมัลชันเคลือบผิววัสดุ. มอก. 745-2530.

ศิริรัตน งามจิตรวิทยากุล. 2545. กระบวนการรวมของน้ํามันหลอลื่นยานยนตที่ใชงานแลวกับถาน


หินโดยใชตวั เรงปฏิกิริยาโคบอลท-โมลิดินัมบนอะลูมินาเพื่อผลิตน้ํามันเชื้อเพลิง.
วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

อรอุษา สรวารี. 2544. สารเคลือบผิว (สี วารนิช และแลกเกอร). โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ


มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 214 น.

Chatterjee, R.K., and C.R. Millburn. 1996. Asphalt Emulsions Containing Amphoteric
Emulsifier. U.S. Patent 5,558,702.

_______, and _______1997. Asphalt Emulsions U.S. Patent 5,667,576.

Isobe, K., and R. Tamaki. 2000. Nonionic Emulsifier for Asphalt. U.S. Patent 6,114,418.
เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื ่อ 03/09/2562
Redelius, 20:57:18
G. 1996. Bitumen Emulsion and Its Use. U.S. Patent 5,521,235.
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
Schilling, P. 1997. Anionic Bituminous Emulsions. U.S. Patent 5,668,197.
95

_______ 1997. Adhesion Enhancers for Anionic Bituminous Emulsions. U.S. Patent 5,670,562.

Schilling, P. and E. Crews. 1998. Anionic Bituminous Emulsions with Improved Adhesion. U.S.
Patent 5,772,749.

_______1998. Anionic Bituminous Emulsions with Improved Adhesion. U.S. Patent 5,776,234

Suchanec, R.R. 1997. Asphalt Emulsions with Lignin Containing Emulsifier. U.S. Patent
5,683,497

Tamaki, R., K. Asamori, H. Sasaki, H. Funada, and T. Taniguchi. 1999. Asphalt Emulsions. U.S.
Patent 5,928,418.

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
96

ภาคผนวก

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
97

ภาคผนวก ก
ตัวอยางการคํานวณปริมาณแสงรังสีอัลตราไวโอเลต

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
98

เนื่องจากเครื่องมือที่ใชทดสอบการทนแสงอัลตราไวโอเลตแตละตําแหนงมีความเขมแสงที่
ไมเทากัน แตสามารถทราบคาความเขมแสงที่แนนอน และเปลี่ยนไปเปนปริมาณแสงที่ไดรับตอ
พื้นที่เพื่อสะดวกตอการเปรียบเทียบโดยมีวิธีการคํานวณดังที่

ความเขมแสง 349 ลักซ = 3.11 จูลตอ(ตารางเมตร. นาที)


ระยะเวลาการฉายแสง = 2880 ชั่วโมง

ปริมาณความเขมแสงที่ไดรับ = 3.11 จูล 1 กิโลจูล 2880 ชั่วโมง 60 นาที


ตารางเมตร.นาที 1,000 จูล 1 ชัว่ โมง
= 537 กิโลจูลตอตารางเมตร

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
99

ภาคผนวก ข
การคํานวณตนทุนการผลิตแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบหลังคา

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
100

ตารางผนวกที่ ข 1 ราคาตนทุนสารเคมีสําหรับการผลิตแอสฟลทอิมัลชันเพื่อใชเปนสารเคลือบ
หลังคาประกอบดวย แอสฟลท 40 กรัม น้ํามันเตา 160 กรัม น้ํา 40 กรัม Terric
N100 3.75 กรัม Synthalen L 0.11 กรัม HEC 1 กรัม แคลเซียมคารบอเนต 14.21
กรัม แบไรต 12.18 กรัม ทัลก 12.18 กรัม และเบนโทน 1.42 กรัม

ราคาตอหนวย ปริมาณที่
สารเคมี หนาที่ ตนทุน(บาท)
(บาทตอกิโลกรัม) ใช (กรัม)
แอสฟลท เฟสไมตอเนื่อง 25* 142.86 3.57
น้ํากลั่น เฟสตอเนื่อง 6.3* 127.37 0.80
TERIC N 100 สารอิมัลซิฟาย 137 11.94 1.64
a
น้ํามันเตาเกรด A สวนขน ตัวทําละลาย 26.7 571.43 15.26
HEC เซลลูโลส สารอิมัลซิฟายชวย 325 3.18 1.03
คารบอกซีไวนิลพอลิเมอร สารอิมัลซิฟายชวย 760 0.36 0.27
ทัลก สารทําใหเปนฟลม 7 43.51 0.30
และเพิ่มสมบัติทาง
กล
แบไรต สารทนเคมีภณ ั ฑ 7 43.51 0.30
เบนโทน เอกซเทนเดอร 7 5.1 0.04
แคลเซียมคารบอเนต เอกซเทนเดอร 4 50.74 0.20
รวม 1,000 23.41
หมายเหตุ
* แอสฟลทคิดตามราคาขายครั้งละ 25 กิโลกรัม น้ํากลั่นคิดราคาจากขวด 950 ลูกบาศกเซนติเมตร
a น้ํามันเตาเมื่อนํามาทําใหขนคลายดินน้ํามันมีปริมาตรลดลงเหลือประมาณรอยละ 30 ราคา
น้ํามันเตากิโลกรัมละ 8 บาท ดังนั้นเมื่อนําสารระเหยบางสวนออกคาใชจายของน้ํามันเตาจึง
เอกสารนี้ดาวน์เปโหลดมาจากระบบ TUDCอกิโลกรัม ทั้งนี้หากคิดราคาสารระเหยที่แยกออกไปราคาน้ํามัน
น 8/0.30 เทากับ 26.7 บาทต
โดย ผู้ใช้ทั่วไปเตาก็จะถูกลงอีก
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59
คาอุปกรณ
1. คาเตาไฟฟา อายุการใชงาน 5 ป (2,628,000 นาที) ราคา 10,000 บาท ในการผลิต 1 กิโลกรัมใช
เวลาในการใหความรอน 30 นาที
101

คิดเปนตนทุน = 10,000*30/2,628,000 = 0.11 บาทตอกิโลกรัมของผลิตภัณฑ


2. หมอสแตนเลสระยะการใชงานมากกวา 10 ป คิดวาตนทุนในสวนนีน้ อยมากจึงไมคิด

คาไฟฟา
คาไฟฟาในการใหความรอนแอสฟลท น้ํา คิด 1 บาท ตอกิโลกรัมของผลิตภัณฑ
คาบรรจุภัณฑ
10 บาทตอกิโลกรัมของผลิตภัณฑ
คาแรงงาน
คาแรง 25 บาทตอชั่วโมง ในเวลา 1 ชั่วโมงสามารถผลิตได 5 กิโลกรัม
คาแรงคิดเปน 5 บาทตอกิโลกรัมของผลิตภัณฑ

ตนทุนรวมในการผลิตตอ 1 กิโลกรัมของผลิตภัณฑ
23.41 + 0.11 + 1 + 10 + 5 = 39.52 บาทตอกิโลกรัมของผลิตภัณฑ

เอกสารนี้ดาวน์โหลดมาจากระบบ TUDC
โดย ผู้ใช้ทั่วไป
ดาวน์โหลดเมื่อ 03/09/2562 20:57:18
และหมดอายุ 03/10/2562 23:59:59

You might also like