You are on page 1of 29

พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์จากเว็บไซต์ช็อปปี้และลาซาด้าของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1

สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษ์

คณะผู้จัดทา
นางสาวฐานิตา ธรรมบารุง 63102578
นางสาวดุสิตพร จงกล 63103659
นางสาวธนัชญา แหจินดา 63104186
นางสาวนาเดีย ยะมะกา 63105191
นางสาวนูรฮูดา หวันชิตนาย 63105456

รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา GEN61-151
Knowledge Inquiry Research Method
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
1

บทคัดย่อ

การค้นคว้าวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ที่จากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อป
ปี้ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผ ลที่ได้จากการศึกษาสามารถเป็นแนวทางให้กับ
ผู้ประกอบการสามารถนา ไปวิเคราะห์ ประยุกต์และนาไปใช้เพื่อเพิ่มโอกาสที่จะทาให้ผู้บริโภคเกิดการตัดสินใจซื้อ
สินค้าผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตนเอง และนอกจากนี้สามารถนาไปปรับเป็นกลยุทธ์สนับสนุน
การเจริญเติบโตของธุรกิจต่อไปได้เป็นต้นพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินซื้อสินค้าจาก
เว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ คนโดยใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างจานวน 50 คนจาก 186 คนในส่วนของสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา และ สถิติเชิง อนุมาน ผลการศึกษาพบว่า ผลตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่
เป็น เพศหญิง อายุอยู่ในช่วงระหว่างระหว่าง 17-18 ปี และรายรับเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 3100-5000 บาท
พฤติกรรมการซื้อพบว่าส่วนใหญ่เหตุผลที่ซื้อเพราะความสะดวก โดยใช้เว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ ในการสั่งซื้อ
เพราะสามารถเลือกซื้อสินค้าได้ตลอดเวลาและผลกาศึกษาพบว่า อายุและรายรับต่อเดือน มีผลต่อพฤติกรรมการ
ซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้

คาสาคัญ: พฤติกรรมการซื้อสินค้า, สถิติเชิงพรรณนา, สถิติเชิงอนุมาน, ลาซาด้า, ช็อปปี้


2

Abstract
Objective of this research is to study the behavior of shopping online from Lazada
website and Shoppee of first year nursing students of Walailak University. The results of this study
can be a guideline for entrepreneurs, they can be analyzed applied used to increase the chances
of making consumers make purchasing decisions. Products via their own e-commerce website and
it can also be adapted to be a strategy to support business growth. The study collected data by
using questionnaires as a tool. A sample of 50 of 186 people was sampled. The statistics used for
data analysis were descriptive and inferential statistics. Most of the respondents were female and
aged 17-18. And average monthly income of about 3100-5000 baht. Buying behavior found that
most of the reasons for the purchase because of convenience. Using the Lazada and shoppee
website In order because you can choose to buy products at any time. And the study found that
Age and income per month Affect online shopping behavior that affects the judgment of
purchasing products from Lazada website and Shoppee.

Keywords: Order behavior, Descriptive statistics, Inferential statistics, Lazada, Shopee


3

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจ ัยฉบับนี้ส าเร็จลุล ่วงอย่างสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความอนุเคราะห์ของ ดร .ชลกานต์


เบญจศักดิ์ อาจารย์ที่ปรึกษาที่ได้กรุณาเสียสละเวลาให้คาปรึกษาคาแนะนาและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
แก้ไ ขข้ อบกพร่อ งต่า งๆจนส าเร็ จ ลุล ่ว งไปได้ด้ ว ยดี ผู ้จั ดท างานวิจั ยขอกราบขอพระคุ ณอย่างสูงมา ณ ที่ นี้
ขอขอบพระคุณเพื่อนๆนักศึกษานักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ที่ช่วยกรุณาตอบแบบสอบถาม
สุดท้ายนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่างานค้นคว้าวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาหากงานวิจัย
ฉบับนี้ไม่สมบูรณ์ประการใด ขอกราบขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
4

สารบัญ
บทคัดย่อ 1
กิตติกรรมประกาศ 3
สารบัญ 4
บทที่1บทนา 6
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์การวิจัย 7
ขอบเขตการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย 8
นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่2 9
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แนวคิดเกี่ยวกับ Application Mobile 10
แนวความคิดด้านกระบวนการการตัดสินใจซื้อ
แนวคิดและทฤษฎีด้านพฤติกรรมการซื้อสินค้า 11
แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด 13
แนวคิดและทฤษฎีด้านประชากรศาสตร์
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 15
กรอบแนวคิดงานวิจัย 16
บทที่3 17
ระเบียบวิธีวิจัย
บทที่4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 18
ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์จากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 20
บทที่5บทสรุปและข้อเสนอแนะ 26
บทสรุป
5

ข้อเสนอแนะสาหรับผู้ประกอบการ
ข้อจากัดงานวิจัย 27
ข้อเสนอแนะงานวิจัยต่อเนื่อง
บรรณนานุกรม 28
6

บทที1่
บทนา
1.1ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในปัจจุบันเทคโลยีดิจิทัล หรือสื่อและเว็บไซต์ออนไลน์ต่างๆมีอิทธิพลทางการตลาดเป็นอย่างมากเเละ
ยังคงมี อิทธิพลมากขึ้น เรื่ อยๆ ในทางธุร กิ จการค้า และการโฆษณาเพราะปัจจุ บัน สื่อ เหล่านี ้ส ามารถเข้ าถึ ง
กลุ่มเป้าหมายๆต่างๆได้อย่างกว้างขวางจึงทาให้ธุรกิจทางการค้าและองค์กรต่างๆ เลือกที่จะ หันมาใช้บริ การ
โฆษณาขายสินค้า หรือการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านทางออนไลน์มากยิ่งขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีในปัจจุบัน โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีการสื่อสารออนไลน์ , เทคโนโลยีดิจิทัล และเทคโนโลยีอุปกรณ์การ
สื่อสารแบบพกพาหรือโทรศัพท์มือถือ ที่มีการพัฒนาขึ้นไปอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังเข้ามามีบทบาทและอิทธิพล
ต่อประชากรและมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของประชากรในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เทคโนโลยียังเข้ามาบทบาทใน
การปรับเปลี่ยนวิถี การดาเนินชีวิตให้มีความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เป็นอยู่ เริ่มจากมีการสื่อสารกันที่ง่ายมาก
ยิ่งขึ้น การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายมากยิ่งขึ้นซึ่งเทคโนโลยีต่างๆเหล่านี้จะเข้ามาช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาให้สามารถ
ใช้ชีวิตได้อย่าง ง่ายมากขึ้น จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้คนในปัจจุบั นหันมาเลือกใช้บริการ และบริโภคสินค้าในตลาด
ออนไลน์มากยิ่งขึ้น โดยธุรกิจออนไลน์ต่างๆเหล่านี้ไม่ว่าจะเป็นภายในประเทศหรือนอกประเทศล้วนมีการปรับตัว
ด้วยการพึ่งพาเทคโนโลยี และเลือกใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นในการที่จะใช้เป็นตัวขับเคลื่อนและด าเนินธุรกิจ ใน
รูปแบบของธุรกิจออนไลน์หรือในรูปแบบการขายผลิตภัณฑ์และสินค้าผ่านตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็น
ธุรกิจในอีกรูปแบบหนึ่งที่จะสามรถเข้าไปเน้นในส่วนของการซื้อมาขายไปจึงเป็นธุรกิจอีกรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความ
นิยมเป็นอย่างกว้างขวาง นอกจากจะมีการพัฒนาภายในองค์กรให้เข้ากับเทคโนโลยีและเข้ากับสื่อประเภทสื่อ
ออนไลน์ต่างๆแล้วยังมีการพัฒนาไปถึงเว็บไซต์เพื่อการขายสินค้าและบริการ การให้ข้อมูลกับผู้บริโภค
นอกเหนือจากนี้ยังมีการพัฒนาในส่วนของ รูปภาพ เสียง คลิปวิดีโอ ราคาสินค้าที่ชัดเจน ปรับปรุงขั้นตอน
และวิธีการสั่งซื้อและการชาระเงินให้มี วิธีการที่สะดวกและง่ายต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้นเปรียบเสมือนกับการซื้อ
สินค้าผ่านทางร้านค้าทั่วไป จากการสารวจของสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ
สพธอ. พบว่า “สมาร์ทโฟน” เป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานมากที่สุด โดยคิดเป็นร้อยละ 77.1% และมีการใช้งานโดยเฉลี่ย
6.6 ชั่วโมงต่อวัน ตามมาด้วยคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โดยคิดเป็นร้อยละ 64.4% และมีการใช้งานโดยเฉลี่ย 6.2 ชั่วโมง
ต่อวัน สาหรับ คอมพิวเตอร์พกพา คิดเป็นร้อยละ 49.5% ใช้เข้าอินเทอร์เน็ตใช้งานเฉลี่ย 5.3 ชั่วโมงต่อวัน แทบ
เลตคิดเป็นร้อยละ 31.1% ใช้งานเฉลี่ 4.8 ชั่วโมง และสมาร์ททีวี คิดเป็นร้อยละ 8.4 เท่านั้นที่ใช้อุปกรณ์นี้ โดยมี
การใช้งานเฉลี่ยวันละ 3.4 ชั่วโมงต่อวัน จากกระแสความนิยมในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงทาให้
คณะผู้จัดทางานวิจัยสนใจศึกษาพฤติกรรมการซื้อ สินค้า ในตลาดออนไลน์ของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1ระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในเขตอาเภอท่าศาลาจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะ เว็บไซต์ Lazada
และ Shopee ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยวิธีการที่หลากหลายตัวอย่าง เช่น การโปรโมทสินค้า เป็น
7

รูปภาพ เป็นข้อความรวมทั้งการ Live สดเพื่อให้ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถโต้ตอบกันได้และสื่อสารกันได้อย่างทันทวง


ที ซึ่งพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันจะใช้เวลาว่างในการเล่นอินเทอร์เน็ตและโซเชียลมีเดีย ในการหาข้อมูล
เลือกซื้อสินค้าและบริการต่างๆเพื่อให้ได้สินค้าที่เฉพาะเจาะจงกับตัวเองและกล้าที่จะตัดสินใจซื้อสินค้ารวมไปถึง
การใช้บริการต่าง ๆในช่องทางออนไลน์มากยิ่งขึ้น และพบว่าการรีวิวสินค้า บริการต่างๆ ในโซเชียลมีเดียเป็นสื่อที่มี
อิทธิพลมากที่สุดในกลุ่มบุคคลทั่วไป

1.2วัตถุประสงค์การวิจัย
1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์จากเว็บไซต์ลาซาด้าและช้อปปี้

1.3ขอบเขตการวิจัย
1.ประชากร คือ นักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่1มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จานวน 186 คน
2.กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่1มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จานวน 50 คน คิดเป็น
ร้อยละ 26.88 ของนักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่1มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
3.ตัวแปร
ตัวเเปรอิสระ ตัวเเปรตาม
-อายุ –การตัดสินใจซื้อ
-รายรับต่อเดือน
-ความถี่ในสั่งซื้อ
-โปรโมชั่น
-พฤติกรรมความชอบ
-แรงจูงใจ
-คุณภาพในการบริการ
-ประสบการณ์ในการสั่งซื้อ
-จานวนเงินในการสั่งซื้อ
8

1.4ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย
1.นักวิชาการ นักวิจัย หรือผู้ที่สนใจและต้องการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ
ซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ สามารถนาผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางให้กับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและ
เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาต่อไป
2.เป็นแนวทางให้กับผู้ประกอบการสามารถนาผลที่ได้จากการศึกษา ไปวิเคราะห์ ประยุกต์และนาไปใช้เพื่อเพิ่ม
โอกาสที่จะทาให้ผู้บริโภคเกิดการตัดสินใจซื้อ สินค้าผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตนเอง
3.ผลการศึกษาเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถนาไปใช้เป็น
แนวทางในการวางแผนการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาส่งเสริมธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

1.5นิยามศัพท์เฉพาะ
พฤติกรรมผู้บริโภค หมายถึง การแสดงออกของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการใช้สินค้าและบริการ
ทางเศรษฐกิจรวมทั้งกระบวนการในการตัดสินใจที่มีต่อการแสดงออก
เทคโลยีดิจิทัล หมายถึง ทักษะในการนาเครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์นามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน
การสื่อสารและการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
โซเชียลมีเดีย หมายถึง สื่อหรือช่องทางในการติดต่อสื่อสารที่เชื่อมโยงกันทั่วโลกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
สร้างความสะดวกสบาย และรวดเร็ว
9

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อป
ปี้ของผู้บริโภคที่เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทาการค้นคว้าเอกสาร
รวบทั้งแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบการศึกษา ดังนี้
2.1 แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
2.2 แนวคิดเกี่ยวกับ Mobile ApplicationMobile Application
2.3 แนวความคิดด้านกระบวนการการตัดสินใจซื้อกระบวนการตัดสินใจซื้อ
2.4 แนวคิดและทฤษฎีด้านพฤติกรรมการซื้อสินค้า
2.5 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด
2.6 แนวคิดและทฤษฎีด้านประชากรศาสตร์
2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)


พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) หรืออีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ
ต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเริ่มจากการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาย และในช่วงเริ่มต้นหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องส่วนใหญ่จะเป็นบริษัทใหญ่ๆ เท่านั้น บริษัทเล็กๆ มีจานวนไม่มากนัก ต่อมาเมื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange-EDI) ได้แพร่หลายขึ้น เนื่องจากจานวนคอมพิวเตอร์พีซีที่เพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็ว พร้อมกับการพัฒนาด้านอินเทอร์เน็ตและเว็บ ท าให้หน่วยงานรวมถึงบุคคลต่าง ๆ ได้ใช้พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นในปัจจุบันพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ครอบคลุมธุรกรรมหลายประเภท เช่น การโฆษณา การ
ซื้อขายสินค้า การซื้อหุ้น การทางาน การประมูล และการให้บริการลูกค้า
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรูปแบบโดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสินค้า/บริการ
การชาระเงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ตศูนย์พัฒนา
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (2542) ได้ให้คาจากัดความไว้ว่า “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดาเนินธุรกิจโดยใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิ กส์ ” ส่ว นองค์การการค้า โลก (World Trade Organization: WTO, 1998) ได้กล่า วว่า “พาณิช ย์
อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์”พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ -ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ
B to B)-ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C) -ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government
หรือ B to G) -ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)การสนับสนุนการบริการอื่นๆ ให้ลูกค้า
10

มีเครื่องมือหลายประเภทที่ให้ บริการลูกค้าออนไลน์ได้ เช่น เว็บเพจส่วนตัว (Personalized web Page), ห้อง


สนทนา (Chat rooms), อี เมล์ (E-mail), FAQs (Frequent Answers and Questions), ความสามารถในการ
ติดตามงาน (Tracking Capabilities), ศูน ย์โ ทรศัพท์โ ดยใช้เว็บ (Web-based call centers) การรักษาความ
ปลอดภัยให้ลูกค้า ได้แก่
- ความสามารถในการระบุตัวตนได้ (Authentication)
- ความเป็นหนึ่งเดียวของข้อมูล (Integrity)
- สิทธิส่วนบุคคล (Privacy)
- ความปลอดภัย (Safety)

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับ Mobile ApplicationMobile Application


ประกอบขึ้นด้วยคาสองคา คือ Mobile กับ Application ซึ่งมีความหมายดังต่อไปนี้ Mobile คืออุปกรณ์
สื่อสารที่พกพาได้ และทางานได้คล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้ทาหน้าที่ในการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล
ส่วน Application หมายถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อช่วยการทางานของผู้ ใช้ (User) โดย Application จะต้องมีสิ่งที่
เรียกว่า ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพื่อเป็นตัวกลางการใช้งานต่าง ๆ
Mobile Application เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ส าหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น โทรศัพท์มือถือ
หรือแท็บเล็ตโดยโปรแกรมจะช่วยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ให้ใช้งานได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น ใน
ปัจจุบันโทรศัพท์มือ หรือ สมาร์ทโฟน มีหลายระบบปฏิบัติการที่พัฒนาออกมา แต่ระบบปฏิบัติการที่ผู้บริโภคนิยม
ใช้ คือ iOS และ Android จึง ท าให้ เ กิ ด การเขี ยนหรื อ พั ฒ นาแอพพลิ เคชั่ น ลงบนสมาร์ ทโฟนเป็น อย่ า งมาก
ตัวอย่างเช่น เกมส์ แผนที่ โปรแกรมสนทนา และหลายธุรกิจก็เริ่มพัฒนา Mobile Application เพื่อเพิ่มช่องทาง
ในการสื่อสารกับลูกค้ามากขึ้น ซึ่ง Mobile Application นั้นเหมาะสาหรับธุรกิจและองค์กรต่างๆ ในการเข้าถึง
กลุ่มคนรุ่นใหม่ รวมถึงการขยายการให้บริการผ่านมือถือ ที่สามารถทาได้ง่ายมากขึ้น สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา

2.3 แนวความคิดด้านกระบวนการการตัดสินใจซื้อกระบวนการตัดสินใจซื้อ
ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 3 ขั้นตอน คือ
1. การเล็งเห็นถึงปัญหาหรือตระหนักถึงความต้องการ (Need Recognition) ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรก
ของการตัดสินใจ เมื่อผู้บริโภคเกิดความต้องก็จะกระตุ้นให้ตื่นตัวขึ้นโดยเฉพาะ เมื่อความต้องการนั้นเกี่ยวข้องกับ
ภาพพจน์ของผู้บริโภคเอง และผู้ที่คาดว่าที่ เป็นผู้ซื้ออาจถูกจูงใจด้วยปัจจัยต่าง ๆ จากผู้ขายสินค้าหรือบริการ
นอกจากนั้นยังมีอิทธิพลด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อความต้องการของบุคคลนั้นด้วย
2. การประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ (Pre-Purchase Alternative Evaluation) เป็นการประเมินใน
ด้านของประโยชน์ที่ผู้บริโภคมีความคาดหวังว่าจะได้รับ และยังเป็นทางเลือกของผู้บริโภค ให้แคบเข้ามา เช่น การ
11

ประเมินในลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการซื้อ และทาการเปรียบเทียบกับราคาความแตกต่างของผลิตภัณฑ์และ
ความแตกต่างของบริการ เป็นต้น
3. การซื้อ (Purchase) เป็นการได้มาซึ่งทางเลือกที่ผู้บริโภคนิยม หรือสิ่งทดแทนที่ผู้บริโภคสามารถ
ยอมรับได้

2.4 แนวคิดและทฤษฎีด้านพฤติกรรมการซื้อสินค้า
Schiffman& Kanuk (1994,p.5 อ้างถึงใน ธีรดา ตันธรรศกุล , 2542) ได้กล่าวไว้ว่า ผู้บริโภคมีบทบาท
สาคัญในการกากับการไหลเวียนของสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น การศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภค
จึงเป็นรากฐานที่สาคัญทางเศรษฐศาสตร์และเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคว่า ทาการตัดสินใจหรือเลือก
บริโภคสินค้าหรือบริการอย่างไร ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคและผลกระทบต่อการตัดสินใจการ
บริโภคเมื่อราคาสินค้าหรือเงินรายได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการตัดสินใจ
ของผู้บริโภคในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ทั้งเงิน เวลา และกาลังเพื่อบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ อันประกอบด้วย
1. ซื้ออะไร 2. ทาไมจึงซื้อ 3. ซื้ออย่างไร 4. ซื้อเมื่อไร 5. ซื้อที่ไหน 6. ซื้อบ่อยแค่ไหน
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการแสดงออกของกระบวนการการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคตาม
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์นั้นๆตลอดจนศึกษาถึงสาเหตุของการมีพฤติกรรมการบริโภคและการซื้อของ
ผู้บริโภค ว่าเกิดจากสาเหตุใด ได้แก่ สาเหตุด้านเหตุ ผล สาเหตุด้านจิตใจหรืออารมณ์ พฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อ
ตอบสนองความต้องการเป็นอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ประเภทสินค้าที่เลือกซื้อ สถานที่การวางจาหน่ายการจัด
กิจกรรมส่งเสริมการขาย การจัดเรียงสินค้า ตลอดจนวัตถุประสงค์ในการซื้อ ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังต่อไปนี้
1. ประเภทสินค้าที่เลือกซื้อสามารถแบ่งตามพฤติกรรมในการซื้อของผู้บริโภคได้ ดังนี้
1.1 สินค้าที่ซื้อหาโดยสะดวก (Convenience Goods) คือ สินค้าที่หาซื้อได้ทั่ว ๆ ไป และ เป็นสินค้าที่หา
ซื้อได้ง่ายเพราะผู้บริโภคมีความจาเป็นต้องใช้ประจาทาให้ ผู้บริโภค ไม่ต้องใช้ความพยายามในการเสาะแสวงหา
หรือเลือกเฟ้นมากนัก
1.2 สินค้าที่ซื้อโดยการเปรียบเทียบ (Shopping Goods) เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคจะต้องใช้เวลาในการ
เปรีย บเทียบระหว่างสินค้าด้ว ยกัน เอง เป็นสินค้าที่ต้องการเสาะแสวงหา สินค้าที่ผู้บริโ ภคเปรี ยบเทียบมักมี
จุดประสงค์ในเรื่องของคุณภาพ ราคา ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในการเลือกซื้อสินค้าเพื่อให้ได้สินค้าที่ตรงตามความต้องการ
ตลอดจนการให้บริการด้านต่าง ๆ สินค้าที่ซื้อโดยการเปรียบเทียบสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
12

1.2.1 สินค้าที่มีความเหมือนกัน (Homogeneous Goods) เป็นสินค้าที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกัน แต่


อาจแตกต่างกันตรงที่ยี่ห้อ สินค้าประเภทนี้ตรายี่ห้อ มีความสาคัญทั้งนี้ในการเลือกสินค้าผู้บริโภคจะพิจารณาที่ตรา
ยี่ห้อเป็นหลักเพื่อประกันความมั่นใจเกี่ยวกับคุณภาพ
1.2.2 สิ น ค้ า มี ค วามแตกต่ า งกั น (Heterogeneous Goods) คื อ สิ น ค้ า ที ่ ไ ม่ เ ป็ น มาตรฐาน (Non-
Standardize) และไม่เป็นรูปแบบ (Non-Stylistic) ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทเสื้อผ้าเครื่องประดับ เครื่องเรือน
ซึ่งมีความแตกต่างกันตามคุณภาพ พนักงานขายมีบทบาทมากในการให้ความรู้เกี่ยวกับผู้บริโภคในการเลือกหา
สินค้าที่แตกต่างกันให้เหมาะสม สินค้าประเภทนี้ราคาจะไม่ค่อยมีปัญหามากนักจะอยู่ที่คุณค่าของสินค้า ซึ่ง
ผู้บริโภคชื่นชอบหรือนิยมมากกว่า
1.3 สินค้าที่ซื้อโดยการเจาะจง (Specialty Goods) เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคคิดว่ามีความสาคัญและต้องใช้
ความพยายามในการหาซื้อจะต้องเจาะจงตรา ยี่ห้อเช่น รถยนต์นาฬิกาโรเล็กซ์เครื่องตัดหญ้า เครื่องดูดฝุ่น เป็นต้น
ผู้บริโภคจะต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการเลือกซื้อสินค้าถึงแม้ว่าร้านนั้นจะตั้งอยู่ห่างไกลเพียงใดก็จะ
พยายามไปซื้อหามาให้ได้
1.4 สินค้าทั่วไปที่มิได้เสาะแสวงหาซื้ อ (Unsought Goods) เป็นสินค้าที่ ผู้บริโภคไม่ได้ ต้องการที่จะซื้อ
มาก่อน แต่ ทั้งนี้เป็น สินค้าที่มี ขายอยู่แล้วในตลาด ผู้บริโภคอาจไม่ ได้มีความรู้เกี่ยวกับสินค้าประเภทนี้มาก่อน
หรืออาจจะรู้บ้างแต่ไม่ค่อยมีความสนใจที่จะเสาะแสวงหาตามสินค้าใหม่ ๆ สินค้าที่ ไม่ ได้เสาะแสวงหาก็ไม่ได้
หมายความว่าผู้บริโภคจะไม่แสวงหาตลอดไป เพราะผู้บริโภคอาจมีความต้องการแต่ยังไม่มีสิ่งจูงใจในการซื้อใน
ขณะนี้ก็เป็นได้
2. สถานที่การวางจาหน่ายจะพิจารณาเกี่ยวกับการขายสินค้า ถ้าสถานที่ได้เปรียบจะมีโอกาส มากกว่าคู่แข่งขัน
สถานที่ตั้งร้านค้าที่ใด จะต้องคานึงถึงความสะดวกในการขนส่งตัวอย่างโรงงานท าสับปะรดกระป๋อง ควรอยู่ใกล้ไร่
สัปปะรดเพราะวัตถุดิบเป็นสินค้าที่เน่าเสียง่าย ในขณะเดียวกันถ้าวัตถุดิบไม่เน่าเสียและมีน้าหนักเบา เราก็อาจจะ
ตั้งโรงงานอยู่ใกล้กับตลาดเพื่อขนส่งได้รวดเร็ว สถานที่ตั้งในที่ นี้ไม่ได้หมายถึงสถานที่ตั้งของร้านค้าเพียงอย่างเดียว
แต่ยังหมายความรวมไปถึงสถานที่ตั้งของโรงงานของสานักงานคลังเก็บสินค้าด้วย
3. การส่งเสริมการขาย คือ การใช้เครื่องมือต่าง ๆโดยที่มีจุดมุ่งหมายที่เชิญชวนให้ลูกค้าซื้อสินค้าและบริการเพื่อ
สามารถกระตุ้นความสนใจการทดลองใช้หรือการซื้อของลูกค้า ในช่องทางการส่งเสริมการขายต้องใช้ร่วมกับการ
โฆษณาหรือการขายเพื่อกระตุ้นความสนใจและทาให้ลูกค้าตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือซื้อสินค้ามากขึ้น
1.การลดราคา 2.การแลกสินค้า 3. การแจกฟรีการขายสินค้าที่ต้องใช้ร่วมกัน 4.การแถมของแถม 5.การ
ประกวดสาธิตการแข่งขันการจัดรายการพิเศษฯลฯ 6.การให้ข้อเสนอที่พิเศษเป้าหมายของการส่งเสริมการขาย
การส่งเสริมการขายเป็นกิจกรรมทางการตลาดอย่างหนึ่งที่ช่วยเพิ่มมูลค้าหรือสิ่งจูงใจให้กับลูกค้าการส่งเสริมการ
ขายมีเป้าหมายหลัก 2 เป้าหมาย คือ
13

3.1 การส่งเสริมการขายโดยตรงต่อผู้บริโภคจะช่วยกระตุ้นการซื้อยกตัวอย่าง เช่น การแจกตัวอย่าง


ทดลองใช้ฟรีและการใช้คูปองการแข่งขัน การคืนกาไรการแถมของชาร่วยและ การจัดวางสินค้า ณ จุดขายแรงจูงใจ
ดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นการซื้อทันที นอกจากนี้การส่งเสริมการขายยังช่วยกระตุ้นลูกค้าให้ซื้อสินค้าบ่อยขึ้น
หรือเปลี่ยนจากลูกค้าที่มีศักยภาพในการซื้อเป็นลูกค้าจริง ๆที่ซื้อสินค้า
3.2 การส่งเสริมการขายสาหรับผู้จาหน่ายสินค้าเช่น ผู้ค้าส่ง หรือตัวแทนจาหน่ายอาจจะมีการส่งเสริมการ
ขายเช่นการขายราคาพิเศษเมื่อซื้อจานวนมากการจั ดประกวดการจัดแสดงสินค้าเป็นต้นทั้งนี้เป็นการกระตุ้นผู้ค้า
ปลีกให้เก็บสต็อกสินค้าเพิ่มขึ้น
4. การจัดเรียงสินค้า จุดเริ่มต้นกระตุ้นให้ลูกค้าซื้อสินค้า การจัดเรียงสินค้าก็มีส่วนในการตัดสินใจซื้อส่งผลให้
ลูกค้าเกิดการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการทาให้การจัดเรียงสินค้าจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งในการ
กระตุ้นให้เกิดการซื้อ ส าหรับสินค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย และการการจัดเรียงสินค้าจัดเป็นหัวใจของ
ความสาเร็จทีเดียว เพราะลูกค้าไม่เคยได้รับรู้เกี่ยวกับสินค้ามาก่อน เพราะฉะนั้นลูกค้าจะเกิดความต้องการซื้อ ณ
จุดขายที่ได้เห็นการเรียงสินค้าประเภทนี้จึงจาเป็นที่ต้องจัดเรียงให้ถูกหมวดหมู่ดูดีและใกล้แบรนด์ที่เป็นผู้นาใน
ตลาด
5. วัตถุประสงค์ในการซื้อ จะช่วยให้ทราบว่าทาไมผู้บริโภคถึง ตัดสินใจซื้อสินค้า และสามารถเป็นแนวทางในการ
นาเสนอและสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อสามารถตอบสนองเหตุผลให้ลูกค้าตัดสินใจ\

2.5 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด
อดุลย์ จาตุรงคกุล (2543, น. 26) กล่าวในเรื่อง ตัวแปรหรือองค์ประกอบของส่วนผสมทางการตลาด (4P’s) ว่า
เป็นตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าทางการตลาดที่กระทบต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ โดยแบ่งออกได้ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ (Product) ผลิตภัณฑ์ที่อาจกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค คือ ความใหม่และ
ความสลับซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ที่บุคคลสามารถรับรู้ได้ถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้น ผลิตภัณฑ์ที่ใหม่และ
สลับซับซ้อนอาจจะต้องมีการตัดสินใจอย่างมาก ในฐานะนักการตลาด เราควรจะเสนอทางเลือกที่ง่ายกว่าให้กับ
ผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความคุ้นเคยโดยที่ไม่ต้องการแสวงหาทางเลือกอื่น ในเรื่องของรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์
ป้ายฉลาก ก็ก่อให้เกิดอิทธิพลต่อการเลือกซื้อซึ่งถ้าผลิตภัณฑ์มีความสะดุดตาก็จะทาให้ผู้บริโภคเลือกไว้พิจารณา
2. ราคา (Price) ราคามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อ นักการตลาดจึงควรคิดราคาน้อย ลดต้นทุนการซื้อ
หรือทาให้ผู้บริโภคตัดสินใจด้วยลักษณะอื่นๆ ผู้บริโภคมักพิจารณารายละเอียด สาหรับสินค้าฟุ่มเฟือย ราคาสูงไม่
ทาให้การซื้อลดน้อยลง นอกจากนี้ราคายังเป็นเครื่องประเมินคุณค่าของผู้บริโภคซึ่งก็ติดตามด้วยการซื้อ
14

3. ช่องทางการจัดจาหน่าย (Placement-Channel of Distribution) สินค้าที่มีจาหน่ายอย่างแพร่หลาย


นั้นทาให้ง่ายต่อการซื้อสินค้าอีกทั้งอาจก่อให้เกิดอิทธิพลต่อการรับรู้ภาพพจน์ผลิตภัณฑ์
2.6 แนวคิดและทฤษฎีด้านประชากรศาสตร์
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2538) กล่าวไว้ ว่าการแบ่งส่วนตลาดตามตัวแปรต้นในด้านประชากรศาสตร์ ประกอบ
ไปด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานะภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรศาสตร์เป็นลักษณะที่สาคัญและสถิติที่วัดได้
ของประชากรจะช่วยให้การกาหนดตลาดเป้าหมายในขณะที่ลักษณะด้านจิตวิทยาและสังคมวัฒนธรรมช่วยอธิบาย
ถึงความคิด และความรู้สึกของกลุ่มเป้าหมายนั้ น ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ที่ต่างกันจะมีลักษณะทางจิตวิทยา
ต่างกัน โดยวิเคราะห์ปัจจัย ได้ดังนี้
1.เพศ มีความแตกต่างทางเพศโดยแบ่งเป็น ชายและหญิง ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมของการติดต่อสื่อสารที่
แตกต่างกัน คือ เพศหญิงมีแนวโน้ม ความต้องการที่จะส่งและรับข่าวสารมากกว่าเพศชาย ในขณะเดียวกัน เพศ
ชายไม่ได้มีความต้องที่จะส่งและรับข่าวสารเพียงอย่างเดียวแต่มีความต้องการที่จะสร้างสัมพันธ์ให้เกิดดารรับและ
ส่งข่าวสารนั้นด้วย ทั้งนี้เพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกันมากในเรื่องของความคิดและทัศนคติ ค่านิยม
เพราะวัฒนธรรมและสังคมได้กาหนดบทบาทและกิจกรรมให้ทั้งสองเพศไว้แตกต่างกันไป
2.อายุ ก็เป็นปัจจัยที่ทาให้คนมีความแตกต่างกันออกไปในเรื่องของความคิดและพฤติกรรมบทบาท คนที่
อายุน้อยจะมีความคิดที่เสรีนิยม ยึดถืออุดมการณ์และมองโลกในแง่ดีมากกว่าคนที่อายุมาก ซึ่งคนที่อายุมากมักจะ
มีความคิด ที่อนุรักษ์น ิยม ยึดถือการปฎิบัติที่ระมัดระวัง มองโลกในแง่ร้าย เนื่องจากคนที่อายุเยอะมักผ่าน
ประสบการณ์ชีวิตมากกว่าและแตกต่างกว่า
3. การศึกษา เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทาให้คนมีความคิด ค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมที่แตกต่างกัน โดย
คนที่มีการศึกษาสูง จะเป็นผู้ที่ได้เปรียบอย่างมากในการเป็นผู้รับข่าวสารที่ดีเพราะเป็นผู้ที่มีความกว้างขวางและ
เข้าใจข่าวสารได้ดีกว่าแต่จะเป็นคนที่ไม่เชื่ออะไรง่าย ๆ ถ้าไม่มีหลักฐานที่เพียงพอ ในขณะที่คนที่มีการศึกษา มักจะ
ใช้สื่อประเภทวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ในการรับส่งข่าวสาร
4. สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ หมายถึง อาชีพ รายได้ และสถานภาพทางสังคม ของแต่ละบุคคล มี
อิทธิพลที่สาคัญต่อผู้รับข่าวสารแต่ละคนมีวัฒนธรรมประสบการณ์ ทัศนคติ และค่านิยม ต่างมีเป้าหมายที่แตกต่าง

2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ณัฐ ฉันทพิริย์พันธ์ (2541) ความต้องการซื้อสินค้าและบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ตของผู้ใช้บริการผ่าน
อินเตอร์เน็ต สรุปว่า ผู้บริโภคมีประสบการณ์ในการซื้อสินค้า และ มีแนวโน้มที่จะซื้อสินค้าหรือบริการผ่าน
15

อินเตอร์เน็ต โดยส่วนใหญ่ที่ซื้อสินค้าและบริการจะเป็นกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มคนทางาน แล้วยั งพบว่าปัจจัยที่มีผล


กับความต้องการซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเตอร์เน็ต ภาพลักษณ์ของสินค้าและบริการ รวมทั้งวิธีการชาระเงิน
ความหลากหลายและรูปแบบการนาเสนอ
อิทธิพล ปรีติประสงค์ (2553) ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่หันมาใช้การสื่อสารผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความสะดวกใน
การนามาใช้อีกทั้งราคาของอุปกรณ์และเครือข่ายไม่สูงนัก ทาให้สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันมากขึ้น
16

กรอบแนวคิดงานวิจัย
จาก แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปเป็นกรอบแนวคิดงานวิจัย ได้ดังนี้

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์
- เพศ (Sex)
- อายุ (Age)
- การศึกษา (Education)
- รายรับต่อเดือน (Income)
การตัดสินใจสั่งซื้อสินค้า
ออนไลน์จากเว็บ Shopee
และ Lazada

- พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์
(Online Shopping Behavior)
- ประสบการณ์ในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
(Online Shopping Experience)
- แรงจูงใจในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
(Online Shopping Motivation)
17

บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาทาการวิจัยเรื่อง ปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ช็อปปี้
และลาซาด้าของผู้บริโภคที่เป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 ของมหาลัยวลัยลักษณ์ ในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิง
ปริมาณ โดยใช้การวิจัยเชิงสารวจ และมีวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งผู้ทาการศึกษาการวิจัย ได้กาหนด
แนวทางในการ ดาเนินการศึกษา การทาวิจัย โดยมีลาดับขั้นตอนในการศึกษาวิจัย และมีระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย
ในด้าน การกาหนดประชากร การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึง
สถิติที่ใช้ในการศึกษาวิจัย สถิติในการใช้วิจัยนั้นคือ สถิติเชิงพรรณนาเป็นการใช้เพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่การใช้
ตัวอักษรหรือตัวเลข และอีกสถิติหนึ่งคือ สถิติพารามิเตอร์เป็นสถิติที่คิดหาค่าเฉลี่ยของงานวิจัยที่ทา ในส่วนลักษณะ
ประเภทในการใช้การศึกษาวิจัยคือ การวิจัยเชิงสารวจ การสารวจทัศนคติ ความคิดเห็น เพื่อศึกษาประเด็นที่สนใจ
หรือหาข้อเท็จจริง ใช้การวิจัยศึกษาย้อนหลังจากเดือนที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของ
ตัวแปร จากการสั่งซื้อตั้งแต่เดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2563 โดยใช้ในการศึกษาว่านักศึกษาในมหาลัยสนใจการ
สั่งซื้อสินค้าจาก Shopee หรือ Lazada มากกว่ากัน นิยมสั่งซื้อหมวดไหนในเว็บไซต์ทั้งสอง การใช้จ่ายในการสั่งซื้อ
ด้วยเว็บไซต์ในแต่ละเดือน รวมถึงการตัดสินใจสั่งซื้อสินค้าจากShopeeและLazada เพราะอะไร มีสาเหตุจาก
ปัจจัยใด และอีกงานวิจัยหนึ่งคือประเภทการวิจัยเชิงทดลอง เป็นการศึกษาสิ่งที่สนใจ โดยมีการควบคุมตัวแปร และ
สังเกตผลที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นการทดลองทางคณิตศาสตร์เพื่อหาค่าเฉลี่ยและได้ผลลัพธ์ออกมา กลุ่มเป้าหมาย
ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้างานวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักศึกษาที่กาลังศึกษาในชั้นปริญญาตรีปีที่ 1 ของมหาลัยวิทยาลัย
วลัยลักษณ์ จานวน 100 คน ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุ 17 ปีขึ้นไป ที่มีการสนใจในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
จากเว็บไซต์ Shopee และ Lazada กรณีศึกษาค่าสัดส่วนประชากร กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ
นักศึกษาที่กาลังอยู่ระดับชั้นปริญญาตรีปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และมีอายุตั้งแต่ 17 ปี ขึ้นไป โดยผู้วิจัย
กาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคานวณประชากรของกลุ่มตัวอย่างจานวนประชากรที่แน่นอนคือ 186 คน ที่
ทาแบบสอบถามไม่เกินร้อยละ 54 และคนที่ไม่ทาแบบสอบถามไม่เกินร้อยละ 46 สาหรับวิธีการสุ่มกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อเลือกตัวแทนที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จะมีลาดับขั้นตอนในการสุ่มตัวอย่างเป็นแบบหลายขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบวิจารณญาณ หรือ แบบเจาะจง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง ที่อาศัยอยู่ใน
มหาลัยวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายที่ใกล้ตัว คิดปริมาณหรือการคาดคะเนได้ชัดเจน สะดวก และแคบลง คือ
นักศึกษาสานักพยาบาลชั้นปีที่ 1
18

การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า


จากเว็บไซต์ ช็อปปี้และลาซาด้าของผู้บริโภคที่เป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 ของมหาลัยวลัยลักษณ์ ในครั้งนี้
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ข้อมูลทุติยภูมิ ได้จากการศึกษาค้นคว้าจาก ข้อมูลที่มีผู้
รวบรวมไว้ ดังนี้
1.1 ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1.2 รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ซึ่งได้จากการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บ
ข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายจานวน 186 คน ที่เป็นนักศึกษาสานักพยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาลัยวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดังนี้
2.1 นาแบบสอบถามโดยการทาเป็นแบบฟอร์ม ส่งลิงค์เพื่อดาเนินการสอบถามกับกลุ่มเป้าหมาย ในมหาลัยวลัย
ลักษณ์
2.2 นาแบบสอบถามที่ได้มาทาสรุปเป็นกราฟ เพื่อนาไปวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติต่อไป

บทที่ 4
19

ผลการวิจัยและอภิปรายผล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ จากเว็บไซต์ช็อปปี้และลาซาด้าขอ
นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยใช้ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีระหว่าง Lazada และ Shopee ในการ
บริการ ความปลอดภัยในการจัดส่งและความน่าเชื่อถือของร้านค้า และการให้บริการส่วนบุ คคล ซึ่งจากการ
คานวณจานวน กลุ่มตัวอย่างในการทาแบบสอบถามเป็นร้อยละ 26.88 ของประชากร หลังจากผู้วิจัยได้ดาเนินการ
เก็บข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามจาก google form และทาการคัดกรอคาตอบจากกลุ่มตัวของประชากรทั้งหมด
ซึ่งผู้วิจัยได้นาข้อมูลที่ ได้มาวิเคราะห์ ค่าทางสถิติตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย โดยผลการวิเคราะห์แบ่งออกเป็น
ส่วนต่างๆ ดังนี้
4.1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บรวบรวมข้อมูลในงานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์ ครบถ้วนกลับมาทั้งสิ้น
50 คน โดยในงานวิจัยครั้งนี้ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ กลุ่มตัวอย่างที่จะพิจารณาได้แก่ เพศ อายุ
สถานภาพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ดังรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ 4.1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ สัดส่วน (%)
1.เพศ
-หญิง 98%
-ชาย 2%
2. อายุ
17-18 ปี 58%
19-20 ปี 42%
มากกว่า 20 ปี 0%
3. รายรับต่อเดือน
1000-3000 บาท 34%
3100-5000 บาท 42%
มากกว่า 5000 บาท 24%
20

จากตารางที่ 4.1 พบว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างสามารถแบ่ง ออกเป็นเพศหญิง 98%


และเพศชาย 2% โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 17-18 ปี คิดเป็น 58% ทั้งนี้รายรับต่อเดือนส่วนใหญ่อยู่ในระดับ
3100 – 5000 บาท คิดเป็น 42%

4.2 ข้อมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ จากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ของนักศึกษา


พยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การเข้าชม Lazada และ Shopee , ความถี่ในการซื้อสิน ค้า
ผ่านทางเว็บไซต์ Lazada และ Shopee , จานวนเงินในการซื้อสินค้าโดยเฉลี่ยต่อครั้ง,หมวดหมู่สินค้าและบริการที่
ซื้อบ่อยที่ส ุดผ่านทางเว็บไซต์ Lazada และ Shopee , เหตุผ ลเลือกซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ Lazada และ
Shopee เป็นต้น

การเข้ า ชม LAZADA
เคยเข้ าชม ไม่เคยเข้ าชม

16%

84%
21

การเข้ า ชม SHOPEE
เคยเข้ าชม ไม่เคยเข้ าชม

2%

98%

จำนวนเงินในกำรซื้ อสิ นค้ ำโดยเฉลี่ยต่ อครั้ ง


น้ อยกว่า 100 101-250 มากกว่า 250 ไม่เคยสัง่ ซื ้อ

6% 0%

31%

63%
22

ความถี่ใ นการซื อ้ สิ น ค้ า ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ LAZADA


1-2 ครัง้ /เดือน 3-5 ครัง้ /เดือน มากกว่า 5 ครัง้ /เดือน ไม่เคยสัง่ ซื ้อ

44% 46%

5% 5%

ความถี่ใ นการซื อ้ สิ น ค้ า ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ SHOPEE


1-2 ครัง้ /เดือน 3-5 ครัง้ /เดือน มากกว่า 5 ครัง้ /เดือน ไม่เคยสัง่ ซื ้อ

14%

2%

24%
60%
23

ทาไมถึง เลื อ กซื อ้ สิ น ค้ า จาก SHOPEE


มีโปรโมชัน่ มีโค้ ดส่วนลด ไม่เคยสัง่ ซื ้อ มีขั ้นตอนการจ่ายเงินง่ายกว่า Lazada บริ การหลังการขาย

4%

10%

31%
10%

45%

รู้ จั ก เว็ บ ไซต์ LAZADA และ SHOPEE จากแหล่ ง ไหน


สือ่ social media โฆษณาจากสือ่ คนรอบข้ าง

16%

14%

70%
24

หมวดหมู่ สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ บ่ อ ยที่ สุ ด โดยซื อ้ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ LAZADA และ


SHOPEE
เสื ้อผ้ าแฟชัน่ หญิง เสื ้อผ้ าแฟชัน่ ชาย มือถือ/อุปกรณ์เสริ ม ความงาม/ของใช้ สว่ นตัว
อาหารเสริ มและผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ เครื่ องประดับ ของเล่นสินค้ าแม่และเด็ก นาฬิกาและแว่นตา
เครื่ องใช้ ในบ้ าน เกมส์/อุปกรณ์เสริ ม สัตว์เลี ้ยง เครื่ องเขียน/หนังสือ/ดนตรี
ไม่เคยสัง่ ซื ้อ กระเป๋ า

12%
1%
5%
0%
2%

52%
16%

4%
0%
6%
0%
1%0%
1%

ทาไมถึง เลื อ กซื อ้ สิ น ค้ า จาก LAZADA


มีโปรโมชัน่ มีโค้ ดส่วนลด
รายละเอียดในการบริ การสะดวกกว่า shopeee ไม่เคยสัง่ ซื ้อ
มีขั ้นตอนการจ่ายเงินง่ายกว่า shopee บริ การหลังการขาย

2% 2%

36%
38%

10%
12%
25

จากแผนภูมิที่ 4.2 พบว่า พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์จากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ของนักศึกษา


พยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สามารถแบ่งออกเป็น การเข้าชม Lazada พบว่าเคยเข้าชม 84% และ
ไม่เคยเข้าชม 16% , Shopee พบว่าเคยเข้าชม 98% และไม่เคยเข้าชม 2% , ความถี่ในการซื้อสินค้าผ่านทาง
เว็บไซต์ Lazada พบส่วนจะสั่งซื้ออยู่ที่ 1-2ครั้งต่อเดือนและShopee อยู่ที่ 1-2 ครั้งเช่นเดียวกัน , จานวนเงินใน
การซื้อสินค้าโดยเฉลี่ยต่อครั้งโดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 101 – 250 บาท ,หมวดหมู่สินค้าและบริการที่ซื้อบ่อยที่สุด
ผ่านทางเว็บไซต์ Lazada และ Shopee โดยส่วนใหญ่คือหมวดเสื้อผ้าแฟชั่นหญิง , เหตุผลเลือกซื้อสินค้าผ่านทาง
เว็บไซต์ Lazada ส่วนใหญ่ผลพบว่าไม่เคยสั่งซื้อ และ Shopee โดยส่วนใหญ่พบว่าเพราะมีโค้ดส่วนลด เป็นต้น
26

บทที5่
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
การค้นคว้างานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาถึงพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการ
ตัดสินใจซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าและช็อปปี้ ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สามารถทาการสรุปผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้
5.1 บทสรุป
ผลที่ได้จากการศึกษาถึงพฤติกรรมของการสั่งซื้อสามารถเป็นแนวทางให้กับผู้ประกอบการน าไป
วิเคราะห์ และประยุกต์ไปใช้เพื่อเพิ่มโอกาสที่จะทาให้ผู้บริโภคสนใจซื้อสินค้าออนไลน์ นอกจากนี้สามารถนาไป
ปรับเป็นการสนับสนุนของธุรกิจต่อไปได้ด้วย ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีกลุ่มตัวอย่างจานวน 50 คน โดย
ทาการจาก 186 คนโดยสารวจผ่านการตอบแบบสอบถาม และได้รับข้อมูลแบบสอบถามตอบกลับที่มีความ
สมบูรณ์ รวมทั้งสิ้น 50 ชุด จากนั้นนาข้อมูลมาประมวลผลและวิ เคราะห์ค่าทางสถิติตามวัตถุประสงค์ของ
งานวิจัย
5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับผู้ประกอบการ
ผลการวิจัยนี้สามารถระบุพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่น ออนไลน์
ได้ อีกทั้งยังสามารถบอกถึงระดับความสาคัญในแต่ละปัจจัยว่าส่งผลกับการตัดสินใจมากน้อย เพียงใด ซึ่งใน
งานวิจัยนี้พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจาหน่าย และการยอมรับ เทคโนโลยีส่งผลเชิงบวกต่อ
การตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทั้งในเรื่อง
แอพพลิเคชั่นมีสินค้าหลากหลายและตรงตาม ความต้องการ มีราคาสินค้าระบุชัดเจน มีสินค้าพร้อมส่งในทันที
นอกจากนี้ยังมีบริการจัดส่ง ครอบคลุมทุกพื้นที่ มีช่องทางการชาระเงินที่หลากหลาย รวมถึงความง่ายในการใช้
งานและการ ประมวลผลที่รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยาของแอพพลิเคชั่น ความพร้อมของแอพพลิเคชั่น ที่สามารถใช้
สั่งซื้อสินค้าได้ทุกที่ ทุกเวลา ทาให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภค คานึงถึง
เรื่องการตอบสนองความต้องการของตนเองเป็นส าคัญ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยด้านความปลอดภัยและความ
น่าเชื่อถือ ปัจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชั่น และความตรงต่อเวลาใน
การจัดส่งสินค้า ส าคัญรองลงมาตามล าดับส าหรับข้อควรระวังส าหรับผู้ประกอบการ หรือผู้เป็นเจ้าของ
แอพพลิเคชั่นซื้อขายของ ออนไลน์ ก็คือปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสื่อสารกับผู้บริโภค และความมี
ชื่อเสียงของ แอพพลิเคชั่น เนื่องจากปัจจัยดังกล่าวส่งผลเชิงลบต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่น
ออนไลน์ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการที่ผู้บริโภคเห็นโฆษณาหรือการประชาสัมพันธ์บ่อยเกินไป ก่อให้เกิดความ
ราคาญและเกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อแอพพลิเคชั่นนั้นในที่สุด
5.3ข้อจากัดงานวิจัย
ข้อมูลที่เก็บได้จากการสารวจกลุ่มตั วอย่าง เป็นข้อมูลที่รวบรวมจากแบบสอบถามทาง ออนไลน์อย่าง
เดียวเท่านั้น เป็นผลทาให้ยังไม่สามารถเข้าถึง ข้อมูลเชิงลึกหรือข้อมูลสาคัญบางอย่างได้ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นอาจ
27

ต้องอาศัยวิธีการสังเกตเพิ่มเติม โดยระยะเวลาในการทาการวิจัยครั้งนี้ค่อยข้างจ ากัด ซึ่งมีเวลาเก็บ ข้อมูล


ประมาณ 2 เดือน (ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2563 ถึง ตุลาคม 2563) จึงอาจส่งผลให้ผลการวิจัยคลาดเคลื่อน
ในการ นาไปอ้างอิงกลุ่มประชากรในเขตมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ แบบสอบถามมี
การกระจายตัวทางความแตกต่างทางประชากรศาสตร์ เช่น อายุ รายได้ต่อเดือน โปรโมชั่น ความถี่การสั่งซื้อ
พฤติกรรมความชอบ แรงจูงใจ ประสบการณ์ในการสั่งซื้อ ดังนั้น ผู้ที่จะนาข้อมูลวิจัยชุดนี้ไปใช้ควรระมัดระวัง
การน าข้อมูล ด้าน ประชากรศาสตร์ และข้อมูล เชิงสถิ ติอื่นๆ ส าหรับเป็นข้อมูล ที่เชื่ อมโยงปัจจัยต่างๆ
นอกจากนี้ ข้อมูลที่ เก็บจากลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้เป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2563 จึงควรระวังการเปลี่ยนแปลงของ
ข้อมูลไป ตามกาลเวลา
5.4 ข้อเสนอแนะ
งานวิจัยต่อเนื่อง ในงานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้
5.4.1 ควรทาการขยายขอบเขตงานวิจัยให้กว้างขึ้นโดยการเพิ่มกลุ่มตัวอย่างไป ต่างสานักมากขึ้น
หรือครอบคลุมทั่วมหาลัย เพื่อให้ครอบคลุมประชากรผู้ซื้อสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชั่นออนไลน์ได้
มากขึ้น
5.4.2 ควรเพิ่มเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลอื่นๆ เช่น การสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม
ให้ได้รับรู้ถึงข้อมูลเชิงลึก และความต้องการที่แท้จริง ของกลุ่มผู้ซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่น
ออนไลน์ เพื่อจะนามาพัฒนาแอพพลิเคชั่นซื้อ-ขาย ออนไลน์ ให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและตอบ
โจทย์ความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคมากยิ่งขึ้นต่อไปในอนาคต
5.4.3 ควรศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชั่น ออนไลน์
เพิ่มเติมเนื่องจากสามารถอธิบายการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชั่นออนไลน์ของ
ผู้บริโภคในเขตมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
28

บรรณานุกรม
กิตติวัฒน์ จิตรวัตร. (2561). รายงานการวิจัย ปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์และคุณภาพเว็บไซต์ที่
ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากเว็บลาซาด้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปุลณัช เดชมานนท์. (2556). รายงานการวิจัย การตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์
ในช่วงเวลาจากัด. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
จุฆารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). รายงานการวิจัย ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่น
ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภาวรรณ ชัยธวีวุฒิกุล. (2555). รายงานการวิจัย พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์แบบ
ร่วมกลุ่มกันซื้อบนเว็บไซต์ ENSOGOของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

You might also like