You are on page 1of 13

Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.

2 July - December 2016 87

กระบวนการการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีย้อมของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด


: กรณีศึกษาขั้นตอนการด�ำเนินการขนส่ง
Transportation management process ABC Dye Products Co., Ltd.
: Case study on transportation procedures.
อัญชลี หิรัญแพทย์1

บทคัดย่อ

การศึกษากระบวนการการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สยี อ้ มของบริษทั เอบีซี จ�ำกัด: กรณีศกึ ษาขัน้ ตอนการ


ด�ำเนินการขนส่ง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยท�ำการศึกษากระบวนการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีย้อม โดยมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษากระบวนการการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ในขั้นตอน
การด�ำเนินการขนส่ง รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการขนส่ง รวมทั้งเอกสารกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงานการขนส่งของบริษทั เอบีซี จ�ำกัด โดยใช้กลุม่ ตัวอย่างจากพนักงาน
ในแต่ละแผนกรวม 10 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก
(In depth Interview) ระดับผูบ้ ริหาร และระดับปฏิบตั กิ าร โดยผูว้ จิ ยั ใช้การสังเกตแบบมีสว่ นร่วม (Participant
Observation) ในกิจกรรมต่างๆ ของส่วนงานวางแผนจัดส่ง เช่น การเข้าร่วมประชุมประสานงาน และด�ำเนิน
การ รวมถึงการเข้าไปพูดคุยสนทนา
ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการจัดการด้านการขนส่งสินค้า พบปัญหาในการปฏิบตั งิ าน ด้านบุคคลากร
และด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ได้แก่ ระบบข้อมูล ERP ที่ใช้ในการท�ำงานยังไม่สมบูรณ์ ขาดคู่มือ
การท�ำงาน แบบฟอร์มเอกสารไม่ได้มาตรฐาน ความล่าช้าในการแก้เอกสารรับรองความปลอดภัย บุคลากรขาด
ทักษะ ความรู้ในการปฏิบตั งิ านตามกฎ ระเบียบข้อบังคับ ในการขนส่งสินค้าอันตราย การติดต่อสือ่ สารระหว่าง
หน่วยงานทั้งในและนอกองค์กร
โดยงานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ ทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเสนอแนะ แนวทางการแก้ไข
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการขนส่ง สร้างมาตรฐานการท�ำงาน ลดความผิดพลาดในการติดต่อ
สื่อสารเข้ากับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ค�ำส�ำคัญ : การจัดการขนส่ง; ผลิตภัณฑ์สีย้อม; บริษัท เอบีซี จ�ำกัด


1
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
88 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

Abstract
To study Transportation management process ABC Dye Products Co., Ltd.: Case study
on transportation procedures was qualitative research which studied about the transportation
management process of dye products had the objectives as follow; 1).To study about the
transportation management process of dye product of ABC Company Limited for instance
transportation method, model of transportation packaging included regulations and rules
documents 2). To study about the problems and barriers of transporting operation of ABC
Company Limited by 10 sampling officers in each department for by purposive sampling and
in depth interview on top management and operation so researcher applied to participant
observation in activities of the part of transporting plan such as joining to operate meeting
and management included discussion
The study result found that transportation management process met the problem as
operation, human and internal and external environment for example ERP data system has
not completed, lacking manual, no standard form, delay of revised security document, offic-
ers have no skill, knowledge of rule and regulation operation in term transporting of hazard
goods, communication between internal unit and external organization
This research applied knowledges and ideas involved to recommendation, solution to
increase efficiency of transportation management process, create working standard, reduce
miscommunication to reach objectives of this research
Keywords: transportation management; dye products; ABC Co., Ltd

บทน�ำ เนื่ อ งด้ ว ยบริ ษั ท เอบี ซี จ� ำ กั ด เป็ น บริ ษั ท


ผลิตและจ�ำหน่ายสีย้อม ผลิตภัณฑ์ของบริษัท เอบีซี
การขนส่งเป็นกิจกรรมหนึ่งของกระบวนการ จ�ำกัด จัดเป็นสินค้าที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและ
โลจิสติกส์ที่มีความส�ำคัญมากในการด�ำเนินธุรกิจและ สิ่งแวดล้อม โดยผลิตภัณฑ์ของบริษัทจะแบ่งออกเป็น
สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยการสร้างความ 2 ประเภท คือ 1. สีย้อมผง 2. สีย้อมน�้ำ
สะดวกทั้งด้านเวลาและสถานที่ส่งผลให้บริษัทที่มี บริษัท เอบีซี จ�ำกัด มีการด�ำเนินธุรกิจซึ่งคู่ค้า
การจัดการการขนส่งที่ดีสามารถสร้างมาตรฐานได้ว่า ส่วนใหญ่อยู่ในต่างประเทศดังนั้นการส่งสินค้าไปนอก
จะมีสินค้าเพียงพอเพื่อจะรองรับการจัดจ�ำหน่าย ซึ่ง ราชอาณาจักรไทยของบริษทั เอบีซี จ�ำกัด จ�ำเป็นต้อง
ถือได้ว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานของความสามารถในการ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและข้อบังคับของการขนส่ง ต้อง
แข่งขันของแต่ละบริษัทการที่จะได้มาซึ่งความส�ำเร็จ มีการควบคุมเป็นพิเศษ และมีรูปแบบการขนส่ง การ
ด้านงานขนส่ง ขนย้าย ทีจ่ ำ� เพาะเจาะจง มีกรรมวิธขี นั้ ตอนการด�ำเนิน
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 89

การที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นรายละเอียดที่ผู้ประกอบ การขนส่ง และเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานของ


การด้านการขนส่งและผู้ประกอบการด้านเคมีต้องมี แผนกขนส่งของบริษัท ฯ ท�ำให้บริษัท ฯ ได้เปรียบคู่
ความรูแ้ ละความเข้าใจเพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยในตัว แข่งขันเพราะการแข่งขันของการค้าในปัจจุบันควร
พนักงานทีท่ ำ� งานกับสารเคมีโดยตรง อีกทัง้ ผูท้ มี่ คี วาม ต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งในส่วนของผู้ประกอบ
เกี่ยวข้องและผู้บริโภคด้วย การ และในส่วนของรัฐบาลเพื่อน�ำพาประเทศพร้อม
ในงานวิ จั ย เล่ ม นี้ ผู ้ วิ จั ย ต้ อ งการจะศึ ก ษา ก้าวสู่ AEC
กระบวนการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีของบริษัท เอบี
ซี จ�ำกัด ในขั้นตอนการส่งออกผลิตภัณฑ์สีไปยังลูกค้า วัตถุประสงค์การวิจัย
หรือจุดหมายปลายทางโดยการขนส่งซึ่งเป็นกิจกรรม 1. เพื่อศึกษากระบวนการการจัดการขนส่ง
กระบวนการทางโลจิสติกส์คือ การเคลื่อนย้าย ถ่ายเท ผลิตภัณฑ์สีย้อมของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ในขั้นตอน
จัดเก็บ รวบรวม กระจาย จากต้นทาง บรรจุลงสินค้า การด�ำเนินการขนส่ง รูปแบบของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ใน
ในบรรจุภณ ั ฑ์ใช้การขนย้ายด้วยรถบรรทุกไปยังท่าเรือ การขนส่ง รวมทั้งเอกสารกฎระเบียบและข้อบังคับ
และขนลงเรือจัดส่งไปสู่จุดหมายปลายทาง ซึ่งต้องใช้ ต่างๆ
การขนส่งหลากหลายรูปแบบ และสินค้าของบริษัทฯ 2. ศึ ก ษาปั ญ หาและอุ ป สรรคในการด� ำ เนิ น
เป็ น สิ น ค้ า อั น ตรายที่ ต ้ อ งมี ก ารควบคุ ม ภายใต้ ก ฎ งานการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด
ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ เอกสารการด�ำเนินงานใน
การขนส่ง ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุหีบห่อ ไปจนถึงค่า ขอบเขตของการวิจัย
ระวางต่างๆ จะต้องมีความแตกต่างออกไปจากสินค้า เป็นการศึกษาจากข้อมูลใน บริษทั เอบีซี จ�ำกัด
ทั่วไป ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมีความสนใจที่ โดยเป็นการศึกษากระบวนการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์
จะศึกษาการขนส่ง รวมทั้งเอกสารกฎระเบียบและข้อ สีย้อมของบริษัท ฯ เนื้อหาในการศึกษาครอบคลุม
บังคับต่างๆ ได้เปรียบในเชิงแข่งขันของตนเองให้พบ กระบวนการในระบบขนส่ง ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษา
(บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์, 2558) ซึ่งมีพนักงานงานฝ่ายสนับสนุนงานขนส่ง ผู้เชี่ยวชาญ
กระบวนการจัดการขนส่งส�ำหรับสีย้อมแบบ ด้านเอกสารความปลอดภัยสารเคมีของ บริษทั ฯ และ
เต็มรูปแบบการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ทั้งใน ผู้ให้บริการด้านการขนส่งสินค้า (3PL)
ด้านของเอกสาร บรรจุภณ ั ฑ์ กฎระเบียบและข้อบังคับ
ต่างๆ และศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนิน วิธีด�ำเนินการวิจัย
งานการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด เพื่อรองรับเมื่อ การด�ำเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการ
อาเซียนประตูการค้าเสรี วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Researc)
การศึกษากระบวนการขนส่งสินค้าอันตราย บริษทั ทีจ่ ะเข้าไปท�ำการศึกษา คือ บริษทั เอบีซี
จ�ำเป็นที่ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ จ�ำกัด และท�ำการศึกษาเก็บข้อมูลกระบวนการจัดการ
เป็นอย่างดีภายใต้ขอ้ ก�ำหนดของบริษทั ฯ เข้าใจในกฎ ขนส่ง รวมถึงการวิเคราะห์กระบวนการเพื่อหาปัญหา
ระเบียบที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการขนส่งสินค้าอันตราย แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน และ
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการด้านเคมีและต่อผู้ ลดต้นทุนในการขนส่งสินค้า เพื่อใช้เป็นแนวทางการ
ประกอบการด้านการด้านการขนส่งเคมี เพื่อเป็นการ พัฒนางานต่อไป โดยมีรายละเอียดการด�ำเนินการ
ก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ ใ นการด� ำ เนิ น งาน ลดต้ น ทุ น ด้ า น วิจัยดังนี้
90 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)


ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้ คือ พนักงานที่ เป็นข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล
ปฏิบตั งิ านอยูภ่ ายในหน่วยงานคลังสินค้าและวางแผน ที่บริษัทฯมีอยู่แล้ว และรวบรวมข้อมูลจากต�ำราทาง
จัดส่ง ของ บริษทั เอบีซี จ�ำกัด ซึง่ เลือกจ�ำนวนพนักงาน ด้ า นการบริ ห ารจั ด การด้ า ยการขนส่ ง สิ น ค้ า และ
ในแต่ละแผนกรวม 10 คน จากพนักงานทั้งหมด 40 ด้านอื่นๆ จากแหล่งค้นคว้าต่างๆ ได้แก่ จากหนังสือ
คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sam- เอกสาร จากห้องสมุดสถาบันการศึกษาและข้อมูล
pling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างในแต่ละแผนกตาม ออนไลน์ จ ากเวปไซค์ ต ่ า งๆ เพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล
โครงสร้างของบริษัทฯ ซึ่งผู้วิจัยได้แบ่งระดับต่างๆ เกี่ยวกับงานวิจัยนี้
ออกได้ดังนี้
ระดับผู้บริหาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. ผู้จัดการฝ่ายคลังสินค้าและวางแผนจัดส่ง ในการศึ ก ษาข้ อ มู ล ปฐมภู มิ ค รั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย ได้
จ�ำนวน 1 คน ก�ำหนดลักษณะของเครือ่ งมือในการวิจยั และการสร้าง
ระดับปฏิบัติการ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ส�ำหรับใช้ในการเก็บรวบรวม
1. ผู้จัดการแผนกคลังสินค้า จ�ำนวน 1 คน ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
2. ผู้จัดการแผนกวางแผนจัดส่ง จำ� นวน 1 คน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Inter-
3. ผู้จัดการแผนก Inventory จ�ำนวน 1 คน view) (ชาย โพธิสิตา, มปป.) เป็นการสัมภาษณ์ที่
4. ผู้จัดการแผนกธุรการ จ�ำนวน 1 คน ไม่ก�ำหนดรูปแบบมาตรฐาน (Unstructured Inter-
5. พนักงานคลังสินค้า จ�ำนวน 1 คน view) ไม่มีการก�ำหนดกฎเกณฑ์ และล�ำดับขั้นตอน
6. พนักงานตรวจปล่อยสินค้า จ�ำนวน 2 คน ของการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้าเป็นการพูดคุยสนทนา
7. พนักงานขับรถส่งสินค้า จ�ำนวน 2 คน ตามธรรมชาติ (Naturalistic Inquiry) ค�ำถามจะ
เป็นแบบไม่ตายตัวแต่จะก�ำหนดไว้เพียงกรอบหรือ
ข้อมูลในการวิจัย ประเด็นทีจ่ ะสัมภาษณ์เท่านัน้ ซึง่ ผูว้ จิ ยั เลือกสัมภาษณ์
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิจัยแบ่งออกเป็น 2 พนักงานระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการในฝ่าย
ลักษณะ ดังนี้ คลังสินค้าและวางแผนจัดส่ง เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอน
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และกระบวนการในการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งละเอี ย ด
เป็ น ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภาษณ์ แ ละการ ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้ว ยตนเอง
สังเกตการณ์ เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในการขนส่ง โดยแนวค�ำถามในการสัมภาษณ์จะแตกต่างกันโดย
สินค้า โดยการสัมภาษณ์นั้นจะเป็นลักษณะค�ำถาม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้
ปลายเปิดเพื่อให้ผู้ถูกสัมภาษณ์สามารถแสดงความ 1. ระดับผู้บริหาร
คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาที่ พ บและข้ อ มู ล จากการ 2. ระดับปฏิบัติการ
สังเกตการณ์การท�ำงานแต่ละขั้นตอนในกระบวนการ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant
ปฏิบัติงานจากผู้จัดการฝ่ายคลังสินค้าและวางแผน Observation) โดยผูว้ จิ ยั จะเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรม
จัดส่งและพนักงานระดับปฏิบัติการภายในฝ่ายคลัง ต่างๆ ของส่วนงานวางแผนจัดส่ง เช่น การเข้าร่วม
สินค้าและวางแผนจัดส่ง ประชุม ประสานงาน และด�ำเนินการ รวมถึงการเข้าไป
พูดคุยสนทนา ซักถาม พนักงานที่หน้างานเป็นประจ�ำ
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 91

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ประจ�ำเพื่อให้ได้ข้อมูลโดยมีประเด็นสังเกตดังนี้
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บข้อมูล - ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
(Data Collection) หลายๆ รูปแบบ เริ่มจากการหา - ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน
ข้อมูลเบื้องต้นของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ได้แก่ ประวัติ - แนวทางในการแก้ไขปัญหา
ความเป็นมาของบริษัท โครงสร้างองค์กร การด�ำเนิน
ธุรกิจ นวัตกรรมในด้านต่างๆ และขออนุญาตผูจ้ ดั การ การวิเคราะห์ข้อมูล
ฝ่ายในการศึกษาวิจัยในเรื่อง ปัญหา แนวทางการเพิ่ม ในขั้ น ตอนการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ส� ำ หรั บ การ
ประสิทธิภาพ และการลดต้นทุนด้านการขนส่ง กรณี ศึกษาในครั้งนี้ ได้จัดท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น
ศึกษา ของ บริษัท เอบีซี จ�ำกัด ในครั้งนี้ โดยขอความ 2 ส่วนดังนี้
อนุเคราะห์ข้อมูลของฝ่าย คลังสินค้าและวางแผนจัด วิเคราะห์ขอ้ มูลแผนผังองค์กรและการด�ำเนิน
ส่ง ขอนัดสัมภาษณ์เชิงลึกพนักงานระดับผู้บริหาร งานของหน่วยงานวางแผนจัดส่ง
และระดับปฏิบัติการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญรับผิดชอบ ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลแผนผังองค์กรและการ
เกี่ยวกับคลังสินค้าและวางแผนจัดส่ง เพื่อท�ำการเก็บ ด�ำเนินงานของหน่วยงานคลังสินค้าและวางแผนจัดส่ง
รวบรวมข้อมูล โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ของบริษทั เอบีซี จ�ำกัด ได้แก่ ประวัตคิ วามเป็นมาของ
การสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) บริษัท โครงสร้างองค์กร การด�ำเนินธุรกิจ จากข้อมูล
เป็นการนัดสัมภาษณ์พนักงานระดับผู้บริหาร ที่ผู้วิจัยได้รวบรวมและน�ำวิเคราะห์และเขียนบรรยาย
และระดับปฏิบัติการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญรับผิดชอบ เชิงพรรณา
เกี่ยวกับคลังสินค้าและวางแผนจัดส่ง ผู้วิจัยสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และ
ด้วยตนเองใช้เวลา 2 วัน สัมภาษณ์ท่านละ 15 นาที การเก็บรวบรวมข้อมูล
และโดยแนวค�ำถามในการสัมภาษณ์จะแตกต่างกัน ผู้วิจัยได้ท�ำการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการ
โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ สัมภาษณ์ และจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในการ
ระดับผู้บริหาร แนวค�ำถามจะเป็นแนวทาง ปฏิบตั งิ านด้านคลังสินค้าและวางแผนจัดส่งของบริษทั
ในการก�ำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานรวมถึงการ เอบีซี จ�ำกัด ผู้วิจัยได้น�ำมาท�ำการวิเคราะห์ร่วมกับ
วางแผนในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ รวมถึง แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงน�ำ
แนวทางในการแก้ปัญหาในการท�ำงาน ผลวิเคราะห์แล้วน�ำมาเรียบเรียง และเขียนพรรณา
ระดับปฏิบัติการ แนวค�ำถามจะเป็นค�ำถาม ตามหลักการวิจยั เชิงคุณภาพโดยการเขียนออกมาตาม
เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม ขั้นตอนการปฏิบัติงานของการจัดส่งสินค้าตามล�ำดับ
และปัญหาที่พบในการปฏิบัติงาน
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant ผลการวิจัย
Observation) โดยผู้วิจัยได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน จากการศึกษาและเก็บข้อมูลจากการท�ำงานใน
กิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ เวลา 10 วัน แผนกวางแผนจัดส่ง บริษัท เอบีซี จ�ำกัด พบว่า มีการ
วั น ละ 30 นาที โดยผู ้ วิ จั ย จะเข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มใน ส่งสินค้าล่าช้า (ไม่เป็นไปตามวันเวลาที่ก�ำหนด) เกิด
กิจกรรมต่างๆ ของส่วนงานวางแผนจัดส่ง ในการเข้า จากการ ไม่มีมาตรฐานในการรับ-ส่งมอบสินค้า ท�ำให้
ร่วมประชุม ประสานงาน และด�ำเนินการ รวมถึงการ ไม่สามารถทราบวันและเวลาการส่งสินค้าที่แน่นอน
เข้าไปพูดคุยสนทนา ซักถาม พนักงานที่หน้างานเป็น ประกอบกับการขาดการวางแผนการท�ำงาน ซึ่งเกิด
92 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

จากฝ่ายปฏิบัติการไม่มีข้อมูลมารองรับ (Support) ข้อมูลมารองรับ (Support)


การท�างาน ท�าให้ลูกค้าเกิดความไม่พอใจในด้านการ จากปัญหาข้างต้น ได้ท�าการวิเคราะห์และ
บริ ก ารด้ า นการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ของบริ ษั ท ฯ เกิ ด การ ค้นหาถึงสาเหตุของการส่งมอบสินค้าล่าช้าไม่ทันตาม
ร้องเรียน (Complain) และมีผลกระทบกระเทือน ก�าหนดเวลา โดยใช้วธิ ผี งั ก้างปลา (Cause-and-Effect
ต่อรายได้และชื่อเสียงของบริษัทเป็นอย่างมาก ไม่มี Diagram) ซึ่งได้ผลการเก็บข้อมูล ดังนี้

ภาพ 1 ผังก้างปลาการวิเคราะห์สาเหตุของการส่งมอบสินค้าล่าช้าไม่ทันตามก�าหนดเวลา
ที่มำ: ประชาสรรณ์ แสนภักดี (มปป.). ผังก้างปลา กับแผนภูมิความคิด Fish Bone Diagram & Mind Map.

จากการวิเคราะห์ปญั หาโดยใช้ผงั ก้างปลา โดย ที่แท้จริงในแต่ละวัน และไม่สามารถจัดล�าดับความ


การเก็บข้อมูลภายในแผนกวางแผนจัดส่ง และการ ส�าคัญ/เร่งด่วน ของสินค้าได้
สอบถามข้อมูลจากผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงาน - สินค้าไม่ได้ถูกส่งออกไปตามวันและเวลา
ภายในหน่วยงาน ได้ทราบสาเหตุของปัญหาดังนี้ ที่ก�าหนด ส่งให้เกิด การจ้างรถจากบริษัทภายนอก
1. สำเหตุทำงด้ำนวิธีกำรท�ำงำน (Outsource) เพื่อน�าสินค้าไปส่ง ท�าให้เกิดค่าใช้จ่าย
ไม่มีมาตรฐานในการรับ-ส่งมอบสินค้า ที่เพิ่มมากขึ้นและสินค้าไม่เต็มคัน
- บริษัทภายนอก (Outsource) รับมอบ - การไม่มกี ารแจ้งความส�าคัญ/เร่งด่วนของ
สินค้าไปแล้วไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้ได้ตามก�าหนด สินค้า ส่งผลให้เกิด สินค้าตกค้าง ล่าช้า ลูกค้าไม่พอใจ
- สินค้าสูญหายหรือเสียหายระหว่างทาง และเกิดการร้องเรียน (Complain)
- ขาดการวางแผนในการท�างาน - ขาดแผนงานผลักดันเพือ่ เติมเต็มค�าสัง่ ซือ้
- ไม่ทราบจ�านวนและปริมาณของสินค้า (Order)
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 93

- ปริมาณสินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ (Outsource) ไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบต่อการส่ง


- ไม่มีการก�าหนดการวางแผนเส้นทางการ สินค้า
ขนส่ง (Routing) และก�าหนดเส้นทางการขนส่งอย่าง - ขาดสมรรถภาพในการท�างาน เนื่องจาก
ชัดเจน สินค้าของบริษัทฯมีความหลากหลาย SKU ท�าให้เกิด
- ไม่มีการก�าหนดรอบการสั่งซื้อและรอบ ความผิดพลาดในการส่งสินค้าบ่อยครั้ง (Outsource)
การส่งสินค้าที่ชัดเจน - พนักงานขาดความกระตือรือร้นในการ
ท�างาน
1. สำเหตุทำงด้ำนบุคลำกร
- พนักงานส่วนใหญ่เป็นของบริษทั ภายนอก 1. สำเหตุทำงด้ำนสภำพแวดล้อมในกำร
(Outsource) ท�าให้ขาดทักษะทางด้าน WMS ท�ำงำน
- พนักงานขาด/ลา/มาสาย ปัจจุบันทาง - ปัญหาจราจร ส่งผลกระทบอย่างมาก
บริษทั ฯ ใช้พนักงานของบริษทั ภายนอก (Outsource) โดยเฉพาะการส่งสินค้าภายในเขตกรุงเทพฯ และเขต
เป็นส่วนใหญ่ ท�าให้เกิดปัญหาพนักงานไม่เพียงพอใน ปริมณฑล
แผนกต่างๆ ท�าให้การท�างานล่าช้า - อุบัติเหตุต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและ
- จ�านวนรถขนส่งสินค้าของบริษทั ภายนอก ภายนอกบริษัทฯ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้

ภาพ 2 สาเหตุสภาพแวดล้อมในการท�างานของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า
94 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การศึกษาการจัดการการขนส่งของ port Management System) ต้องค�ำนึงถึงความ


บริษัท เอบีซี จ�ำกัด จากการศึกษา สรุปแนวทางใน สามารถในการลดค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการเดิน
การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ได้ดังนี้ ทาง และความปลอดภัยเป็นหลัก รวมถึงการเชือ่ มโยง
แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ข้อมูลไปยังระบบงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วยเพื่อความ
1. การจั ด รถให้ เ หมาะสมกั บ จ� ำ นวน และ ถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้และความสามารถในการใช้
สอดคล้องกับสถานที่ส่งมอบสินค้า งานได้ ในปัจจุบันยังไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างมี
2. การออกแบบการขนส่งให้เหมาะสมกับการ ประสิทธิภาพมากนักเนื่องจากไม่ทราบปริมาณความ
ท�ำงานของบริษัท โดยพิจารณาถึงผลต่อการบริการ ต้องการในการขนส่งสินค้า รวมถึงจุดหมายปลายทาง
ลู ก ค้ า และความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ของลู ก ค้ า รวมทั้ ง ของสินค้า ที่ส�ำคัญปริมาณความต้องการการขนส่ง
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบตั งิ านและนโยบายของ สินค้า ระหว่างต้นทางและปลายทางมักจะมีปริมาณ
บริษัท ไม่เท่ากัน (บริษัท สิมิลัน เทคโนโลยี จ�ำกัด, มปป.)
3. การบริหารด้านข้อมูลข่าวสาร (Informa-
tion flow) ซึง่ บริษทั จะต้องมีการให้ความร่วมมือ การ แนวทางการลดต้นทุนด้านการขนส่ง
วางแผน การพยากรณ์ความต้องการ รวมถึงการเติม ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การศึกษาการจัดการการขนส่งของ
เต็มสินค้า (Collaborative planning forecasting บริษัท เอบีซี จ�ำกัด โดยท�ำการศึกษาต้นทุนการขนส่ง
and replenishment: CPFR) ที่มีมาตรฐาน และ เพื่อให้ทราบแนวทางการลดต้นทุนของการขนส่งของ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เชื่อมโยงข้อมูลกันได้อย่าง บริษัท ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
ทันท่วงที 1. การค� ำ นวณต้ น ทุ น การขนส่ ง สิ น ค้ า ใน
4. การใช้ระบบบริหารจัดการการขนส่งสินค้า ปัจจุบัน บริษัท เอบีซี จ�ำกัด ท�ำการค�ำนวณต้นทุน
(Transportation management system; TMS) การขนส่ง โดยการน�ำต้นทุนของการใช้ทรัพยากรที่
ซึ่งเป็นการวางแผนการขนส่งและเพิ่มประสิทธิภาพ เกี่ยวข้องทั้งหมด นั่นคือ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ในการขนส่ง (Transportation optimizer) เพื่อให้ ทั้งหมดในการขนส่งสินค้าจากคลังสินค้า ไปยังร้านค้า
บรรลุเป้าหมายด้านความรวดเร็วและต้นทุนทีป่ ระหยัด ต่างๆ ทัว่ ประเทศมาหารกับจ�ำนวนของสินค้าทีท่ ำ� การ
ที่สุด ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการขนส่ง โดยระบบนี้ ขนส่งทั้งหมด (จ�ำนวนสินค้าที่ขนส่งจากคลังสินค้า)
จะมีหน้าที่ช่วยการตัดสินใจในเรื่องการบรรทุกสินค้า (ไม่รวมจ�ำนวนสินค้าส่งคืน) จะได้ต้นทุนต่อหน่วยของ
และการจัดวางเส้นทางให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ สินค้าที่ท�ำการขนส่งออกมา
ข้อจ�ำกัดต่างๆ ทั้งนี้การเลือกใช้ระบบ TMS (Trans-

ต้นทุนการขนส่งต่อหน่วยสินค้า = ต้นทุนของการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
จ�ำนวนของสินค้าที่ท�ำการขนส่งทั้งหมด

1.การวิ เ คราะห์ ต ้ น ทุ น การขนส่ ง ด้ ว ยวิ ธี คิ ด ทรัพยากรต่างๆ ทั้งหมดที่ใช้(ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการ


ต้นทุนแบบรายกิจกรรม (Activity-Base Costing ขนส่งสินค้าจากคลังสินค้า ไปยังร้านค้าต่างๆ ทั่ว
: ABC) โดยการน�ำต้นทุนจากค่าใช้จ่ายต่างๆ และ ประเทศ) มาแยกเข้าสู่กิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่เกิด
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 95

ขึ้นในการด�ำเนินงานที่ได้วิเคราะห์และระบุจากการ แต่ละหน่วยกิจกรรมทีเ่ หมาะสม และหาความสัมพันธ์


ปฏิบัติงาน เมื่อได้ต้นทุนค่าใช้จ่ายตามกิจกรรมแล้ว ระหว่ า งหน่ ว ยกิ จ กรรม โดยการหาความสั ม พั น ธ์
จึงท�ำการจัดสรรต้นทุนตามกิจกรรมเข้าสู่แต่ละหน่วย ระหว่างหน่วยกิจกรรมที่เกิดขึ้นนั้นอาจไม่ชัดเจนจึง
กิจกรรมการขนส่งสินค้า จากนั้นต้องท�ำการวิเคราะห์ ท�ำให้การคิดต้นทุนการขนส่งนั้นท�ำได้ค่อนข้างยาก
รายละเอียดต่างๆ เพื่อน�ำมาก�ำหนดตัวผลักดันใน

ต้นทุนกิจกรรมต่อหน่วย = ต้นทุนของกิจกรรม
ตัวผลักดันกิจกรรม

ลักษณะต้นทุนการขนส่งของบริษัทฯ เปิดให้บริการได้ ท�ำให้การอัพเดทข้อมูลค�ำสั่งซื้อจาก


เป็นการพิจารณาต้นทุนการขนส่งที่แบ่งตาม ลูกค้าเกิดความล่าช้า
ลักษณะของกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดต้นทุน ดังนี้ • การขอเอกสารประกอบการขนส่ง
1. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) - แบบฟอร์มเอกสาร Invoice , Packing
- เงินเดือนพนักงาน ค่าเบีย้ เลีย้ ง ค่าบริการ List และ รับรองความปลอดภัย SDS ไม่ได้มาตรฐาน
จัดการ ค่าเช่าส�ำนักงานหรือที่ดิน - เอกสารรับรองความปลอดภัยด้านสาร
- ค่าประกันภัย ค่าทะเบียนยานพาหนะ เคมี SDS ล่าช้า
ค่าเสื่อมราคา เป็นต้น - สติ๊กเกอร์ไม่ได้มาตรฐาน แสดงราย
2. ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) ละเอียดไม่ครบถ้วน
- ค่าน�้ำมันเชื้อเพลิง ค่าซ่อมแซม ค่ายางรถ - ไม่มีเอกสารคู่มือการท�ำงานด้านการ
ทีบ่ รรทุกสินค้า ค่าใช้จา่ ยในการขนส่ง เช่น ค่าทางด่วน ขนส่ง Work In Process
3. ต้นทุนเที่ยวกลับ (Back Haul Cost) - การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอืน่
นอกองค์กร
ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงาน - Forwarder การติดต่อประสานงานมี
จากที่ ผู ้ ท� ำ การวิ จั ย ได้ ท� ำ การติ ด ตาม ความล่าช้าและไม่เป็นระบบ
ขบวนการจัดส่งสินค้าของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ในช่วง - Shipping agent & Customs Broker
ระยะเวลาหนึง่ พบว่าการท�ำงานในส่วนของการขนส่ง มีรายละเอียดและขั้นตอนการด�ำเนินงานที่ยุ่งยาก
พบปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงาน สรุปได้ดังนี้ 2. ด้านบุคลากร
1. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน - พนั ก งานรั บ ค� ำ สั่ ง งานผิ ด พลาดบ่ อ ย
• การรับค�ำสั่งซื้อ จากลูกค้า เนื่องจากขาดความตั้งใจในการท�ำงาน ไม่มีการจด
- ในการรับค�ำสัง่ ซือ้ จากพนักงานขายและ บันทึกค�ำสัง่ งาน และไม่ตรวจเช็คค�ำสัง่ งานก่อนปฏิบตั ิ
รวบรวมค�ำสั่งซื้อโดยการจัดท�ำข้อมูลระบบ ERP พบ งาน ท�ำให้เกิดปัญหาการท�ำงานที่ไร้ประสิทธิภาพ
ว่า ระบบ ERP ของบริษทั มีปญ ั หาในการใช้งานอยูเ่ ป็น และเกิดการท�ำงานซ�้ำส่งผลให้เกิดสูญเสียเวลาในการ
ประจ�ำ ในบ้างวันระบบเกิดความขัดข้องไม่สามารถ ท�ำงาน
96 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

- พนักงานขาดความรู้ และทักษะ ในการ จราจรติดขัดเป็นอย่างมาก และในการขนส่งส�ำหรับ


ท�ำงาน รถบรรทุกหรือขนส่งขนาดใหญ่มีเรื่องเวลาจ�ำกัดใน
- พนักงานขาดความกระตือรือร้นในการ การเดินรถ อีกทัง้ อุบตั เิ หตุบนท้องถนนท�ำให้เกิดความ
ท�ำงาน สูญเสียทางด้านเวลาเกิดขึ้นมาก
3. ด้านสิ่งแวดล้อมภายใน-ภายนอก
• สิ่งแวดล้อมภายใน สรุปและวิจารณ์ผลการวิจัย
- บรรจุภณ ั ฑ์ เนือ่ งด้วยสินค้าของบริษทั ฯ สรุปผลการวิจัย
จัดว่าเป็นสินค้าอันตรายทีก่ อ่ ให้เกิดความเป็นอันตราย กระบวนการจัดการขนส่งสรุปผลได้ดังนี้ คือ
ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น จากประเด็นนี้ท�ำให้ ในการขนส่งสินค้าของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด แผนก
บริษัทฯ มีอุปสรรคในเรื่องของบรรจุภัณฑ์ ลักษณะ สนับสนุนการขนส่งเป็นแผนกที่ด�ำเนินงานหลักใน
ของบรรจุภณ ั ฑ์ตอ้ งอยูภ่ ายใต้มาตรฐานและข้อก�ำหนด งานขนส่ง และมีแผนกต่างๆ ที่ท�ำงานเกี่ยวข้องใน
ด้านความปลอดภัย และต้องผ่านการรับรองและมี การขนส่งดังนี้ แผนกขาย แผนกโกดัง แผนกสนับสนุน
การอนุญาตให้สามารถใช้งานได้ โดยจะมีสัญลักษณ์ งานเอกสารความปลอดภัยสารเคมี ผู้ให้บริการด้าน
บ่งบอก องค์ประกอบเหล่านีส้ ง่ ผลต่อต้นทุนของบรรจุ การขนส่งสินค้า (Forwarder) ตัวแทนในการด�ำเนิน
ภัณฑ์สูงขึ้น พิ ธี ก ารขาออก (Shipping agent & Customs
- ข้อจ�ำกัดในการขนส่ง เนื่องด้วยสินค้า Broker) ซึ่งการด�ำเนินการภายในองค์กรจะใช้ระบบ
เป็ น สิ น ค้ า อั น ตรายส่ ง ผลให้ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด เกิ ด ขึ้ น ใน ERP เป็นตัวกระจายข้อมูลในการท�ำงาน ในการรับค�ำ
ขั้นตอนการขนส่ง จะต้องด�ำเนินการท�ำงานตามขั้น สั่งซื้อ รวบรวมค�ำสั่งซื้อ ยืนยันค�ำสั่งซื้อ และส่งข้อมูล
ตอนการขนส่ง ตามที่กฎหมายก�ำหนด ทางอีเมล์ไปยังโรงงานในส่วนงานการผลิต แผนกโกดัง
• สิ่งแวดล้อมภายนอก ท�ำการจัดเตรียมสินค้าในการขนส่ง จากนั้นแผนก
- ราคาน�ำ้ มันมีผลต่อการขนส่ง เนือ่ งจาก สนั บ สนุ น การขนส่ ง ด� ำ เนิ น การในเรื่ อ งของการท� ำ
น�้ำมันเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ในการขนส่งทุกรูปแบบ เมื่อ เอกสารประกอบการขนส่ง ขอเอกสารใบรับรองความ
ราคาน�้ำมันสูงขึ้นจึงมีส่งผลต่อต้นทุนการขนส่งและ ปลอดภัย (SDS) จัดเตรียม Invoice และ Packing
มีผลกระทบทั้งหมดในโซ่อุปทานในการด�ำเนินธุรกิจ list ใช้ในการจองเรือ และใช้ในการยืนขอการส่งออก
ท�ำให้ต้นทุนการขนส่งของบริษัท ฯ ค่อนข้างควบคุม สินค้าให้กับตัวแทนในการด�ำเนินพิธีการขาเข้าและ
ยากและกลายเป็นอุปสรรคในการก�ำหนดราคาขาย ขาออก เมื่อสินค้าถูกปล่อย แผนกสนับสนุนงานขนส่ง
- กฎหมาย กฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ที่ จะท�ำการตรวจติดตามสถานะของสินค้าต่อไป จน
มีการควบคุมการขนส่งสินค้าอันตราย ต้องมีความ กระทั่งถึงการท�ำรับสินค้าที่ปลายทาง หรือในท�ำนอง
ระมัดระวังและเพิ่มความปลอดภัยในการขนส่งมาก ตรงกันข้าม Freight Forwarder จะด�ำเนินการน�ำสินค้า
ขึ้น เนื่องสินค้าอันตรายส่งผลต่อชีวิต การขนส่งสินค้า จากผู้ขนส่งสินค้าสาธารณะ (Common Carrier) ไป
อันตรายต้องได้มาตรฐานตามที่ก�ำหนดไว้ ส่งผลต่อ ส่งมอบให้กบั ผูร้ บั สินค้าหรือผูร้ บั ตราส่ง (Consignee)
การท�ำงานทีม่ คี วามยุง่ ยากเพิม่ มากขึน้ ในส่วนของงาน เมื่อสินค้ามาถึงท่าเรือปลายทางในฐานะเป็นตัวแทน
เอกสารต่างๆ และยังส่งผลต่อต้นทุนการขนส่งของ ของผู้รับสินค้าหรือผู้รับตราส่ง (สมศักดิ์ วิเศษเรือง
บริษัทฯ ด้วย โรจน์, มปป.)
- การจราจรและอุบัติเหตุ โดยเฉพาะใน ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการด� ำ เนิ น งานจาก
เขตกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล มีปัญหาการ การศึกษากระบวนการจัดการขนส่ง พบปัญหาและ
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 97

อุ ป สรรคในการด�ำเนินงานด้านการขนส่ง สรุปได้ พนักงานการให้ความรู้ในส่วนของงานด้านการขนส่ง


ดังนี้ ด้านการด�ำเนินงานเกิดความล่าช้าในการด�ำเนิน และการสอนงานจากพนักงานที่ท�ำงานร่วมกันน้อย
งาน ด้านบุคคลากรขาดบุคคลากรที่มีความเข้าใจ เนื่องจากมีการเข้าออกของพนักงานบ่อยระยะเวลา
ในการท� ำ งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ งานด้ า น ในการท�ำงานสั้น ส่งผลต่อคุณภาพของงานที่ออกมา
ต่างๆ ด้านปัจจัยภายในองค์กรและภายนอกนอก กลายเป็นผลเสียต่อการท�ำงานภายในของแต่ละแผนก
องค์กรที่ส่งผลต่อการด�ำเนินการขนส่ง ปัจจัยภายใน และส่งผลเสียต่อบริษัท
ที่พบ บรรจุภัณฑ์ที่มีต้นทุนสูง ข้อจ�ำกัดในการขนส่ง 3. ด้านสิ่งแวดล้อมภายใน-ภายนอก สามารถ
มีหลากหลาย เนื่องจากผลิตภัณฑ์เป็นหมวดหมู่สินค้า ชี้แจงปัญหาในแต่ละส่วนได้ ดังต่อไปนี้
ที่ก่อให้เกิดความเป็นอันตรายต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งแวดล้อมภายใน ในการศึกษาครั้งนี้
ปั จ จั ย ภายนอกที่ พ บ ราคาน�้ ำ มั น มี ผ ลต่ อ ต้ น ทุ น หมายถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ภายในองค์กร ปัญหาทีพ่ บคือ
การขนส่ง กฎระเบียบและข้อบังคับในการขนส่งที่ บรรจุภัณฑ์ที่มีราคาสูง ข้อจ�ำกัดในการขนส่ง สาเหตุ
ยุ่งยาก การจราจรและอุบัติเหตุท�ำให้การขนส่งเกิด ของปัญหาเหล่านี้ เนื่องมาจากสินค้าของบริษัท เอบี
ความล่าช้า ซี จ�ำกัด จัดเป็นสินค้าที่ก่อให้เกิดความเป็นอันตราย
ดังนั้นในขั้นตอนการขนส่ง ขนย้าย บรรจุภัณฑ์ที่ใช้
อภิปรายผลการวิจัย จะต้องได้มาตรฐานการรับรองคุณภาพ และอยู่ภาย
ใต้กฎระเบียบข้อบังคับของการขนส่งสินค้าอันตราย
เมื่ อ ผู ้ ศึ ก ษางานวิ จั ย เรื่ อ งนี้ ไ ด้ เข้ า ไปท� ำ การ
ศึกษากระบวนการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีย้อมของ สาเหตุเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาด้านค่าใช้จ่ายที่สูงกว่า
บริษัท เอบีซี จ�ำกัด พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอน สินค้าประเภทอื่นทั่วๆ ไป
การขนส่งสินค้าที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน สามารถสรุป ด้านสิ่งแวดล้อมภายนอก คืออุปสรรคที่เกิด
ผลการศึกษาที่ได้ไว้ดังนี้ ขึ้นจากภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้และส่งผลต่อ
1. ด้านขั้นตอนการปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า การท�ำงาน อุปสรรคที่พบจากการศึกษาคือ ราคา
และไม่มีประสิทธิภาพ สาเหตุของปัญหาส่วนใหญ่ น�ำ้ มันทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จึงมีสง่ ผลต่อต้นทุนการขนส่ง ปัญหา
มาจากการท�ำงานที่ไม่เป็นระบบของแผนก ไม่มีการ จราจรและอุบัติเหตุส่งผลต่อการสูญเสียเวลาในการ
วางแผนการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีเอกสาร ขนส่งท�ำให้เกิดความล่าช้า กฎระเบียบในการขนส่งที่
คู่มือการท�ำงานด้านการขนส่ง เมื่อมีค�ำสั่งซื้อสินค้า ยุ่งยากและขั้นตอนในการด�ำเนินการที่ล่าช้า สาเหตุ
จากลูกค้าการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้าเกิดความล่าช้า เหล่านี้ส่งผลต่อการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด
ตั้งแต่ระบบ ERP ที่ใช้กระจายข้อมูลการสั่งซื้อ การ ทั้งสิ้น
ขอเอกสารประกอบการขนส่งที่ระยะเวลาด�ำเนินการ
ที่ใช้เวลานาน การประสานงานเพื่อด�ำเนินการส่งออก ข้อเสนอแนะผลการวิจัย
สินค้าทีม่ คี วามยุง่ ยาก สาเหตุดงั กล่าวเหล่านีท้ ำ� ให้เกิด จากการศึกษาปัญหา กระบวนการการจัดการ
ผลเสียต่อบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ขนส่งผลิตภัณฑ์สีย้อมของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด ขอสรุป
2. ด ้ า นบุ ค ลากรที่ ไ ม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้
ท�ำงาน สาเหตุของปัญหาเนื่องมาจากพนักงานขาด
ความรู ้ ใ นงานด้ า นการขนส่ ง สิ น ค้ า อั น ตราย ไม่ มี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ประสบการณ์ในงานด้านการขนส่ง ไม่มีการอบรม 1. การรับค�ำสั่งซื้อทางระบบ ERP ควรมีการ
98 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559

อัพเดตข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เพิ่มฟังก์ชั่นระบบเตือน 8. เรื่องค่าขนส่ง ค่าเชื้อเพลิงน�้ำมัน ในการ


การท�ำงาน เพื่อความรวดเร็วในการรับและรวบรวม ขนส่ง ควรเซ็นต์สญ ั ญากับทาง 3PL ในกรณีทตี่ อ้ งขนส่ง
เอกสาร สินค้าเดิมประจ�ำเพื่อความคงที่ของต้นทุนการขนส่ง
2. ค วรจั ด ท� ำ รู ป แบบเอกสารใหม่ ให้ เ ป็ น หรือ คัดเลือกรถขนส่งที่ใช้เชื้อเพลิงอื่น เช่น รถที่ใช้
มาตรฐานเดียวกันโดยอ้างอิงข้อมูลจากกฎระเบียบ NGV เป็นเชื้อเพลิง ในการบรรทุกสินค้า ในบางกรณี
การขนส่ง และพิธีการ ศุลกากร เพื่อสะดวก ครบถ้วน
ในการใช้งาน ลดความผิดพลาดในการท�ำเอกสาร ประโยชน์ที่ได้รับ
3. เ พิ่ ม บุ ค คลากรในการออกเอกสารความ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษากระบวนการ
ปลอดภัย และจัดท�ำฐานข้อมูลเอกสารความปลอดภัย การจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สแี ละศึกษาปัญหาอุปสรรค
ใหม่ เพือ่ ความสะดวกและรวดเร็ว ในการออกเอกสาร ในการด�ำเนินงานการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด
4. จดั ท�ำคูม่ อื การท�ำงานให้กบั พนักงานปฏิบตั ิ ที่ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้
งาน เพื่อเป็นแนวทางการที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเกิด 1. ทำ� ให้ทราบถึงกระบวนการท�ำงานในการจัด
ประสิทธิภาพมากที่สุด ส่งสินค้าของบริษทั เอบีซี จ�ำกัด และภาพโดยรวมของ
5. จั ด ท� ำ แผนการฝึก อบรม เพื่อเพิ่มทัก ษะ องค์กร
ความรู้ ความสามารถในการท�ำงานให้แก่พนักงาน 2. ท�ำให้ทราบถึงปัญหาและข้อจ�ำกัดที่เกิดขึ้น
เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ตัวพนักงาน ในขั้นตอนการขนส่งของบริษัท เอบีซี จ�ำกัด และน�ำ
6. ดา้ นการสือ่ สาร เนือ่ งจากพนักงานในบริษทั มาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดประสิทธิภาพในการท�ำงาน
เป็นชาวต่างชาติเป็นส่วนมาก จึงควรมีการฝึกอบรม เพิ่มมากขึ้น
ทางภาษาให้กับพนักงาน และเพิ่มการอธิบายภาษา 3. สามารถเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา
หรือสื่อสัญลักษณ์เพิ่มเติมในเอกสารสั่งงาน เพื่อการ บุคลากรในการท�ำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
สื่อสารที่ถูกต้อง ท�ำงานของพนักงานให้มากขึ้น
7. จัดท�ำคู่มือและอบรมพนักงาน เพิ่มความรู้ 4. สามารถเป็นแนวทางให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับ
เรือ่ งกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การปฏิบตั ิ บรรจุภณ ั ฑ์ และ การขนส่ง น�ำไปศึกษาและใช้ประกอบการค้นคว้าเพิม่
การขนส่งเคมีอันตราย เพื่อความเข้าใจต่อการท�ำงาน เติมในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับงานขนส่งสินค้าอันตรายไม่วา่
จะเป็นองค์กร หรือประชาชนทั่วไป
Journal of Logistics and Supply Chain College Vol.2 No.2 July - December 2016 99

เอกสารอ้างอิง
ค�ำนาย อภิปรัชญาสกุล .(2549). การขนส่ง.กรุงเทพมหานคร: โฟกัสมีเดีย.
ชาย โพธิสิตา. (มปป). การวิจัยเชิงคุณภาพ. สถาบันวิจัยประชากร, มหาวิทยาลัยมหิดล.
บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2558). เตรียมตัวให้พร้อมเพื่อเข้าสู่ AEC ในปี 2558. ค้นเมื่อ 24 มีนาคม, 2558,
จาก http://www.prt.kmutt.ac.th/index.php/news/27-aec2558
บริษัท สิมิลัน เทคโนโลยี จ�ำกัด. (มปป.). TMS : 5 กลยุทธ์ในการลดต้นทุนการขนส่ง. ค้นเมื่อ 23 มีนาคม,
2558, จาก http://www.similantechnology.com/index.html.
ประชาสรรณ์ แสนภักดี. (มปป.). ผังก้างปลา กับแผนภูมิความคิด. ค้นเมื่อ 12 มีนาคม, 2558,
http://www.prachasan.com/mindmapknowledge/fishbonemm.htm
ศิริศักดิ์ คัมภิรานนท์.(2552). การพัฒนาโปรแกรมการจัดการสารเคมีอันตรายตามมาตรฐานการจ�ำแนก
ประเภทและการติดจ�ำแนกประเภทและกาติดฉลากเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก. วิทยานิพนธ์
ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมศักดิ์ วิเศษเรืองโรจน์. (มปป). ธุรกิจ Freight Forwarder คืออะไร. ค้นเมื่อ 23 มีนาคม, 2558,
จาก http://www.itbsthai.com/knowledge_detail.php?LID=1&ID=5

You might also like