You are on page 1of 28

ยินดีต้อนรับ

สภาอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น
เข้าเยี่ยมชม

สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง
ฝ่ายบริการสินค้า การรถไฟแห่งประเทศไทย

สแกน QR Code เพื่อรับเอกสารประกอบการบรรยาย


ธีระวัฒน์ โอวาทสุวรรณ
หัวหน้างานตลาดสินค้าคอนเทนเนอร์สายตะวันออก

กองบริการสินค้าคอนเทนเนอร์
ฝ่ายบริการสินค้า

ศิวดล ผลวัชนะ
พนักงานการตลาดและทรัพย์สิน 6

งานตลาดสินค้าคอนเทนเนอร์สายตะวันออก
กองบริการสินค้าคอนเทนเนอร์
ฝ่ายบริการสินค้า
การรถไฟแห่งประเทศไทย
เป็ นผู้ใ ห้ บ ริก ารระบบรางของรัฐทีด ที  สี ุด ในอาเซีย นในปี 2570

การรถไฟแห่งประเทศไทย

สายด่วน 1690
- จองตั๋วโดยสาร
- สอบถามกําหนดเวลาเดินรถโดยสาร / รถนําเที่ยว / รถพิเศษ
- แนะนํา / ร้องเรียน / อื่น ๆ

http://www.railway.co.th/

6
เส้นทางรถไฟที่เปิดให้บริการแล้ว
ระยะทางรวมทังสิ


น 4,179 กิโลเมตร
ครอบคลุม 47 จังหวัด
สายเหนือ
เชียงใหม่ 751 กิโลเมตร
สายตะวัน ออกเฉีย งเหนือ
หนองคาย 624 กิโลเมตร
อุบลราชธานี 575 กิโลเมตร
สายตะวัน ออก
อรัญประเทศ 252 กิโลเมตร
มาบตาพุด 200 กิโลเมตร
สายใต้
ปาดังเบซาร์ 982 กิโลเมตร
สุไหงโก-ลก 1,159 กิโลเมตร
7

เส้นทางรถไฟทางคู่/ทางสาม
ที่เปิดใช้งานแล้ว
กรุงเทพ – รังสิต – ชุมทางบ้ านภาชี
ชุมทางบางซื5อ – นครปฐม
ชุมทางบ้ านภาชี – มาบกะเบา
ชุมทางบ้ านภาชี – ลพบุรี
กรุงเทพ – ชุมทางฉะเชิงเทรา – แหลมฉบัง

8
โครงการก่อสร้างทางคู่
• เส้ นทางสายเดิม
– ฉะเชิงเทรา – คลองสิบเก้ า – แก่งคอย
– ชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น
– นครปฐม – หัวหิ น
– ประจวบคีรีขนั ธ์ – ชุมพร
– มาบกะเบา – ชุมทางถนนจิ ระ
– ลพบุรี – ปากนําโพ
– หัวหิ น – ประจวบคีรีขนั ธ์
• เส้ นทางสายใหม่
– เด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ
– บ้ านไผ่ – ร้ อยเอ็ด – มุกดาหาร - นครพนม
สถานะโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่

ลําดับ โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่ สถานะปัจจุบัน เปิดใช้งาน


1 สายเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ
ครม. อนุมัติโครงการก่อสร้าง ทางคู่ สายดังกล่าว รวมระยะทาง
ปีงบประมาณ
323 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2561 คาดว่าจะเริ่ม 2565
ก่อสร้างภายในปี 2562

2 สายบ้านไผ่ – มหาสารคาม – ร้อยเอ็ด – ระหว่างการขออนุมัติโครงการ/พิจารณา EIA


มุกดาหาร – นครพนม มีนาคม
คาดว่าจะลงนามในสัญญาก่อสร้างได้ ปีงบประมาณ 2566
ภายในปีงบประมาณ 2562
โครงการก่อสร้างทางคู่เพื่อพัฒนาขีดความสามารถเพื่อรองรับ EEC

หัวตะเข้ – ICD ลาดกระบัง

ศรีราชา - มาบตาพุด – ระยอง - จันทบุรี

• หัวตะเข้ – ICD ลาดกระบัง (ระยะทาง 3 กิโลเมตร)


: อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
• ศรีราชา - มาบตาพุด - ระยอง - จันทบุรี
: อยู่ระหว่างการออกแบบรายละเอียดการก่อสร้างทางคู่ ระยะเวลาการออกแบบ 12 เดือน

การขนส่งสินค้าทางรถไฟ
• กลุ่มสินค้าปิโตรเลียม ได้แก่ น้ํามันดิบ
น้ํามันสําเร็จรูป ก๊าซ LPG
• กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ ปูนซีเมนต์
• กลุ่มสินค้าเกษตร/ทั่วไป ได้แก่ ข้าว แป้ง
น้ําตาล ยางพารา และอื่น ๆ
• กลุ่มสินค้าคอนเทนเนอร์ ได้แก่
คอนเทนเนอร์ทั่วไป
และคอนเทนเนอร์สายตะวันออก
(ไอซีดี ลาดกระบัง – ท่าเรือแหลมฉบัง)

14
ประเภทรถที่ใช้บรรทุกสินค้า
รถโบกีบ รรทุกตู้คอนเทนเนอร์ (บทต.) รถโบกีบ รรทุกนํา มันค่ น (บทค.)

รถโบกีบ รรทุกซีเมนต์ ชนิดเทล่ าง


รถตู้ใหญ่ (ตญ.)
ระบบลมอัด (บซล.)

การขนส่งในรูปแบบ Container
• ขนาดมาตรฐาน มี 3 ขนาด ได้แก่
ขนาด 20 ฟุต 40 ฟุต และ 45 ฟุต
– ตู้สินค้าแห้ง (Dry Container)
– ตูท้ ําความเย็น (Refrigerated
Container, Refer Container)
– ISO Tank
• TEU (Twenty-foot Equivalent
Unit) คือ หน่วยนับของตู้คอนเทน
เนอร์
รูปแบบลานสินค้าคอนเทนเนอร์
คอนเทนเนอร์ยาร์ด (Container Yard : CY)
สถานที่ซึ่งเป็นที่กองเก็บตู้สินค้าที่มีสินค้าบรรจุอยู่ หรือตู้สินค้าเปล่า เพื่อรอนําส่งไปยังลูกค้า
หรือที่อื่นๆ
คอนเทนเนอร์เฟรทสเทชั่น (Container Freight Station : CFS)
สถานที่ที่กําหนดไว้เพื่อใช้สําหรับเก็บสินค้าที่ได้รับมาจากลูกค้าเพื่อที่จะบรรจุเข้าตู้สินค้าและ/
หรือ สถานที่ที่ใช้สําหรับเก็บสินค้าที่ขนถ่ายออกมาจากตู้สินค้าและเตรียมจะส่งไปยังลูกค้า โดยส่วน
ใหญ่ CFS จะมีลักษณะเป็นโกดังขนาดใหญ่สามารถป้องกันสินค้าได้เป็นอย่างดี

ICD ลาดกระบัง

18
สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง รพท.การรถไฟฯ ลาดกระบัง
ความเป็นมา
โครงการนี้ได้รับการเสนอแนะจากผลการศึกษาขององค์กรความร่วมมือระหว่าง
ประเทศแห่งประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี 2532 เกี่ยวเนื่องกับระบบการขนส่งสินค้าคอนเทนเนอร์
เชื่อมต่อกับท่าเรือแหลมฉบัง (ทลฉ.) เพื่อสนับสนุนการนําเข้าและส่งออกของประเทศและ
การเติบโตของท่าเรือแหลมฉบัง ต่อมาคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532
และวันที่ 3 กรกฎาคม 2533 ตามลําดับ ให้ความเห็นชอบในหลักการของโครงการและมี
มติ เมื่ อวั นที่ 24 กั นยายน 2534 อนุ มัติให้ มีการเวนคื นที่ ดินในเขตลาดกระบั ง เพื่ อ
ก่อสร้างสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (Inland Container Depot หรือ ICD) ตาม
โครงการ โดยรัฐได้ออกพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่
เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2534 และได้เวนคืนที่ดินจํานวน 645 ไร่ โดยการ
รถไฟฯ ได้จ้างบริษัท TRANSMARK/Asian Engineering Consultants(AEC) เป็น
บริษัทวิศวกรที่ปรึกษาให้ทบทวนรายงานการศึกษาของ JICA รวมทั้งเสนอแนวรู ป แบบ
เบือ' งต้ น รู ป แบบการจัด การและการจัด วางระบบการบริห าร ICD ลาดกระบัง

รพท.หมายถึง
โรงพักสินค้าเพือ่ ตรวจปล่อยของขาเข้าและบรรจุของขาออก ที่ขนส่งโดย
ระบบคอนเทนเนอร์ นอกเขตทําเนียบท่าเรือ
ที่ตั้ง - Location

Chalongkrung rd.
Truck Terminal

To Laemchabang port
To Bangkok & other lines SRT Eastern Line

To Airport

21

ไอซีดี (ICD, Inland Container Depot) คืออะไร


สถานที่ที่ถูกกําหนดให้เป็นจุดที่ให้บริการแก่ผู้ส่งและ/หรือผู้รับ
ที่มาส่งและ/หรือรับสินค้าในระบบตู้สินค้า (ผู้นําเข้า/ผู้ส่งออก) สถานที่
ดังกล่าวนี้จะต้องสามารถให้บริการแก่ลูกค้าได้ทั้งในระบบ CY และ CFS
รวมทั้งจะต้องมีบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการขนส่งตู้สินค้า
เช่น มีบริการของศุลกากร เครื่องมือยกขน รถบรรทุก เป็นต้น ICD จะมี
บริการเหมือนท่าเรือทุกอย่าง ยกเว้นท่าเทียบจอดเรือ โดยมักจะเรียก ICD
ว่าเป็นท่าเรือบก หรือ ดรายพอร์ท (Dry Port)

22
วัตถุประสงค์ของ ไอซีดี ลาดกระบัง
 ช่วยอํานวยความสะดวกการนําเข้า-ส่งออก
 ส่งเสริมให้มีการใช้ท่าเรือแหลมฉบังมากขึ้น โดยลดอัตราค่า
ขนส่งสินค้าระหว่าง กทม. - ท่าเรือแหลมฉบัง
 สนับสนุนนโยบายแก้ไขปัญหาความแออัดของท่าเรือกรุงเทพ
(คลองเตย) ตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพการค้าและการลงทุน
ของประเทศ
 สนับสนุนให้มีการขนส่งระบบรางระหว่าง กทม.- ท่าเรือ
แหลมฉบัง เพื่อประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์
พลังงาน
23

การดําเนินงาน
2532 ได้รับผลการศึกษาจาก JICA
2534 คณะรัฐมนตรีอนุมัติการเวนคืนที่ดิน จํานวน 645 ไร่
เริ่มดําเนินการก่อสร้าง
2539 เปิดดําเนินการเมื่อ 9 เมษายน 2539
2551 ปริมาณตู้สินค้าผ่านเข้า-ออกสะสมเกิน 10 ล้าน TEU
2561 ดําเนินการสรรหาผู้รับสัมปทานรายใหม่

24
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง
หน่วยงานต่างๆ ภายในพื้นที่
o การรถไฟแห่งประเทศไทย (SRT)
• ให้สัมปทานแก่ผู้ประกอบการสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง
• การบริการขนส่งทางรางระหว่าง ไอซีดี ลาดกระบังถึงท่าเรือแหลมฉบัง
o หน่วยงานราชการ
ให้บริการในส่วนพิธีการที่เกี่ยวข้องกับการนําเข้า –ส่งออก
o ผู้ประกอบการสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (Module Operator)
ให้บริการการนําเข้า-ส่งออกสินค้า, CY, CFS

25

หน่วยงานราชการใน ไอซีดี ลาดกระบัง


• สํานักงานศุลกากรตรวจสินค้าลาดกระบัง
• ด่านตรวจพืชลาดกระบัง
• ด่านตรวจสัตว์ป่าลาดกระบัง
• ด่านตรวจสัตว์น้ําลาดกระบัง
• ด่านกักสัตว์ลาดกระบัง
• ด่านป่าไม้กรุงเทพ
• ด่านอาหารและยา
26
รายชื่อผู้ประกอบการ ไอซีดี ลาดกระบัง
• สถานี A บริษัท สยามชอร์ไซด์ เซอร์วิส จํากัด (SSS)
• สถานี B บริษัท อิสเทิร์นซี แหลมฉบัง เทอร์มินัล จํากัด (ESCO)
• สถานี C บริษัท เอเวอร์กรีนคอนเทนเนอร์ เทอร์มินัล (ประเทศไทย) จํากัด (ECTT)
• สถานี D บริษัท ทิฟฟ่า ไอซีดี จํากัด (TIFFA)
• สถานี E บริษัท ไทยฮันจิน โลจิสติกส์ จํากัด (THL)
• สถานี F บริษัท เอ็น.วาย.เค.ดิสทริบิวชั่น เซอร์วิส (ประเทศไทย) จํากัด (NICD)

27

HEAD OFFICE X Ray

SSS TIFFA
Module A Module D
127,200 92,800 Sqm.
Sqm.
ESCO
THL
TRUCK Module B Module E
TERMINAL 96,600 Sqm. 69,600 Sqm.

EVER GREEN NYK


Module C Module F
130,400 Sqm. 90,944 Sqm.

to Bangkok SRT Eastern Line to Laem chabang

28
สิ่งอํานวยความสะดวกภายในสถานีต่างๆ
1. โรงพักสินค้าขนาดพื้นที่ 5,800 – 8,440 ตารางเมตร
2. ตึกสํานักงาน 4 ชั้น พื้นที่ 1,736 ตารางเมตร
3. พื้นที่บริเวณประตูควบคุมการเข้า-ออก พื้นที่ 780 ตารางเมตร
4. โรงซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ พื้นที่ 720 ตารางเมตร
5. โรงอาหาร พื้นที่ 336 ตารางเมตร
6. บริเวณทําความสะอาดตู้สินค้าและเครื่องมือยกขน พื้นที่ 500 ตารางเมตร
7. ลานกองเก็บตู้สินค้า พื้นที่ 48,000- 97,600 ตารางเมตร
8. ลานจอดรถและอื่นๆ พื้นที่ 14,654 – 25,998 ตารางเมตร
9. ปลั๊กไฟฟ้าสําหรับสินค้าตู้คอนเทนเนอร์แช่แข็ง (ตู้เย็น) 48 ปลั๊ก

29

สิ่งอํานวยความสะดวก
Check Gate Office Building

Canteen Warehouse / CFS

30
สิ่งอํานวยความสะดวก
Check Gate Office Building

Canteen Warehouse / CFS

31

สิ่งอํานวยความสะดวก
Inside CFS Container Yard

Warehouse / CFS Empty Container Yard

32
สิ่งอํานวยความสะดวก
Maintenance Building Maintenance Building

Loading / Unloading Train Yard

สิ่งอํานวยความสะดวก
Cleaning Service Area Loading / Unloading Packages

Reefer Container Area Reefer Power Source


เครื่องมือในการทํางาน

(Rail Mount Gantry Crane : RMG) (Rubber Tired Gantry Crane : RTG)

(Rubber Tired Gantry Crane : RTG) (Reach Stacker)

เครื่องมือในการทํางาน

Reach Stacker

Rail Mount
Gantry Crane
(RMG)
Working at Station
Office
Check Gate

Container
CFS Yard

38
การขนส่งทางรางระหว่าง ไอซีดีลาดกระบัง - ท่าเรือแหลมฉบัง
ดําเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)
• ระยะทาง : 118 กิโลเมตร
• รถจักรดีเซล : 6 คัน
• รถ บทต. : 340 คัน
• สถานีระหว่างทาง : 11 สถานี
• จํานวนขบวน : 22 (ไป-กลับ)/วัน
(สูงสุด 30 ขบวน)
• จํานวนรถพ่วงต่อขบวน : 32 คัน
• ความสามารถในการขนส่งต่อปี : 700,800 TEU

39

40
ท่ าเรื อแหลม
แหลมฉบัง
ฉบัง

แผนผังเส้นทางการเดินรถระหว่าง
ICD ลาดกระบัง – ท่าเรือแหลมฉบัง
อรัญ
ประเทศ ระยะทาง 118 กิโลเมตร

แก่ งคอย

ICD
ลาดกระบั

41

กําหนดเวลาเดินขบวนรถไฟขนส่งตู้คอนเทนเนอร์
ระหว่าง ไอซีดีลาดกระบัง - ท่าเรือแหลมฉบัง

https://www.railcontainer.info/railstatus/timetable.php
ขัน' ตอนการขนส่ งตู้ส ิน ค้ าจาก ไอซีด ี ลาดกระบัง - ท่ าเรื อ แหลมฉบัง

1. ยกตูส้ ิ นค้าภายในลานกองตูข้ องบริ ษทั ฯ ใส่ รถเทรลเลอร์


มาทีย่านรถไฟ เพือบรรทุกส่ งขบวนรถไฟ
2. รถเครนยกตู้สนิ ค้ า ขึ
นขบวนรถไฟ (Rail transfer)

3. ขบวนรถไฟ ออกจาก ICD ลาดกระบัง - ท่าเรื อแหลมฉบัง

4. ขบวนรถไฟ ถึง ท่าเรื อแหลมฉบัง

5. รถเครนยกตู้สนิ ค้ า ลงจากขบวนรถไฟ (Rail transfer)


ใส่รถเทรลเลอร์ ไปลานกองตู้ของบริ ษัทฯ
6. รถเครนหรื อรถเทรลเลอร์ ยกตู้สนิ ค้ า
ไปหน้ าท่าเพื5อลงเรื อ

ขัน' ตอนการขนส่ งตู้ส ิน ค้ าจาก ท่ าเรื อ แหลมฉบัง - ไอซีด ี ลาดกระบัง

1. รถเครนหรื อรถเทรลเลอร์ ยกตูส้ ิ นค้าจากหน้าท่า


เข้าไปลานในลานกองตูข้ องบริ ษทั ฯ

2. รถเครนยกตู้สนิ ค้ า จากลานกองตู้ไปขึ
นขบวนรถไฟ (Rail transfer)

3. ขบวนรถไฟออกจาก ท่าเรื อแหลมฉบัง - ICD ลาดกระบัง

4. ขบวนรถไฟ ถึง ICD ลาดกระบัง

5. รถเครนยกตู้สนิ ค้ า ลงจากขบวนรถไฟ (Rail transfer)


ใส่รถเทรลเลอร์ ไปลานกองตู้ของบริ ษัทฯ
6. รถเครนยกตู้สนิ ค้ า บรรทุก
รถเทรลเลอร์ สง่ ลูกค้ า
CUSTOMER’s FACTORY
LAEM CHABANG PORT
1
WAREHOUSE
LADEN CONTAINEREMPTY CONTAINER

WEIGH BRIDGE WEIGH BRIDGE WEIGH BRIDGE

9
2 6

RAIL YARD at
5
ICD TERMINAL
LAEM CHABANG PORT (B)
LADEN CONTAINER

WEIGH BRIDGE

Kho-
Kho-Chi-
Chi-Jun
JUNCTION
8 7

Sri-
Sri-Ra-
Ra-Cha
JUNCTION
3 M&R AREA
WYNCOAST EQUIPMENTS (MAINTENANCE AND REPAIR)

EMPTY CONTAINER
4
SURVEY & INSPECTION

รายได้ของการรถไฟฯ ที่ ไอซีดีลาดกระบัง


1. รายได้จากสัญญาสัมปทาน เรียกเก็บจากผู้ประกอบการไอซีดี จํานวน 6 สถานี
เดือนละ 41,651,626 บาท หรือ ปีละ 499,819,517 บาท
2. รายได้จากค่าระวางจากการเดินขบวนรถไฟสินค้าคอนเทนเนอร์
ระหว่าง ไอซีดี – ท่าเรือแหลมฉบัง โดยในรอบปีงบประมาณ 2561
มีรายได้ค่าระวาง 287,364,500 บาท
3. รายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง

46
รถไฟทีเ$ ดินเข้าท่าเรือแหลมฉบ ัง
o ไอซีดี ลาดกระบัง (ขบวน 831 – 860)
o มาบตาพุด (ขบวน 861 – 866, 871 – 872)
o หนองคาย (ขบวน 555 / 556)
o บัวใหญ่-หนองตะไก้-โนนพะยอม-อุดรธานี-นาทา
o หาดใหญ่ (ขบวน 777 / 778)
o สะพลี-บ้านทุ่งโพธิ์-สุราษฎร์ธานี-ทุ่งสง

Single Rail Transfer Operator Project (SRTO)


At Laem Chabang Port

48
X-ray Center

Train Type

ติดตังที

5ทา่ เรื อแหลมฉบัง
- รถไฟวิ5งผ่านที5ความเร็ว 8 – 30 ก.ม./ชม.
- ไม่มีการตรวจจับที5รถจักรและรถ บทต. 2 คันแรก
่ – ไอซด
ปริมาณการขนสง ี ล
ี าดกระบ ัง ท่าเรือแหลมฉบ ัง
8,000,000
LCB Throughtput 7,932,517

7,000,000 LICD Throughtput

6,000,000
Throughput (TEUs)

5,219,055
5,000,000
4,612,310
4,000,000

3,000,000

2,000,000 1,743,559
1,382,021
1,466,527
1,000,000
709,092
92,289
0
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
่ ทางราง – ไอซด
ปริมาณการขนสง ี ล
ี าดกระบ ัง ท่าเรือแหลมฉบ ัง
500,000
468,303 ก่อ สร้า ง SRTO
450,000 447,499
431,221

400,000

350,000
Throughput (TEUs)

300,941 300,000
300,000

250,000 236,163

200,000 เปิ ดใช้ SRTO


150,000

100,000

50,000 45,723

0
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
ี ล
จํานวนขบวนรถไฟ – ไอซด ี าดกระบ ัง ท่าเรือแหลมฉบ ัง
10,000 9,558
9,000 8,860 8,754 ก่อ สร้า ง SRTO

8,000
7,040
7,000
Number of Trains

6,074 6,000
6,000

5,000

4,000 4,062

3,000 เปิ ดใช้ SRTO

2,000

1,000 964

0
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
Share ratio in transportation mode
Rail/Road Transportation Ratio
between ICD Lat krabang - Laem chabang port
100.0%
90.0%
80.0%
70.0%
60.0%
50.0%
40.0%
30.0%
20.0%
10.0%
0.0%

%Rail %Road

You might also like