You are on page 1of 24

การขนส่งและอุปกรณ์การขนส่ง

ศิริวรรณ อินต๊ะยา 613420108

รินรดา ทองดี 613420115

สุธินันท์ ใหม่วงศ์ 613420124

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร แม่สอด
1

คำนำ
เนื้อหาของเอกสารประกอบการสอนแบ่งออกเป็ น 8 บท ครอบคลุมเนื้ อหาที่จำเป็ นสำหรับวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเบื้องต้น ได้แก่ หลักการพื้นฐานทางโลจิสติกส์และโซ่อุปทา การจัดซื้ อ
จัดหา การจัดการวัสดุและบรรจุภณั ฑ์การขนถ่ายลำเลียงและการผลิต การจัดการคลังสิ นค้าและสิ นค้าคงคลัง
การจัดการศูนย์กระจายสิ นค้าและการส่ งมอบการขนส่ งและอุปกรณ์กรขนสง ระบบสารสนเทศและ อโลจิ
สติกส์โลก ซึ่ งจะช่วยให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ความข้าใจและมีทศั นคติที่ดีต่อวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่
อุปทานเบื้องต้น รวมทั้งมีความพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่ การเป็ นนักจัดการโซ่อุปทานที่มีคุณภาพในอนาคต
การจัดพิมพ์ครั้งนี้ ผูเ้ ขียนได้ปรับปรุ งและเพิ่มเติมเนื้อหาสาระให้ทนั สมัยและสอดคล้องต่อวิชาชีพ
หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าเนื้อหาสาระที่นำเสนอไว้จะเป็ นประโยชน์แก่ผเู ้ รี ยนรวมทั้งบุคคลทัว่ ไปซึ่ งตระหนักถึง
ความสำคัญของโซ่อุปทานในการนำแนวคิดทั้งหลายนั้นไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล
ในการประกอบวิชาชีพและการดำเนินชีวิต ผูเ้ ขียนขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้กำลังใจและมีส่วนสำคัญ
อย่างยิง่ สำหรับความพากเพียรพยายามและความสำเร็ จในการเรี ยบเรี ยงเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ซึ่ ง
หากมีขอ้ บกพร่ องประการใดโปรดให้คำแนะนำทางวิชาการแก่ผเู ้ ขียน เพื่อประโยชน์ทางวิชาการสื บไป

กฤษณ์ ชาคริตส ณ วัฒนประเสริฐ


เมษายน 2559
2

สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที่ 7 การขนส่ งและอุปกรณ์การขนส่ ง 1
รู ปแบบการขนส่ ง 1
การขนส่ งต่างรู ปแบบ 9
การขนส่ งหลายรู ปแบบ 10
ทางเลือกการออกแบบการขนส่ ง 11
ประโยชน์การขนส่ งแบบ Cross Docking 16
อุปกรณ์การขนส่ ง 16
สัญลักษณ์และความหมาย 17
การพิจารณาทางเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์ในการจัดการควบคุมด้านวัสดุเพื่อการขนส่ ง 18
ประเภทของเครื่ องจักรอุปกรณ์ในการจัดการควบคุมด้านวัสดุ 18
บทสรุ ป 21
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 7 22
เอกสารอ้างอิง
1

บทที่ 7 การขนส่ งและอุปกรณ์ การขนส่ ง


การค้าต้องอาศัยการขนส่ งเป็ นเครื่ องมือการกระจายสิ นค้า สิ นค้าที่ผลิตในประเทศนอกจากจำหน่าย
ในประเทศยังอาจส่ งไปขายต่างประเทศด้วย สิ นค้าจากแหล่ผลิตไปยังผูบ้ ริ โภคต้องใช้การขนส่ ง การขนส่ ง
จึงเอื้ออำนวยต่อการค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การขนส่ งที่มีประสิ ทธิ ภาพจะเป็ นประโยชน์กบั ผู ้
ผลิตในทุกขั้นและกับผูบ้ ริ โภค รู ปแบบการขนส่ ง การขนส่ งหลายรู ปแบบ การขนส่ งคอนเทนเนอร์ดว้ ย
รถไฟ ผูใ้ ห้บริ หารขนส่ ง ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อค่าขนส่ ง การกำหนดค่าขนส่ ง ทางเลือกการออกแบบการ
ขนส่ ง
รู ปแบบการขนส่ ง
การขนส่ งมีหลายรู ปแบ แต่ละรู ปแบบมีท้ งั ข้อดีและข้อด้อย การตัดสิ นใจเลือกใช้รูปแบบการขนส่ ง
ใดขึ้นอยูก่ บั หลายปั จจัย เป็ นต้นว่า อัตราค่าระวาง ความรี บด่วน การเข้าถึงบริ การ หัวข้อนี้ จะได้กล่าวถึง
การขนสงด้วยรถบรรทุก กรขนสงด้วยรถไฟ การขนส่ งด้วยเครื่ องบิน การขนส่ งด้วยท่อและการนส่ งด้วยเรื อ
พร้อมข้อดีและข้อด้อยของแต่ละรู ปแบบ ดังนี้ (ฐาปนา บุญหลาและนงลักษณ์ นิมิตรภูวดล. 2555: 185-189)
1. การขนส่ งด้ วยรถบรรทุก (Motor Carrier)
การขนส่ งในประเทศจะใช้ทางถนนมากกว่ารู ปแบบขนส่ งอื่นๆ การขนส่ งสิ นค้าด้วยรถบรรทุกมี
ความหยุน่ ตัวสูง รถบรรทุกมีหลายขนดทำให้สามารถใช้ได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ยงั มีรถบรรทุก
เฉพาะกิจ เช่น รถบรรทุกของเหลว รถบรรทุกปรับอุณหภูมิสำหรับขนส่ งสิ นค้าเน่าเสี ยง่าย รถบรรทุกสิ นค้า
แห้งทัว่ ไป รถบรรทุกไม้ซุง รถบรรทุกรถยนต์ รถบรรทุกคอนเทนเนอร์ แม้วา่ รถบรรทุกจะมีหลายประเภท
และขนาด การขนส่ งด้วยรถบรรทุกก็มีขอ้ ดีและข้อด้อย ดังนี้
1.1 ข้อดีการขนส่ งด้วยรถบรรทุก (Advantages of Motor Carrior)
ดังได้กล่าวมาแล้วรถบรรทุกมีความหยุน่ ตัว มีหลายประเภทและหลายขนาด ข้อดีของรถบรรทุก
ได้แก่
1.1.1 รวดเร็ ว (speed) รถบรรทุกจัดเป็ นบริ การขนสงที่รวดเร็ ว ความรวดเร็ วอยูท่ ี่ตวั ยาน
พาหนะที่สมารถดินทางด้วยความเร็วสูง รถบรรทุก ขนสิ นค้าไม่ได้มาก ดังนั้นจึงใช้เวลาน้อยในการรวบรวม
สิ นค้าเต็มคันรถ (Full Tuck Load: FTL) รวมทั้งการขนส่ งถ่ายสิ นค้าขึ้นรถและออกจากรถ (Load and
Unload) ใช้เวลาน้อย
ความรวดเร็ วในการขนส่ งช่วยลดวงจรเวลาสัง่ ซื้ อหรื อลดเวลาการประมวลคำสัง่ ซื้ อวงจรเวลาสัง่ ซื้ อ
ลดลงช่วยให้ลดสิ นค้าคงคลัง เมื่อสิ นค้าคงคลังลดลงมีผลให้ตน้ ทุนสิ นค้าคงคลังต่ำลงนอกจากนี้ยงั ช่วยลด
ความสู ญเสี ยที่เกิดจกวัสดุเสื่ อมสภาพรวมถึงสิ นค้าหมดสมัยอีกด้วย
1.1.2 เป็ นบริ การการขนสงแบบจากที่ถึงที่ (Door -to-Door Service) รถบรรทุกสามารถเดินทางไป
ตามถนนใหญ่หรื อเล็กหรื อแม้แต่ไม่มีถนน หากไม่มีสิ่งกีดขวางหรื อสิ่ งที่เป็ นอุปสรคนเกินขีดความสามารถ
ของยานพาหนะ รถบรรทุกสามารถเดินทางไปสถานที่ต่างๆ เพื่อบรรทุกและขนถ่ายสิ นค้าได้ดีกว่าการขนส่ ง
รู ปแบบอื่นๆ
บริ การขนส่ งแบบจากที่ถึงที่ หมายถึง กรใช้ยานพาหนะคันเดียวกันบรรทุกสิ นค้าจากต้นทางไปถึง
ปลายทางโดยสิ นค้าไม่ตอ้ งเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะ รถบรรทุกสามารถเข้าถึงสถานที่ต่างๆ ได้ดีกว่ารู ปแบบ
ขนส่ งอื่น รถบรรทุกเมื่อบรรทุกสิ นค้าจากต้นทางจะเดินทางตรงไปยังปลายทางโดยสิ นค้าไม่ตอ้ งเปลี่ยนถ่าย
ยานพาหนะ เช่น บรรทุกสิ นค้าจากโรงงานในกรุ งเทพฯ ไปให้ลูกค้าที่เชียงใหม่ได้โดยตรง การขนสรู ปแบบ
อื่นจะต้องมีการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ เช่น ขนส่ งสิ นค้าจากโรงานในกรุ งเทพฯ ไปยังร้านค้าที่เชียงใหม่
ด้วยรถไฟ บริ ษทั ต้องขนสิ นค้าจากโรงงานด้วยรถบรรทุกไปขึ้นรถไฟ เมื่อรถไฟถึงเชียงใหม่กจ็ ะต้องขนถ่าย
สิ นค้าออกจากรถไฟไปขึ้นรถบรรทุกเพื่อไปยังปลายทางที่ตอ้ งการ
2

1.1.3 เครื อข่ายครอบคลุม (Extensive Road Network) การพัฒนาด้านถนนก้าวหน้ารวดเร็ ว รัฐบาล


ลงทุนก่อสงถนนเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค ระหว่างจังหวัด อำเภอและหมู่บา้ เครื อข่ายถนนที่เชื่อมโยงกัน
อย่างกว้างขวางทำให้รถบรรทุกสามารถข้าถึงได้ทุกแห่ง ขณะที่การขนสรู ปแบบอื่นมีเครื อข่ายจำกัด การให้
บริ การจำกัดอยูเ่ ฉพาะบางพื้นที่
1.1.4 การแข่งขันสูง (High Competition) การขนส่ งจะมีการแข่งขันมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั นโยบาย
ของแต่ละประเทศ ประเทศที่มีนโยบายให้มีผปู ้ ระกอบการมากรายและอนุญาตให้มีรถบรรทุกส่ วนบุคคล
การแข่งขันจะมีมาก ประเทศที่มีการควบคุมจำนวนผูป้ ระกอบและหรื อไม่อนุญาตให้มีรถบรรทุกส่ วนบุคคล
การแข่งขันก็จะมีนอ้ ย การแข่งขันทำให้ค่าระวางต่ำและมีการปรับปรุ งการให้บริ การ
1.1.5 ความเสี ยหายน้อย (Low Damage) การขนส่ งสิ นค้าด้วยรถบรรทุกมีความรวดเร็ ว สิ นค้อยูบ่ น
ยานพาหนะระยะเวลาสั้น ประกอบกับระบบถนนได้มาตรฐานและยานพาหนะมีระบบกันสะเทือนดี ซึ่ งช่วย
ลดการกระทบกระแทกสิ นค้าระหว่างการขนสง การขนส่ งทางถนนหรื อรถบรรทุกจึงลดความเสี ยหายสิ นค้า
ระหว่างการขนส่ ง

1.2 ข้อด้อยของการขนส่ งด้วยรถบรรทุก (Disadvantage)


ข้อดีของการขนส่ งด้วยรถบรรทุกมีหลายประการดังได้กล่าวมาข้างต้น อย่างไรก็ตามรถบรรทุกก็มี
ข้อค้อ ข้อด้อยการขนส่ งด้วยรถบรรทุกสรุ ปได้ ดังนี้
1.2.1 ค่าขนส่ งแพง (High Cost) รถบรรทุกมีค่าใช้จ่ายแปรผันสู ง ต้นทุนแปรผันประกอบด้วยคำ
น้ำมันเชื้อเพลิง ดำน้ำมันหล่อลื่น และคำบำรุ งรักษา ดังนั้นค่าระวางรถบรรทุกสู งกว่าการขนส่ งรู ปแบบอื่นๆ
ยกเว้นการขนส่ งทางอากาศ ความรวดเร็ วการขนส่ งด้วยรถบรรทุกช่วยลดระดับสิ นค้าคงคลัง สิ นค้าคงคลังที่
ลดลงอาจชดเชยกับค่าระว่างที่สูงได้ นอกจากนี้รถบรรทุกสามารถให้บริ การแบบจกที่ถึงที่ ทำให้ลดค่าใช้
จ่ายการขนถ่ายซ้ำซ้อน ดังนั้น บริ ษทั จะต้องพิจารณาจุดแลกระหว่างได้กบั เสี ยคือ ระหว่างค่าระวางสู งกับคำ
ใช้จ่ายสิ นค้าคงคลังที่ลดลงเพื่อให้ตดั สิ นใจเลือกใช้รูปแบบการขนส่ ง
1.2.2 บรรทุกสิ นค้าได้นอ้ ย (Low Capacity) ระวางรถบรรทุกจำกัดด้วยความยาวความสู งและน้ำ
หนักบรรทุกตามกฎหมาย รถบรรทุกจึงบรรทุกสิ นค้าได้นอ้ ยเมื่อเปรี ยบเทียบการขนส่ งด้วยรถไฟหรื อ เรื อ
อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั มีการพัฒนารถบรรทุกให้มีความสามารถในการบรรทุกได้มากขึ้น เช่น รถพ่วง
1.2.3 อ่อนไหวต่อสภาพอากาศ (Weather Sensitive) สภาพดินฟ้ าอากาศเป็ นอุปสรรคกับการขนส่ ง
ด้วยรถบรรทุก ภูมิภาคที่มีอากาศหนาว หิมะที่ตกลงมาปกคลุมถนนอาจทำให้รถบรรทุกผ่านไปไม่ได้หรื อ
ต้องใช้ความเร็ วต่ำ หรื อในภาวะภัยธรรมชาติจากอุทกภัยทำให้ถนนถูกตัดขาดซึ่ งเป็ นอุปสรรคกับรถบรรทุก
ที่จะวิ่งผ่านไปมา อย่างไรก็ตาม สภาพอากาศก็มีผลกระทบต่อรู ปแบบขนส่ งอื่นได้เช่นกัน เช่น หมอกและ
หิ มะก็อาจทำให้เครื่ องบินขึ้น-ลงสนามบินไม่ได้หรื อภัยธรรมชาติอาจทำให้รางรถไฟเสี ยหายเป็ นเหตุให้
รถไฟแล่นผ่านไม่ได้
2. การขนส่ งด้ วยรถไฟ (Railroads)
รถไฟเป็ นรู ปแบบการขนส่ งที่สำคัญ ประทศที่มีพ้ืนที่กว้างใหญ่รถไฟจะมีบทบาทมากภูมิภาคที่มี
พื้นดินติดต่อกันก็มีการใช้รถไฟอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม เมื่อประเทศพัฒนาโครงข่ายถนนกว้างขวาง
และสะดวกสบาย บทบาทการขนส่ งทางรถไฟลดลง อย่างไรก็ตาม การขนส่ งทางรถไฟระยะทางไกลจะ
ประหยัดกว่าการขนส่ งทางถนน การขนส่ งทางรถไฟมีขอ้ ดีและข้อด้อย ดังนี้
2.1 ข้อดีการขนส่ งทางรถไฟ (Advantages of Railroad)
การขนส่ งด้วยรถไฟมีขอ้ ดีในด้านความจุระวางบรรทุก ค่าขนส่ งถูก ตรงเวลาและปลอดภัย รถไฟ
เป็ นบริ การขนส่ งสาธารณะ (Common Carrier) ให้บริ การกับผูส้ ่ งของ (Shippers) ทุกคน ข้อดีการขนสงด้วย
รถไฟ มีดงั นี้
3

2.1.1 ความจุระวางบรรทุกมาก (Capacity) รถไฟเดินไปตามราง หัวรถจักรมีกำลังลากจูงสู ง จึง


สามารถลากตูส้ ิ นค้าได้จำนวนมาก รถไฟขบวนหนึ่งอาจมีความยาวเป็ นกิโลเมตรรถไฟจึงสามารถบรรทุก
สิ นค้าในแต่ละเที่ยวได้หลายพันดัน
2.1.2 ความสามารถในการให้บริ การ (Capability) รถไฟให้บริ การกับบริ ษทั และบุคคลทัว่ ไป ทั้งผู ้
ส่ งของรายย่อยและรายใหญ่ สิ นค้าที่ขนส่ งจึงมีหลากหลายชนิด รถไฟสามารถขนสิ นค้าได้ท้ งั สิ นค้าเหลว
และสิ นค้าแห้หลากหลายชนิดในคราวเดียวกัน ซึ่ งอาจมีท้ งั สิ นค้าอันตรายสิ นค้าเน่าเสี ยง่าย สิ นค้าที่มีกลิ่น
เช่น สารเคมี สิ นค้าเหล่านี้สามารถขนส่ งในขบวนเดียวกันโดยไม่ทำให้สินค้าอื่นเสี ยหาย เพราะขบวนรถไฟ
ประกอบด้วยตูส้ ิ นค้าที่แยกกัน รถไฟจึงสามารถแบ่งตูต้ ามชนิดสิ นค้าได้ ซึ่ งนับว่าเป็ นจุดเด่นของรถไฟ
2.1.3 ตันทุนขนส่ งต่ำ (Low Cost) รถไฟนอกจากจะมีความจุระวางมากดังที่ได้กล่าวมาแล้ว รถไฟยัง
เป็ นพาหนะขนส่ งทางไกล และบรรทุกสิ นค้าได้ทุกชนิดทั้งที่มีขนาดใหญ่และมีความยาวหรื อสิ นค้าที่มีน ้ำ
หนักมาก การที่รถไฟขนส่ งได้คราวละปริ มาณมากและระยะทางไกลบ่งบอกถึงคุณลักษณะทางเทคนิคและ
รู ปแบบกรขนส่ งที่ประหยัด การขนสิ นค้าในปริ มาณมากและระยะทางไกลมีผลให้ตน้ ทุนขนส่ งเฉลี่ยลดลง
ต้นทุนขนส่ งลดลงเกิดจากต้นทุนคงที่ลดลง
2.1.4 ตรงต่อเวลาและปลอดภัย (Reliability and Safety) รถไฟเดินไปตามรางที่ก่อสร้างเพื่อการนี้
โดยเฉพาะ ทางรถไฟจึงไม่มียานพาหนะอื่นใช้ร่วม ทำให้รถไฟมีความปลอดภัยและเดินรถได้ตามตาราง
เวลา ข้อได้เปรี ยบนี้ มีความสำคัญด้านโลจิสติกส์ ประการที่ 1 การขนส่ งตรงต่อเวลาทำให้การส่ งมอบสิ นค้า
สม่ำเสมอ ลูกค้าไม่ตอ้ งมีสินค้าคงคลังสำรอง ประการที่ 2 ความปลอดภัยในการขนส่ งทำให้ลูกค้าได้รับ
สิ นค้าในสภาพที่สมบูรณ์ ลูกคำมีสินค้าเพียงพอขายในช่วงจาสัง่ ซื้ อ นอกจากนี้บริ ษทั ยังลดต้นทุนและความ
เสี ยหายโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายนำสิ นเสี ยหายกลับคืนและส่ งสิ นค้าให้ลูกค้าใหม่

2.2 ข้อด้อยการขนส่ งด้วยรถไฟ (Disadvantages of Railroad)


การขนส่ งทางรถไฟมีขอ้ ดีหลายประการ แต่การขนสงกางรถไฟก็มีขอ้ ด้อย เช่น ไม่สามารถให้บริ การแบบ
จากที่ถึงที่ รถไฟจึงเป็ นรู ปแบบการขนสงที่ตอ้ งขนถ่ายซ้ำซ้อน มีเครื อข่ายจำกัด และอื่นๆ ดังนี้
2.2.1 เข้าใช้บริ การยาก (Low Accessibility) รถไฟให้บริ การเฉพาะสถานที่ที่รถไฟจัดไว้สำหรับ
บรรทุกและขนถ่ายสิ นค้าเท่านั้น รถไฟไม่สามารถให้บริ การแบบจากที่ถึงที่ ข้อนี้นบั ว่าเป็ นจุดด้อยของการ
ขนส่ งทางรถไฟอย่างยิง่ รถไฟอาจให้บริ การกับลูกค้ารายใหญ่โดยต่อเชื่อมรางรถไฟเข้าไปยังสถานที่ของ
วิสาหกิจนั้น เช่น ทำเรื อ ท่าเรื อบก (Inland Clearance Depot : ICD) โรงงานถลุงเหล็ก โรงานปูนซี เมนต์
สำหรับลูกค้าโดยทัว่ ไปจะต้องนำสิ นค้าไปยังสถานีและรับสิ นค้าที่สถานี โดยที่สถานีสินค้ารถไฟมีไม่มาก
การเข้าใช้บริ การจึงเป็ นอุปสรรค
2.2.2 ผูป้ ระกอบการน้อยราย (Few Operators) รถไฟเป็ นบริ การสาธารณูปโภคที่ดำเนินการโดยรัฐ
เป็ นส่ วนใหญ่ เป็ นบริ การที่ตอ้ งลงทุนมาก การเป็ นรัฐวิสาหกิจมีขอ้ จำกัดการให้บริ การรถไฟที่เป็ น
รัฐวิสาหกิจมีปัญหาด้านการลงทุนและประสิ ทธิ ภาพ ในบางประเทศมีการถไฟไปเป็ นของเอกชน หรื อให้
เอกชนจำนวนหนึ่งเป็ นผูป้ ระกอบการทำให้มีการแข่งขันในระดับหนึ่ง
2.2.3 เครื อข่ายจำกัด (Limited Network) รถไฟลงทุนมากโดยเฉพาะระบบราง การลงทุนเพียงเพื่อ
ใช้เพาะกิจของรถไฟเท่านั้น โดยที่ผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินต่ำ การลงทุนรถไฟจึงจำกัดเพาะเส้น
ทางสายหลักที่เชื่อมโยงชุมชนเมืองใหญ่ เส้นทางแยกย่อย (Feeder) มีจำกัดเครื อข่ายรถไฟจึงมีจำกัดและ
บริ การรถไฟไม่ครอบคลุมกว้างขวางเช่นทางถนนทำให้การเข้าใช้บริ การไม่สะดวก
2.2.4 ใช้เวลาขนส่ งนาน (Long Transit Time) รถไฟขนสิ นค้าได้มาก รถไฟต้องรวบรวมสิ นค้า
(Consolidate) จากลูกค้ามากราย สิ นค้าจึงต้องอยูท่ ี่สถานีนานเพื่อรอการรวบรวมสิ นค้าเต็มคัน เมื่อถึงปลาย
ทางตูส้ ิ นค้าจะปลดออกจากขบวนรถไฟ เจ้าของสิ นค้าจะต้องจัดหายานพาหนะไปรับสิ นค้าที่สถานี การ
ขนส่ งสิ นค้าทางรถไฟจึงใช้เวลานานกว่าจะถึงลูกค้าปลายทาง เวลาขนส่ งนานมีผลต่อระดับสิ นค้าคงคลัง
และต้นทุนสิ นค้าคงคลังที่สูง
4

2.2.5 ขนถ่ายซ้ำซ้อน (Double Handling) ผูส้ ่ งสิ นค้าต้องนำสิ นค้าจากคลังสิ นค้าของตนไปยังสถานี


รถไฟและขนถ่ายสิ นค้าออกจากยานพาหนะ เพื่อขนขึ้นรถไฟ เมื่อสิ นค้าถึงสถานีปลายทางก็จะต้องขนออก
จากตู ้ จากนั้นเจ้าของสิ นค้านำยานพาหนะมาขนไปยังโรงงานหรื อคลังสิ นค้าและขนถ่ายออกจากยาน
พาหนะ จะเห็นว่ามีการขนถ่ายช้ำช้อนเป็ นภาระกับผูส้ ่ งสิ นค้าและผูร้ ับสิ นค้าทำให้ตน้ ทุนส่ งโดยรวมสู ง ดัง
นั้น การขนส่ งทางรถไฟจะมีตน้ ทุนต่ำก็ตอ้ งขนส่ งเป็ นระยะทาง 500 กิโลเมตรขึ้นไป การขนส่ งทางไกลค่า
ระวางรถไฟจะต่ำกวารถบรรทุก คำระวางที่ต ่ำจะชดเชยค่าขนถ่ายซ้ำช้อนได้ทำให้การขนส่ งด้วยรถไฟใน
ระยะทางไกลมีตนั ทุนต่ำกว่าทางถนน
3. การขนส่ งด้ วยเครื่องบิน (Air Carriers)
เครื่ องบินโดยสารนอกจากบรรทุกผูโ้ ดยสารแล้วยังมีระวางบรรทุกสิ นค้าด้วย สายการบินโดยทัว่ ไป
มีรายได้หลักจากการขนสงผูโ้ ดยสาร การขนส่ งสิ นค้าเป็ นรายได้รอง อย่างไรก็ตามมีผปู ้ ระกบการที่มีเครื่ อง
บินบรรทุกสิ นค้าโดยเฉพาะ ผูป้ ระกอบการบางรายให้บริ การขนส่ งสิ นค้าอย่างเดียว กรณี ชนนี้ รายได้หลัก
มาจากการการขนสงสิ นค้า
โครงสร้างต้นทุนขนส่ งทางอากาศประกอบด้วยต้นทุนแปรผันและต้นทุนคงที่ ค่าใช้จ่ายแปรผัน
ได้แก่ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง เงินเดือนค่าจ้างพนักงานบนเครื่ องและภาคพื้นดิน ค่าธรรมเนียมสนามบิน
ค่าบำรุ งรักษาและอื่นๆ ผูป้ ระกอบการขนส่ งทางเครื่ องบินไม่ตอ้ งลงทุนเส้นทางบิน(Airway) เพราะเครื่ อง
บินอยูบ่ นน่านฟ้ าเช่นเดียวกับการขนส่ งทางถนนและทางน้ำที่ผปู ้ ระกอบการไม่ตอ้ งลงทุนสร้างถนนและ
ร่ องน้ำทางเดินเรื อ
3.1 ข้อดีการขนส่ งด้วยเครื่ องบิน (Advantage of Air Carrier)
การขนส่ งสิ นค้าด้วยเครื่ องบินมีขอ้ ดีหลายประการ เป็ นต้นว่า มีความรวดเร็ ว ความปลอดภัยสู ง
ความเสี ยหายสิ นค้าน้อย ลดค่าใช้จ่ายสิ นค้าคงคลังและอื่นๆ ดังนี้
3.1.1 รวดเร็ ว (Speed) เครื่ องบินมีความได้เปรี ยบอย่างโดดเด่นในเรื่ องความรวดเร็ วเครื่ องบินเดิน
ทางไกลใช้เวลาน้อยเมื่อเปรี ยบเทียบกับรู ปแบบขนส่ งอื่น เครื่ องบินจึงมีความเหมาะสม ในการขนส่ งสิ นค้า
หรื อวัสดุที่มีความต้องการใช้รีบด่วน น่าเสี ยง่ายหรื อมีมูลค่าสู ง
3.1.2 ตันทุนสิ นค้าคงคลังต่ำ Low Inventory Costs) เครื่ องบินมีความรวดเร็ วสิ นค้าที่ขนส่ งทาง
เครื่ องบินถึงปลายทาในเวลาที่ส้ ันทำให้ลดค่าใช้จ่ายสิ นค้าคงคลัง โดยเฉพาะสิ นค้าที่มีมูลคำสู งจะลดคำใช้
จ่ายสิ นค้าคงคลังได้มาก ปั จจุบนั สิ นค้ามูลค่าสู งใช้บริ การขนส่ งทางอากาศมากขึ้นเพราะสามารถลดต้นทุน
สิ นค้าคงคลัง
3.1.3 บริ การที่เชื่อถือได้ (Reliable Service) สภาพอากาศอาจมีผลกระทบต่อการขนส่ งด้วยเครื่ อง
บินซึ่ งทำให้เกิดความล่าช้าได้ แต่กม็ ีโอกาสเกิดขึ้นได้นอ้ ย การขนส่ งทางอากาศโดยทัว่ ไปตรงต่อเวลา ความ
ล่าช้าหากเกิดก็เป็ นเพียงชัว่ โมง ความลำช้าเนิ่นนานเป็ นวันเกิดขึ้นน้อยครั้งมาก การขนส่ งด้วยเครื่ องบินจึงมี
ความสม่ำเสมอการให้บริ การสูงจุดเด่น การขนสงด้วยเครื่ องบินนี้ ทำให้ผใู ้ ช้บริ การพึงพอใจและนิยมใช้
ขนส่ งสิ นค้าที่มีความรี บด่วน
3.1.4 ความเสี ยหายสิ นค้าน้อย (Low Damage) การขนส่ งทางอากาศมีความปลอดภัยและสิ นค้าเสี ย
หายน้อย ความเสี ยหายสิ นค้าเกิดจากการกระทบกระแทกกัน เครื่ องบินเดินทางได้นุ่มนวล สิ นค้าในระวางจึง
ไม่กระทบกระแทกกันมาก ทำให้มีความเสี ยหายน้อย ประกอบกับเครื่ องบินเดินทางได้รวดเร็ ว สิ นค้อยูใ่ น
ระยะเวลาสั้นเป็ นอีกเหตุผลที่สินค้าเสี ยหายน้อย
3.1.5 ความถี่บริ การสูง (High Frequency) ปั จจุบนั เครื อข่ายการบินในประเทศและระหว่างประเทศ
กว้างขวาง เชื่อมโยงประเทศและเมืองใหญ่ทวั่ โลก สนามบินหลักจะมีเครื่ องบินขึ้นลงจำนวนมาก เครื่ องบิน
ของหลายบริ ษทั มีตน้ ทางและปลายทางเดียวกัน เมืองหลักในประเทศต่างๆแต่ละวันมีเครื่ องบินมาจากสนาม
บินต่างๆ หลายเที่ยวบินและก็มีเครื่ องบินออกจากสนามบินหลายเที่ยวบินไปยังประเทศต่างๆ ด้วยชนกัน
5

นอกจากเครื่ องบินโดยสารแล้วยังมีเครื่ องบินสิ นค้าให้บริ การไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ ความถี่เที่ยวบิน


ที่สูงทำให้การส่ งมอบสิ นค้ารวดเร็ ว ซึ่ งลูกค้าได้ประโยชน์จากต้นทุนสิ นค้าคงคลังที่ลดลง
3.2 ข้อด้อยการขนส่ งด้วยเครื่ องบิน (Disadvantages of Air Carrier)
แม้วา่ การขนส่ งด้วยเครื่ องบินจะมีขอ้ ดีหลายประการดังที่กล่าวมา การขนสงด้วยเครื่ องบินก็มีขอ้
ด้อย ดังนี้
3.2.1 ค่าขนส่ งแพง (High Cost) ข้อเสี ยเปรี ยบการขนส่ งด้วยเครื่ องบินก็คือค่าขนส่ งสู งทำให้สินค้า
บางชนิดมิอาจใช้บริ การขนส่ งด้วยเครื่ องบินได้ ค่าขนส่ งทางเครื่ องบินจะสู งกว่าทางเรื อมาก สิ นค้าที่เหมาะ
สมใช้การขนส่ งทางอากาศจะเป็ นสิ นค้าที่มีมูลค่าสู งและน้ำหนักเบาสิ นค้าที่เน่าเสี ยง่ายและสิ นค้าที่มีความ
รี บด่วนค่าระวางที่สูงอาจชดเชยด้วยต้นทุนสิ นค้าคงคลังที่ลดลงโดยเฉพาะสิ นค้าที่มีมูลค่าสู ง
3.2.2 เข้าใช้บริ การยาก (Limited Accessibility) เครื่ องบินให้บริ การได้จะต้องมีสนามบิน โดยทัว่ ไป
แต่ละประเทศจะมีสนามบินหลักเพียง 1 หรื อ 2 แห่ง ยกเว้นประเทศใหญ่ที่อาจมีมากแห่ง เที่ยวบินระว่าง
ประเทศส่ วนใหญ่จะแวะลงจอดเฉพาะสนามบินหลักเท่านั้น ผูใ้ ช้บริ การต้อขนสิ นค้าไปสนมบินเพื่อขนถ่าย
ขึ้นเครื่ องบินและรับสิ นค้าที่สนามบิน ลูกค้าที่อยูห่ ่างไกลสนามบินเข้าใช้บริ การยาก
3.2.3 อ่อนไหวต่อสภาพอากาศ (Weather Sensitive) เครื่ องบินมีความอ่อนไหวกับสภาพดินฟ้ า
อากาศ อากาศที่แปรปรวนมีพายุ ฝนตกหนักหรื อหิ มะตกเครื่ องบินอาจขึ้นลงไม่ได้อนั มีผลให้สินค้าถึงปลาย
ทางล่าช้า อย่างไรก็ตามสภาพอากาศที่ไม่เอื้อต่อการบินอาจเกิดได้แต่เป็ นครั้งคราวบางพื้นที่เท่านั้น ความ
ล่าช้าอาจจะเป็ นเพียงชัว่ โมง ความเสี ยหายจากความล่าช้าอาจกล่าวได้วา่ น้อยมาก
การขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศใช้ทางเรื อและทางเครื่ องบินเป็ นสำคัญ การขนส่ งทางถนนและ
รถไฟระหว่างประเทศยังมีขอ้ จำกัดมาก ทางเลือกแทนการขนส่ งทางทะเลที่เป็ นไปได้คือ เครื่ องบิน การขน
สงกางอากาศมีขอ้ คนคือใช้เวลาน้อย สิ นค้าเสี ยหายน้อยและความถี่เที่ยวบินสู ง ทำให้ลดต้นทุนสิ นค้าคงคลัง
และค่ำใช้จ่ายบรรจุภณั ฑ์รวมทั้งเพิ่มระดับบริ การกับลูกค้าอีกด้วย
4. การขนส่ งด้ วยท่ อ (Pipelines)
การขนส่ งด้วยท่อใช้กบั สิ นค้าเหลว เช่น น้ำ น้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์น ้ำมันและก๊าซธรรมชาติการขนส่ งทางท่อมี
ทั้งข้อดีและข้อด้อย ดังนี้
4.1 ข้อดีของการขนส่ งทางท่อ (Advantages of Pipelines)
การขนส่ งทางท่อมีขอ้ ดีและข้อเสี ย ข้อดีการขนส่ งทางท่อได้แก่ตน้ ทุนต่ำ เชื่อถือได้ เสี ยหายน้อย
และมลภาวะต่ำ ดังนี้
4.1.1 ตันทุนต่ำ (Low Cost) โครงสร้างต้นทุนคงที่การขนส่ งทางท่อสู ง ตันทุนคงที่สำคัญ ได้แก่ คา
วางท่อ ถังเก็บ (Tank Farm) สถานีสูบ (Pumping Stations) และสถานีปลายทาง (Terminals) การขนส่ งทาง
ท่อมีตน้ ทุนแปรผันตำ โดยรวมแล้วการขนสงกางท่อมีตน้ ทุนต่ำกว่ารู ปแบบขนส่ งอื่นๆ ปั จจุบนั มีการใช้ท่อ
ขนส่ งน้ำมันดิบและก๊าชระหว่างประเทศมาก
4.1.2 เชื่อถือได้ (Reliability) กรก่อสร้างระบบหอจะวางท่อไว้ใต้ทอ้ งทะเลและหรื อฝังกลบใต้ดิน
ความเสี ยหายท่อจากภัยธรรมชาติเกิดน้อยมาก ความเสี ยหายส่ วนใหญ่จะเกิดจากมนุษย์ จุดเด่นนี้ทำให้สินค้า
ถึงปลายทางตามกำหนดเวลา ข้อดีน้ ีทำให้ลูกค้ารู ้ลวงหน้าถึงปริ มาณสิ นค้าที่ตนจะได้รับ ซึ่ งเป็ นประโยชน์
ต่อการวางแผนการผลิต การเก็บรักษา และการจำหน่าย
4.1.3 ความสูญเสี ยและเสี ยหายน้อย (Loss ad Damage) การก่อสร้างวางท่อจะฝังกลบใต้ดินในระดับ
ที่ลึกพอสมควร สวนที่อยูใ่ นน้ำลึกอาจวางบนพื้นน้ำ ถ้าน้ำตื้นก็ฝังลงใต้ดินประกอบกับท่อที่ใช้มีดวาหนา ดัง
นั้น กรรกรรมทำได้ยาก ความเสี ยนายสิ นค้าที่เกิดจากการรั่วไหลกล่าวได้วา่ มีนอ้ ยเพราะท่อมีความหนและมี
ระบบตรวจสอบการรัวไหลและสภาพกายภาพภายนอกไม่ส่งผลกระทบต่อสิ นค้าในท่อ ความเสี ยหายจะเกิด
6

จากการใช้เครื่ องจักรขุดเจาะบริ เวณแนวท่อ การป้ องกันความเสี ยหายจากเครื่ องจักรขุดเจาะสมารถทำได้โดย


ประกาศบอกแนวท่อไว้
4.1.4 มลภาวะต่ำ (Less Pollution) ประชาชนบางกลุ่มกล่าวอ้างว่าการขนส่ งทางท่อจะมีผลต่อระบบ
นิเวศ เพราะท่อวางผ่านป่ าไม้ทำให้มีการตัดต้นไม้หรื อแหล่งธรรมชาติที่มีคุณค่าข้ออ้างดังกล่าวมีความจริ ง
อยูบ่ า้ ง โดยที่กรวางท่อใช้พ้ืนที่นอ้ ยจึงไม่สร้างความเสี ยหายกับระบบนิเวศอย่างมีนยั สำคัญ กาขนส่ งทางท่อ
มีความปลอดภัยสูงและโอกาสที่สินค้าจะรั่วไหลมีนอ้ ยมากทั้งนี้เพราะมีระบบการตรวจสอบและการป้ องกัน
กันการรั้วไหล
4.2 ข้อด้อยการขนส่ งทางท่อ (Disadvantages of Pipelines)
การขนส่ งทางท่อมีขอ้ ดีตามที่กล่าวมาข้างต้น แต่กาวส่ งทางท่อก็มีขอ้ ด้อยเช่นเดียวกับรู ปแบบขนส่ งอื่นๆ
ดังนี้
4.2.1 ต้นทุนคงที่สูง (High Fixed Cats) การลงทุนขนส่ งระบบท่อจะประกอบด้วยการขุดฝังท่อ
ค่าท่อ สถานีสูบ และสถานีตน้ -ทางปลาทาง การลงทุนขุด-ฝังท่อในส่ วนที่อยูใ่ นทะเลจะมีตน้ ทุนการก่อสร้าง
สู ง ส่ วนการขุด ฝังบนฝั่งหรื บนบกก็มีคำใช้จ่ายด้านสิ ทธิ์ การใช้ที่ดิน ระบบท่อจะต้องลงทุนติดตั้งสถานีสูบ
เพื่อขับดันสิ นค้าให้ไหล ยกเว้นในพื้นที่ที่มีความลาดชันสิ นค้าสามารถไหลได้ดว้ ยแรถ่วง การลงทุนที่สถานี
ทั้งตันทางและปลายทางประกอบด้วย การลงทุนสิ่ งอำนวยความสะดวกให้เรื อน้ำมันจอดทอดสมอและ
อุปกรณ์การสูบและถังเก็บ สำหรับปลายทางผูป้ ระกอบการก็จะต้องลงทุนถังเก็บชนกัน การขนสงด้านท่อจึง
มีตน้ ทุนคงที่สูง
4.2.2 ช้า (Slow) การขนส่ งทางท่อมีความเร็ วต่ำเมื่อเปรี ยบเทียบกับรู ปแบบขนส่ งอื่นโดยเฉพาะ
น้ำมันดิบ (Crude) ที่มีความเหนียวข้นมากทำให้ไหลไปได้ชา้
4.2.3 ความสามารถการให้บริ การจำกัด (Limited Capability) การขนส่ งด้วยท่อได้ใช้ดีกบั ของเหลว
เท่านั้น เช่น น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็ จรู ป ก๊าซ และน้ำ การใช้ท่อขนส่ งสิ นค้าแข็ง (Solid) มีความเป็ นไปได้ต ่ำ
และไม่คุม้ ค่า การขนส่ งทางท่อจึงจำกัดอยูเ่ ฉพาะของเหลวบางชนิด
4.2.4 การใช้บริ การยาก (Limited Accessibility) ระบบท่อลงทุนสู ง แนวท่อจะวางจากจุดต้นทางไป
ยังปลายทาง เช่น ต้นทางแหล่ผลิตน้ำมันดิบไปยังทำเรื อหรื อโรงกลัน่ น้ำมัน หรื อท่อน้ำมันสำเร็ จรู ปจะวาง
จากโรกลัน่ น้ำมันไปยังสถานีน ้ำมันที่อยูน่ อกเมืองหรื อไปยังภูมิภาค ท่อส่ งเชื้อเพลิงบางชนิดเชื่อมต่อกับ
ลูกค้ารายใหญ่ เช่น โรงงานปูนซีเมนต์ ในบางประเทศมีการส่ งก๊าซทางท่อไปถึงผูใ้ ช้รายย่อยและครัวเรื อน
5. การขนส่ งด้ วยเรือ (Water Carriers)
การขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศประมาณร้อยละ 90 ใช้การขนส่ งด้วยเรื อ ประเทศที่มีชายฝั่งทะเล
ยาวและหรื อมีระบบแม่น ้ำลำคลองที่เอื้อต่อการขนสงจะใช้การขนส่ งทางน้ำมาก การขนส่ งทางน้ำเป็ นที่นิยม
และใช้กนั แพร่ หลาย อย่างไรก็ตามการขนสงกางเรื อมีท้ งั ข้อดีและข้อด้อย ดังนี้
5.1 ข้อดีการขนส่ งด้วยเรื อ (Advantages of Water Carrier)
การขนส่ งด้วยเรื อมีขอ้ ดีหลายประการ เป็ นต้นว่า บรรทุกสิ นค้าได้มาก ค่าระวางต่ำ ดังนี้
5.1.1 บรรทุกสิ นค้าได้มาก (Huge Capacity) เรื อมีหลายประเภทและหลายขนาดผูใ้ ช้บริ การสามารถ
เลือกใช้เรื อตามความเหมาะสมกับสิ นค้าและระยะทางขนสง เรื อสิ นค้าขนาดใหญ่มีระวางบรรทุกมากเป็ น
แสนตัน เช่น เรื อบรรทุกน้ำมันดิบขนาด 30, 000 เดทเวทตัน (Dead Weight Ton : DWT) หรื อบรรทุกสิ นค้า
ได้ 300,000 ตัน เรื อคอนเทนเนอร์ขนาด 8,OOO TEU Twenty Foot Equivalent) เรื อบรรทุกสิ นค้าได้
ประมาณ 120,000 ตัน เรื อบรรทุกสิ นค้าแห้ง (Dry Bulk Cargo) ขนาดใหญ่มีระวางประมาณ 200,000 DWT
เทคโนโลยีการต่อเรื อที่กา้ วหน้า ทำให้สามารถต่อเรื อขนาดใหญ่ที่มีความจุระวางมาก เรื อขนาดใหญ่เหมาะ
สมกับการขนส่ งสิ นคระยะทางไกลและมีตน้ ทุนขนส่ งต่ำสิ นค้ามูลค่าต่ำและขนส่ งคราวละปริ มาณมากจะใช้
7

การขนส่ งทางทะเล จะเห็นว่าเรื อมีความสามารถบรรทุกสิ นค้าในแต่ละเที่ยวได้มากซึ่ งตอบสนองความ


ต้องการของผูใ้ ช้บริ การที่ตอ้ งส่ งของในปริ มาณมากในคราวเดียวกัน
5.1.2 คำระวางต่ำ (Low Cost) เรื อบรรทุกสิ นค้าได้มากทำให้มี Economies of Scale) เป็ นผลให้
ต้นทุนต่อหน่วยต่ำ ในระยะทางที่เท่ากันตำระวางเรื อจะต่ำกว่ารู ปแบบขนส่ งอื่นๆเส้นทางเดินเรื อใช้ร่องน้ำ
ธรรมชาติ ผูป้ ระกอบการขนส่ งไม่มีคำใช้จ่ายการใช้ร่องน้ำ ยกเว้นร่ องน้ำที่ท่าเรื อดูแลซึ่ งจะเรี ยกเก็บค่าใช้
ร่ องน้ำ เรื อใช้ซ้ื อเพลิงคุณภาพต่ำ ราคาเชื้อเหลิงจึงต่ำมีผลให้ตนั ทุนการเดินเรื อต่ำ เรื อสมัยใหม่ใช้คนประจำ
เรื อน้อยทำให้มีคำใช้จ่ายคนประจำเรื อต่ำ ดังนั้น ต้นทุนการเดินเรื อจึงต่ำทำให้คำระวางเรื อถูกกว่า การขนสง
แบบอื่น
5.1.3 ปลอดภัย (Safe) การขนส่ งทางเรื อในปั จจุบนั นับว่ามีความปลอดภัยเพราะเรื อมีขนาดใหญ่ข้ ึน
และมีเครื่ องช่วยเดินเรื อที่บอกเตือนสภาพทะเลและอากาศทำให้เรื อสามารถหลบเลี่ยงภัยธรรมชาติได้
การพัฒนาเทคโนโลยีการขนส่ งโดยคอนเทนเนอร์มาใช้บรรจุสินค้าช่วยลดความเสี ยหายสิ นค้า
ระหว่างการขนส่ งและเคลื่อนย้ายได้มาก ลดค่าใช้จ่ายหี บห่อสิ นค้าเพื่อการขนส่ งและลดคำใช้จ่ายและเวลา
การเคลื่อนย้ายสิ นค้า นอกจากนี้คอนเทนเนอร์ยงั ทำให้ใช้ประโยชน์ระวางเรื อได้สูงสุ ดอีกด้วย รวมทั้งเอื้อต่อ
การขนส่ งต่างรู ปแบบและหลายรู ปแบบ
5.1.4 มลภาวะต่ำ (Pollution) ของเสี ยจกเรื อที่มีผลต่อสิ่ งแวดล้อม ประกอบด้วยขยะซึ่ งมีท้ งั ขยะ ซึ่ ง
ทั้งมีท้ งั ขยะแห้ง (Sold Wastes) และขยะเหลว (Liquid Wastes) ขยะเหลวที่ทำให้เกิดมลภาวะทาทะเลและ
ชายฝั่งมากคือของเหลวที่มีน ้ำมันผสม ควันจากเครื่ องยนต์และเสี ยงของเสี ยจากเรื อต่อหวยสิ นค้าที่บรรทุกต่ำ
กว่ารู ปแบบขนส่ งอื่นๆ ยกเว้นการขนส่ งทางท่อ การปล่อยของเสี ยทิ้งทะเลมีอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศ
กำหนดกฎเกณฑ์ไว้ นอกจากนี้เรื อเดินทะเลจะต้องมีการตรวจสอบ (Survey) ความปลอดภัยตัวเรื อและ
อุปกรณ์การเดินเรื อตามกำหนดเวลาที่กฎเกณฑ์กำหนด
5.2 ข้อต้อยการขนส่ งด้วยเรื อ (Disadvantages of Water Carrier)
ตามที่กล่าวมาข้างตันจะเห็นว่าการขนสิ นค้าด้วยเรื อมีขอ้ ดีที่ค่าขนส่ งถูกและขนสิ นค้าได้คราวละ
ปริ มาณมาก สำหรับข้อด้อย การขนสงสิ นค้าทางเรื อ มีดงั นี้
5.2.1 ใช้เวลามาก (Slow) ความเร็ วเรื อสิ นค้าจะอยูร่ ะหว่าง 15 - 22 นอต (Knot) หรื อประมาณ
27 – 39.6 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ประเภทเรื อ เรื อคอนเทนเนอร์ จะมีความเร็ วสู งกว่าเรื อบรรทุก
น้ำมันหรื อเรื อบรรทุกสิ นค้ากองแห้ง เรื อแล่นได้ชา้ นัน่ หมายความว่าเวลาเดินทางของสิ นค้าใช้เวลานาน
สิ นค้าใช้เวลาเดินทางนานวงจรเวลาสัง่ ซื้ อก็จะยาว เมื่อวงจรเวลาสัง่ ซื้ อยาวบริ ษทั ต้องมีสินค้าคงคลังมาก เมื่อ
มีสินค้าคงคลังมาก ต้นทุนสิ นค้าคงคลังจะสูง
5.2.2 เข้าใช้บริ การยาก (Limited Accessibility) การแวะเทียบท่าของเรื อจะแตกต่างไปตามการให้
บริ การ เรื อแวะเทียบท่าตามที่คู่สญ ั ญาตกลงกัน เรื อสิ นค้าประจำเส้นทางให้บริ การแบบจากท่าถึงท่า (Port-
to-port) โดยไม่แวะท่าเรื อระหว่างทางหรื อแวะท่าเรื อระหว่างทาง เรื่ อประจำเส้นทางให้บริ การแวะจอด
เฉพาะทำเรื อหลักของภูมิภาคหรื อประเทศผูใ้ ห้บริ การเรื อจะต้องขนสิ นค้ามายังทำเรื อเพื่อขนต่อไปยังเมือง
ท่าปลายทาง ผูใ้ ช้บริ การที่อยูห่ ่างไกลจากท่าเรื อจึงมีความยากลำบากในการเข้าใช้บริ การเรื อ
5.2.3 อ่อนไหวต่อสภาพอากาด (Weather Sensitive) สภาพดินฟ้ าอากาศเป็ นอุปสรรคต่อการเดินเรื อ
และการขนถ่ายสิ นค้าเข้าและออกจากเรื อ พายุอาจทำให้เรื อเสี ยหายและเสี ยเวลา ในภูมิภาคที่อากาศหนาว
เย็นมาก จนน้ำเป็ นน้ำแข็ง เป็ นอุปสรรคต่อการเดินเรื อ ฝนก็เป็ นอุปสรรคกับการขนถ่ายสิ นค้า ยกเว้นการขน
ถ่ายสิ นค้าบรรจุตคู้ อนเทนเนอร์ สภาพอากาศจึงอาจทำให้การขนส่ งล่าข้าได้
5.2.4 ความถี่บริ การต่ำ (Low Frequency) เรื อบรรทุกสิ นค้าได้มาก ท่าเรื อที่มีสินค้าน้อยต้องใช้เวลา
รวบรวมสิ นค้าให้เพียงพอและคุม้ ค่าใช้จ่ายการเข้าเทียบทำ กรณี เช่นนี้ ความถี่เข้าเทียบท่าของเรื อจะต่ำ ผูใ้ ช้
บริ การต้องรอคอยเที่ยวเรื อต่อไปเป็ นเวลานาน ซึ่ งเป็ นผลเสี ยต่อธุรกิจทางต้านกระแสเงินและสิ นค้าคงคลัง
8

6. การขนส่ งคอนเทนเนอร์ ด้วยรถไฟ (Container by Rail)


ดังได้กล่าวมาข้างต้นว่าการขนส่ งด้วยรดไฟมีจุดต้อยขนถ่ายซ้ำซ้อนและต้องลงทุนเครื่ องมือยกขนที่
สถานี ซึ่ งเป็ นข้อค้อที่สำคัญ เพื่อแก้จุดด้อยดังกล่าวจึงมีการพัฒนาการขนส่ งคอนเทนเนอร์ทางรถไฟ ดังนี้
6.1 คอนเทนเนอร์บนรถพ่วง (Container-on-Flatcar : COFC) COFC เป็ นวิธีขนส่ งคอนเทนเนอร์
ด้วยรถไฟที่เห็นอยูท่ วั่ ไป อุปกรณ์ขนส่ งประกอบด้วยคอนเทนเนอร์และรถพ่วงชนิดเปิ ดรถพ่วงเป็ นแคร่
เหล็กยาว ความยาวจะเท่กบั คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต การบรรทุกคระทำโดยวางคอนเทนเนอร์บนรถพ่วง
พนักงานรถไฟจะปลดรถพ่วงออกจากขบวนรถไฟ การแกะสิ นค้าออกจาก(De-stufng หรื อ Stripping) ตูแ้ ละ
บรรจุสินค้าเข้าตู้ (stufng) จะทำขณะที่คอนเทนเนอร์อยูบ่ นรถพ่วงการให้รถพ่วงเหมาะสมกับสถานีที่ไม่มี
ปั่ นจัน่ ยกคอนเทนเนอร์
6.2 เทรลเลอร์บรรทุกคอนเทนเนอร์บนรถพ่วง (Trailer-on-Flatcar : TOFC) การขนส่ ง
คอนเทนเนอร์แบบนี้ จะยกเทรลเลอร์ที่บรรทุกคอนเทนเนอร์วางบนรถพ่วง สถานีตน้ ทางและปลายทางจะ
ต้องมีป้ ั นจัน่ เพื่อยกเทรลเลอร์ออกจกรถพ่วง เมื่อยกเทรลเลอร์ลงมาแล้วหัวลาก (Tractor) จะลากตูไ้ ปยัง
ปลายทาง เพื่อแกะสิ นค้าออกจากตูแ้ ละหรื อบรรจุสินค้าเข้าคอนเทนเนอร์ จากนั้นหัวลากจะลากมายังสถานี
เพื่อขนต่อไปยังปลายทาง การพัฒนาการขนส่ งทางรถไฟวิธีน้ ี เพื่อให้สามารถให้บริ การแบบจากที่ถึงที่
6.3 เทรลเลอร์และหัวลากบนรถพ่วง (Trailer and Tractor-on-Flatcar) การขนคอนเทนเนอร์บน
รถไฟตามวิธีน้ ีจะชนทั้งเทรลลอร์ที่มีคอนเทนนอร์วางอยูแ่ ละหัวลากไปพร้อมกันการที่ตอ้ งขนหัวลากไป
ด้วยเพราะปลายทางไม่มีหวั ลาก เมื่อถึงสถานีรถไฟปลายทางหัวลากและเทรลเลอร์ จะยกลงจากรถไฟ จาก
นั้นหัวลากก็จะลากคอนเทนเนอร์ไปยังปลายทาง เพื่อแกะสิ นค้าออกจากคอนเทนเนอร์และหรื อบรรจุสินค้า
เข้าคอนเทนเนอร์ คอนเทนเนอร์ที่บรรจุสินค้าแล้วจะขนมที่สถานีและยกขึ้นรถไฟเพื่อขนต่อไปยังปลายทาง
ข้อดีวธิ ี แบบนี้ คือสามารถให้บริ การแบบจากที่ถึงที่
6.4 วางพาหนะวิ่งบนถนนและรางรถไฟ (Road Railer) เป็ นการพัฒนารถบรรทุกให้สามารถวิ่งไป
ตามรางรถไฟโดยพ่วงไปกับขบวนรถไฟ เมื่อถึงปลายทางก็จะปลดออกจากขบวนรถไฟ จากนั้นก็จะวิ่งไปยัง
สถานที่ผรู ้ ับสิ นค้าและหรื อสถานีบรรจุสินค้าเข้าตู ้
ข้อดี Road Railer เป็ นการใช้ประโยชน์ความได้เปรี ยบรถไฟที่ตนั ทุนขนส่ งถูก และขจัดจุดด้อยการ
ขนถ่ายซ้ำข้อน Road Railer สามารถให้บริ การจากที่ถึงที่และไม่ตอ้ งใช้อุปกรณ์สถานี ข้อด้อยของ
Road Railer ก็คือมีน ้ำหนักมาก เพระต้องลากตัวยานพาหนะไปด้วยและใช้เวลามากกว่าการขนส่ งทางถนน
รวมทั้งลงทุนมาก

การขนส่ งต่ างรู ปแบบ


(Intermodal Transport)

การขนส่ งสิ นคจากจุดต้นทางไปยังปลายทางอาจมีการเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะ เช่น จากจุดตันทาง


สิ นค้าขนโดยรถบรรทุกไปยังท่าเรื อเพื่อขนถ่ายขึ้นเรื อไปยังท่าเรื อปลายทาง จากท่าเรื อปลายทางสิ นค้าอาจ
ขนต่อไปยังผูร้ ับสิ นค้าโดยรถบรรทุก หรื อรถไฟ หรื อเครื่ องบิน การขนส่ งเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะตามที่
กล่าวนี้ เรี ยกว่า การขนส่ งต่างรู ปแบบ (Intermodal Transport) การขนส่ งต่างรู ปแบบมีดงั นี้ (ประมวล จันทร์
ชีวะ. 2550: 6)
1. การขนส่ งด้ วย 2 รู ปแบบการขนส่ ง (Two Models of Transport)
การขนส่ ง 2 รู ปแบบ อาจเป็ นเรื อกับรถไฟ เรื อกับรถบรรทุก หรื อเรื อกับเครื่ องบิน การขนส่ งอาจ
เป็ นในประเทศหรื อต่างประเทศก็ได้ ดังนี้
9

1.1 ขนส่ งด้วยเรื อกับรถไฟ (Sea-Rail Link) เป็ นการขนส่ งสิ นค้าโดยใช้รูปแบบขนส่ งด้วยเรื อจาก
จุดดันทาง เมื่อถึงท่าเรื อปลายทาง สิ นค้าจะขนถ่ายขึ้นรถไฟไปให้ผรู ้ ับสิ นค้า หรื อจากจุดต้นทางขนด้วย
รถไฟแล้วต่อด้วยเรื อไปปลายทาง
1.2 ขนส่ งด้วยเรื อกับรถบรรทุก (Sea Road Link) สิ นค้าบรรทุกลงเรื อ ณ ท่าเรื อต้นทางเมื่อเรื อถึงหรื
ปลายทาง สิ นค้าจะขนถ่ายขึ้นรถบรรทุกไปให้ผรู ้ ับสิ นค้าหรื อจากต้นทางด้วยรถบรรทุกแล้วต่อด้วยเรื อไปยัง
ปลายทาง เช่น สิ นค้าจากลาวขนด้วยรถบรรทุกมายังทำเรื อแหลมฉบังจากท่าเรื อแหลมฉบังขนด้วยเรื อไปไป
ปลายทาง
1.3 การขนส่ งด้วยเรื อกับเครื่ องบิน (Sea-Air Link) สิ นค้าบรรทุกลงเรื อ ณ ท่าเรื อต้นทางเมื่อเรื อถึง
ท่าเรื อปลายทางสิ นค้าจะขนถ่ายขึ้นเครื่ องบินไปให้ผรู ้ ับสิ นค้าหรื อในทางกลับกัน
2. การขนส่ งมากกว่ า 2 รู ปแบบการขนส่ ง (Multi-Modes)
การค้าระหว่างประทศผูซ้ ้ื อและผูข้ ายอยูค่ นละประเทศ สิ นค้าจากตันทางไปยังปลายทางอาจเปลี่ยน
ถ่ายยานพาหนะหลายครั้งกว่าสิ นค้าจะถึงปลายทาง
2.1 ขนสงด้วยรถบรรทุก-เรื อ-เครื่ องบิน (Road-Sea-Air Links) เป็ นการขนส่ งที่สินค้าต้องเปลี่ยน
ถ่ายยานหานะมากกว่า 2 ครั้ง สิ นค้าจากต้นทางขนส่ งด้วยรถบรรทุก จากนั้นขนด้วยเรื อและจากเรื อขนด้วย
เครื่ องบินไปยังปลายทาง
2.2 ขนสงด้วยรถไฟเรื อ-รถบรรทุก (Rail Sea-Rad Links) เป็ นการขนส่ งต่างรู ปแบบที่สินค้าขนถ่าย
เปลี่ยนยานพาหนะ 3 ทอดหรื มากกว่า ดันทางขนด้วยรถไฟ จากนั้นขนด้วยเรื อและจากเรื อขนด้วยรถบรรทุก
ไปยังปลายทาง
2.3 ขนส่ งด้วยเครื่ องบิน-เรื อรถไฟ (Air-Sea Rail Links) เป็ นการขนส่ งต่างรู ปแบบที่สินค้าขนถ่าย
เปลี่ยนยานพาหนะ 3 ทอดหรื มากกว่า ต้นทางสิ นค้าขนด้วยเครื่ องบิน จากนั้นขนด้วยเรื อและจากเรื อขนด้วย
รถไพไปปลายทาง

การขนส่ งหลายรู ปแบบ (Multimodal Transport)

องค์การ UNCTAD (United Nations Conference on Trade and Development.) ตะหนักถึงปั ญหา
การขนส่ งระหว่างประเทศต่อการค้า เพื่อที่จะให้การขนส่ งระหว่างประเทศเอื้ออำนวยต่อการค้า UNCTAD
จึงได้จดั ทำอนุสญ ั ญาว่าด้วยการขนส่ งหลายรู ป แบบ (Multimodal Transport Convention) ข้อบัญญัติ
อนุสญ ั ญาดังกล่าวมีสาระสำคัญที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างการขนส่ งต่างรู ปแบบ กับหลายรู ปแบบ ดังนี้
(Porter, M. E.,1985: 114-118)
1.ใช้กบั การขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศ (International Transport) การขนส่ งหลายแบบเป็ น
การขนส่ งสิ นค้าจากประเทศหนึ่งไปยังปลายทางอีกประเทศหนึ่ง โดยระหว่างทางสิ นค้าจะเปลี่ยนถ่ายยาน
พาหนะขนส่ งมากกว่า 1 ครั้ง การเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะอาจเป็ นรู ปแบบขนส่ งเดียวกันหรื อต่างรู ปแบบการ
ขนส่ งก็ได้ เช่น สิ นค้าจากลาวมีปลายทางที่ประเทศญี่ปุ่น ในช่วงขนส่ งแรกจากลาวมายังท่าเรื อแหลฉบังขน
ด้วยรถบรรทุกและจากแหลมฉบังขนด้วยเรื อไปญี่ปนุ่
2. เอกสารการขนส่ งฉบับเดียว (Single Transport Document) ผูร้ ับขนเมื่อรับสิ นค้าก็จะออกเอกสาร
ขนส่ งที่เรี ยกว่า "ใบตราส่ ง" (Bill of Lading) ให้กบั ผูส้ ่ งของ ใบตราส่ งจึงเป็ นทั้งสัญญารับขนของและหลัก
ฐานแสดกรรมสิ ทธิ์ สิ นค้า ในทางปฏิบตั ิการขนส่ งสิ นค้า ผูร้ ับขนจะออกตราส่ งให้กบั ผูส้ ่ งของหรื อผูด้ ูแลทุก
ครั้งที่สินค้าขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ ตามข้อบัญญัติอนุสญ ั ญาว่าด้วยการขนส่ งหลายรู ปแบบให้ใช้เอกสาร
การขนส่ งเพียงฉบับเดียว โดยผูร้ ับขนรายแรกเป็ นผูอ้ อกใบตราส่ งใบตราส่ งฉบับเดียวนี้ ครอบคลุมการขนส่ ง
10

จากต้นทางจนถึงปลายทาง ทั้งนี้ไม่วา่ สิ นค้านั้นจะขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะกี่รูปแบบและยานพาหนะขนส่ ง


เป็ นของบริ ษทั ใดก็ตาม เรี ยกว่า Multimodal Transport Bill of Lading
เอาสารการขนส่ งต่างรู ปแบบจะเปลี่ยนทุกครั้งที่สินค้าเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะ เช่น กรณี สินค้าจาก
ลาวไปญี่ปุ่น ผูร้ ับขนหรื อเจ้าของรถบรรทุกจะออกเอกสารการขนส่ งให้กบั ผูส้ ่ งของและเมื่อสิ นค้าขนถ่ายขึ้น
เรื อบริ ษทั เรื อก็จะออกเอกสารการขนส่ งให้อีกตามอนุสญ ั ญาการขนส่ งหลายรู ปแบบกำหนดให้ผรู ้ ับขนราย
แรกเป็ นผูอ้ อกอกสารการขนส่ ง ในกรณี น้ ีคือเจ้าของรถบรรทุก เอกสารการขนส่ งดังกล่าวครอบคลุมตั้งแต่
ต้นทางจนถึงปลายทาง
3. ผูร้ ับผิดขอบคนเดียว (Singe Liability) สิ นค้าขนส่ งจากต้นทางประเทศหนึ่งไปยังปลายทางอีก
ประเทศหนึ่ง ซึ่ งอาจต้องมีการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะระหว่างทาง เจ้าของยานพาหนะอาจเป็ นของผู ้
ประกอบการคนละรายกัน ตามอนุสญ ั ญาว่าด้วยการขนส่ งหลายรู ปแบบ บัญญัติให้ผรู ้ ับขนรายแรกที่ออก
ใบตราส่ งหลายรู ปแบบเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อสิ นค้าในทุกช่วงการขนส่ ง
จากรายละเอียดข้างต้นจะเห็นว่าประโยชน์การขนส่ งต่างรู ปแบบและหลายรู ป แบบระหว่างประเทศ
ก็เพื่อสนองตอบความต้องการของลูกค้า การใช้การขนส่ งรู ปแบบเดียวสิ นค้าอาจไปถึงลูกค้าช้าไป (เรื อ)
หรื อไปถึงเร็ วไป (เครื่ องบิน) การขนส่ งแบบประสมสิ นค้าจะถึงลูกค้าในเวลาที่ตอ้ งการ การขนส่ งดังกล่าว
ในมุมมองของผูส้ ่ งของยังเป็ นการประหยัดค่าขนส่ งและค่าเก็บรักษาสิ นค้า เช่น ผูส้ ่ งของมีสินา้ พร้อมส่ ง
หากส่ งทาทะเลสิ นค้าจะถึงล่าช้า แต่ถา้ ขนส่ งด้วยเครื่ องบินก็จะต้องรอเวลา ซึ่ งสิ นค้าก็จะต้องเก็บไว้ในคลัง
สิ นค้า ในกรณี เช่นนี้มีทางเลือกโดยช่วงหนึ่งขนด้วยเรื อและอีกช่วงขนด้วยเครื่ องบิน บริ ษทั ก็ไมต้องเสี ยค่า
เก็บรักษาสิ นค้าและค่าขนส่ งก็จะต่ำกว่าขนส่ งทางอากาศอย่างเดียว

ทางเลือกการออกแบบการขนส่ ง
(Design Options for Transportation)

การจัดการการขนส่ งมีวตั ถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการลูกค้าในด้านเวลาและต้นทุน ทาง


เลือกการออกแบบการขนส่ งมีหลายทางเลือก การขนส่ งแบบขนส่ งตรง (Direct Shipment) การขนส่ งแบบ
รวบรวมสิ นค้า (Milk Runs) การขนส่ งแบบใช้คลังสิ นค้าเป็ นจุดผ่าน (Cross Docking) การออกแบบการ
ขนส่ งตามขนาดลูกค้า (Transportation Design by Size of Customer) ตามความหนาแน่นและระยะทาง
(Transportation Design by Customer Density and Distance) ตามอุปสงค์และมูลค่าของผลิตภัณฑ์
(Transportation Design by Product Demand and Value) ดังนี้
การขนส่ งแบบขนส่ งตรง (Direct Shipment)
การขนส่ งตรงคือการสงสิ นคจากผูผ้ ลิตเต็มคันรถ (Full Tuck Load : FTL) ตรงไปยังลูกค้าแต่ละราย
โดยสิ นค้าจะไม่ผา่ นคลังสิ นค้าหรื อศูนย์กระจายสิ นค้าและไม่มีการเปลี่ยนถ่ายยานพาหนะระหว่างทาง ข้อดี
ของการส่ งตรง คือ
1. ไม่ตอ้ งใช้คลังสิ นค้า หรื ศูนย์กระจายสิ นค้า ทำให้ไม่เสี ยเวลาและคำใช้จ่าย ณ คลังสิ นค้าหรื อศูนย์
กระจายสิ นค้า
2. รวดเร็ ว การขนส่ งตรงยานพาหนะไม่ตอ้ งแวะส่ งสิ นค้าจุดอื่นทำให้ใช้เวลาน้อย เอื้อต่อการใช้
ระบบ Just-in-Time Inventory
3. ระยะทางขนส่ งสั้น กรขนส่ งตรงสิ นค้ำไม่ตอ้ งฝานศูนย์กระจายสิ นค้า ทำให้สามารถเลือกเส้นทาง
ขนส่ งที่ส้ นั ได้
การขนส่ งแบบขนส่ งตรงจะประหยัดหรื มีตน้ ทุนต่ำนั้นสิ นค้าต้องเต็มคันรถ ถ้าสิ นค้าไม่เต็มคันรถ
ต้นทุนขนส่ งก็จะสูง การออกแบบการขนส่ งแบบขนส่ งตรงจะต้องพิจารณาปริ มาณสิ นค้า และความถี่การส่ ง
11

มอบ การขนส่ งแบบขนส่ งตรงต้องมีสินค้ามากพอเต็มคันรถ หากสิ นค้าไม่เต็มคันรถต้นทุนการขนส่ งจะสู ง


ปริ มาณสิ นค้ายังเกี่ยวข้องกับความถี่การขนสง ถ้าปริ มาณสิ นค้ามากก็สามารถจัดส่ งสิ นค้าได้ดว้ ยความถี่สูง
ถ้าปริ มาณสิ นค้าน้อยและความถี่การจัดส่ งสูงโอกาสที่สินค้าเต็มคันรถก็มีนอ้ ย ต้นทุนการขนส่ งก็จะสู ง การ
ขนสงตรงจะเป็ นไปได้จึงขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณสิ นค้าและความถี่การส่ งมอบ ถ้ามีความถี่มากเช่นส่ งทุกวัน
ปริ มาณสิ นค้าต้องมีมาก ปริ มาณสิ นค้าไม่มากการส่ งมอบสิ นค้าทุกวันก็จะไม่เต็มคันรถ ดังนั้นถ้าจะให้เต็ม
คันรถการส่ งมอบต้องลดความถี่ลง เช่น ทุก 3 วัน เป็ นต้น ดังภาพ 7.1
Direct Shipment
Supplier Customers

A ข

ภาพที่ 7.1 Direct Shipment
ภาพที่ 7.1 ผูผ้ ลิต (Supplier) อาจเป็ นผูผ้ ลิตวัตถุดิบหรื อผูผ้ ลิตขึ้นสวนหรื อผูผ้ ลิตสิ นคำสำเร็ จรู ป
หากเป็ นผูผ้ ลิตวัตถุดิบหรื อชิ้นส่ วนลูกค้าก็จะเป็ นโรงงาน ถ้าเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าสำเร็ จรู ปลูกค้าก็จะเป็ นผูค้ า้
หรื อ ผูค้ า้ ปลีก ยานพาหนะบรรทุกสิ นค้าเต็มคัน รถจากโรงงาน A ส่ งให้ลูกค้า ก ยานพาหนะอีกคันส่ งให้
ลูกค้า ข และยานพาหนะอีกคันสงให้ลูกค้า ค

การขนส่ งตรงแบบ Milk Runs (Direct Shipment with Milk Runs)


การขนสตรงแบบ Milk Runs เป็ นวิธีการขนสงเพื่อใช้ระวางยานพาหนะให้ได้ประโยชน์สูงสุ ดหรื อ
เต็มคันรถ ประกอบด้วย Direct Shipment with Milk Runs from Multiple Suppliers Direct
Shipment with Milk Runs to Multiple Customers และ Direct ก Shipment with Milk Runs
form Multiple Suppliers to Multiple Customers ดังนี้
1. การขนส่ งตรงแบบ Milk Runs จากผูผ้ ลิตหลายราย (Direct Shipment with Milk Runs from
Multiple Suppliers) การขนส่ งตรงผลิตภัณฑ์ไม่ตอ้ งเก็บรักษาหรื อพักที่คลังสิ นค้าทำให้สามารถลดต้นทุน
การขนส่ งและส่ งมอบได้รวดเร็ ว วิธีการขนส่ งดังกล่าวจะทำได้กต็ อ้ งมีปริ มาณสิ นค้ามากพอ ในกรณี มีสินค้า
ไม่มากพอเต็มคันก็มีความเป็ นไปได้ที่จะใช้วิธีขนสงแบบ Milk Runs โดยรวบรวมผลิตภัณฑ์จากหลาย
โรงงานเต็มคันรถไปให้ลูกค้าแต่ละราย
ตามภาพที่ 7.2 ผูผ้ ลิตแต่ละรายมีปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่จะส่ งตรงให้ลูกค้าไม่มากพอเต็มคันรถการ
ขนส่ งที่ประหยัดคือให้ยานพาหนะแต่ละคันแวะรวบรวมจากผูผ้ ลิต A B และ C แล้วส่ งให้ลูกค้าแต่ละราย ก
ข และ ค เช่น ยานพาหนะหมายเลข 1 บรรทุกผลิตภัณฑ์จากโรงงาน C เต็มคันรถแล้วส่ งให้ลูกค้า ก ยาน
พาหนะหมายเลข 2 ส่ งให้ ข และยานพาหนะ หมายเลข 3 ส่ งให้ ค วิธีน้ ี จะใช้ประโยชน์รถบรรทุกหรื อยาน
พานนะขนส่ งได้เต็มที่ อย่างไรก็ตาม หากซัพพลายเออร์แต่ละรายอยูห่ ่างไกลกัน วิธีการขนส่ งตรงแบบนี้อาจ
ไม่คุม้ ค่า ดังภาพ 7.2

Direct Shipment with Milk Runs from Multiple Suppliers


12

Supplier Customers

B ข

C ค
ภาพที่ 7.2 Direct Shipment with Milk Runs from Multiple Suppliers

วิธีการขนส่ งแบบนี้ใช้กบั ขนสงวัตถุหรื อสิ นค้าสำเร็ จรู ปก็ได้ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์
ให้ชิ้นส่ วน ส่ วนประกอบและอุปกณ์จกผูผ้ ลิตภายนอก การขนส่ งวัสดุ จากโรงงานผลิตวัสดุมายัง
โรงานประกอบรถยนต์
ตามระบบการผลิแบบ Lea แต่ละเที่ยวมีปริ มาณน้อยทำให้ตน้ ทุนขนส่ งสู งบริ ษทั ผลิตรถยนต์น ้ำระบบ
Milk Runs มาใช้โดยให้รถบรรทุกแต่ละคันรวบรวมวัสดุจากผูผ้ ลิตหลายรายเต็มคันรถแล้วส่ งตรงมายัง
โรงงานประกอบรถยนต์ วิธีกรขนสูงแบบนี้ ทำให้ลามารถใช้ระบบ JIT ได้และประหยัดค่าขนส่ งด้วย
2. การขนส่ งตรงแบบ Milk Runs ให้ลูกค้าหลายราย (Direct Shipment with Milk Runs to Multiple
Customers) กรขนส่ งตรงจากโรงานไปให้ลูกค้า หากมีปริ มาณสิ นค้ามากพอเต็มคันรถก็จะสามารถลดต้นทุน
ขนส่ งได้ ในกรณี ลูกค้าสัง่ ซื้ อสิ นคมีปริ มาณไม่มากพอเต็มคันรถก็ควรใช้การขนส่ งแบบ Milk Runs ยาน
พาหนะบรรทุกสิ นค้าเต็มคันรถจากโรงานไปให้ลูกค้านลายราย วิธีการขนส่ งแบบนี้จะลดต้นทุนการขนส่ ง
และเพิ่มระดับการให้บริ การลูกค้า ตังภาพ 7.3
Direct Shipment with Milk Runs to Multiple Customers
Supplier Customers

A
B ข
C ค
ภาพที่ 7.3 Direct Shipment with Milk Runs to Multiple Customers
ตามภาพที่ 7 3 ยานพาหนะบรรทุกสิ นค้าเต็มคันจากโรงาน A ไปให้ลูกค้า ก ข และ ค จากโรงงาน B
ขนเต็มคันรถไปให้ลูกค้า ก ข และ ค และจากโรงงาน C ไปให้ลูกค้า ก ข และ ค
การขนส่ งแบบนี้ใช้ได้กบั วัสดุและสิ นค้าสำเร็ จรู ป เช่น บริ ษทั โตโยต้าใช้วิธีน้ี ที่โรงงานประกอบ
รถยนต์ในญี่ปนุ่ โดยขนวัสดุจกผูผ้ ลิตวัสดุ เต็มคันรถส่ งให้โรงานประกอบรถยนต์ของโตโยต้าที่อยูใ่ กล้เคียง
กับหลายโรงงาน กรขนสงแบบนี้ สามารถสนับสนุนระบบ และลดค่าขนส่ ง
3. การขนส่ งตรงแบบ Mik R นก จกผูผ้ ลิตหลายรายไปให้ลูกค้าหลายราย (Direct Shipment with
Milk Runs from Multiple Suppliers to Multiple Customers) วิธีการขนส่ งที่กล่าวมาเป็ นแบบ Milk Runs
จากซัพพลายเออร์หลายรายหรื อไปให้ลูกค้าหลายราย การขนสงแบบนี้ สามารถนำมาใช้โดยรวบรวมสิ นค้า
จากผูผ้ ลิตหลายรายเต็มคันรถแล้วไปส่ งให้ลูกค้าหลายราย ตั้งภาพ 7.4
Direct Shipment with Milk Runs from Multiple Suppliers to Multiple Customers
13

Supplier Customers

A
B ข

C ค
ภาพที่ 7.4 Direct Shipment with Milk Runs from Multiple Suppliers
to Multiple Customers
ตามภาพที่ 4 รถบรรทุกรบรวมสิ นค้าจากซัพพลายเออร์ A B และ C เต็มคันรถแล้วไปส่ งให้ลูกค้า ค
ข และ ก กรณี ซพั พลายเออร์เป็ นผูผ้ ลิตวัสดุลูกค้าก็จะเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าสำเร็ จรู ปก็อาจเป็ นผูค้ า้ ส่ งหรื อ ผู ้
ค้าปลีก
4. การขนส่ งสิ นค้าแบบผ่านศูนย์กระจายสิ นค้ากลาง (All Shipment via Central Distribution)
การขนส่ งแบบนี้สินค้าเข้าเต็มคันรถที่มาจากแหล่งผลิตต่างๆ จะผ่านศูนย์กระจายสิ นค้า สิ นค้าจะขนถ่ายออก
จากยานพาหนะแล้วเข้าเก็บในศูนย์กระจายสิ นค้าเป็ นการชัว่ คราวหรื อใช้คลังสิ นค้าเพื่อเปลี่ยนถ่ายยาน
พาหนะ โดไม่มีการพักสิ นค้าไว้ที่ศูนย์กระจายสิ นค้า คลังสิ นค้าจะเป็ นสถานที่คดั แยกและรวบรวมสิ นค้าเพื่อ
ส่ งต่อไปให้ลูกค้า การรวบรวมสิ นค้าจากผูผ้ ลิตหลายรายแล้วส่ งไปให้ลูกค้าแต่ละรายก็เพื่อใช้ประโยชน์ยาน
พาหนะบรรทุกเต็มคันรถ ซึ่ งมี 2 กรณี ดงั นี้
4.1 การขนส่ งแบบผลิตภัณฑ์ผกั ชัว่ คราวที่ศูนย์กระจายสิ นค้า (Shipment with Products Temporary
Store at DC) ผลิตภัณฑ์ที่ขนมาจากแหล่งผลิตซึ่ งอาจเป็ นวัสดุหรื อ สิ นค้าสำเร็ จรู ปจะเก็บที่
คลังสิ นคชัว่ คราวเพื่อรอการรวบรวมและคัดแยกส่ งให้โรงานผลิต
ดังภาพ 7.5 ก สิ นค้าสำเร็ จรู ปหรื อลูกค้า
Shipment of Product with Temporary Store at DC
Supplier DC Customers

A
B ข

C ค
ภาพที่ 7.5 Shipment of Product with Temporary Store at DC
บริ ษทั มีหลายโรงงาน และผลิตสิ นค้าหลายชนิด ซึ่ งต้องใช้ วัตถุดิบ ชิ้นส่ วนและส่ วน
ประกอบจากผูผ้ ลิตวัสดุหลายราย บริ ษทั ให้ศูนย์กระจายสิ นค้ารวบรวม ก วัสดุเข้าเต็มคันรถจาก
โรงงานผลิตวัสดุ A B และ C วัสดุขาเข้าจะเก็บรักษาไว้ที่ DC เป็ นการ ชัว่ คราว เพื่อทำการคัดแยก
และรวบรวมให้เต็มคันรถแล้วส่ งต่อไปแต่ละโรงานผลิตสิ นค้า ก ข และ ค หรื อโรงงานผลิตสิ นค้าสำเร็ จรู ป
A B และ C ส่ งสิ นค้าเต็มคันรถไป C สิ นค้าจะขนลงจากยานพาหนะและพักชัว่ คราวที่ DC เพื่อรอการคัดแยก
และรวบรวมสิ นค้าไปให้ลูกค้าแต่ละราย ดังปรากฏตามภาพที่ 7.5
4.2 การขนส่ งแบบใช้ศูนย์กระจายสิ นค้าเป็ นจุดผ่าน (Transportation with Cross Docking) การ
ขนส่ งแบบ Cross Docking เป็ นรู ปแบบขนส่ งที่ใช้ศูนย์กระจายสิ นค้า หรื อคลังสิ นค้าเป็ นจุดเปลี่ยนถ่ายยาน
14

พาหนะ สิ นค้าที่มาจากโรงงานนำมาคัดแยกและรวบรวมไปให้ลูกค้าโดยไม่มีการเก็บที่ DC สิ นค้าจะพักที่


DC เป็ นระยะเวลาไม่เกิน 24 ชัว่ โมงหรื ออาจนานหลายสัปดาห์กไ็ ด้ ดังภาพ 7.6
Transportation with Cross Docking
Supplier Customers ก
A
B
DC

C ค
ภาพที่ 7.6 Transportation with Cross Docking
ตามภาพที่ 7.6 ซัพพลายเออร์อาจเป็ นผูผ้ ลิตวัสดุหรื อสิ นค้าสำเร็ จรู ปและลูกค้าอาจเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้า
สำเร็ จรู ปหรื อผูค้ า้ ปลีก ผลิตภัณฑ์จากซัพพลายเออร์แต่ละรายขนเต็มคันรถมายังศูนย์กระจายสิ นค้า เมื่อยาน
พาหนะมาถึง DC ก็จะขนถ่ายสิ นค้าออกจากยานพาหนะแล้วทำการคัดแยกและรวบรวมตามความต้องการ
ของลูกค้าแต่ละราย จากนั้นขนขึ้นยานพาหนะขาออกไปส่ งให้ลูกค้าโดยไม่มีการเก็บสิ นค้าไว้ที่ DC

ประโยชน์ การขนส่ งแบบ Cross Docking

Cross Docking เป็ นวิธีขนส่ งที่สินค้าไม่ตอ้ งเก็บที่ DC หรื อเก็บไม่เกิน 24 ชัว่ โมง สิ นค้าที่มาจาก
โรงงานใช้ DC เป็ นจุดเปลี่ยนถ่ายยานพานนะไปให้ลูกค้า ประโยชน์การใช้ Cross Docking มีดงั นี้
1. ลดสิ นค้าคงคลัง โดยปกติสินค้าที่มาจากโรงงานจะนำไปเก็บไว้ที่คลังสิ นค้าก่อนส่ งไปยังร้านค้า
ปลีก วิธีปฏิบตั ิเช่นนี้ บริ ษทั จะมีสินค้าคงคลังมา การใช้วธิ ี Cross Docking สิ นค้าที่มาจากโรงงานจะไม่เก็บที่
คลังสิ นค้า แต่ใช้คลังสิ นค้าเป็ นจุดผ่าน วิธีขนส่ งแบบ Cross Docking จึงลดสิ นค้าคงคลังของบริ ษทั
2. ลดค่าใช้จ่ายเก็บรักษาสิ นค้า การขนส่ งแบบ Cross Docking สิ นค้าจะส่ งผ่าน DC ไปยังลูกค้าทันที
สิ นค้าไม่ตอ้ งเก็บรักษาไว้ในคลังสิ นค้าทำให้ไม่มีตน้ ทุนการเก็บรักษาหรื อมีนอ้ ยมาก
3. ลดค่ายกขนสิ นค้า สิ นค้าเก็บรักษาที่ DC มีการยกขนหลายครั้ง โดยเริ่ มตั้งแต่ยกขนออกจากยาน
พาหนะ ยกขนไปเก็บในคลังสิ นค้า ยกขนจากที่เก็บไปยังลานวางสิ นค้าขาออก และสุ ดท้ายยกขนขึ้นยาน
พาหนะ การขนสงวิธี Cross Docking สิ นค้ายกออกจากยานพาหนะขาเข้าไปวางที่ลานแยกสิ นค้า จากนั้นยก
ขึ้นยานพาหนะขาออก ซึ่ งจะเห็นว่าวิธีขนแบบ Cross Docking สิ นค้ายกขนน้อยครั้งทำให้ลดค่าใช้จ่ายยกขน
4. สิ นค้าเคลื่อนไหวเร็ ว การขนส่ งแบบ Cross Docking สิ นค้าไม่ตอ้ งเก็บรักษาที่คลังสิ นค้าสิ นค้าส่ ง
มอบให้ลูกค้าได้เร็ว ทำให้ได้รับเงินเร็ วเป็ นผลให้กระแสเงินสดของบริ ษทั ดีข้ ึน

อุปกรณ์การขนส่ ง

เครื่ องจักรและอุปกรณ์ที่ในเคลื่อนย้าย ยก ลำเลียง ขนส่ งสิ่ งของทั้งหมดมีความจำเป็ นต้องตอบ


สนองการขนส่ งสิ นค้าเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในการขนส่ งจากแผนภูมิกระบวนการมีประโยชน์ในการ
15

ให้รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและความแน่นอนสมบูรณ์ในการวิเคราะห์ดา้ นเทคนิคและการคาด
คะเนต้นทุน เช่นเดียวกับ ยุทธ ไกรวรรณ์ (2545: 105) ได้กล่าวว่าแผนภูมิแสดงการไหลของกระบวนการ
ผลิต จะแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนและกรรมวิธีการผลิตโดยใช้สญ ั ลักษณ์แทนกิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการ
ผลิตสัญลักษณ์การไหลของกระบวนการผลิตทางสมาคมวิศวกรมเครื่ องกลแห่งประเทศสหรัฐอเมริ กา
(American Society of Mechanical Engineers: A.S.M.E) เป็ นผูกำ
้ หนดขึ้นมาด้วยกัน 6 ลักษณะ ดังจะแสดง
ให้เห็นในภาพที่ 7.7 ดังนี้

สั ญลักษณ์ และความหมาย

o การปฏิบัติการ (Operation) เป็ นกิจกรรมที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรื อทางเคมีใน


ผลิตภัณฑ์หรื อส่ วนประกอบ หรื อการถอดวัสดุออกจากขึ้นส่ วนอื่นๆ การเตรี ยมวัสดุเพื่อการขนส่ ง เพื่อการ
ตรวจสอบ หรื อเพื่อการเก็บรักษา ทั้งหมดเป็ นการปฏิบตั ิการอย่างหนึ่งนอกจากนี้การปฏิบตั ิการยังรวมถึง
การรับสงข้อมูลข่าวสาร การวางแผนการวิเคราะห์คำนวณค่าต่างๆ
 การเคลือ่ นย้ าย (Transportation) เป็ นการเคลื่อนย้ายปั จจัยการผลิตจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเพื่อ
การปฏิบตั ิการ หรื อหารตรวจสอบ ทั้งนี้จะไม่นบั การขนย้ายภายในหน่วยผลิต
 การตรวจสอบ (Inspection) เป็ นการเปรี ยบเทียบหรื อการตรวจสอบความเป็ นจริ งของคุณสมบัติท้ งั
ในเชิงคุณภาพและปริ มาณตามมาตรฐานที่กำหนด โดยจะทำการพิจารณาทั้งลักษณะรู ปร่ างทางกายภาพและ
ทางเคมี
การรอ (Delay) เป็ นช่วงระยะเวลาที่ส่วนประกอบหรื อผลิต ภัณฑ์จะต้องรอเข้าสู่ การปฏิบตั ิการ การ
ตรวจสอบ หรื อการเคลื่อนย้ายเพื่อรอเรี ยงลำดับก่อนหลัง หรื อรอเพื่อให้หน่วยผลิตที่อยูถ่ ดั ไปว่าง จึงจะส่ ง
เข้าหน่วยผลิตต่อไป
การเก็บรักษา (Storage) เป็ นการเก็บรักษาของส่ วนประกอบหรื อผลิตภัณฑ์ไว้เพื่อรอการเคลื่อนย้าย
สำหรับกระบวนการผลิต หรื อเก็บผลิตภัณฑ์สำเร็ จ เพื่อรอเวลาที่จะนำออกไปใช้งาน
หรื อ  กิจกรรมผสม (Multiple Operation) หรื อ การรวมกิจกรรม (Combined Activities) เมื่อมี
กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมทำร่ วมกันจะใช้สญ ั ลักษณ์วงกลมภายในสี่ เหลี่ยม ซึ่ งวงกลมภายใน หมายถึงการ
ปฏิบตั ิการและสี่ เหลี่ยมภายนอก หมายถึงการตรวจสอบคุณภาพไปพร้อมๆ กัน ณ หน่วยผลิตนั้น

ภาพที่ 7.7 ภาพสัญลักษณ์และความหมาย


ที่มา: ยุทธ ไกรวรรณ์ 2545 105.

การพิจารณาทางเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ ในการจัดการควบคุมต้ านวัสดุเพือ่ การขนส่ ง


การพิจารณาทางเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์ในการจัดการควบคุมด้านวัสดุเพื่อการขนส่ งควรพิจารณา
ดังนี้
1. ต้องพิจารณาแรงานโดยอาศัยมือเป็ นลำดับแรก ถ้าวิธีการนี้ พิจารณาแล้วเห็นความปลอดภัยมีนอ้ ย
งานล่าช้า หรื อต้นทุนสูง ก็ควรที่จะใช้เครื่ องจักรอุปกรณ์
2 การใช้เครื่ องจักรอุปกรณ์และภาชนะบรรจุน้ นั ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อวัสดุที่ตอ้ งการการจัดการ
16

3. ออกแบบการใช้เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่ช่วยในการประหยัดพื้นที่และการจัดการควบคุม
4. ใช้เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่ไม่มีการติดตั้งแบบถาวร
5. ติดตั้งเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่มีความปลอดภัยเท่านั้น
6. อย่างไรก็ตามถ้าเป็ นไปได้ควรเลือกใช้การเคลื่อนย้ายวัสดุจากแรงโน้มถ่วงเข้ามาช่วย
7. ควรเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่มีการควบคุมเวลาการทำงานได้
8. ควรเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่เป็ นมาตรฐานมากกว่ามีการออกแบบเป็ นพิเศษ
9. ควรวางแผนในการเก็บเครื่ องมือในการปฏิบตั ิให้มีอายุการใช้งานนานๆ
10. ควรเตรี ยมทางเลือกในกรจัดการควบคุมในกรณี ที่เกิดความล้มเหลว
11. ควรพิจารณาคุณลักษณะทั้งหมดของการเคลื่อนย้ายก่อนที่จะเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์
12. ไม่ควรใช้กำลังการผลิตของเครื่ องจักรอุปกรณ์มากเกินไป
13. ควรเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่มีขนาดกำลังการผลิตที่เหมาะสมกับการใช้งาน
14. เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการควบคุมด้านวัสดุสามารถปรับหรื อเปลี่ยนแปลงได้
ตามการใช้งานหรื อการประยุกต์ใช้
15. การเลือกเครื่ องจักรอุปกรณ์มีฐานจากต้นทุนทั้งหมดหรื อดันทุนครั้งแรก
ประเภทของเครื่องจักรอุปกรณ์ ในการจัดการควบคุมด้ านวัสดุ
เครื่ องจักรอุปกรณ์ในการจัดการควบคุมด้านวัสดุ จากบทบาทหน้าที่ของเครื่ องจักรอุปกรณ์ในการ
จัดการควบคุมสามารถจำแนกออกไปตามเนื้อที่ในการใช้ คือถ้าเป็ นเส้นทางที่ถาวร ก็จะใช้ประเทศสายพาน
ลำเลียง (Conveyors) ถ้าจำกัดพื้นที่กใ็ ช้ประเทศปั้ นจัน่ หรื อรอก (Cranes and Hoists) และถ้าไม่จำกัดพื้นที่ก็
ใช้ประเภทรถบรรทุก (Tucks) ซึ่ งยุทธ ไกรวรรณ์ (2545 : 87-92) ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับหารขนย้ายวัสดุในเรื่ อง
ของการวางผังโรงงานขั้นต้นเหมือนกัน โดยแบ่งเป็ นประเภทต่างๆดังนี้
1. สายพานลำเลียง (Conveyors) เป็ นการเคลื่อนย้ายวัสดุหรื อชิ้นส่ วนไปตามเส้นทางที่ถาวรจกจุด
หนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรื อเคลื่อนย้ายแบบวงจรปิ ด ซึ่ งการเคลื่อนย้ายอาจถูกลำเลียงโดยภาชนะบรรจุหรื อตัว
ยึดที่เป็ นชิ้นส่ วนของระบบสายพานหรื อสามารถเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุสายพานลำเลียงอาจใช้พลังงานขับ
เคลื่อนในกรณี ที่มีการเคลื่อนที่โดยโซ่ เคเบิล หรื อขนส่ งโดยสายพานยาง การขนย้ายแบบนี้ เป็ นการขนย้ายที่
ขนย้ายได้มากและเกือบตลอดเวลา นอกจากนี้การขนย้ายแบบสายพานลำเลียงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเส้น
ทางลำเลียง มักจะใช้เป็ นส่ วนหนึ่งในสายการผลิตระดับต่อเนื่อง กินเนื้อที่แน่นอน สำหรับวัสดุที่ใช้สายพาน
ลำเลียง เช่น สิ นแร่ ข้าวสาร เป็ นหีบเป็ นกล่อง เป็ นต้น ดังภาพที่ 78
17

ภาพที่ 7.8 สายพานลำเลียง


ที่มา : สุ รศักดิ์ นานานุกลู . 2525 206.

2. ปั้นจัน่ และรอก (Cranes and Hoists) เป็ นการเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปจุดอื่นๆในพื้นที่


ถาวรซึ่ งต้องใช้ป้ ั นจัน่ หรื อรอกที่สามารถเคลื่อนที่เข้าไปได้ โดยปกติมีการกำหนดให้ใช้รอกแบบเคลื่อนย้าย
ไปมาได้สะดวกและปฏิบตั ิการในที่ที่ถาวร และไม่มีการเคลื่อนที่ในขณะบรรทุกเครื่ องมือนี้ มีการใช้การ
จัดการควบคุมสิ่ งของที่มีน ้ำหนักมาก ดังนั้นจึงเหมาะกับสถานการณ์มีการจัดการควบคุมขึ้นสนที่มีน ้ำหนัก
มากไปเครื่ องจักรหรื อสถานที่ทำงานที่สามารถควบคุมด้วยมืออาจจะช้าหรื ออันตราย พื้นที่โรงงานไม่เพียง
พอ หรื อวัสดุที่ขนย้ายมีขนาดใหญ่ใช้วิธีธรรมดาอาจจะไม่เหมาะสม หรื อเคลื่อนย้ายในที่สูง เครื่ องมือขนย้าย
ดังภาพที่ 7.9
18

ภาพที่ 7.9 ปั้นจัน่ และรอก


ที่มา : สุ รศักดิ์ นานานุกลู . 2525: 206.

3. รถยกอุตสาหกรรม (Industrial Trucks) อาจจะเป็ นพลังงานหรื อปฏิบตั ิการด้วยมือใช้ได้อเนกประสงค์


ตามความจำเป็ น การบรรทุกเป็ นการบรรจุในตูค้ อนเทนเนอร์เพื่อขนส่ งหรื อแท่นวางสิ นค้าสำหรับลากหรื อ
ลำเลียงเพื่อความสะดวกในการบรรทุกและจำหน่ายหลังจากขนส่ ง รถยกด้วยมือ และรถยกปากซ่อมใช้
สำหรับการจัดการควบคุมที่ตอ้ งการความคล่องตัวและส่ วนมากใช้กบั เครื่ องจักร อุปกรณ์ในกรจัดการ
ควบคุมวัสดุ ได้แก่ รถยกแบบมีปลายปากซ่อม (Forklift Truck) รถยกแบบมีพ้ืนยก (Platform Truck) รถยก
แบบใช้มือยกมี 2 ล้อ (Two-Wheeled Hand Tuck) รถยกด้วยมือ (Manual Lift Truck) และรถเข็นด้วยมือ
(Hand Stacker) เป็ นต้น

บทสรุ ป
19

การขนส่ งมีความสำคัญต่อการสนับสนุนการค้าซึ่ งต้องอาศัยการขนสงเป็ นเครื่ องมือการกระจาย


สิ นค้า สิ นค้าที่ผลิตในประเทศนอกจากจำหน่ายในประเทศยังอาจส่ งไปขายต่างประเทศด้วย สิ นค้าจากแหล่ง
ผลิตไปยังผูบ้ ริ โภคต้องใช้การขนส่ ง การขนส่ งจึงเอื้ออำนวยต่อการค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
การขนส่ งที่มีประสิ ทธิภาพจะเป็ นประโยชน์กบั ผูผ้ ลิตในทุกขั้นและกับผูบ้ ริ โภค การขนส่ งมีหลายรู ปแบบ
แต่ละรู ปแบบมีท้ งั ข้อดีและข้อด้อย การตัดสิ นใจเลือกใช้รูปแบบการขนส่ งใดขึ้นอยูก่ บั หลายปั จจัย เป็ นต้น
ว่าการขนส่ งด้วยรถบรรทุก การขนส่ งด้วยรถไฟการ ขนส่ งด้วยเครื่ องบิน การขนส่ งด้วยท่อและการขนสง
ด้วยเรื อ รู ปแบบการขนส่ ง การขนส่ งหลายรู ปแบบ การขนส่ งคอนเทนนอร์ดว้ ยรถไฟ ผูใ้ ห้บริ การขนส่ ง
ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อค่าขนส่ ง การกำหนดค่าขนส่ ง ทางเลือกการออกแบบการขนส่ ง การจัดเส้นทางและ
ตารางขนส่ ง ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้อุปกรณ์การขนส่ งบริ การขนส่ ง ข้อพิจารณาลงทุนขนส่ ง
เองหรื อจ้าง และแนวโน้มการใช้บริ การขนส่ งภายนอก เพื่อประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลด้านการขนส่ ง
และการเลือกใช้อุปกรณ์การขนส่ งโดยมุ่งเน้นที่การสร้างความประหยัดด้วยวิธีการที่เหมาะสม

แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 7

1. การขนส่ งมีกี่รูปแบบอะไรบ้าง จงอธิ บาย


20

2. จงอธิบายบริ การการขนส่ งแบบจากที่ถึงที่ Door to-Door Service


3. จงอธิบายข้อดี-ข้อด้อยของการขนส่ งด้วยรถไฟ
4. การขนส่ งด้วยเรื อกับเครื่ องบินมีประโยชน์อย่างไร จงอธิ บาย
5. ทางเลือกของการขนส่ งมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
6. การขนส่ งแบบขนส่ งตงกับการขนส่ งต่างรู ปแบบมีความแตกต่างกันอย่างไร
7. การขนส่ งคอนเทนเอร์รถไฟ มีวิธีการดำเนินการขนส่ งอย่างไร จงอธิ บาย พร้อมทั้งออกแบบเส้น
ทางการขนส่ ง
8. การขนส่ งตรงแบบ Milk Runs จากผูผ้ ลิตหลายราย มีวิธีการดำเนินการขนส่ งอย่างไร จงอธิ บาย
พร้อมทั้งออกแบบเส้นทางการขนส่ ง
9. อุปกรณ์การขนส่ งมีความสำคัญอย่างไร จงอธิ บาย
10. อุปกรณ์การขนส่ งมีกี่ประมาท อะไรบ้าง จงอธิ บาย

เอกสารอ้ างอิง

ฐาปนา บุญหล้าและนงลักษณ์ นิมิตรภูวดล. (2555). การจัดการโลจิสติกส์ : มิติซัพพลายเชน.


21

กรุ งเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน่ .


ประมวล จันทร์ชีวะ. (2550). การขนส่ งต่ อเนื่องหลายรู ปแบบ. กรุ งเทพฯ : สมาคมประกันวินาศภัย.
ยุทธ ทรวรรณ์ (2545). การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริ มกรุ งเทพฯ.
สุ รศักดิ์ นานานุกลู . (2525). การบริหารงานผลิต. กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
Porter, M. E. (1985). Competitive ad vantage : Creating and sustaining superior performance.
NewYork : Free Press.

You might also like