You are on page 1of 83

@

ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
เล่มที่ 6 คู่มือการใช้อปุ กรณ์ควบคุมการจราจร
– บริเวณพืน้ ที่ก่อสร้าง

@
พิมพ์ครัง้ ที่ 1 (กันยายน 2554)

นั้น
โดย

เท่า
กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
ถนนศรีอยุธยา แขวงทุง่ พญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

ห้ามทําการพิมพ์เผยแพร่เพือ่ ผลประโยชน์ทางการค้า โดยมิได้รบั อนุญาตจาก กรมทางหลวง


@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
คํานํา
โครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครื่องหมายควบคุมการจราจรกรมทางหลวงเป็ นโครงการที่จดั ทําขึน้
ตามร่า งกฎกระทรวง “กํา หนดการจัด ทํา ป กั ติด ตัง้ ป้ า ยจราจร เครื่อ งหมายจราจร หรือ สัญ ญาณจราจร สํา หรับ
การจราจรบนทางหลวง” ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) เรื่องเสร็จที่ 880/2552
โดยโครงการมีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเนื้อหาของคู่มอื มาตรฐาน ข้อกําหนด และเอกสารฉบับต่างๆ ทีก่ รมทางหลวง

@
ได้ใช้มาเป็ นระยะเวลานาน ให้มคี วามทันสมัยและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ ่
การควบคุมการจราจรให้เป็ นระเบียบ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยต่อผูข้ บั ขีย่ วดยานพาหนะนัน้ จําเป็ นต้อง

นั้น
ออกแบบและติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรประเภทต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึง่ ประกอบไปด้วย ป้ายจราจร
(Traffic Signs) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Markings) สัญญาณไฟจราจร (Traffic Signals) ตลอดจน

เท่า
อุ ปกรณ์ อ่ืนๆที่ใช้ร่วมกับอุป กรณ์ ข้างต้น เช่น เครื่องหมายนํ าทาง (Delineators) และไฟฟ้าแสงสว่างบนทางหลวง
(Road Lightings) เป็ นต้น นอกจากนี้การเลือกใช้วสั ดุและชิน้ ส่วนต่างๆ รวมไปถึงกระบวนการผลิตและวิธกี ารติดตัง้

ลวง
จะต้อ งเป็ น ไปตามข้อ กํ า หนดและมาตรฐานที่ก รมทางหลวงได้ร ะบุ ไ ว้ เพื่อ ให้ไ ด้ผ ลิต ภัณ ฑ์ง านทางที่ม ีคุ ณ ภาพ
มีความทนทานในการใช้งาน และประหยัดค่าใช้จา่ ยการซ่อมบํารุงในระยะยาว
อุปกรณ์ ค วบคุมการจราจรในงานก่อสร้า ง บูรณะและบํา รุงรักษาทางหลวง รวมทัง้ การก่อสร้างซ่อมแซม
างห
สาธารณู ปโภคอื่นๆ บนทางหลวงที่เปิ ดให้มกี ารจราจรผ่านไปมา จําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการจัดตัง้ อุปกรณ์ควบคุม
การจราจร เพื่อ บัง คับ เตือ น และแนะนํ า ผู้ข ับ ขี่ย วดยานที่เ ดิน ทางผ่ า นไปมา ให้ ไ ด้ ร ับ ความสะดวกปลอดภัย
รมท

และไม่ ม ีอุ ป สรรคในการดํ า เนิ น งานก่ อ สร้า ง อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจรดัง กล่ า ว จะต้ อ งมีม าตรฐานเดีย วกัน
เพือ่ ให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานไม่สบั สนหรือลังเลทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามเมื่อพบเห็น ดังนัน้ กรมทางหลวงจึงได้จดั ทําคู่มอื การใช้อุปกรณ์
ควบคุ ม การจราจรบริเ วณพื้น ที่ก่ อ สร้า งฉบับ นี้ เพื่อ ให้ห น่ ว ยงานและผู้ท่ีม ีส่ว นเกี่ย วข้อ งสามารถนํ า ไปปฏิบ ัติไ ด้
องก

อย่างถูกต้องและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ ่
ิทธิ์ข
ลิขส
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
สารบัญ
หน้ า

บทที่ 1 บททัวไป
่ (General) 1
1.1 มาตรฐานอุปกรณ์ควบคุมการจราจร 1
1.2 การใช้งาน 1

@
1.3 การบํารุงรักษา 2

บทที่ 2 ป้ ายจราจร (Traffic Signs) 3

นั้น
2.1 มาตรฐานป้ายจราจร 3

เท่า
2.2 มาตรฐานตัวอักษรและตัวเลข 3
2.3 ตําแหน่งและการติดตัง้ 3

ลวง
2.4 ป้ายบังคับ 6
2.4.1 ป้ายให้รถสวนทางมาก่อน (บ.3) 6
2.4.2 ป้ายจํากัดความเร็ว (บ.32) 6
างห
2.5 ป้ายเตือน 7
2.5.1 ป้ายเตือนสําหรับโครงการก่อสร้าง 8
รมท

2.5.1.1 ป้ายเตือนทางก่อสร้าง (ตค.1) 8


2.5.1.2 ป้ายเตือนทางก่อสร้างแนวใหม่ (ตค.2) 8
2.5.1.3 ป้ายเตือนทางรักษาสภาพทาง (ตค.3) 8
องก

2.5.2 ป้ายเตือนในงานก่อสร้างทาง และบูรณะทาง 9


2.5.2.1 ป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง (ตค.4) หรือสะพาน (ตค.5) 9
2.5.2.2 ป้ายเตือนทางปิด (ตค.6)
ิทธิ์ข

9
2.5.2.3 ป้ายเตือนลดความเร็ว (ตค.7) 9
2.5.2.4 ป้ายทางเบีย่ งซ้าย (ตค.8) และป้ายทางเบีย่ งขวา (ตค.9) 10
ลิขส

2.5.2.4 ป้ายบอกระยะทาง (ตค.10) 10


2.5.3 ป้ายเตือนในงานบํารุงรักษาทาง 10
2.5.3.1 ป้ายเตือนงานซ่อมทาง (ตค.11) และป้ายเตือนงานไหล่ทาง (ตค.12) 10
@

2.5.3.2 ป้ายเตือนมีกองวัสดุบนไหล่ทาง (ตค.13) 11


2.5.4 ป้ายเตือนชัวคราว
่ 11
2.5.4.1 ป้ายเตือนทางขาดข้างหน้า (ตค.14) 11
2.5.4.2 ป้ายเตือนนํ้าท่วมทาง (ตค.15) 12
2.5.4.3 ป้ายเตือนอุบตั เิ หตุ (ตค.16) 13
2.5.4.4 ป้ายเตือนในงานสาธารณูปโภค 13

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [i]


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

2.5.5 ป้ายเตือนอื่นๆ 14
2.5.5.1 ป้ายเตือนลูกศรขนาดใหญ่ (ตค.17 – ตก.19) 14
2.5.6 รูปแบบมาตรฐานป้ายเตือนในงานก่อสร้าง 14

@
2.5.6.1 ป้ายเตือนสํารวจทาง (ตก.1) 14
2.5.6.2 ป้ายเตือนงานก่อสร้าง (ตก.2) 14

นั้น
2.5.6.3 ป้ายเตือนคนทํางาน (ตก.3) 15
2.5.6.4 ป้ายเตือนเครือ่ งจักรกําลังทํางาน (ตก.4) 15

เท่า
2.5.6.5 ป้ายเตือนทางเบีย่ ง (ตก.5 – ตก.6) 15
2.5.6.6 ป้ายเตือนเบีย่ งการจราจร (ตก.7 – ตก.24) 16
2.5.6.7 ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย (ตก.25)

ลวง
และป้ายเตือนแนวทางไปทางขวา (ตก.26)
2.5.7 ป้ายเตือนในงานก่อสร้างทีน่ ํารูปแบบมาตรฐานป้ายเตือนทัวไปมาใช้
17
างห
่ 17
2.6 ป้ายแนะนํา 18
2.6.1 ป้ายแสดงระยะถึงทางปิด (ตค.20) หรือป้ายแสดงระยะถึงทางขาด (ตค.21) 18
รมท

2.6.2 ป้ายเส้นทางชัวคราว
่ (ตค.22) 19
2.6.3 ป้ายใช้ทางเบีย่ ง (ตค.23 – 24) 19
2.6.4 ป้ายแสดงระยะทางก่อสร้าง (ตค.25) 19
องก

2.6.5 ป้ายสิน้ สุดเขตก่อสร้าง (ตค.26) 20


2.6.6 ป้ายทางปิด (ตค.27) 20
ิทธิ์ข

2.6.7 ป้ายทางปิดห้ามรถผ่าน (ตค.28) 20


2.6.8 ป้ายทางขาด (ตค.29) 20
2.6.9 หลักแสดงระดับนํ้า 21
ลิขส

2.6.10 ป้ายโครงการก่อสร้าง 21

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร (Traffic Devices) 23


@

3.1 แผงกัน้ (Barricades) 23


3.1.1 การใช้แผงกัน้ 25
3.2 กรวย (Traffic Cone) 28
3.3 ถังกลม (Drums) 28
3.4 แผงตัง้ (Vertical Panel) 28
3.5 หลักนําทาง (Guide Post) 29

[ ii ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

บทที่ 4 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Marking) 32


4.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติ 33
4.2 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซง 33

@
4.3 ลูกศร 33
4.4 เส้นขอบทาง 33

นั้น
4.5 เส้นชะลอความเร็ว (Rumble Strips) 33

เท่า
บทที่ 5 การเบี่ยงเบนการจราจร (Lane Transition) 35
5.1 ระยะสอบเข้า (Taper length) สําหรับงานก่อสร้าง 35

ลวง
5.2 การลดช่องจราจรของทางทีม่ รี ถวิง่ ไปในทิศทางเดียวกันหลายช่องจราจร 37
5.3 การลดช่องจราจรของทางทีม่ รี ถวิง่ สวนทาง 38
างห
บทที่ 6 อุปกรณ์การส่องสว่าง (Lighting Devices) 39
6.1 ไฟกะพริบ (Flashers) 39
รมท

6.2 ไฟส่องป้ายจราจร (Sign Light) 39


6.3 แสงสว่างแรงสูง (Floodlight) 39
6.4 แสงสว่างแรงตํ่า (Low Wattage Electric Lamps) 40
องก

6.5 โคมไฟและตะเกียง (Lanterns and Torches) 40

บทที่ 7 เครื่องให้สญ
ั ญาณ (Signalizing Devices) 41
ิทธิ์ข

7.1 สัญญาณธง (Flagging) 41


7.2 สัญญาณทางสะดวก 41
ลิขส

7.3 ไฟสัญญาณจราจร (Traffic Signal) 42

บทที่ 8 ป้ ายมือถือ (Knockdown) 43


8.1 วัตถุประสงค์ 43
@

8.2 รูปแบบแนะนํา 43
8.3 การใช้งานป้ายมือถือ 47

บทที่ 9 แบบป้ ายมาตรฐานในงานก่อสร้างบนทางหลวงแผ่นดิ น 49

บทที่ 10 แบบป้ ายมาตรฐานในงานก่อสร้างบนทางหลวงพิ เศษ 62

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ iii ]


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

บทที่ 11 รายละเอียดและหลักเกณฑ์แนบท้ายสัญญางานบริ หารการจราจรในระหว่างการก่อสร้าง 67


11.1 การกําหนดชนิดและอุปกรณ์ควบคุมการจราจร 67
11.2 ความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง 67

@
11.3 การกํากับดูแลและตรวจสอบของผูค้ วบคุมงาน 67
11.4 หลักเกณฑ์การคิดคํานวณและจ่ายค่างาน 68

นั้น
บรรณานุกรม 69

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ iv ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 1
บททัวไป
่ (General)
1.1 มาตรฐานอุปกรณ์ควบคุมการจราจร
อุ ป กรณ์ ควบคุม การจราจรในงานก่อสร้า ง บูรณะและบํา รุงรักษาทางหลวง รวมทัง้ การก่อสร้างซ่อ มแซม
สาธารณู ปโภคอื่นๆ บนทางหลวงที่เปิ ดให้มกี ารจราจรผ่านไปมา จําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการจัดตัง้ อุปกรณ์ควบคุม

@
การจราจร เพื่อบังคับ เตือน และแนะนํ าผูข้ บั ขีย่ วดยานที่เดินทางผ่านไปมา ให้ได้รบั ความสะดวกปลอดภัย และไม่ม ี

นั้น
อุปสรรคในการดําเนินงานก่อสร้าง
อุปกรณ์ควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง บูรณะ หรือบํารุงรักษาทางหลวง จะต้องมีมาตรฐานเดียวกันโดย

เท่า
ตลอด เพือ่ ให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานไม่สบั สน หรือลังเลทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามเมือ่ พบเห็น
มาตรฐานอุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีจ่ ดั ทําไว้ในคู่มอื นี้ เป็ นแนวทางสําหรับปฏิบตั โิ ดยทัวไป ่ รวมถึงอุปกรณ์

ลวง
ควบคุมจราจรชัวคราวด้
่ วย เช่น กรณีน้ําท่วมทางหลวง หรือทางขาด หรือเกิดอุบตั เิ หตุ เป็ นต้น สําหรับงานก่อสร้างทาง
หรืองานอื่นๆ ทีม่ สี ภาพทางและการจราจรต่างจากแบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้างทีแ่ สดงไว้ ก็ให้พจิ ารณาใช้อุปกรณ์
ควบคุมการจราจรตามความเหมาะสม
างห
อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจรในงานก่ อ สร้า ง บู ร ณะและบํ า รุ ง รัก ษาทางหลวง และการก่ อ สร้า งซ่ อ มแซม
สาธารณูปโภคบนทางหลวง โดยทัวไปมี ่ ดงั ต่อไปนี้
รมท

1) ป้ายจราจร (Traffic Signs)


2) แผงกัน้ (Barricades)
3) เครือ่ งจัดช่องจราจร (Channelizing Devices)
องก

4) อุปกรณ์สอ่ งสว่าง (Lighting Devices)


5) เครือ่ งให้สญ ั ญาณ (Signalizing Devices)
ิทธิ์ข

1.2 การใช้งาน
ตัว อย่า งการใช้ง านที่แ สดงไว้ใ นหนัง สือ คู่ม ือ เล่ ม นี้ เป็ น มาตรฐานขัน้ ตํ่ า สํา หรับ งานก่ อ สร้า ง บูร ณะและ
ลิขส

บํารุงรักษาทางหลวง สามารถนําไปใช้ได้บนทางหลวงทัวไป ่ แต่สภาพทางหลวงและการจราจรบางแห่งอาจเป็ นบริเวณ


ทีม่ อี นั ตรายมาก หรือมีความยุง่ ยากสับสนเป็ นพิเศษ ให้เพิม่ การป้องกันโดยใช้เครื่องหมายให้มากขึน้ หรือเพิม่ ขนาดให้
ใหญ่ขน้ึ
@

บนทางหลวงสายหลักบริเวณชานเมืองที่มปี ริมาณจราจรสูงในชัวโมงเร่ ่ งด่วน การดําเนินการก่อสร้าง บูรณะ


หรือบํารุงรักษาทางหลวงจะทําให้การจราจรติดขัดถึงแม้ว่าจะมีอุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีส่ มบูรณ์แบบเพียงใดก็ตาม
ดังนัน้ ควรหลีกเลีย่ งการดําเนินงานในชัวโมงดั
่ งกล่าว
ทางหลวงนอกเมืองที่มปี ริมาณจราจรตํ่า แต่สภาพของทางดี ยวดยานมักจะใช้ความเร็วสูง การลดมาตรฐาน
อุปกรณ์ ควบคุมการจราจรในระหว่างการก่อสร้าง บูรณะและบํารุงทางหลวง อาจะเป็ นเหตุให้เกิดอุบตั ิเหตุ และเป็ น

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [1]


อันตรายแก่ผสู้ ญ ั จรและต่อคนงานก่อสร้างได้ ชีวติ คนมีค่ามากกว่าอุปกรณ์ควบคุมการจราจรสุดจะเปรียบได้ จึงไม่ควร
ประหยัดค่าอุปกรณ์ควบคุมการจราจรเพือ่ ป้องกันอุบตั เิ หตุไม่ให้ผคู้ นต้องบาดเจ็บเสียชีวติ บนทางหลวง
มาตรฐานอุปกรณ์ควบคุมการจราจรนี้ ให้รวมถึงการใช้งานในการซ่อมแซมสาธารณูปโภคบนทางหลวง หรือ
การขออนุญาตดําเนินการใดๆ บนผิวจราจร หรือใกล้เคียงกับผิวจราจร และงานชัวคราวอื ่ ่นๆ ด้วย
ในการก่อสร้าง บูรณะและบํารุงทางหลวง รวมทัง้ การก่อสร้างซ่อมแซมสาธารณูปโภคอื่นๆ บนทางหลวง หรือ
ทางเท้าทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กับช่องจราจรเป็ นบริเวณทีท่ าํ ให้ไม่สะดวกต่อการจราจร และอาจเกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ยกว่าปกติ ทัง้ นี้
เนื่องจากผูข้ บั ขีย่ วดยาน หรือคนเดินเท้าไม่ได้คาดหมายว่าจะมีอุปสรรคข้างหน้า ดังนัน้ เพื่อให้ผขู้ บั ขีย่ วดยาน และผูใ้ ช้

@
ทางหลวงเกิดความสะดวกและปลอดภัย จึงจําเป็ นต้องติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรให้เพียงพอดังนี้
1) เตือนล่วงหน้าให้ผขู้ บั ขีท่ ราบก่อนถึงจุดอันตราย

นั้น
2) แสดงจุดอุปสรรคและการเบีย่ งเบนแนวการจราจร
3) ป้ายประกาศและป้ายแนะนํา

เท่า
ในการก่อสร้าง บูรณะและบํารุงทางหลวง รวมทัง้ การก่อสร้างซ่อมแซมสาธารณูปโภคอื่นๆ บนทางหลวง หรือ
กรณีฉุกเฉิน ทีใ่ ช้เวลาระยะสัน้ ๆ อาจอนุโลมให้ใช้รถงานทีม่ ไี ฟกะพริบสีเหลืองมาจอดไว้ หรือติดตัง้ ไฟกะพริบสีเหลืองไว้

ลวง
ในทีเ่ ห็นได้ชดั เจนแทนก็ได้

1.3 การบํารุงรักษา
างห
อุปกรณ์ ควบคุมการจราจรที่อยู่ในสภาพดี และทันต่อเหตุการณ์ ของการควบคุมการจราจร จะทําให้ผู้ขบั ขี่
ยวดยานปฏิบตั ติ าม การบํารุงรักษาจึงจําเป็ นอย่างมาก เนื่องจากในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงทางหลวง อุปกรณ์
รมท

ควบคุมการจราจรมีโอกาสทีจ่ ะชํารุดเสียหาย หรือลบเลือนได้งา่ ย ดังนัน้ จึงควรหมันตรวจตราและบํ


่ ารุงรักษา เช่น
1) ป้ า ยจราจรที่ถู ก ฝุ่น จับ จนเลอะเลือน จะต้อ งต้อ งทํา ความสะอาดให้สดใส หรือ เปลี่ย นใหม่เ มื่อ
หมดอายุการใช้งาน
องก

2) เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางทีล่ บเลือนจะต้องจัดทําใหม่


3) กองวัสดุก่อสร้าง กอหญ้าหรืออื่นๆ ทีบ่ ดบังสายตา ควรเคลื่อนย้ายออกไป ถ้าการเคลื่อนย้ายวัสดุท่ี
ิทธิ์ข

บังสายตากระทําไม่ได้ ก็จะต้องพิจารณาเปลีย่ นตําแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีถ่ กู บังให้เห็นได้ชดั เจน

สิ่ งที่ จะต้องดําเนิ นการทันที เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จ คือรื้อถออนอุปกรณ์ ควบคุมการจราจรที่ หมด


ลิขส

ความจําเป็ นออกทันที เช่น ป้ายแนะนํ าให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานทราบว่ามีกองวัสดุอยู่ขา้ งทาง เมื่อได้นําวัสดุไปใช้งานแล้ว


ต้องรือ้ ถอนป้ายดังกล่าวออกไปด้วย
@

[2] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 2
ป้ ายจราจร (Traffic Signs)
2.1 มาตรฐานป้ ายจราจร
ป้ายจราจรทีใ่ ช้ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงทางหลวง ทัง้ งานซ่อมแซมก่อสร้างสาธารณูปโภคบนทางหลวง
จัดแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด เช่นเดียวกับป้ายจราจรทัวไปที
่ ต่ ดิ ตัง้ บนทางหลวง คือ

@
1) ป้ายบังคับ
2) ป้ายเตือน

นั้น
3) ป้ายแนะนํา

เท่า
สําหรับป้ายแนะนํ าให้รวมถึงป้ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน เช่น ป้ายที่ใช้ประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ และ
ป้ายโครงการเป็ นต้น

ลวง
ลักษณะของป้ายจราจรนี้ให้เป็ นไปตามแบบและมาตรฐานป้ายจราจรทัวไป ่ แต่เพื่อทีจ่ ะเน้นให้ผขู้ บั ขีเ่ พิม่ ความ
ระมัดระวังมากขึน้ จึงกําหนดให้ใช้สปี ้ ายเตือนและป้ายแนะนําเป็ นสีสม้ มาตรฐาน มอก. เป็ นส่วนมาก แผ่นวัสดุสะท้อน
แสงทีใ่ ช้ในการผลิตป้ายจะต้องมีคา่ สะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าค่าสะท้อนแสง ระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529
างห
2.2 มาตรฐานตัวอักษรและตัวเลข
รมท

แบบของตัวอักษรและตัวเลข และการจัดระยะห่างระหว่างตัวอักษรให้ใช้ตามหนังสือมาตรฐานตัวอักษรและ
ตัวเลขสําหรับป้ายจราจรของกรมทางหลวง ส่วนขนาดและชุดของตัวอักษรและตัวเลข ให้ใช้ตามทีก่ ําหนดไว้ในป้ายแต่
ละป้าย แต่อย่างไรก็ตาม ป้ายบางแบบมีจาํ นวนตัวอักษรไม่เท่ากัน อาจบรรจุขอ้ ความลงในป้ายขนาดตามต้องการไม่ได้
องก

ก็ให้พจิ ารณาลดขนาดตัวอักษรลงตามความเหมาะสม
ิทธิ์ข

2.3 ตําแหน่ งและการติ ดตัง้


การติดตัง้ ป้ายจราจรในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง จะต้องติดตัง้ ในตําแหน่งทีผ่ ขู้ บั ขีย่ วดยาน
ลิขส

สามารถมองเห็นได้ง่ายและชัดเจน โดยทัวไปให้ ่ ตดิ ตัง้ ด้านซ้ายมือของทิศทางการจราจร แต่ถา้ มีความจําเป็ นต้องเน้น


เป็ นพิเศษ หรือเป็ นทางทีม่ หี ลายช่องจราจร ก็ให้ตดิ ตัง้ ป้ายทางขวามือด้วย
ป้ายจราจรทีต่ ดิ ตัง้ บนเสาป้าย จะต้องให้ขอบป้ายอยู่ห่างจากขอบไหล่ทางออกไปไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร
แต่จะต้องห่างจากขอบทางไม่เกิน 4.00 เมตร นอกจากทีร่ ะบุเป็ นอย่างอื่น สําหรับทางหลวงทีม่ คี นั หิน (Curb) ขอบป้าย
@

ติดทางวิง่ จะต้องห่างจากขอบทางไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร


ความสูงของป้ายจราจรวัดถึงขอบป้ายด้านล่างจะต้องไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร สําหรับทางหลวงนอกเมือง แต่
ถ้าเป็ นทางหลวงในเมืองจะต้องติดตัง้ ให้สงู ไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร
การติดตัง้ ป้ายบนขาตัง้ หรือแผงกัน้ จะติดตัง้ บนไหล่ทางหรือบนผิวจราจรตามการใช้งาน โดยที่ขอบป้าย
ด้านล่างจะต้องสูงกว่าผิวทางอย่างน้อย 50 เซนติเมตร

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [3]


บนทางหลวงทัวไป ่ จะต้องติดตัง้ ป้ายเตือนล่วงหน้าประมาณ 300 เมตร แต่ถา้ เป็ นงานทีใ่ ช้เวลาสัน้ เฉพาะเวลา
กลางวัน ซึ่งผู้ขบั ขีร่ ถมองเห็นการทํางานในระยะไกล ระยะติดตัง้ อาจลดลงเหลือประมาณ 100 เมตรได้ สําหรับทาง
หลวงที่ยวดยานใช้ความเร็วสูง และปริมาณจราจรมาก เช่น ทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่มปี ริมาณจราจรตัง้ แต่
4,000 คันต่อวันขึน้ ไป ถ้ามีงานก่อสร้างหรือบํารุงรักษาบนผิวจราจรเป็ นเวลานานวัน จะต้องติดตัง้ ป้ายเตือนล่วงหน้า
อย่างน้อย 500 เมตร แต่ถา้ เป็ นทางหลวงพิเศษ ระยะติดตัง้ ป้ายล่วงหน้าจะต้องเป็ น 1 กิโลเมตรเป็ นอย่างน้อย
การติดตัง้ ป้ายจราจรเป็ นระยะ ๆ หลายๆ ชุด ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุดจะต้องไม่น้อยกว่า 100 เมตร แต่
ถ้าเป็ นทางหลวงในเมือง ระยะห่างระหว่างป้ายอาจลดลงได้ อาจกําหนดระยะห่างระหว่างป้าย แต่ละชุดตามความเร็ว

@
ดังนี้
1) ความเร็วตํ่ากว่า 70 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ ใช้ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุด 100 เมตร

นั้น
2) ความเร็วตัง้ แต่ 70 กิโลเมตรต่อชัวโมง่ ใช้ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุด 150 เมตร
3) ทางหลวงพิเศษ (Motorway) ใช้ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุด 300 เมตร

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[4] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


1.50 ม. (อย่างน้อย)

ผิวจราจร
2.00 ม. (อย่างน้อย)

1.20 ม. (อย่างน้อย)

@
ติ ดตัง้ บนเสา

นั้น
เท่า
ลวง
างห
ติ ดตัง้ บนขา หรือแผงกัน้
รมท
องก

ติ ดตัง้ บนแผงกัน้ กลางทาง ติ ดตัง้ บนแผงกัน้ ข้างทาง


ิทธิ์ข
ลิขส

ติ ดตัง้ บนรถ
@

รูปที่ 2-1 การติดตัง้ ป้ายจราจร ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [5]


2.4 ป้ ายบังคับ
ป้ายบังคับ ได้แก่ป้ายจราจรทีม่ คี วามหมายเป็ นการบังคับให้ผใู้ ช้ทางปฏิบตั ติ ามความหมายของเครื่องหมายที่
ปรากฏอยู่ในป้ายนัน้ โดยการกําหนดให้ผูใ้ ช้ทางต้องกระทํา งดเว้นการกระทํา หรือกําหนดการกระทําในบางประการ
หรือบางลักษณะ ป้ายบังคับแบ่งเป็ น 2 ประเภทดังนี้
1) ป้ายบังคับทีแ่ สดงความหมายตามรูปแบบลักษณะทีก่ าํ หนด
2) ป้ายบังคับทีแ่ สดงด้วยข้อความ หรือสัญลักษณ์ หรือทัง้ สองอย่างรวมกัน
ป้ายบังคับเป็ นป้ายทีม่ ผี ลบังคับตามกฎหมาย ซึง่ จะใช้ได้เฉพาะป้ายตามแบบมาตรฐานเท่านัน้ ในงานก่อสร้าง

@
บูรณะ และบํารุงรักษาทางหลวง อาจใช้ป้ายบังคับตามมาตรฐานได้ตามความเหมาะสม ป้ายบังคับทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้บ่อยๆ
ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางมีดงั นี้

นั้น
2.4.1 ป้ ายให้รถสวนทางมาก่อน (บ.3)

เท่า
ป้ายให้รถสวนทางมาก่อน กําหนดให้ผู้ขบั ขี่รถทุกชนิดต้องหยุดตรงตําแหน่ งที่
ติดตัง้ ป้าย และรอให้รถทีก่ ําลังสวนทางมาผ่านไปก่อน หากมีรถข้างหน้าหยุดรออยูก่ ่อน ก็

ตรงป้ายนี้ผา่ นไปได้
ลวง
ให้หยุดรอถัดต่อกันมาตามลําดับ เมือ่ รถทีส่ วนทางมาได้ผา่ นไปหมดแล้ว จึงเลื่อนรถทีห่ ยุด

(บ.3)
างห
ให้ใช้ป้ายนี้เมื่อมีการซ่อมแซมช่องจราจร รถทีจ่ ะแล่นต่อไปจะต้องแล่นเข้าไปใน
ช่องจราจรสําหรับรถสวนทางมา
การติดตัง้ จะต้องคํานึงถึงความเร็วรถทีเ่ ข้ามาสูบ่ ริเวณนี้ดว้ ย ดังนัน้ จึงจําเป็ นต้อง
รมท

ติดตัง้ ป้ายเตือนงานก่อสร้างหรือซ่อมทางก่อนเสมอ ให้ตดิ ตัง้ ด้านเดียวในทิศทางด้านที่ม ี


การปิ ดช่องจราจร สําหรับด้านทิศทางทีส่ วนทางมาไม่ตอ้ งติดตัง้ ป้ายแบบนี้
องก

2.4.2 ป้ ายจํากัดความเร็ว (บ.32)


ป้ายจํากัดความเร็วกําหนดให้ผขู้ บั ขีร่ ถทุกชนิดห้ามใช้ความเร็วเกินกว่าทีก่ ําหนด
ิทธิ์ข

เป็ น กิโ ลเมตรต่อชัวโมง


่ ตามจํา นวนตัว เลขที่ร ะบุใ นป้ า ยนัน้ ๆ ในเขตทางที่ติด ตัง้ ป้ า ย
จนกว่าจะพ้นระยะจํากัดความเร็ว
ลิขส

ในงานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทาง เมื่อต้องการให้ยวดยานลดความเร็ว


(บ.32)
ลง ให้ตดิ ตัง้ ป้ายจํากัดความเร็ว เพือ่ มิให้ผขู้ บั ขีร่ ถเร็วเกินกําหนด
ไม่ควรกําหนดความเร็วให้ต่ํา เกินไปจนกระทังผู ่ ้ขบั ขี่ส่วนใหญ่ ฝ่า ฝื น แต่ถ้า มี
ความจํ า เป็ น ควรใช้วิธีก ารอื่น ควบคู่ ไ ปด้ ว ย เช่ น การติด ตัง้ แผงกัน้ ข้า งทาง (Wing
@

Barricade) หรือค่อยๆ ลดความเร็วลงทีละน้อย โดยการติดตัง้ ป้ายจํากัดความเร็วเป็ น


ระยะๆ ป้ายจํากัดความเร็วอาจติดตัง้ ควบคูก่ บั ป้ายเตือนต่างๆ ได้

[6] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


ป้ ายหยุด ป้ ายห้ามแซง ป้ ายห้ามเข้า ป้ ายห้ามจอดรถ
(บ.1) (บ.4) (บ.5) (บ.29)

@
นั้น
ป้ ายจํากัดนํ้าหนัก ป้ ายจํากัดความกว้าง ป้ ายจํากัดความสูง
(บ.33) (บ.34) (บ.35)

เท่า
ป้ ายรถเดิ นทางเดียวไป ป้ ายรถเดิ นทางเดียวไป ลวง ป้ ายให้ชิดซ้าย ป้ ายให้ชิดขวา
างห
ทางซ้าย (บ.38) ทางขวา (บ.39) (บ.40) (บ.41)
รมท

รูปที่ 2-2 ป้ายบังคับอื่นๆ ทีใ่ ช้ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางเสมอๆ

ขนาดของป้ายบังคับ ให้ใช้ขนาด 90 เซนติเมตร แต่ถา้ ติดตัง้ บนทางหลวงสายประธานทีม่ ปี ริมาณจราจรมาก


องก

และยวดยานใช้ความเร็วสูง ก็อาจเพิม่ ขนาดเป็ น 1.20 เมตรได้ และควรติดตัง้ ป้ายเสริมทางขวามือด้วย


ให้ตดิ ตัง้ ป้ายบังคับตรงจุดทีต่ อ้ งการบังคับ หรือใกล้เคียงในระยะประมาณ 3-5 เมตร
ิทธิ์ข

2.5 ป้ ายเตือน
ป้ายเตือน ได้แก่ ป้ายจราจรทีม่ คี วามหมายในการเตือนผูใ้ ช้ทางให้ทราบล่วงหน้า ถึงสภาพทางหรือข้อมูลอย่าง
ลิขส

อื่นที่เกิดขึ้นในทาง หรือทางหลวงข้างหน้ า อันอาจก่อให้เกิดอันตราย หรืออุบตั ิเหตุข้นึ ได้ เพื่อให้ผู้ใช้ทางใช้ความ


ระมัดระวังในการใช้ทางซึง่ จะช่วยป้องกันการเกิดอันตราย หรืออุบตั เิ หตุดงั กล่าวได้
ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง ใช้สาํ หรับเตือนผูข้ บั ขีย่ วดยานให้ทราบถึงอันตราย
@

จากสภาพทาง หรือการดําเนินการใดๆ ทีผ่ ดิ แปลกไปจากปกติ

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [7]


ลักษณะของป้ายเตือนในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง มี 2 แบบ คือ
1) ป้ ายเตือ นแบบที่ใ ช้เ ครื่อ งหมายหรือ สัญ ลัก ษณ์ เ ป็ น รู ป สี่เ หลี่ย มจัตุ ร ัส ตัง้ มุ ม ขึ้น พื้น ป้ ายสีส้ม
เครือ่ งหมายสัญลักษณ์ ตัวอักษร และเส้นขอบป้ายเป็ นสีดาํ
2) ป้ายเตือนแบบข้อความต่างๆ มีลกั ษณะเป็ นป้ายสี่เหลี่ยม พื้นสีสม้ เส้นขอบป้าย ข้อความ และ
สัญลักษณ์สดี าํ ใช้ตดิ ตัง้ เดีย่ ว หรือติดตัง้ ประกอบป้ายเตือนในแบบที่ 1 ผูข้ บั ขีค่ วรปฏิบตั ติ ามข้อความและสัญลักษณ์ท่ี
ระบุในป้าย และเพิม่ ความระมัดระวัง

@
แบบมาตรฐานและการใช้ ง านของป้ ายเตื อ นในงานก่ อ สร้ า ง บู ร ณะและบํา รุง รัก ษาทางหลวงมี
ดังต่อไปนี้

นั้น
2.5.1 ป้ ายเตือนสําหรับโครงการก่อสร้าง

เท่า
2.5.1.1 ป้ ายเตือนทางก่อสร้าง (ตค.1)
ป้ายเตือนทางก่อสร้าง บรรจุขอ้ ความ “ทางก่อสร้าง โปรดระมัดระวัง”

ลวง
ใช้ ก ับ ทางก่ อ สร้ า งซึ่ ง ทํ า การก่ อ สร้ า ง บู ร ณะและบํ า รุ ง รัก ษาในทางที่เ ปิ ด
การจราจรแล้ว และยังคงเปิดการจราจรตามปกติในขณะก่อสร้าง (ตค.1)
การติด ตัง้ ให้ติด ตัง้ ล่ว งหน้ า ก่ อ นถึง จุด เริ่ม โครงการไม่น้ อ ยกว่า 200 ขนาดป้าย 90 X 240 ซม. อย่างน้อย
างห
เมตร เว้นแต่จุดเริม่ โครงการเป็ นทางแยก ให้ตดิ ตัง้ ใกล้กบั จุดเริม่ โครงการ ระยะ ตัวอักษรขนาด 20 ซม.
ติดตัง้ ห่างจากขอบทาง 4-6 เมตร
รมท

ป้ายเตือนทางก่อสร้างไม่จําเป็ นต้องติดตัง้ ในงานก่อสร้างเฉพาะจุด เช่น งานก่อสร้างสะพาน หรือทางแยก


โดยให้ใช้ป้ายเตือนงานก่อสร้างทางแทน
องก

2.5.1.2 ป้ ายเตือนทางก่อสร้างแนวใหม่ (ตค.2)


ป้ายเตือนทางก่อสร้างแนวใหม่ บรรจุขอ้ ความ “ทางกําลังก่อสร้าง ยังไม่
เปิ ดเป็ นทางสาธารณะ โปรดระมัดระวังเป็ นพิเศษ” ใช้กบั ทางก่อสร้างแนวใหม่ท่ี
ิทธิ์ข

จําเป็ นต้องยอมให้การจราจรในบริเวณนัน้ ผ่าน


(ตค.2)
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ใกล้จุดเริม่ ต้นโครงการ ห่างจากขอบทาง 4-6 เมตร
ขนาดป้าย 150 X 360 ซม. อย่างน้อย
ลิขส

ตัวอักษรขนาด 20 ซม.

2.5.1.3 ป้ ายเตือนทางรักษาสภาพทาง (ตค.3)


ป้ายเตือนทางรักษาสภาพทาง บรรจุขอ้ ความ “ทางยังไม่เปิ ดเป็ นทาง
@

สาธารณะ โปรดระมัดระวังเป็ นพิเศษ” ใช้กบั ทางรักษาสภาพทางที่ผิวทางยัง


(ตค.3)
ไม่ได้มาตรฐาน
ขนาดป้าย 90 X 360 ซม. อย่างน้อย
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ใกล้จุดเริม่ ต้นทาง ห่างจากขอบทาง 4-6 เมตร
ตัวอักษรขนาด 20 ซม.

[8] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.5.2 ป้ ายเตือนในงานก่อสร้างทาง และบูรณะทาง

2.5.2.1 ป้ ายเตือนงานก่อสร้างทาง (ตค.4) หรือสะพาน (ตค.5)


ป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง หรือสะพานใช้ตดิ ตัง้ ล่วงหน้าก่อนถึงบริเวณ
ทีก่ ําลังทําการก่อสร้างทาง เพื่อเตือนผูข้ บั ขีย่ วดยานให้ทราบถึงสิง่ กีดขวาง หรือ
ข้อจํากัดบางอย่าง เนื่องจากงานก่อสร้างทาง หรือสะพาน
(ตค.4)
ป้ายบรรจุข้อความบรรทัดบน “งานก่อสร้างทาง” หรือ “งานก่อสร้าง
สะพาน” ส่วนบรรทัดล่างอาจเป็ น “1 กม.” หรือ “500 ม.” ตามระยะที่ตดิ ตัง้

@
ล่วงหน้ า แต่ถ้า ติดตัง้ ล่วงหน้ าไม่เกิน 300 เมตร ให้ใ ช้ข้อความบรรทัดล่า งว่า
“ข้า งหน้ า ” อย่า งไรก็ต าม การติด ตัง้ ป้ า ยเตือ นงานก่ อ สร้า งทาง หรือ สะพาน (ตค.5)

นั้น
ขนาดป้าย 90 X 240 ซม. อย่างน้อย
จะต้องติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 200 เมตร
ตัวอักษรขนาด 20 ซม.

เท่า
2.5.2.2 ป้ ายเตือนทางปิ ด (ตค.6)

ก่อสร้างในกรณีท่ไี ม่มที างเบี่ยงชัวคราวอยู



ลวง
ป้ายเตือนทางปิ ด ใช้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงบริเวณทีม่ กี ารปิ ดกัน้ การจราจร เพื่อ
่ใกล้เคียง ถ้ามีทางเบี่ยงให้ใ ช้ป้ า ย
างห
เตือนทางเบีย่ งแทน
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 เมตร ข้อความบรรทัดล่าง
อาจเปลี่ยนจากคําว่า “ข้างหน้ า” เป็ น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ แต่จะต้อง
รมท

(ตค.6)
ติดตัง้ ล่วงหน้าเป็ นระยะทางใกล้เคียงกับทีร่ ะบุบนป้าย
ขนาด 90 X 120 ซม. อย่างน้อย
เมื่อติดตัง้ ป้ายเตือนทางปิ ดแล้ว ยังต้องติดตัง้ ป้ายทางปิ ดห้ามรถผ่าน ตัวอักษรแถวบนขนาด 20 ซม.
องก

และแผงกัน้ ชนิด 3 ชัน้ ตรงตําแหน่งทีป่ ิดกัน้ จราจรอีกด้วย ตัวอักษรแถวล่างขนาด 15 ซม.


ป้ายเตือนทางปิดอาจติดตัง้ บนแผงกัน้ ข้างทาง (Wing Barricade) ก็ได้
ิทธิ์ข

2.5.2.3 ป้ ายเตือนลดความเร็ว (ตค.7)


ป้ ายเตือนลดความเร็ว ใช้ติดตัง้ ล่ว งหน้ า ก่อนถึงบริเ วณก่อสร้า ง เพื่อ
ลิขส

เตือนผู้ขบั ขีใ่ ห้ลดความเร็วลง ใช้ตดิ ตัง้ เดี่ยวหรือติดตัง้ ประกอบป้ายเตือนในงาน


ก่อสร้างตามรูปแบบและลักษณะทีก่ าํ หนด (ตค.7)
ขนาด 60 X 180 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษรขนาด 20 ซม.
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [9]


2.5.2.4 ป้ ายทางเบี่ยงซ้าย (ตค.8) และป้ ายทางเบี่ยงขวา (ตค.9)
ป้ายทางเบี่ยงซ้าย และป้ายทางเบี่ยงขวา ใช้ตดิ ตัง้ ประกอบป้ายเตือนทางเบี่ยงซ้าย (ตก.5) และป้ายเตือน
ทางเบีย่ งขวา (ตก.6) หรือติดตัง้ เดีย่ วก่อนถึงทางเบีย่ งทีร่ ะยะอย่างน้อย 150 เมตร

@
(ตค.8) (ตค.9)
ขนาด 75 X 75 ซม. อย่างน้อย

นั้น
ตัวอักษรขนาด 25 ซม.

เท่า
2.5.2.5 ป้ ายบอกระยะทาง (ตค.10)
ป้ ายบอกระยะทาง ใช้ติด ตัง้ เพื่อ ให้ท ราบว่ า ระยะทางก่ อ นถึง บริเ วณ
ก่อสร้าง มีระยะทางเท่าใด โดยจะบอกระยะทางเป็ น กม. หรือ ม. ก่อนถึงบริเวณ

ลวง
ก่อสร้าง ใช้ตดิ ตัง้ เดี่ยว หรือติดตัง้ ประกอบป้ายเตือน ในงานก่อสร้างตามลักษณะ
างห
และรูปแบบทีก่ าํ หนด
(ตค.10)
ขนาด 75 x 75 ซม. อย่างน้อย
รมท

ตัวอักษรขนาด 25 ซม.

2.5.3 ป้ ายเตือนในงานบํารุงรักษาทาง
องก

2.5.3.1 ป้ ายเตือนงานซ่อมทาง (ตค.11) และป้ ายเตือนงานไหล่ทาง (ตค.12)


ป้ายเตือนงานซ่อมทางและป้ายเตือนงานไหล่ทาง ใช้เตือนผูข้ บั ขีย่ วดยาน
ิทธิ์ข

ให้ทราบว่าทางข้างหน้ากําลังมีการซ่อมผิวจราจร หรือไหล่ทางแล้วแต่กรณี ผูข้ บั


รถอาจจะพบอุปสรรคบางอย่าง
(ตค.11)
ลิขส

การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 เมตร


@

(ตค.12)
ขนาด 60 x 135 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษรขนาด 15 ซม.

[ 10 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.5.3.2 ป้ ายเตือนมีกองวัสดุบนไหล่ทาง (ตค.13)
ป้ายเตือนมีกองวัสดุบ นไหล่ท าง ใช้ติดตัง้ เพื่อเตือนให้ผู้ขบั ขี่ยวดยาน
ทราบว่า ไหล่ทางข้างหน้ า มีวสั ดุกองอยู่เป็ นระยะๆ การติดตัง้ ป้ า ยให้ติดตัง้ ใกล้
จุดเริม่ ต้นมีกองวัสดุ ข้างเดียวกับทีก่ องวัสดุไว้
(ตค.13)
ขนาด 60 x135 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษรขนาด 15 ซม.

@
2.5.4 ป้ ายเตือนชัวคราว

2.5.4.1 ป้ ายเตือนทางขาดข้างหน้ า (ตค. 14)

นั้น
ป้ า ยเตือ นทางขาด ให้ต ดิ ตัง้ ก่อ นถึง ทางขาดเนื่ อ งจากภัย ธรรมชาติ

เท่า
โดยติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 เมตร ข้อความบรรทัดล่างอาจเปลี่ยนจากคํา
ว่า “ข้า งหน้ า ” เป็ น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ไ ด้ แต่จ ะต้องติดตัง้ ป้ า ยล่ว งหน้ า

ลวง
เป็ นระยะทางใกล้เคียงกับที่ระบุบนป้าย
เมื่อติดตัง้ ป้ายเตือนทางขาดข้างหน้าแล้ว ยังต้องติดตัง้ ป้ายทางขาดรถ (ตค. 14)
ผ่านไม่ได้ บนแผงกัน้ แบบที่ 2 ตรงตําแหน่งทีป่ ิดกัน้ จราจรอีกด้วย ขนาด 90 x 135 ซม. อย่างน้อย
างห
ป้ายเตือนทางขาด อาจติดตัง้ ร่วมกับแผงกัน้ ข้างทาง (Wing Barricade) ได้ ตัวอักษรแถวบน 20 ซม.
ตัวอักษรแถวล่าง 15 ซม.
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 11 ]


50 เมตร

@
นั้น
ให้ตงั ้ ลํ้าเข้าผิวจราจร 1 เมตร

เท่า
ลวง
างห
ถ้าติดตัง้ กลางถนนไม่ได้
ให้ตดิ ตัง้ ด้านข้าง ทัง้ ข้างซ้ายและขวา
รมท
องก
ิทธิ์ข

รูปที่ 2-3 ตัวอย่างอุปกรณ์ควบคุมการจราจร เพือ่ บอกเส้นทางชัวคราว


่ เมือ่ ทางขาดเนื่องจากภัยธรรมชาติ
ลิขส

2.5.4.2 ป้ ายเตือนนํ้าท่วมทาง (ตค.15)


ป้ายเตือนนํ้ าท่วมทาง ใช้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงทางที่มนี ้ํ าท่วมในระดับที่อาจเป็ น
อันตรายจนถึงขัน้ ที่รถผ่านไม่ได้ ในกรณีท่รี ถผ่านไม่ได้ให้ตดิ ตัง้ ป้ายทางปิ ดด้วย
สํา หรับ ทางช่ ว งที่ม ีน้ํ า ท่ ว มควรติด ตัง้ หลัก แสดงระดับ นํ้ า ด้ว ย โดยการติด ตัง้
@

ล่ ว งหน้ า ไม่ น้ อ ยกว่ า 300 เมตร ข้อ ความบรรทัด ล่ า งอาจเปลี่ย นจากคํ า ว่ า


(ตค.15)
“ข้างหน้า” เป็ น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ แต่จะต้องติดตัง้ ป้ายล่วงหน้าเป็ น
ขนาด 90 x 150 ซม. อย่างน้อย
ระยะทางใกล้เคียงกับระยะทางที่ระบุบนป้าย เมื่อนํ้ าลดหมดแล้วให้เอาป้ายออก
ตัวอักษรแถวบนขนาด 20 ซม.
ทันที ตัวอักษรแถวล่างขนาด 15 ซม.

[ 12 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.5.4.3 ป้ ายเตือนอุบตั ิ เหตุ (ตค. 16)
ป้ ายเตื อ นอุ บ ัติเ หตุ ใช้เ ตือ นผู้ ข ับ ขี่ย วดยานให้ ท ราบว่ า ข้า งหน้ า มี
อุบตั เิ หตุ อาจมียวดยานหรือวัตถุอ่นื กีดขวางทางจราจร ผูข้ บั ขีย่ วดยานต้องขับรถ
ด้วยความระมัดระวังเป็ นพิเศษ
การติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 เมตร
(ตค. 16)
ขนาด 80 x 120 ซม. อย่างน้อย

@
ตัวอักษรแถวบนขนาด 15 ซม.
ตัวอักษรแถวกลางขนาด 10 ซม.
ตัวอักษรแถวล่างขนาด 7.5 ซม.

นั้น
2.5.4.4 ป้ ายเตือนในงานสาธารณูปโภค

เท่า
ป้ายเตือนในงานสาธารณูปโภค เป็ นป้ายสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า พืน้ ป้ายสีสม้ ตัวอักษรสีดาํ มีขอ้ ความแสดงถึงงานที่
ทํา เช่น “งานซ่อมสายไฟฟ้า” “งานฝงั ท่อประปา” “งานวางท่อก๊าซธรรมชาติ” “งานวางท่อร้อยสายโทรศัพท์” เป็ นต้น

ลวง
ถ้าติดตัง้ ล่วงหน้าก็มคี าํ ว่า “ข้างหน้า” บรรทัดล่างด้วย โดยติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 เมตร ข้อความบรรทัดล่าง
อาจเปลีย่ นจากคําว่า “ข้างหน้า” เป็ น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ แต่จะต้องติดตัง้ ล่วงหน้าเป็ นระยะทางใกล้เคียงกับ
างห
ระยะทางทีร่ ะบุบนป้าย
รมท
องก

ตัวอักษรแถวบนไม่ควรเล็กกว่าขนาด 20 ซม.
ิทธิ์ข

ตัวอักษรแถวล่างขนาด 15 ซม.

รูปที่ 2-4 ป้ายเตือนในงานสาธารณูปโภค


ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 13 ]


2.5.5 ป้ ายเตือนอื่นๆ

2.5.5.1 ป้ ายเตือนลูกศรขนาดใหญ่ (ตค.17 – ตก.19)


ป้ายเตือนลูกศรขนาดใหญ่ ใช้เตือนผูข้ บั ขีย่ วดยานให้ทราบถึงบริเวณทีม่ กี ารเปลีย่ นแนวทางในแนวราบอย่าง
ทันทีทนั ใด เช่น หัวเลีย้ วของทางเบีย่ ง และตรงตําแหน่งทีช่ อ่ งจราจรสิน้ สุด เป็ นต้น
การติดตัง้ ใช้ขวางแนวจราจร ตรงตําแหน่งทีเ่ ลีย้ วออก หรือตําแหน่งทีช่ อ่ งจราจรสิน้ สุด

@
(ตค. 17)
ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างน้อย

นั้น
เท่า
(ตค. 18) (ตค. 19)

ลวง
ขนาด 120 X 300 ซม. อย่างน้อย

รูปที่ 2-5 ป้ายเตือนลูกศรขนาดใหญ่ (ตค.17 – 19)


างห
2.5.6 รูปแบบมาตรฐานป้ ายเตือนในงานก่อสร้าง
รมท

2.5.6.1 ป้ ายเตือนสํารวจทาง (ตก.1)


ป้ายเตือนสํารวจทางใช้ติดตัง้ ก่อนถึงบริเวณที่มเี จ้าหน้ าที่กําลังทําการ
องก

สํารวจอยูบ่ นผิวจราจร หรือใกล้ชดิ กับผิวจราจร โดยติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150


เมตร
ิทธิ์ข

(ตก.1)
ลิขส

2.5.6.2 ป้ ายเตือนงานก่อสร้าง (ตก.2)


ป้ายเตือนงานก่อสร้าง ให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงบริเวณก่อสร้างเพื่อเตือนให้ทราบ
ว่าทางข้างหน้ากําลังมีงานก่อสร้างอยู่บนผิวจราจรหรือทางเดินรถ หรือใกล้กบั ผิว
@

จราจร หรือทางเดินรถ ควรขับรถให้ช้าลงและเพิม่ ความระมัดระวัง โดยติดตัง้


ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 เมตร ใช้ตดิ ตัง้ เดี่ยวหรือติดตัง้ เป็ นชุดๆ ล่วงหน้าโดยมี
แผ่นป้ายบอกระยะทางสีสม้ ประกอบ
(ตก.2)

[ 14 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.5.6.3 ป้ ายเตือนคนทํางาน (ตก.3)
ป้ ายเตือ นคนทํ า งาน ใช้สํา หรับ เตือ นผู้ข บั ขี่ย วดยานให้ท ราบว่ า ทาง
ข้างหน้ามีคนกําลังทํางานอยู่บนผิวจราจร หรือใกล้ชดิ กับผิวจราจร ป้ายนี้ใช้ได้ทงั ้
งานก่อสร้างทีม่ คี นงานกําลังทํางานอยูช่ ว่ งใดช่วงหนึ่งของโครงการ งานบํารุงรักษา
ทางหรืองานเกีย่ วกับสาธารณูปโภค
การติดตัง้ ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 150 เมตร ใช้ติดตัง้ เดี่ยวหรือติดตัง้ เป็ น
ชุดๆ ล่วงหน้าโดยมีแผ่นป้ายบอกระยะทางสีสม้ ประกอบ (ตก.3)

@
2.5.6.4 ป้ ายเตือนเครื่องจักรกําลังทํางาน (ตก.4)

นั้น
ป้ายเตือนเครื่องจักรกําลังทํางาน ใช้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงบริเวณที่มเี ครื่องจักร
กําลังทํางานอยู่ขา้ งทาง และลํ้าเข้ามาในผิวจราจรหรือใกล้ผวิ จราจรเป็ นครัง้ คราว

เท่า
โดยติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 เมตร อาจมีแผ่นป้าย “เครื่องจักรกําลังทํางาน”
สีสม้ ประกอบ

ลวง (ตก.4)
างห
2.5.6.5 ป้ ายเตือนทางเบี่ยง (ตก.5 – ตก.6)
ป้ายเตือนทางเบี่ยงซ้าย (ตก.5) หรือป้ายเตือนทางเบี่ยงขวา (ตก.6) ใช้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงบริเวณที่มกี ารเปลี่ยน
รมท

แนวทางไปจากเดิมไปใช้ทางชัวคราวหรื
่ อทางเบีย่ ง โดยให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานทราบทิศทางทีจ่ ะเบีย่ งออกไปด้วย
การติดตัง้ ให้ติดตัง้ ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 150 เมตร อาจมีแผ่นป้าย “ทางเบี่ยงซ้าย” “ทางเบี่ยงขวา” สีส้ม
ประกอบ
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

(ตก.5) (ตก. 6)

รูปที่ 2-6 ป้ายเตือนทางเบีย่ งซ้าย (ตก.5) และป้ายเตือนทางเบีย่ งขวา (ตก. 6)


@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 15 ]


2.5.6.6 ป้ ายเตือนเบี่ยงการจราจร (ตก.7 – ตก.24)
ป้ายเตือนเบีย่ งการจราจร ใช้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงบริเวณทีม่ งี านก่อสร้าง จําเป็ นต้องเปลีย่ นแนวทางการจราจรไปใช้
ทางเบี่ยงหรือทางชัวคราวตามลั
่ กษณะสัญลักษณ์ในป้าย เพื่อให้ผูข้ บั ขีย่ วดยานทราบถึงสภาพทางและขับรถให้ชา้ ลง
และเพิม่ ความระมัดระวัง โดยติดตัง้ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 100 เมตร การติดตัง้ ป้ายนี้อาจติดตัง้ ป้าย “จํากัดความเร็ว”
หรือป้าย “ห้ามแซง” ร่วมด้วยก็ได้ตามสภาพของทาง

@
นั้น
(ตก.7) (ตก.8) (ตก.9) (ตก.10)

เท่า
ลวง
างห
(ตก.11) (ตก.12) (ตก.13) (ตก.14)
รมท
องก

(ตก.15) (ตก.16) (ตก.17) (ตก.18)


ิทธิ์ข
ลิขส

(ตก.19) (ตก.20) (ตก.21) (ตก.22)


@

(ตก.23) (ตก.24)

รูปที่ 2-7 ป้ายเตือนเบีย่ งเบนการจราจร (ตก.7 – ตก.24)

[ 16 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.5.6.7 ป้ ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย (ตก.25) และป้ ายเตือนแนวทางไปทางขวา (ตก.26)
ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย และป้ายเตือนแนวทางไปทางขวา ใช้
ติดตัง้ บริเวณที่มกี ารเปลี่ยนแนวทางการจราจรไปตามทิศทางที่ช้ีไป เพื่อให้ผู้
ขับขีย่ วดยานขับรถให้ชา้ ลง และเพิม่ ความระมัดระวัง
(ตก.25)
โดยติดตัง้ บริเวณที่มกี ารเปลี่ยนแนวทางในแนวราบอย่างทันทีทนั ใด
ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างน้อย
เช่น หัวเลี้ยวของทางเบี่ยงและตรงตําแหน่ งที่ช่องจราจรสิ้นสุดในลักษณะของ
แนวจราจร

@
(ตก.26)

นั้น
ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างน้อย

เท่า
2.5.7 ป้ ายเตือนในงานก่อสร้างที่นํารูปแบบมาตรฐานป้ ายเตือนทัวไปมาใช้ ่
ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทางหลวง อาจนําป้ายเตือนทีใ่ ช้ตามปกติมาใช้ได้ตามลักษณะ

ลวง
ของทาง โดยเปลีย่ นสีพน้ื ป้ายเป็ นสีสม้ ใช้ขนาด 90 เซนติเมตร ติดตัง้ ก่อนถึงจุดทีท่ างมีลกั ษณะตามป้าย 100 ถึง 200
เมตร ตัวอย่าง ดังนี้
างห
รมท
องก

ป้ ายเตือนทางโค้งต่างๆ
ิทธิ์ข
ลิขส

ป้ ายเตือนทางแคบลง ป้ ายเตือนทางแคบด้านซ้าย ป้ ายเตือนทางแคบด้านขวา ป้ ายเตือนสะพานแคบ


@

ป้ ายเตือนช่องจราจรปิ ด ป้ ายเตือนช่องจราจรปิ ด
ป้ ายเตือนทางขึน้ ลาดชัน ป้ ายเตือนทางลงลาดชัน
ด้านซ้าย ด้านขวา

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 17 ]


ป้ ายเตือนเปลี่ยนช่องเดิ นรถ ป้ ายเตือนเปลี่ยนช่องเดิ นรถ
ป้ ายเตือนรถกระโดด ป้ ายเตือนผิวทางขรุขระ
ไปทางซ้าย ไปทางขวา

@
นั้น
ป้ ายเตือนเครื่องหมายลูกศรคู่

เท่า
รูปที่ 2-8 ป้ายเตือนในงานก่อสร้างทีน่ ํารูปแบบป้ายเตือน (สีเหลือง) มาปรับใช้

2.6 ป้ ายแนะนํา
ลวง
ป้ายแนะนํ า ได้แก่ป้ายจราจร ที่มคี วามหมายเป็ นการแนะนํ าให้ผูใ้ ช้ทางทราบข้อมูลอันเกี่ยวกับการเดินทาง
างห
และการจราจร เช่น เส้นทางที่จะใช้ ทิศทาง ระยะทาง สถานที่ รวมทัง้ ข้อมูลอื่น เป็ นต้น เพื่อประโยชน์ ในการเดินทาง
และการจราจร ทําให้สะดวกและปลอดภัย
รมท

ป้ายแนะนําในงานก่อสร้างบูรณะ และบํารุงรักษาทางหลวง มีจุดมุง่ หมายสองประการ คือ


1) ใช้แสดงเส้นทางชัวคราว
่ เมือ่ ยวดยานจะต้องเปลีย่ นเส้นทางไปจากเส้นทางประจํา
2) ใช้แสดงข้อมูลต่างๆ ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง
องก

2.6.1 ป้ ายแสดงระยะถึงทางปิ ด (ตค.20) หรือป้ ายแสดงระยะถึงทางขาด (ตค.21)


ป้ายแสดงระยะถึงทางปิ ดหรือทางขาด บรรจุขอ้ ความ “อีก ( ) กม. ทางปิ ด”
ิทธิ์ข

หรือ “อีก ( ) กม. ทางขาด” ใช้ตดิ ตัง้ บริเวณทางแยกเพื่อแนะนํ าให้ผู้ขบั ขีย่ วดยานที่
ต้องการเดินทางไปไกลเกินระยะทางที่ระบุบนป้ายเปลี่ยนเส้นทางไปใช้เส้นทางอื่นที่
ทางแยกซึ่งติดตัง้ ป้า ยนี้เนื่องจากทางข้างหน้ าปิ ดการจราจร ส่วนผู้ขบั ขี่ยวดยานที่
ลิขส

ต้องการเดินทางไปตามเส้นทางทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายนี้ แต่ไม่ถงึ จุดทีป่ ิ ดการจราจร สามารถเดิน (ตค.20)


ทางเข้าไปได้
การติด ตัง้ ให้ติด ตัง้ ที่ท างแยกตรงปากทางเข้า ทางที่ม ีก ารปิ ด การจราจร
@

ข้างหน้า แสดงระยะทางโดยประมาณเป็ นกิโลเมตรทีจ่ ะไปถึงจุดทีท่ างปิ ด หรือทางขาด


โดยทัวไปให้
่ ติด ตัง้ บนแผงกัน้ ที่ก่ึง กลางทางหรือ ทางซ้า ยของปากทางเข้า แต่ ถ้า
ทางเข้ามีหลายช่องจราจรให้ตดิ ตัง้ ทัง้ ทางซ้ายและทางขวา (ตค.21)
การติด ตัง้ ป้ ายแสดงระยะถึง ทางปิ ด หรือ ทางขาด ควรติด ตัง้ ป้ า ยแนะนํ า ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษรแถวบน ขนาด 15 ซม.
เส้นทางชัวคราวควบคู
่ ก่ นั ด้วย ตัวอักษรแถวล่างขนาด 20 ซม.

[ 18 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.6.2 ป้ ายเส้นทางชัวคราว
่ (ตค.22)
ป้ายเส้นทางชัวคราว
่ ใช้แสดงเส้นทางที่เปลี่ยนไปจากเดิมที่จะไปสู่เมือง
หรือสถานทีท่ ม่ี กี ารปิดการจราจรบนเส้นทางประจํา
ในป้ ายเส้น ทางชัวคราว่ ให้ร ะบุสถานที่โ ดยใช้ช่ือจังหวัด อําเภอ หรือ
สถานทีส่ าํ คัญทีเ่ ส้นทางชัวคราวไปบรรจบกั
่ บเส้นทางเดิม
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ใต้ป้ายแสดงระยะถึงทางปิ ดหรือทางขาด โดยจะต้อง (ตค.22)
ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างน้อย
จัดเครือ่ งหมายลูกศรให้ชไ้ี ปในทิศทางทีถ่ กู ต้อง
ตัวอักษรขนาด 10 ซม.

@
ลูกศรขนาด 7 ซม.

2.6.3 ป้ ายใช้ทางเบี่ยง (ตค.23 – ตค.24)

นั้น
ป้ายใช้ทางเบีย่ ง ใช้แสดงทิศทางทีจ่ ะไปใช้ทางเบีย่ ง เนื่องจากทางตรงไปปิ ดการจราจรเพือ่ ก่อสร้าง

เท่า
โดยทัวไปให้
่ ตดิ ตัง้ ป้ายใช้ทางเบี่ยงใต้ป้ายทางปิ ด หรือป้ายแสดงระยะถึงทางปิ ด แต่ถ้าจําเป็ นก็อาจติดตัง้
ป้ายใช้ทางเบีย่ งเดีย่ ว หรือเพิม่ ขึน้ ก็ได้ การติดตัง้ ต้องระวังให้เครือ่ งหมายลูกศรถูกต้องตามทิศทางทีไ่ ปใช้ทางเบีย่ ง

ลวง
างห
(ตค. 23) (ตค. 24)
รมท

ขนาด 80 X 120 ซม. อย่างน้อย


ตัวอักษรขนาด 15 ซม. ลูกศรขนาด 10 ซม.
องก

รูปที่ 2-9 ป้ายใช้ทางเบีย่ ง (ตค.23 – ตค.24)

2.6.4 ป้ ายแสดงระยะทางก่อสร้าง (ตค.25)


ิทธิ์ข

ป้ายแสดงระยะทางก่อสร้าง ใช้ตดิ ตัง้ ใกล้จุดเริม่ งานก่อสร้าง บูรณะ และ


บํารุงรักษาทางหลวง ซึง่ เปิดการจราจรตามปกติทม่ี คี วามยาวตัง้ แต่ 3 กิโลเมตรขึน้
ไป
ลิขส

การติด ตัง้ ควรติด ตัง้ ร่ว มกับ แผงกัน้ ข้า งทาง (Wing Barricade) โดย (ตค.25)
แสดงระยะทางก่อสร้างโดยประมาณเป็ นกิโลเมตร ขนาด 90 X 180 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษร ขนาด 20 ซม.
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 19 ]


2.6.5 ป้ ายสิ้ นสุดเขตก่อสร้าง (ตค.26)
ป้ายสิ้นสุดเขตก่อสร้าง ใช้ติดตัง้ บริเวณเลยเขตก่อสร้างใกล้จุดสุดเขต
ก่อสร้าง หรือประมาณ 100 เมตร
ป้า ยสิ้น สุดเขตก่อสร้า งอาจติดตัง้ หลังป้ ายเตือนงานก่อสร้างทาง หรือ
ด้านหลังของแผงกัน้ ข้างทาง (Wing Barricade) ก็ได้ (ตค.26)
ขนาด 90 X 180 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษร ขนาด 20 ซม.

@
2.6.6 ป้ ายทางปิ ด (ตค.27)
ป้ายทางปิ ดใช้แสดงว่าทางข้างหน้ าปิ ดกัน้ การจราจรเพื่อก่อสร้างทาง

นั้น
ห้า มรถทุ ก ชนิ ด เข้า ยกเว้น เครื่อ งจัก รและรถของเจ้า หน้ า ที่ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ งาน

เท่า
ก่อสร้างทาง
ให้ใ ช้ป้ า ยทางปิ ด ในกรณีท่ีม ีท างเบี่ย งตรงจุด ที่ปิ ด ทางนัน้ และให้ใ ช้ (ตค.27)

ลวง
ติดตัง้ ร่วมกับป้ายใช้ทางเบีย่ ง ขนาด 60 x 120 ซม. อย่างน้อย
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ บริเวณกึ่งกลางทางจราจร ถ้ามีแผงกัน้ แบบที่ 2 ให้ ตัวอักษร 20 ซม.
ติดตัง้ บนแผงกัน้ นัน้
างห
ห้ามใช้ป้ายทางปิด เมือ่ อนุญาตให้รถระยะสัน้ ผ่าน หรือยังไม่ถงึ ตําแหน่ง
ทีป่ ิ ดการจราจร ในกรณีน้ีให้ใช้ป้ายแสดงระยะทางถึงทางปิด
รมท

2.6.7 ป้ ายทางปิ ดห้ามรถผ่าน (ตค. 28)


ป้ายทางปิ ดห้ามรถผ่าน เป็ นป้ายสีเ่ หลี่ยมผืนผ้า พืน้ ป้ายสีขาว เส้นขอบ
องก

ป้ายสีดาํ บรรจุขอ้ ความบรรทัดบน “ทางปิ ด” สีดาํ บรรทัดล่าง “ห้ามรถผ่าน” เป็ น


สีแดง ใช้ตดิ ตัง้ เช่นเดียวกับป้ายทางปิ ด แตกต่างกันทีป่ ้ ายทางปิ ดห้ามรถผ่าน ใช้
แสดงการปิ ดการจราจรในกรณีทไ่ี ม่มที างเบีย่ ง ตรงบริเวณจุดทีป่ ิ ดกัน้ การจราจร
ิทธิ์ข

และติดตัง้ เดีย่ วไม่มปี ้ ายอื่นประกอบ (ตค. 28)


ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างน้อย
ตัวอักษรแถวบน 20 ซม.
ลิขส

ตัวอักษรแถวล่าง 15 ซม.
@

[ 20 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


2.6.8 ป้ ายทางขาด (ตค. 29)
ป้ายทางขาด เป็ นป้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นป้ายสีขาว เส้นขอบป้ายสีดํา
บรรจุขอ้ ความบรรทัดบน “ทางขาด” สีดาํ บรรทัดล่าง “รถผ่านไม่ได้” เป็ นสีแดง ใช้
ติดตัง้ ตรงตําแหน่ งที่ปิดกัน้ การจราจรเพราะทางขาด เนื่องจากภัยธรรมชาติ ให้
ติดตัง้ ป้ายทางขาดบนแผงกัน้ แบบที่ 2
(ตค. 29)
ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างน้อย

@
ตัวอักษรแถวบนขนาด 20 ซม.
ตัวอักษรแถวล่างขนาด 15 ซม.

นั้น
2.6.9 หลักแสดงระดับนํ้า
หลักแสดงระดับนํ้า ใช้ตดิ ตัง้ ทีข่ อบนอกของไหล่ทาง บริเวณทีท่ างมี

เท่า
นํ้ าท่วม โดยอาจติดตัง้ ชัวคราว
่ หรือติดตัง้ ประจําก็ได้ถ้าทางบริเวณนัน้ มีน้ํ า
ท่วมเป็ นประจําทุกปี
การติดตัง้ จะต้องให้ระดับ 0 พอดีกบั ระดับของผิวจราจร

ลวง
การติดตัง้ หลักแสดงระดับนํ้าเป็ นระยะๆ นอกจากจะแสดงความลึก
างห
ของนํ้ าแล้ว ยังทําหน้าทีเ่ ป็ นเครื่องหมายนําทาง (Delineator) ในขณะนํ้าท่วม
ส่วนบนพืน้ ที่สามเหลี่ยม ของหลักแสดงระดับนํ้าให้ตดิ แผ่นสะท้อนแสงสีขาว
ทีม่ คี ่าสะท้อนแสงไม่ต่ํากว่าระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529 ทัง้ สอง
รมท

ด้าน และหลักแสดงระดับนํ้าจะต้องมีตวั เลขทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง


องก

2.6.10 ป้ ายโครงการก่อสร้าง
ป้ายโครงการก่อสร้างใช้แสดงข้อมูลที่สาํ คัญของงานก่อสร้าง เพื่อให้ประชาชนที่ผ่านไปมาทราบข้อมูล เช่น
ชื่อโครงการ ชื่อสายทาง กม. ทีก่ ่อสร้าง ผูท้ าํ การก่อสร้างและผูค้ วบคุมงาน เป็ นต้น
ิทธิ์ข

การติดตัง้ ควรติดตัง้ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการที่มผี ู้คนผ่านไปมา หรืออาจติดตัง้ หน้ า สํา นักงานก่อสร้า ง


ชัวคราวก็
่ ได้ ขนาดป้ายขึ้นอยู่กบั จํานวนข้อความป้าย และขนาดแผ่นวัสดุท่ใี ช้ ป้ายขนาด 3.60 x 2.40 ม. ถือว่า
ลิขส

พอเหมาะทีจ่ ะใช้โดยทัวไป่ ทางหลวงใกล้เมืองใหญ่ทม่ี หี ลายช่องจราจร และมีการก่อสร้างอื่นๆ ด้วยอาจจะต้องใช้ป้าย


ขนาดใหญ่ขน้ึ เพราะมีขอ้ ความทีจ่ ะต้องแสดงในป้าย เพิม่ จากทางหลวงนอกเมืองทัวไป ่
เนื่องจากป้ายโครงการก่อสร้างเป็ นป้ายทีม่ ขี อ้ ความมากจนคนทีน่ งรถผ่
ั ่ านไปไม่สามารถอ่านได้ทงั ้ หมด ป้าย
@

นี้จงึ มีประโยชน์ โดยตรงเฉพาะผู้ท่สี นใจจริงๆ ที่จะต้องหยุดอ่าน สําหรับผู้ท่นี ัง่ รถผ่านอาจจับใจความบางอย่างได้


ดังนัน้ ข้อความทีจ่ ะเน้นให้ใช้ตวั อักษรขนาดใหญ่กว่าข้อความทัวไป ่ เช่น คําว่า “ออกแบบและควบคุมโดย” ใช้อกั ษร
ขนาด 10 เซนติเมตร และ “กรมทางหลวง” ใช้อกั ษรขนาด 15 เซนติเมตร

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 21 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

รูปที่ 2-10 ป้ายโครงการก่อสร้าง


ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 22 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 3
อุปกรณ์จราจร (Traffic Devices)
อุปกรณ์จราจร ได้แก่ สิง่ ใดๆ ทีแ่ สดง ติดตัง้ หรือทําให้ปรากฏไว้ในเขตทาง หรือทางหลวง เป็ นประโยชน์ต่อ
การจัดการจราจร หรือควบคุมการจราจรเป็ นการเฉพาะหน้าชัวคราว ่ หรือทําหน้าทีเ่ ป็ นเครื่องเตือนหรือเครื่องจัดช่อง
จราจร (Channelizing Devices)

@
การจัดช่องจราจรในงานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทางหลวง มีจุดประสงค์ 2 ประการคือ
1) เพือ่ กระตุน้ เตือนผูข้ บั ขีย่ วดยานให้ระมัดระวังบริเวณทีอ่ าจจะมีอนั ตรายเนื่องจากการก่อสร้าง

นั้น
บูรณะ หรือบํารุงรักษาทางหลวง งานซ่อมแซม งานก่อสร้างสาธารณูปโภคทางหลวง

เท่า
2) เพือ่ แนะแนวทางผูข้ บั ขีย่ วดยาน ให้ผา่ นบริเวณการก่อสร้างไปได้อย่างสะดวก และปลอดภัย
ดังนัน้ ลักษณะของเครื่องจัดช่องจราจร จะต้องมองเห็นได้ง่ายตลอดเวลา จะต้องไม่ทําให้รถเสียหายร้ายแรง

ลวง
เมือ่ ถูกชนหรือเฉี่ยว และจะต้องติดตัง้ หรือจัดวางให้เป็ นแนวทีร่ ถสามารถแล่นผ่านไปได้สะดวกปลอดภัย
เครือ่ งจัดช่องจราจรเป็ นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีใ่ ช้ในงานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทาง
หลวง ซึง่ ใช้เป็ นเครือ่ งหมายนําทาง (Delineators) ด้วย มีดงั ต่อไปนี้
างห
1) แผงกัน้ (Barricades)
2) กรวย (Cones)
รมท

3) ถังกลม (Drums)
4) แผงตัง้ (Vertical Panel)
5) หลักนําทาง (Guide Post)
องก

6) อุปกรณ์สอ่ งสว่าง (Lighting Devices)

3.1 แผงกัน้ (Barricades)


ิทธิ์ข

แผงกัน้ ใช้แสดงการปิ ดกัน้ การจราจรบางส่วนของทาง หรือขวางตลอดทาง นอกจากนี้แผงกัน้ ยังทําหน้าทีเ่ ป็ น


เครือ่ งหมายเตือน หรือเครือ่ งจัดช่องจราจร (Channelizing Device) ได้อกี ด้วย
ลิขส

แบบแผงกัน้ แผงกัน้ แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ

แบบที่ 1 ประกอบด้วยแผ่นแถบสี (Barricade Rail) เดี่ยวหรือคู่ ติดตัง้ บนขาตัง้ สามารถเก็บหรือถอดและ


@

ประกอบได้งา่ ย เพื่อให้การเคลื่อนย้ายสะดวก ขนาดความสูงประมาณ 1 เมตร ขาตัง้ จะทําด้วยไม้ หรือวัสดุอ่นื แต่ตอ้ ง


เบาพอทีจ่ ะให้เคลื่อนย้ายได้สะดวก และหนักพอทีจ่ ะต้านลมกระโชก เนื่องจากยวดยานทีแ่ ล่นผ่านระยะใกล้ และทีส่ าํ คัญ
ก็คอื สามารถพับเก็บหรือถอดประกอบได้งา่ ยเพือ่ ความรวดเร็วในการเคลื่อนย้าย
แผงกัน้ ชนิดนี้ ใช้สาํ หรับงานชัวคราวที
่ ใ่ ช้ระยะเวลาทํางานสัน้ หรือใช้บริเวณทีไ่ ม่อนั ตรายมากนัก เช่น ทางใน
เมือง ซึง่ การจราจรใช้ความเร็วตํ่า

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 23 ]


แบบที่ 2 ประกอบด้วยแผ่นแถบสี 3 แผ่น ติดตัง้ ค่อนข้างถาวร ใช้ในงานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทาง
หลวง ที่ต้องปฏิบตั งิ านเป็ นเวลานานวัน แผงกัน้ แบบนี้อาจออกแบบให้เปิ ดปิ ดได้บางส่วนเพื่อการปฏิบตั ิงาน ขนาด
ความสูงจะต้องสูงไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าติดตัง้ บนขาตัง้ โดยไม่ใช้เสาตอกลงในพืน้ ดิน ก็ควรใช้กระสอบทรายหรือ
วัตถุหนักๆ ทับขาตัง้ ไว้เพือ่ ให้มงคงไม่
ั่ ลม้ หรือเคลื่อนย้ายได้งา่ ย
แผงกัน้ ทัง้ 2 แบบ มีขนาดของแถบสีแต่ละแผ่นกว้าง 20 – 25 เซนติเมตร ยาวไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร สี
ส้ม สลับขาว แต่ละแถบกว้าง 15 เซนติเมตร ทํามุม 45 องศา การติดตัง้ ให้แถบชีล้ งไปทางด้านทีใ่ ห้การจราจรผ่านไปได้
และต้องติดแผ่นสะท้อนแสงมีคา่ สะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่ามาตรฐานค่าสะท้อนแสง ระดับ 1 ตาม มอก. 606-2529

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

หมายเหตุ - วัสดุทใี ่ ช้ทาํ แผงกัน้ ให้ใช้ไม้ขนาด 1 นิ้ว x (8-10 นิ้ว) และเสาใช้ไม้ขนาด 4 นิ้ว x 4 นิ้ว หรือวัสดุอนื ่ ทีเ่ บา
และไม่เป็ นอันตรายเมือ่ รถชน
- ใช้แผ่นสะท้อนแสงทัง้ สีสม้ และสีขาว มีคา่ สะท้อนไม่ต่าํ กว่าระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529

รูปที่ 3-1 อุปกรณ์จราจรประเภทแผงกัน้

[ 24 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


3.1.1 การใช้แผงกัน้
แผงกัน้ แบบที่ 1 และแบบที่ 2 สามารถนําไปใช้หรือดัดแปลงเพือ่ ใช้ในงานต่างๆดังนี้
1) ใช้ปิดกัน้ การจราจร ในกรณีทต่ี อ้ งการปิ ดกัน้ การจราจร ไม่ให้รถผ่านเข้าไปในเขตก่อสร้าง อาจใช้
แผงกัน้ แบบที่ 2 ติดตัง้ ขวางทางไว้ ซึ่งแผงกัน้ นี้อาจยาวตลอดถึงไหล่ทางทัง้ สองข้าง หรืออาจจะยาวถึงขอบทาง ถ้า
จําเป็ นทีจ่ ะต้องให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั งิ านผ่านเข้าออกในบางครัง้ ก็ให้จดั ทําแบบทีส่ ามารถเปิดปิดบางส่วนได้ แต่จะต้องปิ ด
กัน้ ทันทีหลังจากทีผ่ า่ นไปแล้ว
สําหรับทางที่ปิดเป็ นทางการ แต่จะต้องให้ประชาชนที่อยู่ภายในเข้าออก ให้ใช้แผงกัน้ แบบที่ 2

@
ติดตัง้ ไว้กลางเพือ่ ทีจ่ ะให้รถทีจ่ ะเข้าออกผ่านไปข้างๆ พร้อมทัง้ ติดตัง้ ป้ายจราจรบอกไว้ดว้ ย
สําหรับงานซ่อมบํารุงชัวคราว
่ ควรใช้แผงกันแบบที่ 1 ตัง้ ขวางช่องจราจรทีม่ กี ารซ่อมบํารุงทัง้ สอง

นั้น
ด้านให้หา่ งพอสมควร เพราะแผงกัน้ แบบที่ 1 สามารถเคลื่อนย้ายได้งา่ ยกว่า
2) ใช้เป็ นเครื่องหมายเตือน ทีจ่ ุดเริม่ ต้นงานก่อสร้างทีเ่ ปิ ดการจราจรตามปกติ การใช้แผงกัน้ แบบที่

เท่า
2 ติดตัง้ ข้างทางทัง้ สองข้าง จะเป็ นการเตือนผูข้ บั ขีย่ วดยานได้อย่างดี การติดตัง้ แบบนี้เรียกว่า แผงกัน้ ข้างทาง (“Wing
Barricade”) แผงกัน้ ข้างทางอาจติดตัง้ เป็ นชุดโดยเริม่ จากนอกไหล่ทางเข้ามาจนถึงใกล้ขอบทาง จะทําให้ยวดยานลด

ลวง
ความเร็วลงอย่างได้ผล สําหรับงานทีจ่ ะต้องใช้แผงกัน้ ข้างทางเป็ นบางเวลา ก็อาจจะออกแบบให้พบั ไปด้านข้างในเวลา
ไม่ใช้ได้
างห
3) ใช้สาํ หรับลดช่องจราจร บนทางหลายช่องจราจร เมื่อต้องการลดช่องจราจรลงอาจใช้แผงกัน้ แบบ
ที่ 1 ตัง้ ขวางกับทิศทางการจราจร โดยให้เริม่ ตัง้ ทีข่ อบทางเข้ามาทีละ 50 – 60 เซนติเมตร ระยะห่างกันไม่เกิน 30 เมตร
เป็ นลักษณะการเบี่ยงเบนแนวการจราจร การใช้แผงกัน้ อาจไม่สะดวก คล่องแคล่วเท่ากรวย แต่มคี วามมันคงสามารถ ่
รมท

ตัง้ อยูน่ านกว่า จึงเหมาะทีจ่ ะใช้กบั งานทีใ่ ช้เวลานานวัน


องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 25 ]


@
ยวดยานผ่านไปทางซ้ายทางเดียว

นั้น
เท่า
ลวง
างห
ยวดยานผ่านไปทางขวาทางเดียว
รมท
องก
ิทธิ์ข

ยวดยานผ่านไปได้ทงั ้ สองทาง
ลิขส
@

ยวดยานผ่านไปไม่ได้

รูปที่ 3-2 การใช้แผงกัน้ ตามลักษณะแถบ

[ 26 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง

รูปที่ 3-3 การใช้แผงกัน้ ข้างทาง


างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 27 ]


3.2 กรวย (Cones)
กรวยยางหรือพลาสติกอ่อนสีสม้ เรืองแสง ขนาดสูงไม่น้อยกว่า 70 เซนติเมตร ติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว 2
แถบ มีค่าสะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529 แถบแรกกว้าง 15 เซนติเมตร ติดทีร่ ะยะ 10
เซนติเมตร วัดจากด้านบนลงมา แถบทีส่ องกว้าง 10 เซนติเมตร ติดทีร่ ะยะห่างจากแถบแรกลงมา 15 เซนติเมตร มีฐาน
แผ่กว้างมีน้ําหนักเพียงพอเพื่อให้ตงั ้ อยูไ่ ด้มนคงไม่
ั่ ลม้ เมื่อโดนแรงลมขณะยวดยานวิง่ ผ่าน สามารถใช้เป็ นเครื่องกํากับ
แนวช่องจราจรได้เป็ นอย่างดี ในการจัดช่องจราจรชัวคราว ่ เพราะมีน้ําหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก ไม่ก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่รถยนต์ เมือ่ มีรถมาชนหรือเฉี่ยวถูกเข้ากับกรวย

@
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ กรวยเป็ นแนวตลอด ติดตัง้ ทุกๆ ระยะห่างไม่เกิน 30 เมตร ถ้าเป็ นทางในเมือง ให้ตดิ ตัง้
ระยะห่างกัน 5- 10 เมตร สิง่ ทีจ่ ะต้องระวังในการใช้กรวย คือ กรวยเคลื่อนที่ หรือล้มได้งา่ ย เนื่องจากมีรถแล่นผ่านใกล้ๆ

นั้น
ด้วยความเร็วเฉี่ยวชน จึงต้องคอยจัดตัง้ กรวยให้อยูใ่ นตําแหน่งทีต่ อ้ งการตลอดเวลา
กรวยยังใช้ได้เหมาะสมในงานตีเส้นจราจรเพือ่ ป้องกันไม่ให้รถทับสีทย่ี งั ไม่แห้ง

เท่า
3.3 ถังกลม (Drums)

ลวง
ถังกลมขนาด 200 ลิตร หรือ 120 ลิตร ทีไ่ ม่ได้ใช้งานอย่างอื่นแล้ว สามารถนํามาใช้เป็ นอุปกรณ์ควบคุมการจราจร
ในงานก่อสร้างได้อย่างดี โดยการทาสีสม้ สลับขาว แบ่งเป็ น 7 ส่วนเท่าๆ กัน โดยทีถ่ งั กลมมีขนาดใหญ่ มองเห็นได้ชดั เจน
างห
และสามารถเลื่อนไปมาได้ จึงเหมาะทีจ่ ะใช้เป็ นเครื่องแสดงแนวขอบทางจราจรทีต่ ดิ กับพืน้ ทีก่ ่อสร้าง เช่น งานขยายทาง โดย
การตัง้ ถังกลมเป็ นแถว แสดงขอบทางจราจรในเวลาทีห่ ยุดปฏิบตั งิ าน ส่วนในเวลาปฏิบตั งิ านงานก็สามารถเลื่อนถังกลมเข้าไป
ในผิวจราจรเพือ่ ให้มพี น้ื ทีป่ ฏิบตั งิ านได้เพียงพอ
รมท

ในส่วนที่เป็ นสีขาวส่วนบนสุดให้ตดิ แผ่นสะท้อนแสงทีม่ คี ่าสะท้อนแสงไม่ต่ํากว่าระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก.


606-2529 เพราะจะต้องใช้ในเวลากลางคืนด้วย หรือมิฉะนัน้ จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์การส่องสว่างให้ผู้ขบั ขีย่ วดยาน
องก

มองเห็นได้ชดั เจน การใช้ถงั กลมจะต้องติดตัง้ ป้ายเตือนล่วงหน้าเสมอ และถ้าจะให้ได้ผลดียงิ่ ขึน้ ควรติดตัง้ ไฟกะพริบ


ด้วย
ถังกลมไม่ควรใส่ทรายหรือวัสดุใดๆ เพื่อให้มนี ้ํ าหนักเพิม่ ขึ้น เพราะจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถ้า
ิทธิ์ข

รถยนต์ชนเข้า การติดตัง้ ให้ระยะห่างตามขวางไม่เกิน 2.00 เมตร ตามยาวไม่เกิน 50 เมตร


ลิขส

3.4 แผงตัง้ (Vertical Panel)


แผงตัง้ เป็ นแผ่นป้ายรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้า ด้านยาวเป็ นส่วนตัง้ ขนาด 15 x 60 เซนติเมตร หรือ 20 x 60 เซนติเมตร
ทาสีขาวสลับสีสม้ ทํามุม 45 องศากับขอบป้าย แบ่งเป็ น 7 ส่วน ให้แถบสีสม้ กว้าง 10 เซนติเมตร แต่ละแถบห่างกัน 8
@

เซนติเมตร โดยสีขาวด้านมุมบนสุดกว้าง 10 เซนติเมตร ให้ใช้แผ่นสะท้อนแสงทีม่ คี ่าสะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าระดับ 1 ตาม


มาตรฐาน มอก. 606-2529 ติดตัง้ บนเสาปกั ลงดิน หรือเสาทีม่ ฐี านถ่วงนํ้าหนักเพื่อไม่ให้ลม้ ง่าย เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องสูง
ไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร จากผิวจราจร การติดตัง้ ในแนวตรง ให้ตดิ ตัง้ แผงตัง้ เป็ นแนวตลอด ติดตัง้ ทุกระยะ 10 เมตร
ในแนวโค้งให้ตดิ ตัง้ แผงตัง้ ห่างกันทุกระยะ 4 เมตร
แผงตัง้ สามารถจัดทําได้ง่ายและราคาถูก อาจใช้แทนกรวยยางได้ ในงานบํารุงรักษาทาง หรือใช้แทนแผงกัน้
บนไหล่ทาง ในกรณีทม่ี พี น้ื ทีจ่ าํ กัดไม่สามารถติดตัง้ แผงกัน้ ได้

[ 28 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


3.5 หลักนําทาง (Guide Post)
หลัก นํ า ทาง สํา หรับ ใช้ใ นทางหลวงที่ม ีง านก่ อ สร้า ง บู ร ณะ และบํ า รุ ง รัก ษาทางหลวง เป็ น แผ่ น ป้ ายรูป
สีเ่ หลี่ยมผืนผ้า ด้านยาวเป็ นส่วนตัง้ ขนาด 7.5 x 125 เซนติเมตร แบ่งเป็ น 7 ส่วน เท่าๆ กัน ทาสีสม้ สลับขาว โดยให้
ส่วนทีส่ องนับจากด้านบนสุด ติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว ทีม่ คี า่ สะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529
การติดตัง้ หลักนําทาง ให้ตดิ ตัง้ ห่างจากขอบไหล่ทาง 30 เซนติเมตร ปกั ลงดินประมาณ 50 เซนติเมตร ใน
บริเวณทีไ่ ม่สามารถปกั ลงดินได้ ให้ทาํ ฐานถ่วงนํ้าหนักเพือ่ ไม่ให้ลม้ ง่าย โดยติดตัง้ สูงจากผิวจราจร 125 เซนติเมตร
หลัก นํ า ทางใช้ติด ตัง้ ในงานก่ อ สร้า ง บูร ณะและบํา รุงรัก ษาทางหลวง เพื่อช่วยให้ผู้ข บั ขี่สามารถมองเห็น

@
แนวทางหลวงได้ดใี นเวลาคํ่าคืน หรือในขณะทีส่ ภาพอากาศมืดมัว ให้ใช้ตดิ ตัง้ ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทาง
หลวงในบริเวณดังต่อไปนี้

นั้น
1) บริเวณทางโค้งราบ และทางโค้งตัง้
2) บริเวณทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงความกว้างของผิวจราจร

เท่า
3) บริเวณทีต่ อ้ งการนําทางเพือ่ มิให้ยานพาหนะพลัดหลุดไปจากคันทาง หรือบริเวณทางแยกทีส่ บั สน
4) บริเวณอื่นๆ เพื่อป้องกันอุบตั เิ หตุชนอุปกรณ์งานทาง และช่วยนําทาง

ลวง
ระยะการติดตัง้ หลักนําทางในบริเวณโค้งตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ทัง้ ด้านซ้ายและด้านขวาทาง โดยติดตัง้ ให้เห็นอย่างน้อย
1 ต้น สําหรับระยะการติดตัง้ หลักนําทางในทางโค้งราบ เป็ นดังต่อไปนี้
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

รูปที่ 3-4 การติดตัง้ หลักนําทางบริเวณทางโค้ง


@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 29 ]


ตารางที่ 5-2 ระยะห่างของหลักนําทางบนทางโค้งราบ
ระยะห่างของหลักนําทางในช่วงต่างๆ (ม.)
ค่ารัศมีที่ใช้คาํ นวณ
ในโค้ง นอกโค้งตัวที่ 1 นอกโค้งตัวที่ 2 นอกโค้งตัวที่ 3
(ม.)
(S) (S1) (S2) (S3)
15 6 12 18 36
75 13 26 39 78
100 16 32 48 90

@
150 20 40 60 90
200 23 46 69 90

นั้น
300 29 58 87 90
400 33 66 90 90

เท่า
500 37 74 90 90
ทีม่ า : ประยุกต์จาก MUTCD 2009

ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

วัสดุทใ่ี ช้ทาํ แผงตัง้


1. แผงตัง้ ใช้แผ่นเหล็กชุบสังกะสี หนา 2 มิลลิเมตร
2. เสาทําจากเหล็กรูปพรรณขนาด 1 นิ้ว X 1 นิ้ว
@

3. ให้ตดิ ตัง้ แผ่นสะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าค่าสะท้อนแสงระดับ 1 ตามมาตรฐาน มอก. 606-2529

รูปที่ 3-5 อุปกรณ์จราจรชนิดแผงตัง้

[ 30 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
รูปที่ 3-6 อุปกรณ์จราจรชนิดถังลม และกรวย

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข

รูปที่ 3-7 อุปกรณ์จราจรชนิดลูกกรงเหล็ก หลักนําทาง และกําแพงคอนกรีต


ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 31 ]


บทที่ 4
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Marking)
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง หมายความว่า รูปภาพ ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข หมุด แถบสี หรือสัญลักษณ์
ใดๆ ทีแ่ สดง ติดตัง้ หรือทําให้ปรากฏไว้บนพืน้ ทาง ทางจราจร ไหล่ทางขอบทาง ขอบวงเวียน หรือขอบคันหิน โดยการ
ใช้กระเบือ้ ง หมุดโลหะ วัสดุสะท้อนแสง สีหรือวัสดุอ่นื ใด ปู ตอก ฝงั พ่น ทา รีดทับ หรือทําโดยวิธอี ่นื ใด เพื่อให้ปรากฏ

@
ซึง่ เครือ่ งหมายจราจร ในลักษณะและตําแหน่งทีเ่ ห็นได้โดยง่าย และชัดเจนเพื่อให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานปฏิบตั ติ ามความหมาย
ของเครื่องหมายนัน้ หรือเป็ นการแจ้งข้อมูล หรือให้คําแนะนํ าเกี่ยวกับการใช้ทางหลวงนัน้ เพื่อให้การจราจรเป็ นไป

นั้น
โดยสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย

เท่า
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง แบ่งเป็ น 2 ประเภท

ลวง
1) เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางประเภทบังคับ ได้แก่ เครื่องหมายจราจรที่มคี วามหมายเป็ นการ
บังคับให้ผใู้ ช้ทางปฏิบตั ติ ามความหมายของเครื่องหมายนัน้ โดยกําหนดให้ผูใ้ ช้ทางต้องกระทํา งดเว้นการกระทํา หรือ
จํากัดการกระทําในบางประการหรือบางลักษณะ
างห
2) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทเตือน ได้แก่ เครื่องหมายที่มคี วามหมายเป็ นการเตือนผูใ้ ช้
ทาง ให้ทราบล่ว งหน้ า ถึงสภาพทาง หรือข้อมูลอย่างอื่น ที่เกิดขึ้นในทาง หรือทางหลวงข้างหน้ า อันอาจก่อให้เกิด
อันตราย หรืออุบตั เิ หตุขน้ึ ได้ เพื่อให้ผใู้ ช้ทางใช้ความระมัดระวังในการใช้ทาง ซึ่งจะช่วยป้องกันการเกิดอันตราย หรือ
รมท

อุบตั เิ หตุดงั กล่าวได้


องก

ในงานก่อสร้างบางแห่งทีจ่ ําเป็ นจะต้องใช้พน้ื ทีบ่ นผิวในการทํางาน และช่องจราจรปกติบนผิวทางได้ถูกปิ ดกัน้


เป็ นเวลานาน จําเป็ นจะต้องจัดทําเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางเสียใหม่ และลบช่องจราจรเดิมออกเสีย หรือการก่อสร้าง
ทางนัน้ ได้จดั ทําทางชัวคราว
่ หรือ Bypass ให้ยวดยานได้เบีย่ งเบนไปจากทางปกติ ก็จาํ เป็ นจะต้องจัดทําเครื่องหมาย
ิทธิ์ข

จราจรบนพืน้ ทางนําทางให้ยวดยานได้ใช้ชอ่ งจราจรทีถ่ กู ต้อง


ความยาวนานของเวลาทีม่ กี ารจัดการจราจร เป็ นข้อพิจารณาทีส่ าํ คัญว่าควรจะจัดทําเครื่องหมายจราจรบนพืน้
ลิขส

ทางหรือไม่ เพราะค่าจัดทําอาจจะแพงและใช้ประโยชน์ไม่คมุ้ ค่าก็ได้


ดังนัน้ ถ้าเห็นว่าการทาสีบนผิวทางแพง อาจจะพิจารณาใช้หมุดสะท้อนแสง (Raised Pavement Markers)
แทนก็ได้เพราะการติดตัง้ และถอดออกได้งา่ ยกว่า รวมทัง้ ยังสามารถนําไปใช้ในคราวต่อๆ ไปได้ดว้ ย
องติดตัง้ ป้ายเตือน เครื่องจัดช่องจราจร และเครื่องหมาย
@

การจัดทําเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางชัวคราวจะต้

นําทางอื่นๆ พร้อมกันไปด้วย
สําหรับงานบํารุงรักษาทางนัน้ มักจะไม่มคี วามจําเป็ นจะต้องใช้เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางชัวคราว ่ เพราะ
ส่วนมากดําเนินการในเวลากลางวัน แต่อย่างไรก็ตามถ้ามีการซ่อมส่วนหนึ่งส่วนใดของผิวจราจรที่ต้องใช้เวลานานๆ
เช่น การซ่อมสะพาน อาจจําเป็ นต้องจัดทําเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางด้วย

[ 32 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


4.1 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรปกติ
มีลกั ษณะเป็ นเส้นประสีเหลือง ใช้เป็ นเส้นแสดงการแบ่งแยกการจราจรของรถที่มที ศิ ทางตรงกันข้าม ผูข้ บั ขี่
ต้องขับรถทางด้านซ้ายของเส้น ยกเว้นในกรณีทต่ี อ้ งการเลีย้ วขวา หรือแซงขึน้ หน้ารถคันอื่น

4.2 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรห้ามแซง


มีลกั ษณะเป็ นเส้นทึบสีเหลืองเดีย่ ว หรือคู่ ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถไปทางด้านซ้ายของเส้น ห้ามขับรถผ่าน หรือคร่อม
เส้นโดยเด็ดขาด

@
4.3 ลูกศร

นั้น
มีลกั ษณะเป็ นลูกศรสีขาว หรือเหลือง แสดงทิศทางของการจราจร ให้รถตรงไป เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา หรือ

เท่า
ร่วมกัน เมื่อมีลูกศรตามลักษณะดังกล่าว ปรากฏในช่องเดินรถ หรือช่องจราจรใด ผู้ขบั ขีท่ ่อี ยู่ในช่องเดินรถ หรือช่อง
จราจรนัน้ ต้องปฏิบตั ติ ามเครือ่ งหมายนัน้

4.4 เส้นขอบทาง
ลวง
มีลกั ษณะเป็ นเส้นทึบ หรือเส้นประ หรือแถบสี สีขาว ยกเส้นเส้นขอบทาง ด้านติดกับเกาะกลาง หรือฉนวน
างห
แบ่งทิศทางการจราจรเป็ นสีเหลือง หมายความว่า เป็ นแนวสุดขอบทางเดินรถ
รมท

4.5 เส้นชะลอความเร็ว (Rumble Strips)


มีลกั ษณะเป็ นเส้นหลายๆ เส้นขวางช่องเดินรถ หรือช่องจราจร เพือ่ ทําให้เกิดเสียงและการสันสะเทื
่ อน เตือนให้
ผูข้ บั ขีย่ วดยานเกิดการตื่นตัว และควรขับรถให้ชา้ ลง และเพิม่ ความระมัดระวัง ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทาง
องก

หลวง ให้ใช้สเี ทอร์โมพลาสติก หนา 5-6 มิลลิเมตร กว้าง 0.10 ม. จํานวน 6 แถบ ระยะห่างระหว่างแถบ 1.5 ม. หรือใช้
วัสดุอ่นื ทีอ่ อกแบบมาเพื่อใช้แทนได้ โดยให้ตดิ ตัง้ จํานวน 3 ชุด ชุดแรกห่างจากบริเวณก่อสร้างอย่างน้อย 150 ม. ชุดที่
ิทธิ์ข

สอง ห่างจากชุดแรก 150 ม. ชุดทีส่ ามห่างจากชุดทีส่ อง 300 ม.


เส้นชะลอความเร็วแต่ละชุดต้องมีการติดตัง้ ป้ายเตือนงานก่อสร้าง ระยะห่าง 60 ม. จากเส้นชะลอความเร็วแถบ
ที่ 6
ลิขส

งานก่อสร้างที่ใช้ระยะเวลานาน และยวดยานใช้ความเร็วสูงซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอุ บตั ิเ หตุ ได้ง่าย สามารถ


พิจารณาให้ตดิ ตัง้ เส้นชะลอความเร็ว เพือ่ ให้ยวดยานทีผ่ า่ นไปมาลดความเร็วลง
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 33 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ 4-1 การติดตัง้ เส้นชะลอความเร็ว
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 34 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 5
การเบีย่ งเบนการจราจร (Lane Transition)

ส่วนสําคัญทีส่ ุดส่วนหนึ่งของการใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง


คือ การใช้เครือ่ งจัดช่องจราจรสําหรับเบีย่ งเบนแนวจราจรไปจากเดิมเมือ่ มีการปิดช่องจราจรข้างหน้าเพื่อก่อสร้าง บูรณะ
และบํารุงรักษาทางหลวง

@
5.1 ระยะสอบเข้า (Taper length) สําหรับงานก่อสร้าง

นั้น
การเบีย่ งเบนการจราจร จะต้องจัดให้มรี ะยะสอบเข้าทีเ่ หมาะสม โดยการสอบเข้าอาจแบ่งได้ดงั นี้

เท่า
1) สอบเข้าเพื่อรวมการจราจร (Merging Taper)
2) สอบเข้าเพื่อเบีย่ งการจราจร (Shifting Taper)

ลวง
3) สอบเข้าบริเวณไหล่ทาง (Shoulder Taper)
4) สอบเข้าบริเวณรถวิง่ สวนกันบน 1 ช่องจราจร (One-lane, Two-way Traffic Taper)
5) สอบเข้าบริเวณสิน้ สุดงานก่อสร้าง (Downstream Taper)
างห
รูปที่ 5-1 แสดงการสอบเข้าแบบต่างๆ และระยะสอบเข้า (Taper Length)
รมท

ตารางที่ 5-1 ชนิดของการสอบเข้าและระยะสอบเข้า


ระยะสอบเข้า (L)
ชนิ ดของการสอบเข้า (Type of Taper)
(Taper Length)
องก

สอบเข้าเพือ่ รวมการจราจร (Merging Taper) อย่างน้อย L


สอบเข้าเพื่อเบีย่ งการจราจร (Shifting Taper) อย่างน้อย 0.5L
ิทธิ์ข

สอบเข้าบริเวณไหล่ทาง (Shoulder Taper) อย่างน้อย 0.33L


สอบเข้าบริเวณรถวิง่ สวนกันบน 1 ช่องจราจร ไม่เกิน 30 ม.
(One-lane, Two-way Traffic Taper)
ลิขส

สอบเข้าบริเวณสิน้ สุดการก่อสร้าง (Downstream Taper) 30 ม. ต่อช่องจราจร


ทีม่ า : MUTCD, 2009
@

โดยระยะ L คํานวณได้จาก
กรณีความเร็วจํากัดน้อยกว่า 70 กิโลเมตรต่อชัวโมง

= (5-1)

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 35 ]


กรณีความเร็วจํากัดที่ 70 กิโลเมตรต่อชัวโมงหรื
่ อมากกว่า
= (5-2)
.
โดยที่ L = ระยะสอบเข้า (เมตร)
W = ความกว้างของระยะ Offset (เมตร)
S = ความเร็วจํากัด หรือ ความเร็วที่ 85 เปอร์เซ็นต์ไทล์ ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน (Off peak)
(กิโลเมตรต่อชัวโมง)

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 5-1 ระยะสอบเข้า (Taper Length)

[ 36 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


ตารางที่ 5-2 ระยะสอบเข้า (Taper Length)
ระยะสอบเข้า (L), เมตร
ความเร็วจํากัด (กม/ชม) หรือ
ความกว้างของระยะ Offset (เมตร)
ความเร็ว 85 เปอร์เซ็นต์ไทล์
1.5 2 3 3.5 6 7
50 25 30 50 55 95 115
60 35 45 70 80 140 165
70 65 90 130 155 265 305

@
80 75 100 150 175 300 350
90 85 115 170 195 340 395

นั้น
100 95 125 190 220 375 440

เท่า
110 105 140 205 240 415 480
120 115 150 225 265 450 525

5.2
ลวง
การลดช่องจราจรของทางที่มีรถวิ่ งไปในทิ ศทางเดียวกันหลายช่องจราจร
การเบีย่ งเบนแนวจราจร โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อมีการลดความกว้างของผิวทาง จําเป็ นต้องจัดระยะทีส่ อบเข้า
างห
(Taper) ให้เพียงพอมิฉะนัน้ จะทําให้การจราจรไม่สะดวกติดขัด และเกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ย ระยะทีเ่ ข้าควรยาวไม่น้อยกว่า
ระยะทีใ่ ห้หวั ข้อ 5.1 อย่างไรก็ตามการกําหนดระยะทีส่ อบเข้าจะต้องคํานึงถึงความลาดชันและโค้งด้วย
รมท

ในทางปฏิบตั เิ มื่อจัดระยะและตัง้ เครื่องจัดช่องจราจรแล้ว ควรสังเกตการจราจรว่าระยะทีจ่ ดั ไว้เพียงพอหรือไม่


ถ้าเห็นว่าไม่เพียงพอ เช่น มีการห้ามล้ออย่างแรง ก็ให้เพิม่ ระยะทางขึน้
ในงานก่อสร้าง โดยมากมักจะต้องตัง้ เครื่องจัดช่องจราจรไว้นานวัน เครื่องควบคุมการจราจรเหล่านัน้ มักจะมี
องก

การเคลื่อนย้าย ดังนัน้ ควรหมันตรวจดู ่ ความเรียบร้อยด้วย และควรทําเครื่องหมายแสดงตําแหน่ งที่ตงั ้ เครื่องจัดช่อง


จราจรไว้ เพื่อทีจ่ ะได้จดั เข้าสูต่ ําแหน่ งเดิมได้สะดวกรวดเร็ว เครื่องหมายดังกล่าวยังมีประโยชน์สาํ หรับงานทีท่ ําเฉพาะ
ิทธิ์ข

กลางวันทีม่ กี ารย้ายเครือ่ งควบคุมการจราจรออกในเวลากลางคืน และตัง้ ใหม่ในเวลากลางวัน


เครื่องจัดช่องจราจรที่ใช้อาจเป็ นกรวยหรือแผงกัน้ หรือใช้ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย(ตก.25) หรือป้าย
เตือนแนวทางไปทางขวา (ตก.26) ติดตัง้ บนขาตัง้ โดยให้เริม่ ตัง้ ทีข่ อบทางเข้ามาทีละ 50 - 60 เซนติเมตร ระยะห่างกัน
ลิขส

ไม่ควรเกิน 30 เมตร
การลดช่องจราจรตัง้ แต่ 2 ช่องจราจรขึน้ ไป ให้ทาํ การลดทีละช่องโดยให้มรี ะยะห่างกันเป็ น 2 เท่าของระยะที่
สอบเข้า (Taper)
@

การลดช่องจราจรดังกล่าวต้องติดตัง้ ไฟกะพริบสีเหลืองประกอบด้วย โดยให้อยูป่ ระมาณกึง่ กลาง่องจราจรหลัง


แนวเบีย่ งเบน
วิธกี ารลดช่องจราจรดังกล่าวข้างต้นยังสามารถนําไปใช้กบั กรณีฉุกเฉิน อุบตั เิ หตุ การตัง้ ด่านตรวจต่างๆ

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 37 ]


5.3 การลดช่องจราจรของทางที่มีรถวิ่ งสวนทาง
สําหรับทางหลวงทีม่ ี 2 ช่องจราจร มีงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง ทําให้รถสวนทางไม่ได้ เป็ น
การปิดการจราจร 1 ช่อง
การเบี่ยงเบนการจราจรเพื่อปิ ดช่องจราจรในทิศทางที่มกี ารก่อสร้าง ให้จดั ระยะที่สอบเข้า(Taper) ก่อนถึง
บริเวณก่อสร้างตามหัวข้อ 5.1
เครื่องจัดช่องจราจรที่ใช้อาจเป็ นกรวยหรือแผงกัน้ หรือใช้ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย(ตก.25) หรือป้าย
เตือนแนวทางไปทางขวา (ตก.26) ติดตัง้ บนขาตัง้ โดยให้เริม่ ทีข่ อบทางเข้ามาทีละ 50 – 60 เซนติเมตร

@
การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรแสดงจุดอุปสรรคต้องมีทงั ้ สองด้านของงาน อย่างน้อยต้องประกอบไปด้วย
ป้ายบังคับ “ให้รถสวนทางมาก่อน” (บ.3) ติดตัง้ เฉพาะด้านหน้าชิดขอบทาง ไฟกะพริบสีเหลืองให้อยู่ประมาณกึ่งกลาง

นั้น
ช่องจราจรทีป่ ิ ดกัน้ หลังแนวเบีย่ งเบนทัง้ 2 ด้าน
การให้สญ ั ญาณ ใช้เมือ่ มีปริมาณจราจรมาก หรือเมือ่ มองไม่เห็นรถสวนทาง

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 38 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 6
อุปกรณ์การส่องสว่าง (Lighting Devices)
งานก่อสร้าง บูรณะ และบํารุงรักษาทางหลวง มักจะทําบนผิวจราจร หรือใกล้กบั ขอบทางจราจร ซึง่ ก่อให้เกิด
อันตรายในเวลากลางคืน เพราะความมืดได้ลดทอนความสามารถในการมองเห็นของผูข้ บั ขีย่ วดยานลงอย่างมาก ดังนัน้
จึงจําเป็ นที่จะต้องใช้แสงสว่างช่วยเตือน หรือช่วยให้มองเห็น ป้ายจราจร แผงกัน้ เครื่องจัดช่องจราจร และสิง่ อื่นๆ ที่

@
อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อการใช้ทาง
อุปกรณ์การส่องสว่างทีใ่ ช้โดยทัวไปมี
่ ดงั ต่อไปนี้

นั้น
เท่า
6.1 ไฟกะพริ บ (Flashers)
ไฟกะพริบสีเหลืองแบบกะทัดรัด ใช้แบตเตอรีแ่ ห้ง หรือแบตเตอรีร่ ถยนต์ มีอตั ราการกะพริบ 50 – 60 ครัง้ ต่อ

ลวง
นาที การจุดสว่างประมาณ 1/3 – 1/2 ของเวลาทีใ่ ช้ความสว่างของหลอดไฟสามารถมองเห็นได้ในระยะอย่างน้อย 500
เมตร ในทัศนวิสยั ปกติ
ไฟกะพริบใช้สาํ หรับติดตัง้ ณ จุดทีก่ าํ ลังดําเนินการก่อสร้างหรือบํารุงรักษาทาง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางหลวงที่
างห
มีปริมาณจราจรมาก และยวดยานใช้ความเร็วสูง บริเวณตําแหน่งทีผ่ ขู้ บั ขีไ่ ม่คาดหมายว่าจะมีอุปสรรค เช่น การก่อสร้าง
ทางแยกต่างระดับ และการบํารุงรักษาทางคู่ ซึง่ จะต้องปิดทางจราจรข้างหนึ่ง เป็ นต้น
รมท

เมือ่ ใช้ไฟกะพริบควรใช้ตลอดเวลาทัง้ กลางวันและกลางคืน


การติดตัง้ อาจติดตัง้ บนแผงกัน้ ด้านทีต่ ดิ กับการจราจร หรือตัง้ บนสามขา (Tripod) หรืออาจติดตัง้ อยูบ่ นรถงาน
ก็ได้ เมือ่ ติดตัง้ แล้วจะต้องสูงจากผิวจราจรไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ไม่ควรติดตัง้ ไฟกะพริบเป็ นแถวยาวๆ เพราะจะทําให้
องก

ผูข้ บั ขีย่ วดยานเกิดความคลุมเครือ หรือสับสนทําให้เกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ย


ิทธิ์ข

6.2 ไฟส่องป้ ายจราจร (Sign Light)


ป้ายจราจรในงานก่อสร้าง ใช้แผ่นสะท้อนแสงทีม่ คี า่ สะท้อนแสงไม่ต่าํ กว่าค่าสะท้อนแสงระดับ 1 ตามมาตรฐาน
มก 606-2529 แต่ถ้างานก่อสร้างอยู่บนทางโค้ง หรือทางลาดชัน เช่น ทางเขา แสงไฟรถอาจส่องไม่ถูกป้ายจราจรใน
ลิขส

ระยะไกลพอทําให้ผขู้ บั ขีม่ องไม่เห็นป้ายจราจรอาจเกิดอันตรายได้ งานก่อสร้างในเวลากลางคืนจึงจําเป็ นต้องใช้ไฟส่อง


ป้ายจราจรด้วย
@

6.3 แสงสว่างแรงสูง (Floodlight)


งานก่อสร้างทีท่ าํ งานในเวลากลางคืน จําเป็ นต้องใช้แสงสว่างแรงสูง เพื่อให้คนงานปฏิบตั งิ านได้ และยังต้องใช้
แสงสว่างนี้สอ่ งไปยังจุดกีดขวาง หรือจุดอันตรายด้วย เช่น บริเวณทีร่ ถในงานก่อสร้างต้องแล่นตัดกับทางจราจร
การติดตัง้ ไฟแสงสว่างแรงสูงนี้ ข้อทีค่ วรระมัดระวังคือ จะต้องไม่ให้แสงสว่างส่องผูข้ บั ขีย่ วดยานจนเกิดตาพร่า
มัว (Glare) ได้ ผูค้ วบคุมงานควรตรวจสอบในเรือ่ งนี้เองโดยทดลองขับรถผ่านไปมา

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 39 ]


6.4 แสงสว่างแรงตํา่ (Low Wattage Electric Lamps)
แสงสว่างแรงตํ่าในทีน่ ้ี หมายถึง การใช้หลอดไฟฟ้าแรงตํ่าสีเหลืองหลายๆ ดวง ติดตัง้ เป็ นแนว โดยทัวไปให้ ่ ใช้
แสงสว่างแรงตํ่าเมื่อต้องการใช้แสงสว่างทําหน้าทีเ่ ป็ นเครื่องหมายนําทางผ่านเขตก่อสร้างบริเวณไม่มแี สงสว่างเพียงพอ
และอาจเกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ย เช่น ขอบสะพานทีย่ งั ไม่มรี าวกัน้ เป็ นต้น
แสงสว่างแรงตํ่าไม่ได้ใช้สอ่ งให้เห็นวัตถุอ่นื แต่ใช้ให้ผขู้ บั รถเห็นตัวดวงไฟเอง จึงไม่จาํ เป็ นต้องสว่างมากนัก

6.5 โคมไฟและตะเกียง (Lanterns and Torches)

@
โคมไฟและตะเกียง หมายถึง แสงสว่างจากการเผาไหม้ เช่น ตะเกียงรัว้ เป็ นต้น โดยทัวไปให้ ่ ใช้แทนอุปกรณ์
การส่องสว่างอื่นๆ เป็ นการชัวคราว
่ เมือ่ ไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์เหล่านัน้ ได้ทนั แต่เมือ่ จัดหาอุปกรณ์อ่นื ๆ ได้แล้ว ให้

นั้น
เปลีย่ นทันที เพราะนํ้ามันเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้อาจทําให้เกิดเพลิงไหม้ขน้ึ ได้

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 40 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 7
เครือ่ งให้สญ
ั ญาณ (Signalizing Devices)

ในงานก่อสร้าง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง บางครัง้ มีความจําเป็ นต้องจัดให้รถเดินทางเดียวสลับกัน คือให้


รถในทิศทางตรงกันข้าม ใช้ชอ่ งจราจรร่วมกันเพียงช่องเดียว ถ้าผูข้ บั ขีย่ วดยานสามารถมองเห็นรถทีส่ วนทางมาก่อนจะ
เข้าช่องจราจรทีใ่ ช้รว่ มกัน และปริมาณจราจรไม่มากนัก ก็สามารถใช้ป้ายให้รถสวนทางมาก่อน (บ. 3) ได้ แต่ถา้ ปริมาณ

@
จราจรมาก หรือรถในทางตรงกันข้ามมองไม่เห็นกันแล้ว จําเป็ นต้องใช้เครือ่ งให้สญ ั ญาณ เพือ่ จัดหลีกรถให้ไปได้ทลี ะข้าง

นั้น
7.1 สัญญาณธง (Flagging)

เท่า
สัญญาณธงใช้ผใู้ ห้สญ ั ญาณสองคน อยู่คนละด้านทีจ่ าํ นวนช่องจราจรจะลดเหลือช่องเดียว โดยทีผ่ ใู้ ห้สญ ั ญาณ
ทัง้ สองจะต้องมองเห็นกันและกัน เพือ่ ทีจ่ ะบอกหรือให้สญ ั ญาณอีกคนหนึ่ง ให้สญ
ั ญาณห้ามรถโดยการยกธงแดง หรือให้

ลวง
รถผ่านไปได้โดยการยกธงเขียว
ธงทีใ่ ช้ควรมีขนาดประมาณ 50 x 50 เซนติเมตร สีแดงหนึ่งอัน สีเขียวหนึ่งอัน แต่ละอันมีดา้ มถือยาวประมาณ
1 เมตร ด้านปลายธงควรถ่วงนํ้าหนักเล็กน้อย เพือ่ ให้ธงเหยียดตรงในขณะถืออยูแ่ นวราบ
างห
ผูท้ ่จี ะให้สญ
ั ญาณจะต้องมีการพิจารณาให้เหมาะสม เพราะต้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของการจราจร
กล่าวคือจะต้องเป็ นผูม้ ไี หวพริบดี ร่างกายแข็งแรง สุภาพแต่หนักแน่น ให้สญ ั ญาณธงได้อย่างไม่เคอะเขิน
รมท

ตํา แหน่ ง ที่ค นให้ส ญ


ั ญาณธงยืน อยู่ ควรห่า งจากจุ ด ที่ทํา งานประมาณ 50 ถึง 100 เมตร แต่ ถ้า ความเร็ว
ยวดยานตํ่าอาจจะลดระยะลงได้อกี ผูใ้ ห้สญ ั่
ั ญาณอาจจะยืนอยู่หลังแผงกัน้ บนไหล่ทาง หรือฝงตรงข้ ามก็ได้ แต่จะต้อง
อยู่ในตําแหน่งทีผ่ ขู้ บั รถมองเห็นได้ชดั เจน และไม่อยู่ขวางแนวจราจร ผูใ้ ห้สญั ญาณจะต้องยืนเดีย่ ว เพื่อให้เป็ นจุดสนใจ
องก

ของผูข้ บั ขีย่ วดยาน โดยไม่มกี ลุม่ คนงานอื่นๆ อยูใ่ กล้เคียง


ิทธิ์ข

7.2 สัญญาณทางสะดวก
ในกรณีทไ่ี ม่สามารถใช้การให้สญ ั ญาณธงได้ ซึ่งอาจเป็ นเพราะทางทีจ่ ดั ให้รถเดินทางเดียวสลับกันมีระยะทาง
ยาวจนผูใ้ ห้สญ ั ญาณมองไม่เห็นกัน ก็อาจใช้ธงแดง (หรือของอื่น) มอบให้ผขู้ บั รถคันสุดท้าย โดยแนะนําว่าเมื่อผ่านไปถึง
ลิขส

อีกด้านให้มองธงแก่เจ้าหน้าที่ เมื่อเจ้าหน้าทีไ่ ด้รบั ธงแดงก็ทราบว่าทางสะดวกแล้ว จึงให้สญ ั ญาณให้รถในทางตรงข้าม


ผ่านได้ และมองธงนัน้ ให้แก่ผขู้ บั รถคันสุดท้ายกลับมา
วิธกี ารทางสะดวกอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ เช่นให้รถเจ้าหน้าที่แล่นปิ ดท้าย เมื่อผ่านทางตอนนัน้ ไปแล้ว ก็ให้
@

แล่นปิ ดท้ายกลับมา วิธนี ้ีเป็ นวิธที ส่ี น้ิ เปลืองกว่า แต่ทาํ ให้ปญั หาธงหายหมดไป

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 41 ]


7.3 ไฟสัญญาณจราจร (Traffic Signal)
ในกรณี ท่ีม ีป ริม าณจราจรสูง และใช้เ วลาก่ อ สร้า งทางนาน การจัด ให้ร ถเดิน ทางเดีย วสลับ กัน อาจใช้
ไฟสัญญาณจราจรควบคุมรถ โดยการจัดช่วงเวลาไฟแดงทุกด้าน (All Red Interval) ให้นานพอทีร่ ถคันสุดท้ายจะแล่น
ผ่านไปได้
นอกจากจะใช้ควบคุมรถเดินทางเดียวสลับกันแล้ว อาจใช้ไฟสัญญาณควบคุมการจราจรในงานก่อสร้างทาง ที่
เกินทางแยกชัวคราวขึ
่ น้ เนื่องจากรถงาน และเครื่องจักรแล่นตัดผ่านทางหลวงที่มปี ริมาณจราจรสูง และอาจก่อให้เกิด
อุบตั เิ หตุได้โดยง่าย จึงสมควรควบคุมการจราจรโดยใช้สญ ั ญาณไฟจราจร ซึ่งสามารถจัดการระบบการจราจรในแต่ละ

@
ด้านของทิศทางให้เหมาะสม เป็ นผลให้ความล่าช้าเฉลี่ยของการจราจรน้ อยลง และไม่ก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ ทางแยก
ชัวคราวที
่ ่สมควรติดตัง้ สัญญาณไฟจราจรเพื่อควบคุมการจราจรนัน้ ให้คํานึงถึงปจั จัยต่างๆ ดังนี้ ปริมาณการจราจร

นั้น
ปริมาณคนเดินข้ามทางหลวง ทีต่ งั ้ และสภาพทางแยกชัวคราว ่ บริเวณทางแยกทีม่ แี นวโน้มว่าอาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุได้
ง่าย เป็ นต้น

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 42 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 8
ป้ ายมือถือ (Knockdown)
ในบางบริเวณที่ตอ้ งมีการก่อสร้างทาง หรือบํารุงทาง ควรจะมีการติดตัง้ ป้ายจราจรเพื่อเป็ นการแจ้งให้ผูข้ บั ขี่
ทราบถึงสภาพการณ์ล่วงหน้าที่จะต้องเจอ ซึ่งในบางพืน้ ทีก่ ่อสร้างจะใช้เวลาในการก่อสร้างไม่นาน จึงเหมาะสมทีจ่ ะใช้
ป้ายทีม่ คี วามสะดวกในการเคลื่อนย้ายและสามารถติดตัง้ ได้งา่ ยเพือ่ เป็ นป้ายจราจรชัวคราวติ
่ ดตัง้ ในพืน้ ทีท่ ต่ี อ้ งการ

@
8.1 วัตถุประสงค์

นั้น
การใช้ป้ายมือถือมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้

เท่า
1) เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยในพืน้ ทีก่ ่อสร้าง หรือระหว่างงานซ่อมบํารุงทาง
2) เพือ่ ความสะดวกในการใช้งาน

ลวง
3) เพือ่ ประหยัดงบประมาณในการก่อสร้างป้ายจราจร ในพืน้ ทีก่ ่อสร้าง หรือพืน้ ทีซ่ ่อมบํารุงทาง

8.2 รูปแบบแนะนํา
างห
1) แผ่นป้ายใช้แผ่นเหล็กอาบสังกะสีหนา 1.2 มิลลิเมตร
2) แผ่นสะท้อนแสงสีสม้ ตามมาตรฐาน ASTM D-4956 2004 (Type 7,8&9)
รมท

3) เส้นขอบป้าย ตัวอักษรสีดาํ ทึบแสง


4) ส่วนอื่นๆ ทีไ่ ม่ได้ระบุให้เป็ นไปตามมาตรฐานกรมทางหลวง
ดังแสดงรูปแบบป้ายมือถือในรูปที่ 8-1 ถึงรูปที่ 8-3
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 43 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ 8-1 ป้ายมือถือรูปแบบที่ 1
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 44 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ 8-2 ป้ายมือถือรูปแบบที่ 2
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 45 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ 8-3 ป้ายมือถือรูปแบบที่ 3
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 46 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


8.3 การใช้งานป้ ายมือถือ
ป้ายมือถือสามารถนําไปใช้ในงานต่อไปนี้
1) งานก่อสร้างขนาดเล็ก
2) งานบํารุงรักษาทาง
3) งานอุบตั เิ หตุ ฉุ กเฉิน

องค์ประกอบป้ ายมือถือ

@
1) ชุดไฟกะพริบ ดังแสดงในรูปที่ 8-4

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท

รูปที่ 8-4 ชุดไฟกะพริบ

2) อุปกรณ์พน้ื ฐานในการปฏิบตั งิ าน ดังแสดงในรูปที่ 8-5


องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 8-5 อุปกรณ์พน้ื ฐานในการปฏิบตั งิ าน

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 47 ]


3) ไฟฉุกเฉินในรถยนต์ ดังแสดงในรูปที่ 8-6

@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ 8-6 ไฟฉุกเฉินในรถยนต์
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 48 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 9
แบบป้ ายมาตรฐานในงานก่อสร้างบนทางหลวงแผ่นดิน
แบบการติดตัง้ ป้ายมาตรฐานงานงานก่อสร้าง บนทางหลวงแผ่นดิน ดังแสดงในรูปที่ 9-1 ถึงรูปที่ 9-12
1) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 1 ช่องจราจร ดังแสดงในรูปที่
9-1

@
2) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 2 ช่องจราจร ดังแสดงในรูปที่
9-2

นั้น
3) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดก่อสร้างบริเวณไหล่ทาง ดังแสดงในรูปที่ 9-3

เท่า
4) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้าง 1 ช่องจราจร ดังแสดงในรูปที่ 9-4
5) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้าง 1 ช่องจราจรบริเวณจุดตัดทางรถไฟ ดัง

ลวง
แสดงในรูปที่ 9-5
6) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิ ดช่องจราจรขวา ดัง
แสดงในรูปที่ 9-6
างห
7) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิ ดช่องจราจรกลาง
ดังแสดงในรูปที่ 9-7
รมท

8) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร ไม่มไี หล่ทาง ปิ ดช่องจราจรกลาง


ดังแสดงในรูปที่ 9-8
9) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีเกาะกลาง ปิ ดการจราจรหนึ่ง
องก

ทิศทาง ดังแสดงในรูปที่ 9-9


10) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร ไม่มเี กาะกลาง ปิ ดการจราจร
หนึ่งทิศทาง ดังแสดงในรูปที่ 9-10
ิทธิ์ข

11) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร ไม่มเี กาะกลาง ปิ ดการจราจร


บริเวณกลางถนน ดังแสดงในรูปที่ 9-11
ลิขส

12) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้างทัวไป


่ ดังแสดงในรูปที่ 9-12
@

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 49 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-1 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 1 ช่องจราจร

[ 50 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-2 ป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 2 ช่องจราจร

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 51 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-3 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดก่อสร้างบริเวณไหล่ทาง

[ 52 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-4 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้าง 1 ช่องจราจร

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 53 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-5 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้าง 1 ช่องจราจรบริเวณจุดตัดทางรถไฟ

[ 54 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-6 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรขวา

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 55 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-7 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง

[ 56 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-8 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร ไม่มไี หล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 57 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-9 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีเกาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง

[ 58 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-10 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร ไม่มเี กาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 59 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-11 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร ไม่มเี กาะกลาง ปิดการจราจรบริเวณกลางถนน

[ 60 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 9-12 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดงานก่อสร้างทัวไป


เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 61 ]


บทที่ 10
แบบป้ ายมาตรฐานในงานก่อสร้างบนทางหลวงพิเศษ
แบบการติดตัง้ ป้ายมาตรฐานงานงานก่อสร้าง บนทางหลวงพิเศษ ดังแสดงในรูปที่ 10-1 ถึงรูปที่ 9-4
1) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 2 ช่องจราจร สําหรับทาง
หลวงพิเศษ (Motorway) ดังแสดงในรูปที่ 10-1

@
2) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรขวา
สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway) ดังแสดงในรูปที่ 10-2

นั้น
3) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง
สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway) ดังแสดงในรูปที่ 10-3

เท่า
4) แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร ไม่มไี หล่ทาง สําหรับทางหลวง
พิเศษ (Motorway) ดังแสดงในรูปที่ 10-4

ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 62 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 10-1 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางเบีย่ ง หรือสะพานเบีย่ ง 2 ช่องจราจร


สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway)

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 63 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 10-2 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรขวา


สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway)

[ 64 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 10-3 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร มีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง


สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway)

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 65 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 10-4 แบบป้ายมาตรฐานในงานก่อสร้าง ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจร ไม่มไี หล่ทาง


สําหรับทางหลวงพิเศษ (Motorway)

[ 66 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บทที่ 11
รายละเอียดและหลักเกณฑ์แนบท้ายสัญญางานบริหาร
การจราจรในระหว่างการก่อสร้าง
11.1 การกําหนดชนิ ดและอุปกรณ์ควบคุมการจราจร

@
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียม และติดตัง้ ป้ายจราจรในพืน้ ทีท่ ่มี กี ารก่อสร้าง หรือบูรณะทาง หรือสะพาน ตามคู่มอื
การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง ของกรมทางหลวง

นั้น
เท่า
11.2 ความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
1) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยในการทํางานอย่างละเอียดและชัดเจน ให้สอดคล้อง

ลวง
กับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างแล้วเสนอต่อผูค้ วบคุมงานเพือ่ พิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อน
ดําเนินการก่อสร้าง
2) ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั งิ านตามแผนปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้เสนอไว้กบั ผูว้ า่ จ้างอย่างเคร่งครัด และสอดคล้องกับ
างห
กฎหมายและระเบียบทีก่ าํ หนดไว้ พร้อมรายงานผลการดําเนินงานตามแผนดังกล่าวให้ผคู้ วบคุมงานรับทราบอย่างน้อย
เดือนละ 1 ครัง้
รมท

3) อุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีผ่ รู้ บั จ้างนํามาติดตัง้ ระหว่างก่อสร้างเป็ นสมบัตขิ องผูร้ บั จ้าง


4) อุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีผ่ รู้ บั จ้างได้รบั เงินค่างานไปแล้ว ถ้าหากเกิดการชํารุด หรือเสียหาย อัน
เนื่องมาจากสาเหตุใดก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องรีบจัดทําหรือจัดหามาติดตัง้ ทดแทนให้อยูใ่ นสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์ทนั ที
องก

เมือ่ ตรวจพบ
5) ผูร้ บั จ้างต้องจัดการให้ป้ายอยูใ่ นสภาพทีด่ ี และครบถ้วนตามคู่มอื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณ
ิทธิ์ข

พืน้ ทีก่ ่อสร้าง ของกรมทางหลวง และพร้อมทีจ่ ะให้ผวู้ า่ จ้างตรวจสอบความเรียบร้อยตลอดเวลา


6) หากเกิดอุบตั เิ หตุใดๆ ในพืน้ ทีแ่ ละเส้นทางทีไ่ ด้รบั มอบพืน้ ทีท่ าํ งานจากผูว้ า่ จ้างไปดําเนินการแล้ว ผูร้ บั
จ้างต้องรับผิดชอบในผลแห่งอุบตั เิ หตุนนั ้ แต่เพียงผ่ายเดียวทัง้ ทางแพ่งและทางอาญา
ลิขส

11.3 การกํากับดูแลและตรวจสอบของผูค้ วบคุมงาน


1) เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรการป้องกัน และควบคุมอุบตั เิ หตุในงานก่อสร้างของรัฐ ผูค้ วบคุมงานจะต้องเป็ น
@

ผูก้ าํ กับดูแล และตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างให้เป็ นไปตามแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยทีไ่ ด้เสนอไว้ก่อนเริม่


งาน
2) ผู้ควบคุมงานต้องคอยกํากับดูแล และตรวจสอบอุปกรณ์ ควบคุมการจราจรที่ผู้รบั จ้างติดตัง้ ไว้ให้อยู่ใน
สภาพดีและสมบูรณ์ ตลอดเวลา เมื่อพบว่ามีการชํารุดหรือสูญหายให้แจ้งเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรให้ผู้รบั จ้างทราบเพื่อ
จัดหามาทดแทนทันที

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 67 ]


3) อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจรที่ติด ตัง้ ไว้ ถ้า ผู้ค วบคุ ม งานเห็น ว่า อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจรใดมีค วาม
จําเป็ นต้องติดตัง้ เพิม่ เติม หรือหมดความจําเป็ นสําหรับจุดนัน้ ให้แจ้งผูร้ บั จ้างดําเนินการ

11.4 หลักเกณฑ์การคิ ดคํานวณและจ่ายค่างาน


1) กรมทางหลวงจะจ่ายค่างานบริหารการจราจรในระหว่างการก่อสร้างเป็ นแบบเหมาจ่าย
2) กรมทางหลวงจะจ่ายค่างานบริหารการจราจรในระหว่างก่อสร้างเป็ นสองส่วน ดังนี้
ก) ส่วนที่หนึ่งจะจ่ายให้ไม่เกินร้อยละ 70 ของราคาแผ่นป้าย และวัสดุอุปกรณ์ ท่ผี ู้รบั จ้างได้

@
จัดเตรียมและประกอบเรียบร้อยในเขตก่อสร้างพร้อมทีจ่ ะใช้งานตามหลักฐานการสังซื ่ อ้ หรือจ้างผลิต แต่ตอ้ งไม่เกินร้อย
ละ 50 ของรายการค่างานบริหารการจราจรในระหว่างก่อสร้างตามสัญญา

นั้น
ข) ส่วนที่สองจะแบ่งจ่ายให้ในทุกงวดงานเป็ นเปอร์เซ็นต์ โดยคํานวณตามเปอร์เซ็นต์เต็มของ
ผลงานทัง้ โครงการที่ทํา ได้ใ นงวดนัน้ ๆ และจ่ า ยให้ค รึ่ง หนึ่ ง ของเปอร์เ ซ็น ต์ผ ลงานที่ทํ า ได้ ทัง้ นี้ จ่ า ยให้ค รบ 100

เท่า
เปอร์เซ็นต์เมือ่ งานโครงการแล้วเสร็จตามสัญญา
3) ค่างานบริหารการจราจรทีแ่ บ่งจ่ายในแต่ละงวด เป็ นส่วนหนึ่งของทุกรายการค่างานในงวดนัน้ ในกรณีท่ี

ลวง
อุปกรณ์ควบคุมการจราจรชํารุดหรือสูญหาย ไม่เป็ นไปตามคู่มอื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณพืน้ ที่ก่อสร้าง
ของกรมทางหลวง ถือว่างานในงวดนัน้ ยังไม่เรียบร้อยตามสัญญา ผูว้ ่าจ้างสงวนสิทธิ ์ทีจ่ ะไม่ตรวจรับงานก่อสร้างในงวด
างห
นัน้ จนกว่าผูร้ บั จ้างจะดําเนินการติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรให้เป็ นไปตามคู่มอื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร
บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง ของกรมทางหลวง และผูร้ บั จ้างจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากกรณีดงั กล่าวจากผูว้ ่าจ้าง การ
จ่า ยค่ า งานส่ว นที่เ หลือ ในครัง้ ต่ อ ไปนอกจากจะถู ก ระงับ แล้ว ถ้า หากยัง มีค วามจํา เป็ น ที่จ ะต้อ งมีอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม
รมท

การจราจรนัน้ ต่อไปอีก ผูว้ า่ จ้างจะจัดหามาทดแทนโดยผูร้ บั จ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการนี้ทงั ้ สิน้


องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 68 ] เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง


บรรณานุกรม
1. กรมทางหลวง, “คูม่ อื เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรภาค 1”, ฉบับปี พ.ศ. 2531
2. กรมทางหลวง, “คู่มอื เครื่องหมายควบคุมการจราจรภาค 2 – เครื่องหมายจราจร (MARKINGS)”, ฉบับปี พ.ศ.
2533
3. กรมทางหลวง, “มาตรฐานป้ายจราจร ชุดที่ 1”, 2521
4. กรมทางหลวง, “มาตรฐานป้ายจราจร ชุดที่ 2”, 2521

@
5. กรมทางหลวง, “รายละเอียดและข้อกําหนดการจัดทําเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง (การตีเส้น ลูกศร ขีดเขียน

นั้น
ข้อความ) Specification for Road Marking”, กรกฎาคม พ.ศ. 2551
6. กรมทางหลวง, คู่มอื เครื่องหมายควบคุมการจราจร ในงานก่อสร้างบูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง ฉบับปี พ.ศ.

เท่า
2545
7. กรมทางหลวง, โครงการป้าย Knockdown (ป้ายมือถือ)

ลวง
8. กรมทางหลวงชนบท, “คูม่ อื และมาตรฐานความปลอดภัยในการจัดการจราจรบนทางหลวงชนบท”, พ.ศ. 2551
9. กิตติชยั ธนทรัพย์สนิ , วิศวกรรมจราจรเบือ้ งต้น, ศูนย์ผลิตตําราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ, ISBN 974-620-686-9, 2551
างห
10. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “เกริน่ นํา เอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองเกีย่ วกับคู่มอื
และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจร, Self Study Manual of Traffic Control Devices Standard”, พ.ศ. 2547
รมท

11. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “คู่มอื การใช้เครื่องหมายจราจรบริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง”,


พ.ศ. 2547
12. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “คู่มอื และมาตรฐาน ป้ายจราจร Traffic Signs
องก

Standard and Manual”, พ.ศ. 2547


13. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “คู่มอื และมาตรฐานเครื่องหมายจราจรบนพื้นทาง
ิทธิ์ข

Markings Standard and Manual”, พ.ศ. 2547


14. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, แผ่นสะท้อนแสงสําหรับควบคุมการจราจร Retroreflective
Sheeting for Traffic Control (มอก. 606 – 2549)
ลิขส

15. สํานักงานวิศวกรรมการจราจร กรมทางหลวง, “วิธกี ารตีเส้นห้ามแซง”, พ.ศ. 2524


16. Institute of Transportation Engineers, Manual of Transportation Engineering Studies, Prentice-Hall, Inc,
1994.
@

17. Queensland Government, Australia, “Manual of Uniform Traffic Control Devices”, May 2009.
18. Roess, R. P., Elena S. P., William R., McShane. Traffic Engineering, 3rd Ed., Pearson Prentice Hall,
New Jersey, 2004.
19. U.S. Department of Transportation, Federal Highway Administration, “Manual on Uniform Traffic
Control Devices for Streets and Highways”, 2009 Edition.

เล่มที่ 6 คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้าง [ 69 ]


@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
คณะกรรมการกํากับโครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครือ่ งหมายควบคุม
การจราจรกรมทางหลวง
1. นายสุชาติ ลีรคมสัน ------------------------------------------------------------------------------------------ ประธานกรรมการ
ผูอ้ าํ นวยการสํานักมาตรฐานและประเมินผล

2. นายสุจณ
ิ มังนิ
่ มติ ร ------------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ

@
วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

3. นายอาณัติ ประทานทรัพย์ --------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ

นั้น
รก.วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

เท่า
4. นายสว่าง บูรณธนานุกจิ ------------------------------------------------------------------------------------------------ กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

ลวง
5. นายพลเทพ เลิศวรวนิช ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
างห
6. นายวิชติ นามประสิทธิ ์ -------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
รมท

7. นายกุลธน แย้มพลอย --------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
องก

8. นายทวีศกั ดิ ์ ชาญวรรณกุล ---------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ิทธิ์ข

9. นางสาวภัทริน ศรุตพิ นั ธ์ ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ลิขส

10. นายจตุรงค์ เสาวภาคย์ไพบูลย์ ---------------------------------------------------------------------- กรรมการและเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@

11. นายนะบีลย์ เจ๊ะแว ----------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

12. นายธวัชชัย แสงรัตน์ --------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@

You might also like