You are on page 1of 77

รายงานฉบับสมบูรณ

โครงการวิจัย
เรื่อง การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิษณุโลก
(Assessing quality of primary care in Phitsanulok Thailand)

เสนอตอ
สํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.)

เพชรีย เรือนกอน
นิสิตปริญญาเอก
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาระบบและนโยบายสุขภาพ
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

H I S R O Health Insurance System


Research Office
สํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทบ
คํานํา

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาคุณภาพบริการปฐมภูมิที่มีความแตกตางดานผูใหบริการ
เพื่อนําผลการศึกษาไปใชเปนแนวทางในการจัดการดานบุคลากรของหนวยบริการปฐมภูมิ ในโอกาสนี้
ผูวิจัยขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญทุกทานที่ใหความอนุเคราะหตรวจคุณภาพของเครื่องมือ วิพากษและให
ขอเสนอแนะที่เปนประโยชน และขอขอบพระคุณ ศ.ดร.นพ.ศุภสิท ธิ์ พรรณนารุโณทัย ดร.นพ.สัมฤทธิ์
ศรีธํารงสวัสดิ์ พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร ดร.นพ.ยงยุท ธ พงษสุภ าพ และผูจัดการงานวิจัย อาจารยนธี
รัตน ธรรมโรจน ที่ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนแกไขขอบกพรอง
ขอขอบพระคุ ณหัวหนา หน วยบริการปฐมภูมิ ประชาชนในพื้ นที่ ที่ใหค วามรวมมื อ ในการเก็ บ
รวบรวมขอมูลจนสมบรูณและเสร็จสิ้นไปดวยดี และสุดทายขอขอบพระคุณสํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา
หลักประกันสุขภาพไทย ที่สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย
ผูวิจัย หวัง เปน อยางยิ่ง วารายงานวิจั ยฉบั บนี้ จะเกิดประโยชนแกห นวยงานที่เ กี่ ยวข องในการ
นําไปใชเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิตอไป

เพชรีย เรือนกอน
กันยายน 2552
ชื่องานวิจัย การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิษณุโลก
ผูว ิจัย เพชรีย เรือนกอน
ปที่ทําการวิจัย 2550-2551

บทคัดยอ
การปฎิรูประบบบริการปฐมภูมิ สงผลใหมีการจัดการหนวยบริการปฐมภูมแิ ตกตางกัน การศึกษาครั้งนี้มี
วัตถุประสงคเพื่อประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิที่มีความแตกตางในดานผูใหบริการ พื้นที่ที่ศึกษาคื อ
หนวยบริการปฐมภูมิ จํานวน 35 แหง จาก 9 อําเภอ จังหวัดพิษณุโลก การเก็บขอ มูลใชแ บบตรวจเช็ค
แบบสอบถาม การสนทนากลุม การวิเ คราะหขอมูลใช รอ ยละ คาเฉลี่ย Chi-square test และการ
วิเคราะหเชิงเนื้อหา กลุมตัวอยาง ไดแก ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิ หัวหนา
หนวยบริการปฐมภูมิ ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและผูปวยโรคปอดบวม
ผลการศึกษาเปนดังนี้ โครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิมีความแตกตางกันเฉพาะในดานผูใหบริการ
ความแตกตางในภาพรวม แบงออกเปน 4 ประเภท (1) ผูบริการประจําเปนแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/
เจ าหน า ที่ ส าธารณสุ ข (2) ผู บ ริ การประจํา เป น แพทย ห มุ น เวี ยนและทีมพยาบาลวิ ช าชีพ/เจ า หน าที่
สาธารณสุข (3)ผูบริการประจําเปนทีมพยาบาลวิช าชีพและทีมเจาหนาที่ส าธารณสุข และ(4) ผูบริการ
ประจําเปนทีมเจาหนาที่สาธารณสุข ดานงบประมาณไมแตกตางกัน ไดรับการจัดสรรเปนงบคงที่ ไมไดรับ
การจัดสรรเปนรายหัวประชากร โดยเฉลี่ยประมาณ 400,000 บาท สวนใหญใชในดานการรักษาพยาบาล
สงเสริมสุขภาพ และการดําเนินงาน อุปกรณ เครื่องมือ/เครื่องใช เวชภัณฑครบถวน ไมแตกตางกัน และมี
ระบบการจัดการเหมือนกัน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 และ 4 ที่ ไดรับการจายผลตอบแทนและ
สวัสดิการอื่นๆ และขวัญกําลังใจนอยกวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 จํานวนผูใหบริการมี
แตกตา งกั น หน วยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 1 จะมีแ พทย พยาบาลวิ ชาชีพและเจ าหนา ที่ส าธารณสุ ข
จํานวน 7 คน หนวยบริการปฐมภูมปิ ระเภทที่ 2 จะมีแพทยหมุนเวียนไปใหบริการ ทีมพยาบาลวิชาชีพและ
เจ าหนา ที่ ส าธารณสุ ข จํ านวน 6 -7 คน หน วยบริ การปฐมภู มิป ระเภทที่ 3 จะมีพยาบาลวิ ช าชีพและ
เจ าหน าที่ ส าธารณสุข จํา นวน 4 คน หน วยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 4 จะมีที มเจา หน าที่ ส าธารณสุ ข
จํา นวน 3 คน หนวยบริ การปฐมภู มิป ระเภทที่ 1 สามารถดูแ ลผูปว ยโรคเรื้ อ รัง(โรคความดั นโลหิต สู ง)
ได ดีก ว า หน วยบริ ก ารปฐมภู มิ ป ระเภทอื่ น ๆ โดยเฉพาะการวิ นิ จ ฉั ยแยกโรคเบื้ อ งต น การตรวจทาง
หองปฏิบัติการ การประเมินความรุนแรง การประเมินความเสี่ยงและการรักษาตามความเสี่ยง สําหรับ
การดูแ ลผูป วยโรคเฉี ยบพลัน (โรคติ ดเชื้ อ ทางเดิ น หายใจเฉียบพลั น) ของหนว ยบริ การปฐมภู มิแ ต ล ะ
ประเภทไมแตกตางกัน ดานการตอบสนองตอความคาดหวัง ประชาชนมีความคาดหวังในบริการปฐมภูมิ
มากที่สุด ประชาชนในพื้น ที่หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 และ 3 ไดรับบริการมากกวาหนวยบริการ
ประเภทที่ 1 และ 4 และประชาชนตองการบุคลากรที่สามารถทํางานกับชุมชนได
สารบัญ
หนา
คํานํา
บทคัดยอ
บทที่ 1 บทนํา 1
ความเปนมาและความสําคัญ 1
วัตถุประสงคการวิจัย 4
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 7
ระบบบริการสุขภาพไทย 7
คุณภาพบริการ 10
เครื่องชี้วัดคุณภาพบริการ 13
เครื่องมือวัดคุณภาพบริการปฐมภูมิ 15
กรอบแนวคิดการศึกษา 19
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 21
นิยามศัพท 23
วิธีการดําเนินการวิจัย 23
ประชากรและกลุมตัวอยาง 26
เครื่องมือวิจัยและการเก็บขอมูล 26
การวิเคราะหขอมูล 29
บทที่ 4 ผลการวิจัย 30
สวนที่ 1 ผลการศึกษาโครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 32
สวนที่ 2 กระบวนการและผลผลิตดานการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูง 35
และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท 41
สวนที่ 3 กระบวนการและผลลัพธดานการตอบสนองความคาดหวังตอ
บริการปฐมภูมขิ องหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
บทที่ 5 อภิปรายผล สรุป และขอเสนอแนะ 54
อภิปรายผล 54
สรุป 59
ขอเสนอแนะ 61
ภาคผนวก 69
บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญ
เปาหมายนโยบายหลักประกันสุขภาพ คือ การสรางหลักประกันใหประชาชนทุกคนสามารถเขาถึง
บริการทางดานสุขภาพไดตามความจําเปน โดยถือเปน “สิทธิ” ขั้นพื้นฐานของประชาชน มิใชเปนเรื่องที่รัฐ
สงเคราะหหรือชวยเหลือประชาชน ทั้งนีเ้ พื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
ไทย พุท ธศั กราช 2540 มาตรา 52 ที่ วา “บุ คคลย อ มมีสิ ทธิ เสมอกัน ในการรั บบริการสาธารณสุข ที่ได
มาตรฐาน และผู ยากไรมีสิท ธิไดรั บการรักษาพยาบาลจากสถานบริ การสาธารณสุ ขของรัฐ โดยไมเ สี ย
คา ใช จา ย ทั้งนี้ต ามที่ก ฎหมายบัญญัติ…” จากเป าหมายดัง กล าวสงผลให เกิ ดการปฏิรู ประบบบริการ
สุขภาพ มีการแบงบริการออกเปน 3 ระดับ [1] คือ ระดับปฐมภูมิ, ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ การ
บริการทั้ง 3 ระดับมีการเชื่อมโยงเปนเครือขาย (network) เพื่อใหประชาชนไดรับการดูแลตอเนื่องและเปน
ระบบ โดยใหความสําคัญการปฏิรูปลงไปที่ระบบบริการปฐมภูมิ ซึ่งมีวัตถุประสงคห ลัก 3 ประการ คือ
เพื่อ 1) ตองการใหคนไทยไดเขาถึงการรักษาพยาบาลอยางมีคุณภาพและเทาเทียมกัน 2) ตอ งการใหเกิด
การปฏิรูประบบสุขภาพ มีการจัดบริการระดับตนที่มีประสิทธิภาพ และ 3) มุงสรางสุขภาพใหกับประชาชน
โดยใหความสําคัญกับการสนับ สนุนใหประชาชน มีและใชบริการจากหนวยบริการปฐมภูมิ ซึ่งเรียกว า
ศูนยสุขภาพชุมชน หรือสถานีอนามัย
จากผลของการปฏิรูป สถานีอนามัยที่มีอยูเ ดิม หากมีความพรอมจะไดรับ การประเมินใหเป น
ศูนยสุขภาพชุมชน (Primary Care Unit: PCU) หากไมผานการประเมินสถานีอนามัยจะเปนสถานีอนามัย
ในเครือขายของศูนยสุขภาพชุมชน ซึ่งอยูภายใตการบริหารจัดการเครือขาย โดย หนวยคูสัญญาหลักของ
บริ การปฐมภูมิ (Contracting Unit for Primary Care: CUP) ดํ าเนิ น การโดยโรงพยาบาลชุ มชน/
โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย
บริบทของหนวยบริการปฐมภูมิ (ศูนยสุข ภาพชุมชน/สถานีอ นามัย) เปน สถานพยาบาลเบื้องตน
ประจําครอบครัวของประชาชน เพราะเปนหนวยบริการที่ใกลชิดกับประชาชนมากที่สุด เปนสถานบริการ
ดานแรก ทําหนาที่ใหบ ริการสาธารณสุข แบบผสมผสาน (Integrated care) เปน องครวม (holistic care)
ซึ่งมีบทบาททัง้ เชิงรับและเชิงรุกเพื่อใหบริการประชาชนในชุมชน และยังทําหนาที่ในการประสานบริการกับ
หนวยบริการอื่น ๆ ทั้งในระดับเดียวกันและในระดับ ที่สูงกวาเพื่อ ที่จะประสานใหประชาชนไดรับบริการ
สุขภาพไดอยางตอเนื่อง (continuous care) ใหครอบคลุมตามสิทธิประโยชนที่ประชาชนควรจะไดรับอยาง
เสมอภาคเทาเทียมกัน
2

ทั้งนี้หากหนวยบริการปฐมภูมิสามารถดําเนินงานไดอยางมีคุณภาพ ก็จะสามารถสกัดกั้น (Gate


keeper) การหลั่งไหลของผูปวยเขาสูโรงพยาบาล ลดปญหาความแออัดของผูปวยในโรงพยาบาลและลด
คาใชจายเพื่อซอมสุขภาพไดเปนอยางมาก [2, 3]
ผูปวยตองไดรับบริการเบื้องตนที่มีคุณภาพ กอนทําการสงตอเมื่อมีอาการแทรกซอน กลุมโรคที่
สามารถสกัดกั้น ดูแลหรือปองกันอาการแทรกซอนไดที่ระดับ บริการปฐมภูมิ เรียกวา Ambulatory Care
Sensitive Condition (ACSC) ในตางประเทศนํามาใชในการประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ และเปนที่
นิยมใชกันมาก กลุมโรคที่กําหนดแบงเปนกลุมโรคเรื้อรัง เชน โรคความดัน โลหิตสูง โรคเบาหวาน และ
กลุมโรคเฉียบพลัน เชน ปอดอั กเสบ ปอดบวม โรคกระเพาะอาหารอักเสบ เปน ตน ตัว ชี้วัดของการ
ประเมินคือ รอยละหรืออัตราการเขาไปรักษาที่ระดับทุติยภูมิ (โรงพยาบาล) เรียกวา Ambulatory Care
Sensitive Condition Admission (ACSCA) [4]
โรคปอดบวมและโรคความดันโลหิตสูง เปนโรคที่อยูในกลุม ACSC อยูในกลุมโรคเฉียบพลัน และ
โรคเรื้ อรัง โรคปอดบวมเปน โรคที่เ กิดจากภาวะแทรกซอ นของโรคติดเชื้ อทางเดินหายใจเฉียบพลัน มี
ความสําคัญสูง เพราะมีอัตราตายสูงเปนอันดับ 1 ของโรคติดเชื้อในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป [5] อีกทั้งแนวโนม
การเจ็บปวยและเสียชีวิตสูง นอกจากนั้นยังมักพบผูปวยตลอดปมีแนวโนมคลายคลึงกันทุกป คือพบ
จํานวนผูปวยสูงในชวงกลางป ระหวางเดือนมิถุนายน - กันยายน ลักษณะการกระจายตามบุคคล สูงสุด
ในกลุมอายุต่ํากวา 5 ป รองลงมาไดแก กลุมอายุ 5-9 ป และมีอัตราปวยสูงเปนอันดับตน ๆ ซึ่ง โรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลัน หากไดรับยาแกไอ แกไข อยางเหมาะสมตามความจําเปน ไมจําเปนตองใหยา
ปฏิชีวนะ เนื่องจากโรคหวัดมักเกิดจากเชื้อไวรัส รวมทั้งผูปวยควรไดรับการวินิจฉัยที่ถูกตอง และไดรับการ
รักษาหากเปนโรคปอดบวมตั้งแตระยะเริ่มแรก ถามีการจัดระบบงานทางสาธารณสุขที่บุคลากรสามารถให
การวินิจ ฉัยและรักษาโรคปอดบวมไดตั้งแตระยะเริ่มแรก ตลอดจนมีการบริหารจัดการสงตออยางเป น
ระบบและทันการ จะสามารถลดอัตราการตายและอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง รวมทั้งการสิ้นเปลืองเศรษฐกิจ
ของครอบครัว และประเทศชาติลงไดอยางมาก [6]
โรคความดันโลหิตสูงเปนโรคในกลุมระบบไหลเวียนโลหิตที่เปนปญหาสาธารณสุขอยางมากของ
ประเทศไทย มีอัตราตายสูงขึ้นตามเวลาที่เพิ่มขึ้น จากการรวบรวมขอมูลสํานักนโยบายและยุทธศาสตร
กระทรวงสาธารณสุข ป 2545 พบวาอัตราตายดวยโรคความดันโลหิตสูง เทากับ 3.3-5.1 ตอแสนประชากร
[7] และพบวาอัตราตายจากสาเหตุดวยความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก 15.94 ตอประชากรแสนคน ในป
พ.ศ. 2537 เปน 26.72 ในป พ.ศ. 2545 และอัตราการตายดวยโรคแทรกซอนของความดันโลหิตสูงดวย
เชน โรคหัวใจขาดเลือด จาก 1.99 ตอแสนประชากร ในป พ.ศ. 2537 เปน 13.69 ในป พ.ศ. 2545 และ
โรคสมอง จาก 9.64 ตอแสนประชากร ในป พ.ศ. 2537 เปน 19.85 ในป พ.ศ. 2545 [8] นอกจากนั้น ยัง
สงผลใหเกิดความพิการและคาใชจายเพิ่มขึน้ เมื่อเกิดภาวะแทรกซอน การที่อัตราปวยและอัตราตายของ
โรคความดันโลหิตสูงมีแนวโนมสูงขึ้น เกิดจากการเปลี่ยนแปลงดานการประกอบอาชีพ การดําเนินชีวิต
3

พฤติกรรมการบริโภค โรคความดันโลหิตสูงนี้เปนโรคที่ไมแ สดงอาการในระยะตน ทําใหการวินิจฉัยชา


สงผลตอการรับการรักษา จากการสํารวจของสถาบันวิจัยสาธารณสุข พบวาผูที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมี
เพียงจํานวนรอยละ 10 เทานั้นที่ทราบวาเปนโรคความดันโลหิตสูงมากอน การวางแผนในการปฏิบัติงานที่
กอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือ การปองกัน ไมใหอุบัติการณข องผูปวยความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น การ
ปอ งกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในระดับปฐมภูมิ ยอมเปน วิธีการที่ดีกวาการรักษาผูปวยเพื่ อ
ปองกันภาวะแทรกซอน [5]
อนึ่งคุณภาพบริการปฐมภูมิจึงเปนสิ่งที่สําคัญตอการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพเปน
อย างยิ่ง เนื่ อ งจากเปน บริการดา นแรกที่ ส ามารถสกั ดกั้ นอาการแทรกซอ นของโรคในกลุ ม ACSC ได
โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสุงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน อยางไรก็ตาม หนวยบริการปฐม
ภู มิใ นประเทศไทยกํ า ลั ง อยู ใ นช ว งของการปฎิ รู ป ให เ ป น ศู น ย สุ ข ภาพชุ มชน/สถานี อ นามั ย ที่ เ ข มแข็ ง
เพื่อ ที่จ ะสามารถใหบ ริการตามวัตถุ ป ระสงคได จึงสงผลใหมีการจัดการบริ การปฐมภู มิที่ หลากหลาย
ทั้ง ในกระทรวงสาธารณสุ ข นอกกระทรวงสาธารณสุ ขและภาคเอกชน สําหรั บกระทรวงสาธารณสุ ข
มีรูปแบบการจัดการหลัก ๆ 4 ประเภทไดแก หน วยบริการปฐมภูมิที่เปนศูนยสุข ภาพชุมชนจัดการโดย
โรงพยาบาลเอง หนวยบริการปฐมภูมิที่ทีมสุข ภาพจากโรงพยาบาลหมุนเวียนมาชวยดําเนินการ หนวย
บริ การปฐมภูมิที่เ ป นสถานีอ นามั ยที่ ดําเนิ นการเปน เครือ ข ายของศู นย สุข ภาพชุมชน [9] นอกจากนั้ น
ประเภทผูใหบริการก็มีความหลากหลายเชนกัน [10]
จึง เป น สิ่ง ที่ จํ าเป น ที่จ ะต อ งทราบว า คุ ณภาพการบริ ก ารของหน ว ยบริ การปฐมภู มิที่ มีความ
แตกตางของผูใหบริการมีความแตกตางกันหรือไม อยางไร
ผูวิจัยจึงสนใจที่จะทําการศึกษาคุณภาพการบริการของหนวยบริการปฐมภูมิที่มีความแตกตาง
ดานผูใหบริการ ดวยการศึกษาผลผลิต โดยใชตัวชี้วัดของ ACSCA กําหนดเปน กรอบการคิด เลือกโรค
ความดันโลหิตสูงเปน ตัวแทนโรคเรื้อรัง โรคติดเชื้อ ทางเดิน หายใจเฉียบพลันเปน ตัวแทนโรคเฉียบพลัน
จากนั้นติดตามจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคปอดบวมจาก
หนวยบริการปฐมภูมิ การศึกษากระบวนการและผลลัพธดานการตอบสนองความหวังตอบริการของหนวย
บริการปฐมภูมิ โดยพัฒนาจากกรอบการประเมินคุณภาพบริการดวยการเปรียบเทียบความคาดหวังกับ
บริ การที่ไดรั บ [11] ในกิจ กรรมการบริ การปฐมภู มิ ซึ่ง พั ฒนาตามนิ ยามของการบริ ก ารปฐมภูมิ แ ละ
เครื่อ งมือ การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ (Primary care assessment tool: PCAT) ทั้งนี้เพื่อเปน
ขอมูลเชิงประจักษที่จะนําไปสูการกําหนดเปนนโยบายตอการสนับสนุนดานปจจัยนําเขาและกระบวนการ
ในการดําเนินงานดานบริการปฐมภูมิตอไป
4

วัตถุประสงคของการวิจัย
1. วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อ ประเมินและเปรียบเที ยบคุณภาพการบริการของหนวยบริ การปฐมภูมิ 4 ประเภท (หนวย
บริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่ส าธารณสุข หนวยบริการ
ปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข หนวยบริการ
ปฐมภูมิที่ ใหบ ริการประจํา โดยทีมพยาบาลวิ ชาชี พ/เจาหนาที่ สาธารณสุข และหน วยบริการปฐมภูมิที่
ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข)

วัตถุประสงคเฉพาะ
1. เพื่อศึกษาการดูแลตามแนวเวชปฎิบัติของโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
2. เพื่อศึกษาผลการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน คือ
สํารวจจํานวนรอยละของผูปวยในของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคปอดบวม จากพื้นที่รับผิดชอบ
ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
3. เพื่อ ศึกษาการตอบสนองความคาดหวั งตอ บริ การปฐมภูมิ 6 ดา น (การให บริการดานแรก
(First contact), การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care) การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care)
การใหบริการประสานงาน เชื่อมโยง (Coordinate care) การใหบริการแบบเนน ครอบครัว ชุมชน (family
and community oriented) และการใหบ ริการเอาใจใส (Empathy relationship) ของหนว ยบริการ
ปฐมภูมิ 4 ประเภท

คําถามงานวิจัย
คุณภาพการบริการของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท แตกตางกันหรือไม อยางไร

ความสําคัญของงานวิจัย
เปนขอมูลสนับสนุนการพัฒนาหนวยบริการปฐมภูมิ เพื่อ เปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขการ
จัดการในดานผูใหบริการหรือการพัฒนาดานบุคลากร

ขอบเขตของการศึกษา
การศึ กษาคุ ณภาพบริ การปฐมภู มิ จั งหวั ดพิ ษ ณุ โลก เป น การศึ กษาที่ ห น วยบริ ก ารปฐมภู มิ
ระยะเวลาดําเนินการ 10 เดือน ทะเบียนจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาล (CUP) ของผูปวยความดัน
โลหิตสูงและโรคปอดบวมจากหนวยบริการปฐมภูมิ ตั้งแตปพ.ศ. 2547-2551 โดยกําหนดขอบเขต ดังนี้
5

1. หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
1.1 หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่
สาธารณสุข)
1.2 หนวยบริการปฐมภูมใิ หบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่
สาธารณสุข)
1.3 หนวยบริการที่ใหบริการประจําโดยทีมพยาบาลวิชาชีพและเจาหนาที่สาธารณสุข
1.4 หนวยบริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข
2. ผูปวยจากหนวยบริการปฐมภูมิที่นอนโรงพยาบาลดวยอาการแทรกซอนของโรคความดันโลหิต
สูงและผูปวยที่นอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวมที่เปนโรคแทรกซอนของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน

ขอจํากัดของงานวิจัย
การศึกษาครั้งนี้ ศึกษาการดูแ ลโรคในกลุมโรค ACSC 2 โรค ไดแ ก โรคความดันโลหิตสูง เปน
ตัวแทนโรคเรื้อรังและโรคปอดบวม เปนตัวแทนโรคเฉียบพลัน
สมมติฐานของการวิจัย
ความแตกตางระหวางผูใหบริการของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท สงผลตอผลผลิตและ
ผลลัพธของหนวยบริการปฐมภูมิ

ประชากรและการสุมตัวอยาง
กลุมตัวอยางที่ใชการศึกษาเปนหนวยบริการปฐมภูมิ จํานวน 35 แหงจากหนวยบริการปฐมภูมิ
ทั้งหมด 165 แหง ไดแก
1. หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ไดแก (1) หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทย
และที มพยาบาลวิ ชาชี พ/เจา หน า ที่ ส าธารณสุ ข (2) หน ว ยบริ การปฐมภู มิใ ห บ ริ การประจํ าโดยแพทย
หมุน เวี ยนและทีมพยาบาลวิช าชีพ/เจ าหนา ที่สาธารณสุข ) (3) หนวยบริการที่ ใหบ ริการประจํา โดยที ม
พยาบาลวิ ช าชีพและเจ าหนาที่ส าธารณสุ ข และ (4) หนว ยบริการปฐมภูมิที่ใ หบ ริ การประจํ า โดยที ม
เจาหนาที่สาธารณสุข
2. ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคปอดบวม

การสุมกลุมตัวอยาง
ใช การสุมแบบกลุ ม 2 ขั้ น (Two-stage cluster) ขั้ น ที่ 1 จั ดประเภทของหนวยบริการปฐมภู มิ
ออกเปน 4 ประเภท หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่
สาธารณสุข เปนประเภทที่ 1 หนวยบริการปฐมภูมใิ หบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาล
6

วิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข เปนประเภทที่ 2 หนวยบริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยทีมพยาบาล


วิช าชี พ/เจา หน า ที่ ส าธารณสุ ข เป น ประเภทที่ 3 และหน วยบริ การปฐมภู มิที่ ใหบ ริ การประจํ า โดยที ม
เจาหนาที่สาธารณสุข เปนประเภทที่ 4
จากนั้นขั้ นที่ 2 จัดตามการกระจายเพื่อ การเปนกลุมตั วอยางที่ครอบคลุมทุกพื้ นที่ โดยจัดกลุ ม
กระจายทุ กอํา เภอ รวม 9 อํ าเภอในจั งหวั ดพิษ ณุโลก หน วยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 1 ใช จํ านวน
ประชากรจริง (เนื่องจากมีอยูจ ํากัดเพียงอําเภอละ 1 แหง) รวม 9 แหง ผูวิจัยไดกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
ของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่เหลือใหสอดคลองกับประเภทที่ 1 เปนประเภทละ 9 แหง เพื่อความ
เชื่อมั่นตอการเปรียบเทียบและใชสัดสวนการกระจาย อนึ่ง เขตอําเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก ไมมีการจัด
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 ขนาดกลุมตัวอยางจึงเหลือ 8 แหง จากนั้นนําจํานวนหนวยบริการปฐม
ภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 มาสุมตัวอยางอยางงายตามสัดสวนการกระจาย ดวยวิธีการจับฉลาก

กลุมตัวอยาง
ตัวแทนประชาชนในพื้นที่ รับผิดชอบของหนวยบริ การปฐมภูมิ 4 ประเภท ไดแก หัวหนาหนวย
บริการปฐมภูมิ ตัวแทนผูป วยความดัน โลหิ ตสูงและผูปวยโรคปอดบวม จากหนวยบริการปฐมภูมิที่ มี
ประวัติการนอนโรงพยาบาลใน ป พ.ศ. 2551

ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. ผลลัพธเชิงประจักษที่สามารถใชสังเคราะหการพัฒนาคุณภาพการบริการในภาพรวม
2. ขอเสนอเชิงนโยบายตอการสนับสนุนในเชิงโครงสราง (ดานผูใหบริการและการพัฒนาบุคลากร)
ที่เหมาะสมในหนวยบริการปฐมภูมิ
7

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ระบบบริการสุขภาพของไทย
ระบบบริการสุข ภาพของไทย (Health service system) มีการจัดบริการสุขภาพออกเปนหลาย
ระดับ แบงเปน 3 ระดับคือ 1) ระดับปฐมภูมิ เปนบริการขั้นพื้นฐานที่เนนการแกปญหาสุขภาพที่ไมซับซอน
จัดบริการใหที่สถานีอนามัย หรือ ที่ศูนยสุขภาพชุมชน/ศูนยแพทยชุมชน หรือที่ศูนยบริการสาธารณสุขของ
เทศบาล 2) ระดับทุติยภูมิ มุงเนนการใหบริการแกผูที่มีปญหาสุข ภาพที่ซับซอ นขึ้น เปนบริการที่จัดใหที่
โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป และ 3)ระดับตติยภูมิ เปนบริการที่จัดใหแกผูปวยที่มีปญหา
ซับ ซอนมาก จัดใหที่โรงพยาบาลศูนยโรงพยาบาลในสังกัดสถาบันการศึกษาทางการแพทยตางๆ แต
ถึงแม จะมีการแบ งระดั บการใหบริ การอยางชัดเจน ยัง คงพบปญหาการใหบริ การที่ เปลี่ยนแปลงตาม
กระแสการปฏิรูประบบสุขภาพ เชน ความยากลําบากในการเขาถึงบริการ การเขารับการรักษาเมื่อ มี
ปญหารุนแรง การไมไดรับการดู แ ลอย างองครวม การไมเ กิ ดผลสําเร็ จในการปรับเปลี่ยนพฤติ กรรม
สุขภาพ คาใชจายดานสุขภาพโดยเฉพาะการรักษายังคงมีอัตราสูง และที่สําคัญคือปญหาดานคุณภาพ
และความไม เพียงพอของผูใหบริ การ [12] จึงยั งคงต องการคําตอบที่ชัดเจนอัน จะนําไปสูการพัฒนา
คุณภาพระบบบริการสุขภาพ
ระบบบริการระดับปฐมภูมิ
ระบบการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิหรือระดับตน (Primary care) ถือไดวาเปนบริการ
ดานแรกที่อยูใ กลชิดกับชุมชนและประชาชนมากที่สุด ชวยกลั่นกรองใหประชาชนที่ไมมีความจําเปนตอ ง
รับบริการในระดับอื่น ใหไดรับบริการที่เหมาะสมและมีคุณภาพที่สถานบริการระดับตน ซึ่งจะสงผลให
ประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพโดยรวมดีขึ้น [13] เนื่องจากประชาชนจะตองมาใชบริการในระดับนี้
กอนไปสูบริการระดับที่สูงขึ้น
หนวยบริการปฐมภูมิภายใตนโยบายหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดรับการพัฒนามาตรฐานและ
เงื่อนไขในการจัดบริการสุขภาพ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพของประเทศ ประชาชน
สามารถเขาถึง ทั้งดานกายภาพ ดานความสะดวกสบาย ใหไดรับบริการที่มีคุณภาพทางการแพทย การ
รักษาพยาบาลขั้นพื้นฐาน และเขาใจความตองการและสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชน
ไดอ ยางสอดคล อ งและเปน ระบบ หน วยบริการปฐมภู มิจึง เปน หน วยบริการด านแรกของระบบบริ การ
สุข ภาพ ควรมี คุณภาพเชิ งสั งคม เข า ใจความคาดหวั ง ความต อ งการ รู ป ญหาและความรู สึ กของ
ประชาชนที่มาใชบริการไดดกี วาหนวยบริการสุขภาพระดับอื่น การบริการปฐมภูมิตองจัดใหสอดคลองกับ
บริบท สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สภาพความตองการของชุมชน มีการสื่อสารใหเกิดความเขาใจที่ดี
8

ตอกัน ใหการดูแลสุขภาพตอเนื่อง สนับสนุนสงเสริมใหประชาชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง


อยางเหมาะสม เลือกตัดสิ นใจใชบริ การสุขภาพ สามารถพึ่ งตนเองและพึ่ งระบบบริการ การส งตอ มี
ประสิทธิภาพและสามารถจัดการแกไขปญหาสุข ภาพในพื้น ที่/ชุมชนที่พบบอย ไดดี เพื่อปอ งกันความ
รุนแรงของปญหาสุขภาพ เปนลักษณะของบริการใกลบาน ใกลใจ
ปญหาที่มักพบในระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ คือ
1. ประชาชนไทยยังไมไดรับสิทธิการมีสุขภาพดีอยางเพียงพอ ดังนั้นรัฐจึงจัดใหมีหลัก
ประกันสุขภาพถวนหนา อันถือเปนองคประกอบสําคัญของความมั่นคงทางสังคม
2. ประชาชนมีความสามารถและมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพตนเองนอย ซึ่งพบวายังคง
มีแบบแผนการเจ็บปวยดวยโรค หรือสาเหตุของการเจ็บปวยที่ปองกันไดอยูในระดับสูง
3. ระบบสุขภาพมีความไมเปนธรรมและเขาถึงยาก
4. ระบบบริการสุขภาพยังไมไดมาตรฐานและไมมีคุณภาพ
5. ระบบบริการสุขภาพยังไมมีประสิทธิภ าพ ยังไมสามารถใชท รัพยากรที่มีอยูอ ยางจํากัดใหเกิด
ประโยชนสูงสุดและคุมคาได
ความหมายของบริการระดับปฐมภูมิ
บริการระดั บปฐมภูมิ(Primary care) หมายถึ ง การดูแ ลสุข ภาพขั้น พื้น ฐานที่ รัฐต องจัดใหกับ
ประชาชนทุกคน ทุกครอบครัวอยางเปนองครวมและตอเนื่องในทุกภาวะของสุขภาพ เริ่มตั้งแตมีสุขภาพดี
มีภาวะเสี่ยง ภาวะเจ็บปวยและระยะสุดทายของชีวิต โดยครอบคลุมการสงเสริมสุขภาพการปองกัน โรค
การรักษาโรคเบื้องตน การดูแ ลแบบประคับประคอง ( Palliative care) และการฟนฟูส ภาพ รวมทั้งการ
ประสานงานเชื่อมโยงกับหนวยงานบริการอื่นๆ และการสงตอผูปวยไปรับบริการที่เหมาะสม โดยเนนการ
พัฒนาศักยภาพของประชาชน ครอบครัวและชุมชนในการดูแลตนเอง การใชภูมิปญญาทองถิ่น เทคโนโลยี
ที่เหมาะสมและการมีสวนรวม [14]
มาตรฐานของบริการระดับปฐมภูมิ
ขีดความสามารถ สามารถใหบริการผสมผสาน ดานการรักษาพยาบาล การสงเสริมสุข ภาพ
การปอ งกันโรค และฟนฟูส ภาพ มีบริการดานยา การตรวจเช็คชัน สูตรพื้น ฐาน โดยตอ งมีระยะเวลา
ใหบริการอยางนอย 56 ชั่วโมง/สัปดาห
การจัดหนวยบริการ จะตองจัดใหหนวยบริการปฐมภูมิ ที่รับผิดชอบดูแ ลสุขภาพของประชาชน
อยางตอเนื่อง ไมเกิน 10,000 คน/หนวยบริการปฐมภูมิ สถานที่ตั้งของหนวยบริการปฐมภูมิหลักและหนวย
บริการปฐมภูมิรอง ตองตั้งอยูพื้นที่ที่ประชาชนเดินทางไปรับบริการไดสะดวกภายใน 30 นาที โดยรถยนต
บุคลากร ตองมีบุคลกรทั้งแพทย พยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุข ที่มีความสามารถตามเกณฑ
มาตรฐาน ใหบริการที่หนวยปฐมภูมิ โดยมีสัดสวนบุคลากรขั้นต่ําตอประชากรดังนี้
แพทย 1: 10,000 ทันตแพทย 1: 20,000 พยาบาลหรือเจาหนาที่สาธารณสุข 1: 1,250 เภสัชกร ทํา
9

หนาที่ประจําหนวยบริการปฐมภูมิอ ยางน อ ยสัปดาหล ะ 3 ชั่วโมง ในพื้นที่ ที่มีแพทย ทันตแพทยไม


เพียงพอ อาจจัดใหมีพยาบาลวิชาชีพหรือ พยาบาลเวชปฏิบัติแ ทน (กรณีแ พทยไมเ พียงพอ) และ/หรือ
ทันตาภิบาล (กรณีทันตแพทยไมเพียงพอ) ตามมาตรฐานที่คณะกรรมการกลางกําหนด
การจัดการ ตองมีระบบการจัดการที่เหมาะสม มีความตอเนื่อง ความสะดวกรวดเร็ว และอาคาร
สถานที่ อุปกรณ เครื่องมือ เพื่อรักษาพยาบาล การสงเสริมสุข ภาพ การปอ งกันและควบคุมโรค และการ
ฟนฟูสุขภาพมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน มีระบบปองกันการติดเชื้อ มียานพาหนะเพื่อใชในการสงตอ
ผูปวย
ระบบการสงตอ มีระบบสงตอเชื่อมโยงกับสถานบริการระดับอื่น เพื่อการบริการอยางตอเนื่อง มี
ระบบการสงตอทั้งไปและกลับภายในเครือขาย และจัดระบบใหมียานพาหนะเพื่อใชในการสงตอไปยัง
โรงพยาบาล พรอมทั้งมีระบบการติดตอสื่อสารที่หนวยบริการสามารถรับคําปรึกษาภายในเครือขายอยาง
รวดเร็ว
การใหบริการตามความหมายของบริการปฐมภูมิ
สมจิต หนุเ จริญกุล [15] กลาวถึง การบริการปฐมภูมิว า เปนการดูแลสุขภาพขั้น พื้น ฐานที่จั ด
ใหกับประชาชนทุกดาน ในทุกภาวะของสุขภาพ เปนองครวมและตอเนื่อง ตั้งแตมีสุขภาพดี มีภาวะเสี่ยง
ภาวะเจ็บปวย และระยะสุดทายของชีวิต ครอบคลุมการสงเสริมสุขภาพ การปอ งกันโรค การรักษาโรค
เบื้องตน การดูแลประคับประคอง และการฟนฟูสภาพ มีการประสานงานเชื่อมโยงกับหนวยบริการอื่น ๆ
และการสงตอผูปวยไปรับบริการที่เหมาะสม โดยเนนการพัฒนาศักยภาพของประชาชนและครอบครัวใน
การดูแลตนเอง การใชภูมิปญญาทองถิ่นและการมีสวนรวมของชุมชน
สําเริง แหยงกระโทก และรุจิรา มังคละศิริ [16] กลาวถึง การบริการปฐมภูมิในลักษณะการบริการ
ที่มีรูปแบบ ที่ เปนสถานบริการดานแรก (First contact) เปนสถานบริการระดับตน (Primary care) เปน
สถานบริการเวชปฏิบัติครอบครัว (Family service) และเปนหนวยบริการปฐมภูมิ (Primary care unit) ซึ่ง
สอดคลองกับความหมายโดยสรุปของกระทรวงสาธารณสุข [17] วา บริการปฐมภูมิเปนบริการระดับแรกที่
อยูใกลชิดชุมชนมากที่สุด ดูแลประชาชนทั้งระดับบุคล ครอบครัว ชุมชนอยางใกลชิด ตั้งแตกอนปวย
และหลังปวย ทั้งดานรางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ รวมถึงการสรางชุมชนที่เขมแข็งดวย
จินตนา ยูนิพันธ [18] กลาวถึง การบริการปฐมภูมิวา เปนการพยาบาลระดับตน เนน การสราง
สุขภาพปองกันการเจ็บปวย การคัดกรองและการดูแลรักษาเบื้องตน การจัดการดูแลผูปวยเรื้อรังในชุมชน
การฟนฟูสภาพ การสรางเสริมการดูแลตนเอง เนนการใชทรัพยากรทองถิ่น ทรัพยากรในชุมชน
ทวี เ กี ย รติ บุ ณ ยไพศาลเจริ ญ [19] กล า วถึ ง การบริ การปฐมภู มิว า เป น การให บ ริ ก ารทาง
การแพทยและสาธารณสุขดานแรก (First contact care) ที่เ นนคุณภาพการใหบริการเชิงสังคมควบคูไป
กับเชิงเทคนิคบริการ กลาวคือ นอกจากผูใหบริการมีความรู ความสามารถดานการรักษาพยาบาลแลว
10

ยังตองมีความรูความสามารถในการสรางสัมพันธที่ดีกับประชาชนและชุมชนไดดีดวย จนทําใหการบริการ
มีความตอเนื่อง (Continuity) ผสมผสาน (Integrated) และมีลักษณะเปนองครวม (Holistic)
Starfied [20] ใหความหมายของระบบบริการปฐมภูมิ ในลักษณะบทบาทที่เปน
กระบวนการใหบริการที่เปนบริการดานแรกที่เขาถึงงาย (Access to care) ใหบริการตอเนื่อง (Continuing
care) บริการที่ผสมผสาน (Comprehensive care) และเปนหนวยที่ประสานการบริการกับบริการเฉพาะ
ทางอื่น หรือบริการทางสังคมอื่นที่เกี่ยวของ (Coordinate care)
โดยสรุป การใหบริการปฐมภูมิ เปนการบริการจุดแรกของระบบบริการสุขภาพของรัฐ ที่อยูใน
ชุมชน ประชาชนสามารถเขาถึงบริการไดงาย สะดวก เปนการใหบริการดานแรก ประชาชนสามารถ
พบผูใหบริการเมื่อไปรับบริการ มีการใหบริการแบบผสมผสาน ทั้งในเรื่อง การสงเสริมสุข ภาพ ปองกัน
โรค รักษาพยาบาลเบื้องตน และการฟนฟูสภาพ มีการใหบริการตอเนื่อง ดูแลผูปวยตั้งแตกอนเจ็บปวย
จนถึงหลังจากเจ็บปวย ดูแลผูปวยเรื้อรังอยางเปนองครวม มีการบริการประสานงานเชื่อมโยง การดูแล
ผูรับบริการใหไดรับบริการที่มีคุณภาพ มี ระบบสงต อ ผูปวย เนน การดูแ ลเชิงสังคมใหบริการเอาใจใส
เขาใจจิตใจผูปวยและประชาชน นอกจากนั้น มีระบบบริการในระดับบุคคล เนนการบริการครอบครัว
และชุมชน ประชาชนสามารถเดินทางไปรับบริการสะดวก ใกลบาน และมีการพัฒนาศักยภาพของ
ประชาชน ครอบครัว และชุมชนในการดูแ ลตนเอง รู ปญหาความตอ งการดานสุข ภาพของประชาชน
สามารถตอบสนองความคาดหวังดานสุขภาพ ใหบ ริการเอาใจใส มีมนุษยสัมพันธ ดูแลผูปวยเสมือน
ญาติ มีการสรางความเชื่อมั่น ไววางใจ ศรัทธาแกประชาชน อีกทั้งยังมีความรับผิดชอบในปญหาของ
ประชาชนอยางตอเนื่อง
คุณภาพบริการ
คุณภาพบริการถือเปนหัวใจที่สําคัญของหนวยบริการปฐมภูมิแ ละถือเปน เปาหมายของนโยบาย
หลักประกันสุขภาพแหงชาติ เพื่อใหเปนหนวยบริการปฐมภูมใิ กลบาน ใกลใจ
ความหมายของคุณภาพ (Quality) และคุณภาพการบริการ (Quality of service)
คุณภาพ (Quality)
Feigenbaum [21] ใหความหมายของคําวา คุณภาพ คือ ความสามารถที่จ ะผลิตใหผลผลิตนั้น
ตรงกับวัตถุประสงคที่ไดตั้งเอาไวดวยตนทุนคาใชจายที่ต่ําที่สุด
Crosby [22] กลาววาคุณภาพ คือ ความสอดคลองกับความตองการ ซึ่งแสดงใหเห็นวา การจะ
บรรลุถึงคุณภาพจะเกิดขึ้นไดเมื่อทําใหผลผลิตสอดคลองกับขอกําหนดที่ไดตั้งไว
Juran [23] ใหความหมายของคําวา คุณภาพ คือ ความเหมาะสมหรือคุณคาของผลิตภัณฑ
หรือ บริการที่ตรงตามความตองการของผูใช (Fit for use)
11

คุณภาพบริการ (Quality of service)


Canadian Council on Health Facilities Accreditation (CCHFA) [24] ใหความหมายของ
คุณภาพบริการ วา ระดับของการจัดบริการที่ทําใหกับผูปวยเพื่อเพิ่มผลลัพธที่ดีแ ละเหมาะสมกับความ
ตองการ โดยลดผลลัพธที่ผูปวยไมตองการ
Panasuraman และคณะ [25] เสนอว า คุณภาพขึ้น อยู กับ การรับ รูข องผูบ ริโภค (consumer
perception) ซึ่งหมายถึงคุณภาพการบริการในดานของผูบ ริโภคเกิดจากการเปรียบเทียบความคาดหวังใน
บริ การ และสิ่ งที่ ผูรั บ บริ การคิดว า ได รับ จากบริ การนั้ น บริ การจะมีคุณภาพเมื่ อ ผูรั บบริการไดรับสิ่ งที่
คาดหวังไว
นอกจากนั้ นคุณภาพมี 3 องค ป ระกอบหลั ก คื อ โครงสร าง กระบวนการ และผลลั พธ [26]
โครงสราง (Structure) หมายถึง คุณลักษณะตางๆของแพทยแ ละโรงพยาบาล เชน ความพอเพียงของ
ทรัพยากร เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย คุณวุฒิของแพทยหรือบุคลากรดานสุขภาพ สถานะของ
โรงพยาบาลรวมถึงรูปแบบการจัดการ และดานงบประมาณ โครงสราง ซึ่งเปรียบเสมือนปจจัยนําเขาของ
การบริ ก ารสุ ข ภาพซึ่ งเป น สิ่ งจํ า เป น สํ า หรั บ การให บ ริ ก ารสุ ข ภาพ กระบวนการ (Process) ได แ ก
สวนประกอบตางๆของปฏิสัมพันธ ระหวางแพทย หรือบุคลากรทางการแพทยอื่นๆกับ ผูปวยหรือลูกคา
ซึ่ง รวมกิ จกรรมที่ เ กิด ขึ้ น ภายในกลุมหรือ ระหว างกลุ มผู ให บริก ารและผู ป วย Donabedian [27] แบ ง
กระบวนการนี้เปน 2 ดาน คือ ดานเทคนิค และดานการปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ผลลัพธ (Outcome)
หมายถึง สภาวะของสุขภาพของผูใช การเปลี่ยนแปลงในสภาวะสุขภาพในปจจุบันและอนาคตของผูปวย
รวมถึ งด านจิ ตใจและสั ง คมที่ อ าจเป น ปจ จั ยนํ าของภาวะสุข ภาพตลอดจนผลกระทบที่ มีไปถึ งชุ มชน
[26, 27]
คุณภาพบริการสุขภาพ (Quality of care)
Lohr [28] กลาววา คุณภาพบริการสุข ภาพ ควรประกอบดวยความพึงพอใจดานสุขภาพของ
ประชาชนหรือแตละบุคคลตอระดับการใหบริการสุขภาพที่จัดใหสอดคลองกับความรูที่มีอยูปจจุบัน
Donabedian [26] ไดใหความหมายที่คอนขางครอบคลุม ประกอบดวยความหมาย 3 ดานของ
คุณภาพบริการสุขภาพ คือ
1. ความหมายที่มีความสมบรูณนั้นจะตองพิจารณาโดยเปรียบเทียบ ผลที่ได
และผลที่เสียหาย หรือ ความเสี่ยงตอสุขภาพ โดยผูใหการดูแลรักษาตองใหคุณคาของสิ่งนี้ โดยไมตอง
หวงถึงเรื่องตนทุนของคารักษา
2. ความหมายที่มาจากแตละบุคคล จะเนนเกี่ยวกับ ความคาดหวัง ถึงผลที่
ไดและผลเสียหาย รวมถึงผลที่ไมพึงประสงคที่อาจติดตามมา
3. ความหมายที่มาจากทางดานสังคม รวมถึง คาใชจายของการ
12

รักษาพยาบาล ผลที่ไดผลที่เสียอยางตอเนื่องและคํานึงถึงวา การดูแลนั้นไดมี การกระจายทั่วไปในหมู


ประชาชน
อนุวัฒน ศุภชุติกุล และคณะ [29] ใหนยิ ามคุณภาพบริการสุขภาพไววา หมายถึง การตอบสนอง
ความตองการที่จําเปนของลูกคาโดยอยูบนพื้นฐานของมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งนี้ประกอบดวย ความถูกตอง
มาตรฐาน และความถูกตองตรงความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการ
สํ า เริ ง แหยงกระโทกและคณะ [30] ได ใ ห ค วามหมายของคุ ณภาพบริ ก ารสุ ข ภาพว า มี
ความหมายครอบคลุมถึงคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพหรือ มาตรฐานวิชาการ (Technical standard)
และคุณภาพในมิติทางสังคมวัฒนธรรม (Socio-cultural) คุณภาพในมิติทางสังคมวัฒนธรรมบางครั้งนิยม
ใชความพึงพอใจของผูรับบริการ (Client satisfaction) เปนดัชนีวัดแทน คุณภาพบริการที่ดีตองเกิดจาก
การพิจารณาผูรับบริการในทุกๆมิติอยางมีองครวม และจัดการบริการใหเหมาะสม
นอกจากนั้นในมิติของความตองการทางสุขภาพ อนุวัฒน ศุภชุติกุล และจิรุตม ศรีรัตนบัลล[29]
ไดก ลาวถึ งองค ประกอบและมิติข องคุณภาพในมุ มมองและความคาดหวั งของผูรั บบริการ ว า ถึ งแม
มุมมองของผูประกอบวิชาชีพจะไดรับการกลาวถึงวาเปนสวนสําคัญในดานคุณภาพ มุมมองจากดานอื่นๆ
ก็ไดรับความสนใจมากเชนเดียวกัน ในชวงที่ผานมา คุณภาพ คือ การตอบสนองตอความคาดหวังและ
คานิยมของผูบริโภคที่มาใชบริการสุข ภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยแตละคน Mulley [31] กลาวว า
ความคิ ดเห็ น ของบุ คคลกลุ มนี้เ กี่ย วกั บ การบริ การเป นตั วชี้วัด ที่ สําคั ญตอ คุณภาพ ดังที่ Institute of
Medicine ไดใหคําจํากัดความของคุณภาพ วา ควรจะต องตรงกับ ความคาดหวัง ของผูรับบริ การของ
ผูปวยหรือผูรับบริการ [32] Anderson และคณะ [33] ไดชี้พื้นฐาน 6 ประเภทที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ
ของผูมารับบริการกับการรักษาพยาบาลและความรูสึกที่ผูปวยไดรับจากบริการเปนสิ่งสําคัญ ที่จ ะชวย
ประเมินระบบบริการทางการแพทยวา ไดมีการเขาถึงประชาชน ไดแ ก ความพึงพอใจตอความสะดวกที่
ไดรับจากบริการ ความพึงพอใจตอการประสานงานของการบริการ ความพึงพอใจตอขอ มูลที่ไดรับจาก
บริการ ความพึงพอใจต ออัธ ยาศั ย ความสนใจของผูใ หบริ การ ความพึ งพอใจตอ คุณภาพของบริการ
ความพึงพอใจตอคาใชจายเมื่อใชบริการ
โดยสรุปคุณภาพบริการทางสุขภาพ อาจมีนิยามไดวา หมายถึง คุณลักษณะของบริการที่เปนไป
ตามมาตรฐานที่เหมาะสม ปราศจากขอผิดพลาด ที่ทําใหเกิดผลลัพธที่ดีตอคุณภาพชีวิตและตอบสนอง
ความคาดหวังเปนที่พึงพอใจของผูรับบริการ ดังแผนภูมิที่ 1
13

แผนภูมิที่ 1: แสดงความหมายของคุณภาพในภาพรวม

ประสิทธิผลของงาน คุณภาพ ตอบสนองความคาดหวังของผูรับบริการ


(Effectiveness) (Quality) (Responsiveness)

ผลลัพธที่ดี ไดมาตรฐาน ไรขอผิดพลาด


(Good outcomes) (Standard) (Zero defect)

เครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการ
เครื่องชี้วัดเปนเครื่องมือในการวัดหรือประเมินคุณภาพวิธีหนึ่ง สามารถเปนเครื่องประเมินไดทั้ง
ผลลัพธ กระบวนการที่ ใหการดูแล และกระบวนการยอ ยๆที่เ กิดขึ้น ในระหวางกระบวนการหลัก [34]
สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข [35] ไดกลาวถึง เครื่อ งชี้วัดทางสุข ภาพใน
เอกสารเครื่องชี้วัดการประเมินผลการพัฒนาสุขภาพในสวนกระทรวงสาธารณสุข วามุงเนนที่ 1) อัตราการ
เกิดของเหตุการณทางสุขภาพตางๆ เชน การเกิดมีชีพ การตายมารดา ภาวะแทรกซอนจากการตั้งครรภ
2) ความชุกของลักษณะพฤติกรรมสวนบุคคลตางๆ เชน การคุมกําเนิด ในหญิงวัยเจริญพันธุ อัตราทารก
แรกเกิดน้ําหนักนอย 3) ความชุกของลักษณะพฤติกรรมขององคกรสุขภาพ เชน จํานวนสถานีอนามัยที่รับ
บริการฝากครรภอยางเหมาะสม จํานวนโรงพยาบาลที่เปดบริการผาคลอดทางหนาทอง
ประเภทของเครื่องมือวัดคุณภาพ
เครื่อ งมื อ ที่ ใช ในการวั ดคุ ณภาพที่เ ปน ยอมรับ ด านการตลาด และใชกันแพร หลายทั่วโลก คื อ
เครื่องมือวัดคุรภาพการบริการ เรียกวา SERVQUAL ซึ่งพัฒนาจากงานวิจัยเชิงสํารวจของ Parasuraman
และคณะ [11] ไดทําการวิจัยเชิงสํารวจ เกี่ยวกับคุณภาพบริการ ใชเวลา 7 ป (2526-2533) แบงออกเปน
4 ระยะ ไดแก
ระยะที่ 1 วิจัยเชิงคุณภาพ ในกลุมผูรับบริการและผูใหบริการของบริษัทชั้นนําหลายแหงและนําผล
ที่ไดมาใชในการพัฒนารูปแบบของคุณภาพบริการในระยะตอมา
ระยะที่ 2 วิจัยเชิงประจักษ โดยมุงศึกษาที่ผูรับบริการโดยเฉพาะ ใชรูปแบบคุณภาพบริการที่ได
จากระยะที่ 1 มาปรับปรุงดวยวิธีการวิจัย ไดเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพบริการที่เรียกวา SERVQUAL และ
ปรับปรุงเกณฑที่ใชในการตัดสินคุณภาพการบริการตามการรับรูและความคาดหวังของผูรับบริการ
ระยะที่ 3 วิจัยเชิงประจักษ ตอจากระยะที่ 2 แตครั้งนี้มุงศึกษาที่ผูใหบริการ ซึ่งมีการดําเนินงาน
หลายขั้นตอน เริ่มตนดวยการทําวิจัยในสํานักงาน 89 แหงของ 5 บริษัทชั้นนําในการบริการ แลวนําผล
วิจัยทั้ง 3 ระยะมาศึกษารวมกัน โดยการทําสนทนากลุม กับผูรับบริการและผูใหบริการ สัมภาษณเชิงลึก
ในกลุมผูบริหารและสุดทายทําการสํารวจทุกๆกลุมอีกครั้ง ใน 6 งานบริการ คือ งานบริการซอมบํารุง งาน
14

บริการบัตรเครดิต งานบริการประกันภัย งานบริการโทรศัพททางไกล งานบริการธนาคารสาขายอย และ


งานบริการนายหนาซื้อขาย
ระยะที่ 4 วิจัยเชิงสํารวจ มุงศึกษาที่ความคาดหวังและการรับรูข องผูรับบริการ และไดนําการ
ศึกษาวิจัยทั้ง 4 ระยะ มาสรางเปนแบบสอบถาม เรียกวา ศึกษาวิจัย SERVQUAL ซึ่งประกอบดวยมิติ
ของคุ ณภาพที่ ป ระเมิ น โดยผู รั บ บริการ 5 ดา น คื อ สิ่ง ที่ เ ป น รูป ธรรม (Tangibles), ความนาเชื่ อ ถื อ
(Reliability), การตอบสนองความตองการ (Responsiveness), ความรูความสามารถของผูใหบริการที่ทํา
ใหเกิดความเชื่อมั่น (assurance), และการดูแลเอาใจใส (empathy) แบบสอบถามนี้ไดรับการทดสอบใน
บริการทางสุขภาพหลายครั้ง พบวาไดมิติของคุณภาพที่ใกลเคียงกัน [36, 37]
SERVQUAL เปนการวัดความพึงพอใจของลูกคาที่มีการบริการคุณภาพที่แตกตางกัน เปนเสมือน
เครื่องมือที่ชวยในการทําวิจัยหาคุณภาพบริการจากลูกคา ลูกคาสามารถประเมินผลงานการบริการโดย
เปรียบเทียบระหวางการบริการที่ตอ งการกับความคาดหวังที่ตองการไดรับ ซึ่งมีมาตรวัดความพอใจการ
บริการ 22 คําถามดวยกัน แบบสอบถามจะถามคําถามที่เปนมาตรวัดทั้ง 22 คําถามวาลูกคาคาดหวัง
บริการไวอยางไรแลวจึงถามคําถามเดียวกัน วา บริการที่ไดรับไปนั้น เปนไปตามที่คาดหวังไวหรือไม ถา
บริการที่ไดรับมีความพึงพอใจนอยกวาที่คาดหวังไวในตอนแรก แสดงวาคุณภาพการบริการไมดีพอ แต
ในทางกลับกันถาความพึงพอใจดีเทากับความคาดหวัง หรือเกินจาการที่ตั้งความหวังไว แสดงวาคุณภาพ
การบริการดีหรือดีมาก
โครงการหลั กประกั น สุ ข ภาพถ ว นหน า [2] ได กล าวถึ งการจํ า แนกประเภทตั วชี้ วั ดว า ไม มี
กฎเกณฑที่ตายตัวขึ้นอยูกับวัตถุประสงคและเรื่องที่จะใชวัด โดยจําแนกประเภทตัวชี้วัดเปน 4 ประเภท
ตามดานกวางๆที่ตองการจะวัด ตามลําดับขั้นตอนการดําเนินงาน ตามประเด็นสําคัญที่ตองการวัด ตาม
คุณลักษณะจําเพาะ ดังนี้
1. จําแนกตามดานกวางๆที่จะวัด เชน เศรษฐกิจ การเมือ ง สังคม และวัฒนธรรม โดยการวัด
ทางดานสุขภาพ หากพิจ ารณายอ ยลงไปอีก ไดแ ก ตัว ชี้วัดดา นนโยบายสุขภาพ (Health indicators)
ตัวชี้วัดดานบริการสุขภาพ (Indicators for provision of health care) ตัวชี้วัดดานสถานะสุขภาพ (Health
status indicators) เปนตน
2. จํ า แนกตามลํ า ดั บ หรื อ ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น โครงการ เช น ตั ว ชี้ วั ด ป จ จั ย นํ า เข า (Input
indicators) ตัวชี้วัดกระบวนการ (Process indicators) ตัวชี้วัดผลผลิต หรือผลการดําเนิน การ (Output
indicators) ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome indicators) ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact indicators)
3. จําแนกตามประเด็นที่ตองการวัด ไดแก
3.1 ความเปนธรรม (Equity indicators) ซึ่งแบงเปนความเปนธรรมดาน
การจายเงิน (ดัชนีความเสมอภาคของการจายเงิน) และความเปนธรรมของการบริการ (ดัชนีการกระจาย
ของการเจ็บปวย ดัชนีการกระจายของการใชบริการ)
15

3.2 คุณภาพ (Quality indicators) ตัวชี้วัดนี้ ประกอบดวย 3 ประเภท คือ เครื่องชี้วัด


คุณภาพโครงสราง ประเมินดานโครงสรางของการจัดบริการของระบบ เครื่องชี้วัดกระบวนการ ประเมิน
กระบวนการ กิ จ กรรม หรื อ ขั้ น ตอน ในการให บ ริ การดู แ ลรั กษาผู ปว ยที่ เ กิ ดขึ้ น เครื่ อ งชี้ วัดผลลั พ ธ
ประเมินสิ่งที่เกิดขึ้น หรือไมเกิดขึ้นกับผูปวย อันเปนผลลัพธจากกระบวนการใหบริการการดูแล
3.3 ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency indicators) ใช เ พื่ อ วั ด ผลการดํ าเนิ น การที่ เ กิ ด ขึ้ น
เปรี ยบเทียบกับ ทรั พยากรที่ ใช ไป เชน จํานวนเงิน บุค ลากร เวลา ฯลฯ ที่ ใชไปเปรีย บเที ยบระหว า ง
โครงการ หรือกิจกรรมวาโครงการหรือกิจกรรมใดใหผลมากกวากัน หรืออาจเปรียบเทียบวาผลเทากันของ
โครงการใดใชทรัพยากรนอยกวากัน เปนตน ตัวชี้วัดในดานนี้ เชน ตนทุนการรักษาพยาบาลตอผูปวยหนึ่ง
ราย ภาระงานตอบุลากรหนึ่งคน
3.4 ประสิ ทธิผ ล (Effectiveness indicators) การวัดประสิ ท ธิ ผลของโครงการ โดย
เปรียบเทียบกับผลงานที่ทําไดกับเปาหมายที่ตั้งไว
4. จําแนกตามคุณลักษณะจําเพาะของตัวชี้วัดเอง ไดแก ตัวชี้วัดจําเพาะ มีตัวชี้วัดเดียวที่สามารถ
บอกสภาพของสิ่ ง ที่ตอ งการจะวั ด เชน อั ตราการเกิ ด อั ตราการตาย และตัว ชี้ วัดแบบองค ป ระกอบ
ตัว ชี้ วั ดชนิ ด นี้ ประกอบด วยตั วชี้ วัดหลายๆตั ว มาประกอบการวิ เ คราะห ห รื อ พิ จ ารณาร วมกัน เช น
Human development index-HDI ประกอบด ว ย ตั ว ชี้ วั ด 3 ตัว คื อ อายุ ค าดเฉลี่ ยแรกเกิด ระดั บ
การศึกษา ระดับรายได
ตัวชี้วัดคุณภาพบริการในประเทศไทย
ในประเทศไทย ภาคเอกชนไดเริ่มใช ISO ที่เปนระบบมาตรฐานสากลเพื่อใหเกิดศักยภาพ
ของการแขงขันในตลาด สํานักงานมาตรฐานสากลภาครัฐแหงประเทศไทย ไดจัดทํามาตรฐาน
สากลของประเทศไทยด านการจั ดการและผลสัมฤทธิ์ของงานภาครัฐ 10 ระบบ ไดแ ก ประสิ ทธิภาพ,
คุณภาพ, ความทั่วถึง, ความเสมอภาค, ความเปนธรรม, สนองตอบความตองการ, สนองตอบความพึง
พอใจ, ความตอเนื่อง, ความสะดวกสบาย, ความพรอมใหบริการ
โดยสรุป เครื่อ งมือ การประเมินคุณภาพบริการ เปนการประเมิ นดานเทคนิคและกระบวนการ
โดยคํ านึงถึงความคาดหวังและบริการที่ได รับตามเทคนิค หรือ กระบวนการนั้ น ๆ เครื่อ งมือ ที่ ใชใ นการ
ประเมิ น ต อ งสามารถบอกถึ งในด า นสั ง คมได ด ว ย ประเด็ น ที่ ตอ งการวั ด ได แ ก ด า นประสิ ท ธิ ภ าพ
ประสิทธิผล คุณภาพ และการตอบสนองความตองการของผูรับบริการ
เครื่องมือวัดคุณภาพบริการปฐมภูมิ
Institute of Medicine (IOM) ประเทศสหรัฐอเมริกา [38] ไดกําหนดคุณลักษณะของการประเมิน
บริการปฐมภูมิไว 5 ดาน ไดแก การเขาถึงบริการ การบริการแบบผสมผสาน การประสานเชื่อมโยง การ
ดูแลตอเนื่องและ การตรวจสอบได โดยใชเครื่องชี้วัดเชิงบวกประกอบดวย 21 ขอคําถาม ดังนี้ การเขาถึง
บริการ (7 ขอ) การบริการผสมผสาน (6 ขอ) การประสานเชื่อมโยง (4 ขอ) การดูแลตอเนื่อง (3 ขอ) และ
16

การตรวจสอบได (1 ขอ) หลังจากนั้น Proctor and Campbell [39] ไดเ พิ่มการประเมินดานประสิทธิภาพ


การดําเนินงานเพื่อใหสมบรูณขึ้น ผลของการประเมินดังกลาว แสดงถึงคุณลักษณะดี หรือ ไมดี ของการ
บริการในหนวยบริการปฐมภูมิ แตมีสงผลตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการคอ นขาง
นอย [40]
ตอ มา Institute of Medicine (IOM) [41] ได พัฒนาเครื่ อ งมือ ประเมิ น บริการปฐมภู มิ เป น
เครื่องมือการประเมินการปฏิบัติงานผูปวยนอกระดับปฐมภูมิ (Primary Care Assessment Tool: PCAT)
ซึ่งนิยมใชกันแพรหลายในตางประเทศ สามารถใชไดกับผูปวยโรคเฉียบพลันและโรคเรื้อ รัง การออกแบบ
เครื่อ งมือ อิงนิ ยามศั พทข องบริการปฐมภูมิ ในมิ ติของ การบริการดานแรก การดู แลผสมผสาน การ
ประสานเชื่อมโยง การดูแลตอเนื่อง การตรวจสอบไดในบริการเชิงรุก (ในชุมชน) เปนเครื่องมือที่ใชวัดใน
มิติของผูปวยตอการใหบริการที่ไดรับ เครื่องมือนี้ ตอมาประเทศอังกฤษไดนํามาปรับปรุงเพื่อใช สําหรับ
เวชปฎิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว พัฒนาเปนแบบสอบถาม เรียกวา General Practice Assessment
Questionnaire (GPAQ) เป น ที่ นิ ยมใช กั น อย า งแพร ห ลาย ซึ่ งเมื่ อ ที มวิ จั ยของคณะแพทยศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล ไดนําเครื่องมือนี้มาทดลองใชในการประเมินคุณภาพสถานบริการปฐมภูมิในประเทศ
ไทย พบวามีความเที่ยงตรงและความเชื่อถือสามารถนําไปใชในการประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิได
โดยทําการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตรครอบครัว 3 คน และนําไปทดลองใชกับผูปวยใน
30 คน จากนั้นไปทดสอบความเที่ยงและความตรงจากผูปวย จํานวน 2,600 คน พบวาแบบสอบถาม สูง
กวามาตรฐานที่ยอมรับไดเทากับ 0.70 [42]
Canadian Institute for Health Information (CIHI) ไดพัฒนาตัวชีว้ ัดการเขาถึงคุณภาพ
บริการปฐมภูมิ ดวยการจัดกลุมโรคทีม่ ีความไวหรือการตอบสนองไดเมื่อไดรับการบริการที่ระดับปฐมภูมิ
แสดงถึ งการเป น โรคที่ ส ามารถดู แ ลและป อ งกั น ได ที่ ร ะดับ ต น เรี ยกว า Ambulatory Care Sensitive
Condition (ACSC) ประกอบดวยกลุมโรคเฉียบพลันและกลุมโรคเรื้อรัง การประเมินคุณภาพวัดจากอัตรา/
จํา นวนรอ ยละของผู ป วยที่ มารัก ษาที่ โรงพยาบาล หรื อ ต อ งนอนโรงพยาบาล ด วยโรคที่อ ยู ใ นกลุ มนี้
(Ambulatory Care Sensitive Condition Admission: ACSCA) การจัดกลุมโรค ดําเนินการโดยแพทย
ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ ของประเทศ แคนาดา ภายใตพื้นฐานทางทฤษฎีและงานวิจัย
สนับสนุน ที่วาหากผูปวยในกลุมโรคนี้ ไดรับบริการที่มีคุณภาพจากบริการปฐมภูมิ อาการแทรกซอ น
ความเสี่ยงตอการเกิดโรคอื่น ๆ จนตองเขาพักรักษาตัวจะลดลง [43-45] และหากผูปวยไปรักษา ที่ระดับ
ทุติยภูมิ (โรงพยาบาล) สามารถพยากรณไดวา เกิดจากการขาดการดูแล การปอ งกันโรค ที่เ หมาะสม
จากบริ การปฐมภู มิ ACSCA จึ งเป นข อ มูล ที่ มีป ระโยชน เ ชิงนโยบาย จากฐานขอ มู ลของ Medline,
Australian Medical Index และผลงานทางวารสารภาษาอังกฤษ ในชวง ป ค.ศ. 1970-2005 พบวา
ACSCA เปนตัววัดหนึ่งที่ใชวัดดานกระบวนการดําเนินงานบริการปฐมภูมิ (ผลลัพธที่เกิดขึ้นสะทอนไปถึง
กระบวนการ) เปนตัววัดที่มีความเที่ยงตรงและมีความเชื่อถือ สามารถเปนตัวแทนเชิงนโยบายได จาก
17

งานวิ จัย หลายชิ้ น พบวา อัตราการเข าโรงพยาบาลของกลุ มโรคที่อ ยู ในรายการ (ACSC List) ยั งมี
ความสั มพั น ธ กั น ระหวา ง คุ ณภาพบริ การปฐมภู มิกับ อั ตราการนอนโรงพยาบาล [46] รวมถึ ง ฐานะ
เศรษฐกิจสังคม และพื้นที่ทางภูมิศาสตร [47] การที่ผูปวยไดรับการติดตามเยี่ยมบานอยางใกลชิด มีการ
ดูแลตอเนื่อง สามารถลดจํานวนผูปวยในโรงพยาบาลอยางชัดเจน [48] ผูปวยที่อยูในพื้นที่ที่ข าดแคลน
แพทย / ผู ใ ห บ ริก าร ยา เวชภั ณฑ พบว า มี อั ตราการเข า โรงพยาบาลสู ง [49] เช น เดี ย วกั บ ผู ที่ ไ ม มี
หลักประกัน ผลการเขาโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น [43] หรือแนวโนมของการเขาโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น เนื่อ งจาก
การดูแลดานปองกันโรคที่ไมเหมาะสม [49] พบมากขึ้นในผูปวยที่มีรายไดนอย [45, 50-52] กลุมผูสูงอายุ
[53] ผูป วยที่ ตอ งจายเงิน ค ารักษาพยาบาลเอง [49] และผูปวยที่อ ยูในเขตพื้นที่ช นบท [45, 53, 54]
คุณภาพการบริการปฐมภูมิที่ดี สงผลตออัตราการลดลงของการเขาโรงพยาบาล [44, 45] ซึ่งสอดคลองกับ
การศึกษาในภาคใตของรัฐ Carolina [47] จากขอมูลของโรงพยาบาล 1,995 แหง พบวา ผูปวยที่ยากจน
หรือเขตพื้นที่ชนบทมีอัตราการเขาโรงพยาบาลทั้งผูปวยนอกและผูปวยในสูงกวา ผูปวยที่มีฐ านะดีหรือ
ผูปวยที่อยูในพื้นที่เขตเมือง [44, 45]
Rowe และ Mackeith [55, 56]ไดสังเคราะหแนวทางการวัดคุณภาพบริการปฐมภูมิไว 3 แนวทาง
ไดแก วัดจากผูปวยที่ไดรับบริการเรียบรอยแลว โดยการสอบถาม เชน การไดพบผูใหบริการในทันที การ
ติดตามผลการใหบริการ วัดจากกลุมผูปวย โดยการสรุปรายงานความกาวหนาของการบริการผูปวยเมื่อ
เปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไว และวัดจากการเปรียบเทียบเชิงวิชาการ โดยผูใหบริการเปรียบเทียบ
งานที่ตนปฏิบัติกับคุณภาพและมาตรฐานงาน Rowe และ Mackeith [57] เชื่อวา ผลลิต/ผลลัพธ บางตัว
เปนตัวชี้วัดที่มีจุดประสงคชัดเจน และคอ นขางงายเกินไป เนื่องจากมีการกําหนดเปาหมายชัดเจน เชน
อัตราการไดรับวัคซีน แต Proctor และ Campbell [39] ยืนยันวา ผลลัพธของการบริการปฐมภูมิ เปนสิ่งที่
ยากตอการตัดสินคุณภาพการบริการ เนื่องจากเศรษฐกิจและสังคมสงผลตอคุณภาพบริการทางคลินิก
Philip และคณะ [58] อธิบายถึงการประเมินคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ ของ ประเทศอเมริกาเหนือ วา มี
องคประกอบ 6 ดาน ไดแก ดานกายภาพ ดานการแพทย ดานการจัดการและการเงิน ดานจิตใจดาน
สิ่งแวดลอม ดานสิทธิมนุษย ประกอบดวย 53 มาตรฐาน ประเมิน ระดับของคะแนน จาก ดีที่สุดถึงแย
ที่สุด
นอกจากนั้น วิธีการประเมินจากจุดแข็งและจุดออนของบริการก็เปนวิธีหนึ่งที่นิยมใช เพื่อวัดในเชิง
โครงสราง กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ [59] การกําหนดมาตรฐานคุณภาพ การสํารวจความพึงพอใจ
ของผูปวย ตัวชี้วัดคุณภาพ ขอมูลผลลัพธและผลผลิตของกระบวนการ ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน (จํานวน
ใบสั่งยา) ขอมูลอัตราการตายและอัตราการเกิดโรค การวิเคราะหกิจ กรรมตา งๆ (ปฏิสัม พันธระหวา ง
ผูใหบริการกับคนไข) การประเมินเชิงกระบวนการ การวัดคุณภาพบริการโดยใช ตัวแทนของกลุมโรค เชน
โรคเรื้อรัง โรคเฉียบพลัน หรือ ตัวแทนของสิ่งที่ควบคุมไมได [56, 60-64]
18

ในดานความพึงพอใจ ก็มีการใชกันแพรหลายในการประเมินประสิทธิผ ลและคุณภาพของบริการ


ปฐมภูมิเชนกัน Pouton และ West [65] และ Kandall และ Lissauer [66]ไดกําหนดประเด็นที่สําคัญตอ
การประเมินระหว างผู ปวย กับ ผูใ หบริ การ ได แก การเขาถึงบริการ และ การยืดหยุนต อการนัดหมาย
ความรูและทักษะของผูใหบริการ ความเปนสวนตัวกับการรูสึกภาคภูมิใจในตัวเอง ความเขาใจบทบาท
ของผูใหบริการ การดูแลตอเนื่อง การมีสวนรวมในกิจกรรม อยางไรก็ตาม แบบประเมิน ความพึงพอใจ
เป นสิ่ งประเมิ นค อ นขา งยากเนื่ องจาก บางครั้ งผู ใช บริ การมี ความคาดหวัง ตอ การบริการบางครั้ง เกิ น
ความสามารถ การประเมิน จึงควรมีการประเมิน ทั้ง 2 ดา น คือ ทั้งผูใ หบริการและผู รับบริการ และ
เปรียบเทียบตอการบริการที่ไดรับ [67]
ประเทศไทยใชมาตรฐานการประเมินศูนยสุขภาพชุมชนเปนตัววัดคุณภาพบริการปฐมภูมิ สําหรับ
มาตรฐานดานบริการไดกําหนดเกณฑการประเมิน 3 ดาน [68] ไดแก ดานกิจ กรรมในชุมชน กิจกรรมใน
หนว ยบริ การปฐมภู มิ และการบริ การต อ เนื่ อ ง มาตรฐานด านกิจ กรรมในชุ มชน ได แ ก การติ ดต อ
ประสานงานใหประชาชนมีสวนรวมในการวางแผน/ทํากิจกรรมสาธารณสุขในชุมชน ตนเองและสนับสนุน
การจั ดกิจ กรรมสุ ข ภาพที่ริ เริ่ มจากองคกรชุมชน/ทอ งถิ่ น ร วมดํ าเนิน งานกั บหนวยราชการ/องคก รที่
เกี่ยวของเพื่อการจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ ปองกัน โรค สรางความเขมแข็งใหชุมชน ใหบริการเชิงรุก
เพื่อใหชุมชนสามารถ ประเมินสภาวะสุขภาพของครอบครัว และปจจัยที่จะกระทบตอสุขภาพ เพื่อวางแผน
ในการสรางสุขภาพ การปอ งกันโรคและคุมครองผูบริโภคดานสุข ภาพ มีและใชแ ฟมครอบครัว เพื่อการ
ดูแลสุขภาพ มีและใชแฟมชุมชน มาตรฐานกิจกรรมในหนวยบริการปฐมภูมิ ไดแก ตองมีรูปแบบบริการ
ที่เห็นชัดเจนดานการดูแลสุขภาพแบบองครวม มีระบบขอมูลที่สามารถสืบคนขอมูลกลุมเสี่ยง กลุมผูปวย
การติดตามและการสงตอไดสะดวก ทีมสุขภาพสามารถเชื่อมโยงขอมูลการเจ็บปวยของผูมารับบริการไปสู
การปองกันปญหาเสริมสรางสุขภาพ (กายจิตสังคม) ในกลุมเสี่ยงไดอยางถูกตองตามแนวทาง กระบวนการ
มาตรฐาน คูมือ มีบริการรักษาพยาบาล ทุกกลุมอาการ ที่ผสมผสานกับการสงเสริม ปอ งกัน ฟนฟูส ภาพ
เชื่อมตอกับการบริการภายในเครือขายและการดุแลฉุกเฉินทั้งในและนอกเวลาราชการ มีการจัดบริการ
ดาน ทันตกรรมและการสงเสริมปองกันโรคทางดานทันตกรรม มีบริการดานการชันสูตรที่ครบมาตรฐาน
มีบริการดานยา ทั้งดานระบบการจัดหายา การจัดเก็บ การจายยา การกํากับคุณภาพ มาตรฐานยา
มีบริการทางการแพทยแผนไทย/การแพทยทางเลือก และมีบริการดานการสงเสริมสุขภาพ และการปองกัน
โรคในหญิงตั้งครรภ และเด็กอายุ 0-5 ป มาตรฐานบริการตอ เนื่ อง ไดแ ก ตองมี และใชบัน ทึกสุข ภาพ
รายบุคคล มีบริการใหคําปรึกษา มีระบบสงตอที่มีคุณภาพทั้งไปและกลับในกรณีฉุกเฉินไดอยางรวดเร็ว
มีการบริการเยี่ยมบาน เพื่อใหการบริการ รวมทั้งติดตามเยี่ยม เพื่อทําความรูจัก สรางความเขาใจในการ
ดูแลสุขภาพใหแกครอบครัว และการใหบริการแกผูที่มีปญหาสุขภาพตามความจําเปน
19

โดยสรุป การประเมินคุณภาพบริการ ประกอบดวย โครงสราง กระบวนการบริการ และผลลัพธ


การประเมิน ผลการดํ าเนิน งาน สามารถวัดจากรอ ยละ/อัตราการนอนโรงพยาบาลดว ยโรคที่ส ามารถ
ปองกันอาการแทรกซอนไดที่ระดับปฐมภูมิ (ACSC) การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิตามนิยามบริการ
ปฐมภู มิ การตอบสนองความคาดหวั งในบริการปฐมภูมิดานความพึง พอใจของผูรับบริ การ หรื อการ
ประเมินจุดออน จุดแข็งของการบริการที่มอี ยู
กรอบแนวคิดในการศึกษา
การสรางกรอบแนวคิด นํามาจากการทบวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการศึกษาดานเครื่องมือและ
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริการ
การสรางกรอบการประเมินคุณภาพบริการ
จากบทสรุ ปคุ ณภาพการบริก าร ตามแผนภูมิที่ 1 และ จาก กรอบการประเมิ นคุ ณภาพของ
Donabedian [27] , จิรุตม ศรีรัตนบัลล [69] ในองคประกอบ 3 ดาน ไดแก ดานโครงสราง (การจัดบริการ
ของระบบ) กระบวนการ (กิจกรรม ขั้นตอนในการบริการที่เกิดขึ้น) ผลผลิตและผลลัพธสิ่งสุดทายที่เกิดขึ้น
การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยจะทําการประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ จากการดูแลผูปวยโรคในกลุม ACSC
ที่ผูวิจัยนํามาใชเปนตัวแทน คือ โรคความดันโลหิตสูง (ตัวแทนโรคเรื้อรัง) และโรคปอดอักเสบ (ตัวแทนโรค
เฉียบพลัน) [44, 45, 48-50, 52] การประเมิน ผลลัพธประเมินจากการเปรียบเทียบความคาดหวังกับ
บริการที่ไดรับเพื่อหาชองวางของการบริการจากประชาชนในพื้นที่ของหนวยบริการปฐมภูมิ
กรอบการประเมิ น ผลลั พ ธ พั ฒ นาจาก เครื่ อ งมือ ของ SERVQUAL ซึ่ ง เป น การศึ ก ษาของ
Parasuraman และคณะ [70] ความคาดหวังกับ บริการที่ไดรับ กิจกรรมการบริการปฐมภูมิ นํามาจาก
ความหมายโดยสรุปของบริการปฐมภูมิและพัฒนาจากเครื่องมือ การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิข อง
PCAT (Primary care assessment tool) ได แก การใหบริ การด านแรก ผูรับบริการสามารถไดพบ
ผูใหบริการเมื่อ ไปรับบริการ (First contact), การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care) การดูแล
ตอเนื่อง (Longitudinal care) การใหบ ริการแบบเนนการประสานงาน เชื่อมโยง สงตอจากหนวยบริการ
ปฐมภูมิกับสถานบริการอื่น ๆ (Coordinate care) การใหบริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน (family and
community oriented) และการใหบริการเชิงสังคม เนนการดูแลเอาใจใส (Empathy relationship)
เครื่องมือที่ใชในการงานวิจัย ดานโครงสรางใชแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นและแบบสํารวจเชิง
โครงสราง และกึ่งโครงสรางที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น ดานกระบวนการ ดัดแปลงจากการดูแลผูปวยโรคความดัน
โลหิตสูงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ตามแนวเวชปฏิบัติ (Clinical Practice Guideline) ของ
ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ดานผลผลิต ใชห ลักประเมินของ
ACSCA คือประเมินจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคปอดบวม
จากหนวยบริการปฐมภูมิ ดานผลลัพธ ประเมินการตอบสนองความคาดหวังในบริการปฐมภูมิ พัฒนาจาก
แนวคิดของ SERVQUAL ในมิติข องการเปรียบเทียบ ความคาดหวั งกับบริการที่ไดรับ และ 5 มิติที่เป น
20

องคประกอบของเครื่องมือ ไดแก การบริการเปนรูปธรรม (Tangibles), ความนาเชื่อ ถือ (Reliability), การ


ตอบสนองความตองการ(Responsiveness), ความรูความสามารถของผูใหบริการที่ทําใหเกิดความเชื่อมั่น
(assurance), และการดูแลเอาใจใส (empathy) กิจกรรมการประเมินในแตละดาน พัฒนาจาก เครื่องมือ
ของ PCAT(Primary care assessment tool)
21

บทที่ 3

ระเบียบวิธีวิจัย

วัตถุประสงคของการวิจัย
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อ ประเมินและเปรียบเที ยบคุณภาพการบริการของหนวยบริ การปฐมภูมิ 4 ประเภท (หนวย
บริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่ส าธารณสุข หนวยบริการ
ปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข หนวยบริการ
ปฐมภูมิที่ ใหบ ริการประจํา โดยทีมพยาบาลวิ ชาชี พ/เจาหนาที่ สาธารณสุข และหน วยบริการปฐมภูมิที่
ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข)
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. เพื่อศึกษาการดูแลตามแนวเวชปฎิบัติของโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
2. เพื่อศึกษาผลการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน คือ
สํารวจจํานวนรอยละของผูปวยในของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคปอดบวม จากพื้นที่รับผิดชอบ
ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
3. เพื่อ ศึกษาการตอบสนองความคาดหวั งตอ บริ การปฐมภูมิ 6 ดา น (การให บริการดานแรก
(First contact), การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care) การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care)
การใหบริการประสานงาน เชื่อมโยง (Coordinate care) การใหบริการแบบเนน ครอบครัว ชุมชน (family
and community oriented) และการใหบ ริการเอาใจใส (Empathy relationship) ของหนว ยบริการ
ปฐมภูมิ 4 ประเภท
22

กรอบในการดําเนินการวิจัย

คุณภาพบริการปฐมภูมิ
(Quality of primary care)

โครงสราง กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ

จํานวนรอยละการนอน
ผูใหบริการ การจัดการ รพ.ดวย
-โรคความดัน โลหิตสูง
เครื่องมือ/ -โรคปอดบวม
งบประมาณ
เครื่องใช
การตอบสนองความตองการ
(Responsiveness)
การดูแลตามแนวเวชปฏิบัติ
- โรคความดันโลหิตสูง
- โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ความคาดหวังกับบริการที่ไดรับ
เฉียบพลัน 1. บริการดานแรก
2. บริการผสมผสาน
3.บริการตอเนื่อง
4. บริการเชื่อมโยง ประสานงาน
5. บริการเนน ครอบครัว ชุมชน
6. บริการแบบการเอาใจใส

ในการวิจัยนี้ผู วิจั ยไดศึกษาประเมินโครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภทที่ มีความ


แตกตางในดานผูใหบริการเปน 4 ดาน ไดแก ดานบุคลากร ดานงบประมาณ ดานการจัดการ และดาน
เครื่องมือ/เครื่องใชในภาพรวม จากนั้นดําเนินการศึกษาดานผลผลิต ศึกษาจากการจํานวนรอ ยละการ
นอนโรงพยาบาลของโรคในกลุมโรคที่สามารถดูแลและปอ งกันการเกิดโรคแทรกซอ นไดบริการปฐมภูมิ
(ACSC admission) ซึ่งผูวิจัยไดเลือก โรคความดันโลหิตสูง เปนตัวแทนการดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง เนื่องจาก
เปนโรคที่เปนอาการรวมของโรคเรื้อ รังอื่น ๆ ที่กอใหเกิดโรคแทรกซอนตามมางายขึ้น หากมีไมไดรับการ
ดูแ ลที่ ดี และโรคปอดบวม เป นตัว แทนการดูแ ลโรคแบบเฉียบพลั น ซึ่งโรคปอดบวมมีความสํา คัญสู ง
23

โดยเฉพาะเมื่อเกิดในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป เปนโรคที่มีอัตราตายสูงเปนอันดับ 1 ของโรคติดเชื้อ ในเด็กอายุ


ต่ํากวา 5 ป และ มีแนวโน มการเจ็บปวยและเสียชี วิตสูง ดานผลลัพธ ศึกษาการตอบสนองตอความ
ตองการในบริการปฐมภูมิของประชาชนในมิติของการใหบริการ 6 ดาน ไดแก ดานบริการดานแรก บริการ
ผสมผสาน บริการตอเนื่อง บริการเชื่อมโยง ประสานงาน บริการเนน ครอบครัว ชุมชน และบริการแบบ
การเอาใจใส และศึกษา

นิยามศัพท
หนว ยบริการปฐมภูมิ (Primary care unit : PCU) หมายถึง หนว ยบริการทางการแพทย
สาธารณสุ ข ที่มีหน าที่ ความรั บผิ ดชอบในการจัดบริการตอบสนองตอ ความจําเป นทางดานสุข ภาพขั้ น
พื้นฐานของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความเชื่อมโยงตอ เนื่องของกิจกรรมดานสุข ภาพ ในลักษณะ
องครวม ผสมผสาน โดยใหประชาชนเขาถึงบริการไดอยางสะดวก ใกลบาน โดยทํางานประสานกันกับ
หนวยบริการคูสัญญาหลัก
บริก ารปฐมภู มิ (Primary care) หมายถึ ง การให บริ การดานแรกแกป ระชาชน ผูรั บบริการ
สามารถได พบผูใ หบริการเมื่ อไปรั บบริการ (First contact) การใหบ ริ การผสมผสาน (Comprehensive
care) การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care) การใหบริการแบบเนนการประสานงาน เชื่อมโยง สงตอจาก
หนวยบริการปฐมภูมิกับสถานบริการอื่น ๆ (Coordinate care) การใหบ ริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน
(family and community oriented) และการให บ ริก ารเชิ ง สั ง คม เนน การดู แ ลเอาใจใส (Empathy
relationship)
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ผูปวยที่มีภาวะระดับความดันโลหิตสูงและ
ตอเนื่องที่เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดอาการแทรกซอน และความเจ็บปวยตอระบบหัวใจ หลอดเลือด เชน
เสนเลือดในสมองแตก หัวใจลมเหลว หลอดเลือดโปงพอง ปสสาวะเปนเลือดและไตลมเหลว
โรคปอดบวม (Pneumonia) หมายถึง ภาวะปอดเกิดการอักเสบ ซึ่งติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ซึ่งใน
สภาวะที่ผิดปกติ อาจจะเกิดจาก เชื้อรา และ พยาธิ เมื่อเปนปอดบวม จะมีหนอง และสารน้ําอยางอื่นใน
ถุงลม ทําใหรางกายไมสามารถรับ oxygen ทําใหรางกายขาด oxygen และอาจถึงแกชีวิตได
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน (Acute respiratory infection ARI) หมายถึง โรคติดเชื้อ
เฉียบพลันของระบบหายใจ ตั้งแตชองจมูกจนถึงถุงลมในปอด มีอาการไมเกิน 4 สัปดาห

วิธีการดําเนินการวิจัย
การศึกษาครั้งนี้ใชระเบียบวิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional) และการศึกษาแบบ
ยอ นหลังเพื่อ เปรียบเทียบและหาความสัมพันธ (Retrospective cohort study) โดยพื้นที/่ หนวยบริการ
ปฐมภูมิ คือ ศูนยสุขภาพชุมชนหรือสถานีอนามัย จํานวน 35 แหง จาก 165 แหงใน 9 อําเภอของจังหวัด
24

พิษณุโลก การสุมกลุมตัวอยางใชการสุมแบบกลุม 2 ขั้น (Two-stage cluster) ขั้นที่ 1 จัดตามประเภทของ


หนวยบริการปฐมภูมิอ อกเปน 4 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดย
แพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพและเจาหนาที่สาธารณสุข, ประเภทที่ 2 เปนหนวยบริการปฐมภูมิใหบริการ
ประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข, ประเภทที่ 3 เปนหนวยบริการที่
ใหบริการประจําโดยทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข และประเภทที่ 4 เปนหนวยบริการปฐมภูมิ
ที่ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข
จากนั้น ขั้น ที่ 2 สุ มตามสั ดสว นการกระจายเพื่ อ การเปน กลุมตัว อยา งที่ ครอบคลุมทุ กพื้ น ที่
กระจายทุกอําเภอ อนึ่งจากการจัดกลุมพบวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 มี 10 แหง (เขตอําเภอ
เมือง 2 แหง บริหารจัดการโดยโรงพยาบาลศูนย เปนหนวยบริการปฐมภูมิที่ตั้งในโรงพยาบาลศูนย 1 แหง
และหนวยบริการปฐมภูมิที่เปนเครือขาย แตไดรับการพัฒนาและสนับสนุนดานบุคลากร งบประมาณและ
เครื่องมือ/เครื่องใช อีก 1 แหง ผูวิจัยคัดหนวยบริการปฐมภูมิที่ตั้งในโรงพยาบาลศูนยออก เนื่อ งจากทํา
หนาที่เปนผูบริหารจัดการ (CUP) เนนงานสนับสนุนและพัฒนาเครือขาย ไมมีประชากรรับผิดชอบชัดเจน
ทําหนาที่คลาย Extended OPD คัดกรองผูปวยกอ นพบแพทยเฉพาะทาง ดังนั้น หนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ 1 จึงคงเหลือ 9 แหง ผูวิจัยไดกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางใหสอดคลอ งกับหนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 1 เพื่อความเชื่อมั่นในการใชเปรียบเทียบ สําหรับหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 ไมมี
ในเขตอําเภอเมือง ผูวิจัยกําหนดขนาดกลุมตัวอยางของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 เทากับ 8 แหง 8
อําเภอ รวมทั้งสิ้น 35 แห ง จากนั้นนํ าจํานวนหนว ยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 2, 3 และ 4 ทั้ งหมดที่
กระจายตามอําเภอมาสุมอยางงายเปนรายอําเภอดวยวิธีการจับฉลาก
การดําเนินการเก็บ ขอมูล เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ วิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ
ไดแก การสนทนากลุม การเก็บขอมูลเชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม แบบตรวจเช็ค แบบสํารวจและ
การเก็บขอมูลจากทะเบียนผูปวยนอกของหนวยบริการปฐมภูมิ ทะเบียนผูปวยในของโรงพยาบาล(CUP)
ทะเบียนรายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

ขั้นตอนการดําเนินงาน
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ เชน ระบบบริการสุขภาพ การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ นโยบาย
หลักประกันสุขภาพแหงชาติ ระบบบริการปฐมภูมิ คุณภาพบริการ คุณภาพบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดใน
การวัดคุณภาพปฐมภูมิ เครื่องมือที่ใชการประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2. สรางเครื่องมือและตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา
3. ทดลองใชเครื่องมือ ปรับปรุง แกไข
4. กําหนดกลุมตัวอยางและจํานวนในแตละหนวยบริการปฐมภูมิ
5. เก็บรวบรวมขอมูล/วิเคราะหขอมูล
25

พื้นที่ศึกษา
ศึกษาในหนวยบริการปฐมภูมิ จํานวน 35 แหง ดังตอไปนี้
1. ระดับอําเภอ ศึกษาทุกอําเภอ 9 อําเภอในจังหวัดพิษณุโลก คัดเลือกหนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภท 1 ที่มีอยูเพียงอําเภอละ 1 แหง รวมหนวยบริการปฐมภูมปิ ระเภทที่ 1 ทั้งสิ้น จํานวน 9 แหง
2. ระดับตําบล สุมเลือกหนวยบริการปฐมภูมปิ ระเภทที่เหลือ ไดแก หนวยบริการปฐมภูมิ 2, 3
และ 4 ประเภทละ 9 แหง ยกเวนหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 จํานวน 8 แหง กระจายทุก 9 อําเภอ
เพื่อเปนการเปรียบเทียบการศึกษาระหวางกลุม คัดเลือกโดยวิธีการสุมอยางงายจากแตละอําเภอ
(จับฉลาก)
หนวยบริการปฐมภูมิที่เลือกเขาศึกษา มีดังนี้
อําเภอเมือง
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 2 แหง (ประเภทที่ 2,3)
อําเภอวังทอง
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมติ ําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอบางระกํา
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอบางกระทุม
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอวัดโบสถ
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอชาติตระการ
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอนครไทย
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
26

อําเภอเนินมะปราง
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
อําเภอพรหมพิราม
หนวยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาล 1 แหง (ประเภทที่ 1)
หนวยบริการปฐมภูมิตําบล 3 แหง (ประเภทที่ 2,3,4)
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ผูใหบริการ ไดแก หัวหนาหนวยบริการปฐมภูมิ
ประชาชน ไดแก ตัวแทนประชาชนในพื้นที่รับผิดชองของพื้นที่หนวยบริการปฐมภูมิตัวอยาง
จํานวนแหงละ 9 คน มีคุณสมบัติรวม ดังนี้
ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง ไดแก ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงที่รับบริการที่หนวยบริการปฐมภูมิ
ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)
ผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ไดแก ผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันที่รับ
บริการที่หนวยบริการปฐมภูมิ ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)
ผูปวยในโรคความดันโลหิตสูง ไดแก ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการปฐมภูมทิ ี่นอน
โรงพยาบาล (CUP) ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)
ผูปวยในโรคปอดบวม ไดแก ผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันจากหนวยบริการปฐมภูมทิ ี่
นอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)
ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงที่เคยนอนโรงพยาบาล ไดแก ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวย
บริการปฐมภูมิที่นอนโรงพยาบาล (CUP) ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)
ผูปวยโรคปอดบวมที่เคยนอนโรงพยาบาล ไดแก ผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันจาก
หนวยบริการปฐมภูมิที่นอนโรงพยาบาล (CUP) ดวยโรคปอดบวม ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2547-2551)

เครื่องมือวิจัยและการเก็บขอมูล
การเก็บขอมูล เครื่องมือ และกลุมตัวอยาง ดังนี้
1. แบบตรวจเช็ค (Check list) แบบสอบถามศึกษาขอมูลปจจัยนําเขา (Q 1) เพื่อศึกษาความ
พรอมของเครื่องมือ/เครื่องใช แบบสอบถามเพื่อศึกษาดานการจัดการ และดานงบประมาณ (Q 2) และ
แบบสอบถามเพื่อศึกษาการไดรับการดูแลรักษาตามแนวเวชปฎิบัติของผูปวย 2 กลุมโรค (โรคความดัน
โลหิตสูงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน) (Q 3,4) แบบสํารวจเพื่อศึกษาดานบุคลากร/ผูใหบริการ
คุณลักษณะ/วิชาชีพ แบบสํารวจเพื่อศึกษาขอมูลผูปวยจากทะเบียนผูปวยหนวยบริการปฐมภูมิ ทะเบียน
ผูปวยในของโรงพยาบาลที่เปนหนวยบริการคูสัญญาหลัก ทะเบียนรายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
27

2. การสนทนากลุม (Q 6-11) เพื่อศึกษาขอมูลดานการตอบสนองความคาดหวังในบริการปฐม


ภูมิของประชาชน กรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพบริการ พัฒนาจากเครื่อ งมือ ของ SERVQUAL โดย
Parasuraman และคณะ มากําหนดเปนกรอบของความคาดหวังกับบริการที่ไดรับ ทั้งนี้เพื่อศึกษาชองวาง
ของการบริการ และประยุก ตประเด็นข อคําถาม สาระในการอภิป ราย ดั ดแปลงจากนิ ยามศัพท แ ละ
เครื่อ งมือ ของ PCAT (Primary care assessment tool) โดย IOM (Institute of Medicine) ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งใชวัดคุณภาพการบริการ 6 ดาน ไดแก การบริการดานแรก/การไดพบผูใหบริการเมื่อไปรับ
บริการ (First contact), การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care) การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal
care) การใหบริการแบบเนนการประสานงาน เชื่อมโยง สงตอจากหนวยบริการปฐมภูมิกับสถานบริการ
อื่น ๆ (Coordinate care) การใหบ ริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน (Family and community oriented)
และการใหบริการเชิงสังคม เนนการดูแลเอาใจใส (Empathy relationship) เครื่องมือที่ใชในการสนทนา
กลุม ประกอบดวย เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง บริการปฐมภูมิ บริการใกลบาน ใกลใจ และการ
ชี้แจงวัตถุประสงคการเก็บขอมูล ลักษณะการเก็บขอมูล โครงสรางและประเด็นคําถาม ความหมายคํา
สําคัญ แบบประเมินความคาดหวังกับบริการที่ไดรับของแตละกลุม หลังจากอภิปรายจนเปนขอสรุปของ
กลุม
คุณสมบัติรวมของสมาชิก มี ดังนี้
1. คุณสมบัติที่เหมือนกันในการเปนผูใหขอมูล (Homogeneous) คือ เปนผูที่มีอายุตั้งแต 20 ป
และเปนผูที่อาศัยอยูในชุมชนนั้น ๆ มากกวา 5 ป และปจจุบันยังอาศัยอยูในชุมชน
2. คุณสมบัติรวมกัน (Control characteristic) ไดแก ผูทําหนาที่เปนผูนําชุมชน 2 คน (กํานัน/
ผูใหญบาน, สมาชิกอบต.) ผูทําหนาที่เปน ตัวแทนการดูแลสุขภาพ 2 คน (อสม.) ผูทําหนาที่เ ปนตัวแทน
ชาวบาน 2 คน (สมาชิกกลุมแมบาน, สมาชิกกลุมผูสูงอายุ) ผูประสานงานและเตรียมพื้นที่ 1 คน ผูปวย
โรคความดันโลหิตสูงที่มีประวิตินอนโรงพยาบาล 1 คน(ในรอบ 5 ปที่ผานมา) ผูที่เคยปวยเปนโรคปอด
บวมมีประวัตินอนโรงพยาบาล(ในรอบ 5 ปที่ผานมา) 1 คน ดังสรุปแผนการเก็บขอมูลในตารางที่ 1
28

ตาราง1: สรุปการเก็บขอมูล/กลุมตัวอยางและเครื่องมือ

วัตถุประสงค สถานที่ศึกษา กลุมตัวอยาง เครื่องมือ ผูเก็บขอมูล


1.วิเคราะหโครงสราง -หนวยบริการ หัวหนาหนวยบริการ แบบตรวจเช็ค นักวิจัย
-ดานเครื่องมือ/เครื่องใช ปฐมภูมิ 35 แหง ปฐมภูมิ 35 แหง แบบสํารวจ
-ดานการบริหาร จัดการ แบบสอบถาม
และงบประมาณ (Q1,2,5)
-ดานบุคลากร
2. วิเคราะหจํานวนรอยละ -โรงพยาบาล ทะเบียนผูปวยโรค แบบสํารวจ นักวิจัย
การนอนโรงพยาบาลของ (CUP) ความดันโลหิตสูง
ผูปวยโรคความดันโลหิต -หนวยบริการ และโรคติดเชื้อ
สูงและโรคปอดบวม ปฐมภูมิ 35 แหง
ทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน ของ
หนวยบริการปฐม
ภูมิ 35 แหง ตั้งแต ป
2547-2551
ทะเบียนผูปวยใน
โรคความดันโลหิต
สูงและโรคปอดบวม
ของผูปวยจากหนวย
บริการปฐมภูมิ
3. วิเคราะหการไดรับการ พื้นที่รับผิดชอบ ผูปวยที่เคยนอน แบบตรวจเช็ค นักวิจัย
ดูแลตามแนวเวชปฎิบัติ ของหนวย โรงพยาบาลในป แบบสอบถาม
-ผูปวยโรคความดัน บริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2551 (Q 3-4)
โลหิตสูง 35 แหง
-ผูปวยโรคปอดบวม
4.วิเคราะหความคาดหวัง พื้นทีร่ ับผิดชอบ ประชาชนในพื้นที่ เอกสารบรรยาย ทีมนักวิจัย
กับบริการที่ไดรับจาก ของหนวย รับผิดชอบของหนวย ประเด็นคําถาม
หนวยบริการปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ 35 (Q 6-11)
35 แหง แหง แหงละ 9 คน แบบประเมิน
29

การวิเคราะหขอมูล
ขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุมที่เปนขอมูลเชิงคุณภาพ ใชเทคนิคการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ
โดยการวิเคราะหเชิงเนื้อหา สวนขอมูลเชิงปริมาณ วิเคราะหโดยใชโปรแกรม SPSS คาสถิติที่ใชในการ
วิเคราะห ไดแ ก คาจํานวนรอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน chi-square test และ วิเคราะห
ความแปรปรวน (Analysis of variance, ANOVA) การทดสอบคาความนาเชื่อ ถือ (Reliability test) โดย
ใช Cronbach alpha coefficient เพื่อทดสอบความนาเชื่อถือของขอมูล
การวิเคราะหจะมุงเนนไปที่ คุณภาพบริการที่ไดรับ ตามลําดับ ดังนี้
1. โครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิ
2. กระบวนการและผลผลิตของการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังและโรคเฉียบพลัน (ตัวแทน : โรคความ
ดันโลหิตสูง, โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน)
3. กระบวนการและผลลัพธดานการตอบสนองตอความคาดหวังในการบริการปฐมภูมิของ
ประชาชน
ระยะเวลาดําเนินการ
สิงหาคม 2552 - พฤษภาคม 2552 รวม 10 เดือน
30

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิเคราะหผลการศึกษาคุณภาพบริการของหนวยบริการปฐมภูมิ ผูวิจัยไดดําเนิน การศึกษา


ดานโครงสราง กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท คือ หนวยบริการ
ปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่ส าธารณสุข หนวยบริการปฐมภูมิ
ให บ ริการประจํ าโดยแพทยห มุ นเวี ยนและที ม พยาบาลวิช าชีพ/เจ าหนา ที่ สาธารณสุข หน วยบริการที่
ใหบ ริการประจํ าโดยที มพยาบาลวิ ชาชีพ/เจาหน าที่ส าธารณสุข และหนวยบริการปฐมภูมิที่ใ หบริ การ
ประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข จากนั้นเปรียบเทียบความแตกตาง ในดานโครงสราง กระบวนการ
ผลผลิตและผลลัพธของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท สมมติฐานของการศึกษาครั้งนี้ คือ
1. โครงสราง ของ หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท มีความแตกตางกัน
2. กระบวนการ ของ หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท มีความแตกตางกัน
3. ผลผลิตของ หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท มีความแตกตางกัน
4. ผลลัพธของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท มีความแตกตางกัน
ผลการวิเคราะหทั้งหมด นําเสนอเปน 4 สวน ดังนี้
สวนที่ 1 ผลการศึกษาโครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
- โครงสรางที่ตั้ง
- โครงสรางดานประชากร
- ดานผูใหบริการ
- ดานงบประมาณ
- ดานการบริหารจัดการ
- ดานเครื่องมือ/เครื่องใช
สวนที่ 2 กระบวนการและผลผลิตดานการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลัน ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
- การดูแ ลผูปวยตามแนวปฏิบั ติของผูป วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน (ผูปวยจากหนวยบริการปฐมภูมิที่มีประวัตินอนโรงพยาบาล ในป พ.ศ. 2551)
- จํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลดวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคปอดบวมของผูปวยจาก
หนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ.2547-2551)
31

สวนที่ 3 กระบวนการและผลลัพธดานการตอบสนองความคาดหวังตอบริการปฐมภูมิ
ในบริการ 6 ดาน ดังนี้
- การบริการดานแรก (First contact)
- การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care)
- การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care)
- การใหบริการแบบประสานงาน เชื่อมโยง สงตอ (Coordinate care)
- การใหบริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน (Family and community oriented)
- การดูแลเอาใจใส (Empathy relationship)
32

สวนที่ 1 ผลการศึกษาโครงสราง ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท


1. โครงสรางและสถานที่ตั้ง จากการตอบแบบสอบถาม ดานการคมนาคม พบวาหนวย
บริการปฐมภูมิทั้ง 35 แหงอยูไมไกลจากชุมชน ใชเวลาเดิน ทางจากบาน - หนวยบริการปฐมภูมิ โดย
เฉลี่ยประมาณ 5 -15 นาที โดยรถยนต กรณีไมมีรถสวนตัว สามารถเดินทางดวยรถโดยสารประจําทางได
สําหรับประชาชนในหน วยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 2, 3, 4 ส วนใหญ มักจะเดินทางดวย การเดิน เท า
รถจั ก รยาน หรื อ รถมอเตอร ไ ซด สถานที่ ตั้ ง หน ว ยบริ การปฐมภู มิ ป ระเภทที่ 1 ส วนใหญ ตั้ ง อยู ใ น
โรงพยาบาลจํานวน 6 แหง 1 แหงใชสถานอนามัยที่มีอยูเดิม และ 2 แหงที่เหลือแยกออกจากโรงพยาบาล
เพื่อใกลชุมชนยิ่งขึ้น หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2,3,4 ทุกแหงเปนสถานีอนามัยเดิมที่พัฒนาเปนศูนย
สุขภาพชุมชนหรือยังเปนสถานีอนามัย
2. โครงสรางดานประชากร จากตารางที่ 2 พบวา คาเฉลี่ยของประชากรในพื้น ที่รับผิดชอบของ
หนว ยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 1, 2 มี จํ า นวนมากกว า หนวยบริการปฐมภู มิรูป แบบที่ 3, 4 ค า เฉลี่ ย
โดยรวมมากที่สุด เทากับ 9,567 ประชากรนอยที่สุด คาเฉลี่ย เทากับ 2,958
ตาราง 2 คาเฉลี่ยจํานวนประชากรในความรับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิ จําแนกตามประเภท

ประเภทหนวยบริการปฐมภูมิ X Range
1 9567 (5656, 18176)
2 6250 (4213, 13409)
3 4614 (2696, 7286)
4 2958 (1239, 5000)

3. ดานผูใหบริการ จากตาราง 3 พบวา คาเฉลี่ยของผูใหบริการของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่


1, 2 มีจํานวนมากกวาหนวยบริการปฐมภูมิรูปแบบที่ 3, 4 คาเฉลี่ยโดยรวมมากที่สุด เทากับ 7 คาเฉลี่ย
ประชากรนอยที่สุด คาเฉลี่ย เทากับ 2.6 ดังตารางที่ 3
ตาราง 3 จํานวนผูใหบริการที่ปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิ จําแนกตามประเภท

ประเภทหนวยบริการปฐมภูมิ X Range
1 (n=9) 7 (5, 11)
2 (n=9) 6 (5, 7)
3 (n=9) 4 (3, 5)
4 (n=8) 2.6 (2, 3)
33

ในภาพรวมประเภทผูใหบริการ (ไมรวมเจาหนาที่ธุรการ) โดยเฉลี่ย หนวยบริการปฐมภูมิประเภท


ที่ 1 มีแพทยใหบริการประจําอยางนอย 4 ชั่วโมงตอวัน และมีพยาบาลวิชาชีพอยูประจําทุกแหง (หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 1,2,3) ยกเวนหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 จะมีเจาพนักงานสาธารณสุข
และเจาหนาที่บริหารงานสาธารณสุขซึ่งดํารงตําแหนงหัวหนาหนวยบริการปฐมภูมิ ดังตารางที่ 4
ตาราง 4 คาเฉลี่ยประเภทผูใหบริการประจําในหนวยบริการปฐมภูมิ จําแนกตามประเภท

ประเภทผูใหบริการ หนวยบริการปฐมภูมิ หนวยบริการปฐมภูมิ หนวยบริการปฐมภูมิ หนวยบริการปฐมภูมิ


ประเภทที่ 1 (n=9) ประเภทที่ 2 (n=9) ประเภทที่ 3 (n=9) ประเภทที่ 4 (n=9)
แพทย 1 1 ครั้ง/สัปดาห - -
พยาบาลวิชาชีพ 5 3 2 -
พยาบาลเทคนิค - - -
จพง.สาธารณสุข - 1 1 1
จนท.บริห าร - 1 1 1
สาธารณสุข
นักวิชาการ 1 1 1
สาธารณสุข
รวม 7 6(1) 4 3

4. ดานงบประมาณ แหลงงบประมาณสําหรับบริหารจัดการของหนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท
ไดมาจาก CUP, องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบต./เทศบาล) งบประมาณจาก CUP จัดสรรเปน งบคงที่
ไม ได จั ดสรรเป น รายหั ว ต อ ป ป ล ะ 250,000-600,000 บาทขึ้ น อยู กั บ นโยบายของแต ล ะ CUP
งบประมาณที่ไดจาก องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบต./เทศบาล) หนวยบริการปฐมภูมิจะตองดําเนินการ
เขียนโครงการพัฒนากิจ กรรมทางสุขภาพ สงใหคณะกรรมการบริหารของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
(อบต./เทศบาล) เปน ผูพิจารณาอนุมัติ สําหรับ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 พบวา งบประมาณ
เบิกจายตรงจาก CUP งบประมาณของทุกประเภทสวนใหญใชในดานการรักษาพยาบาล รองลงมาเปน
ดานสงเสริมสุขภาพ และงบดําเนินงาน
5. ดานการบริหารจัดการ หนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท มีระบบการบริหารจัดการเหมือนกัน
กลาวคือ มีระบบ สวัสดิการ และการประเมินผลระบุเปนเกณฑการปฏิบัติ ดังนี้
1. มีระบบการประเมินผล การปฏิบัติงานของเจาหนาที่
2. มีระบบการเพิ่มพูนความรูและทักษะแกเจาหนาที่
3. มีระบบการอบรมแนวคิดการใหบริการแกเจาหนาที่
34

4. มีระบบสวัสดิการในดานขวัญ กําลังใจในการทํางาน
5. มีระบบการจายผลตอบแทนและสวัสดิการ
จากตารางที่ 5 พบวา คาเฉลี่ยการประเมิน ตนเอง ของหนวยบริการปฐมภู มิป ระเภทที่ 1, 2
มีคาเฉลี่ยการประเมินอยูในระดับดี (มากกวา 6 ขึ้นไป) ยกเวนบางปจจัยในหนวยบริการปฐมภูมิประเภท
ที่ 3, 4 คาเฉลี่ยจะอยูในระดับปานกลาง และคะแนนเฉลี่ยต่ําสุดของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3, 4
คือ ผลตอบแทนและสวัสดิการ เทากับ 5.00 และ 4.4 ตามลําดับ ดังตารางที่ 5
ตาราง 5 คะแนนเฉลี่ยการประเมินตนเองของหนวยบริการปฐมภูมิ แยกตามประเภท

ประเภท การประเมินผล การเพิ่มพูน การอบรมแนวคิด การใหขวัญกําลังใจ การจายผลตอบแทน


หนวยบริการ การปฏิบัตงิ าน ความรู & ทักษะ การใหบริการ ในการทํางาน และสวัสดิการอื่น ๆ
ปฐมภูมิ (9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน)
1 (n=9) 8 8 8 7.3 8
2 (n=9) 7.4 7.1 8 7 7.2
3 (n=9) 7.3 6* 7 6.8 5.0*
4 (n=8) 6.4 6.5 7.1 6.3 4.4*
หมายเหตุ * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
(ระดับ 1-3 หมายถึง นอย, มากกวา -3-6 หมายถึง ปานกลาง, มากกวา 6-9 หมายถึง ดี)

6. ดานเครื่องมือ/เครื่องใช หนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท มีโครงสรางดานเครื่องมือ/เครื่องใช


เหมือนกัน และมีความพรอมทุกดาน ดังนี้
1. อาคารสถานที่ แยกสัดสวนและตั้งอยูในบริเวณที่เห็นชัด
2. หนวยบริการปฐมภูมิ มีความสะอาด สะดวก ปลอดภัยตอการใหบริการผูป วย
3. มีระบบสํารองไฟฉุกเฉิน
4. มีอุปกรณสื่อสารเพื่อใชในการติดตอกับ CUP
5. มีพื้นที่ใชสอย ในการบริการจําเปนเพียงพอ
6. มีครุภัณฑสํานักงานครบ
7. เครื่องมือ เครื่องใชทางการแพทยครบ
8. อุปกรณ และเวชภัณฑครบถวนตามมาตรฐาน
35

สวนที่ 2 กระบวนการและผลผลิตดานการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลัน ของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท

ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดใชจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาล ดวยโรคความดันโลหิตสูงและ
โรคปอดบวมของผูปวยจากหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ยอนหลัง 5 ป (พ.ศ.2547-2551) เปนการ
นําเสนอผลผลิตของการใหดูแลผูปวยโรคเรื้อรังและโรคเฉียบพลัน
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ กษา คื อ ผู ปว ยโรคความดัน โลหิ ตสู ง จากหน ว ยบริ การปฐมภู มิที่ น อน
โรงพยาบาล(CUP) ดวยอาการแทรกซอ นโรคความดันโลหิตสูง โดยเปรียบเทียบเปนจํานวนรอยละจาก
ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงของหนวยบริการปฐมภูมิทั้งหมด นําเสนอเปนรายป ตั้งแตปพ.ศ. 2547-2551
และผูปวยโรคปอดบวม เปรียบเทียบเปนจํานวนรอยละจากผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันของ
หนวยบริการปฐมภูมิทั้งหมด เปนรายป ตั้งแตปพ.ศ. 2547-2551

โรคความดันโลหิตสูง
จากตาราง 8 พบวาจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลดวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการ
ปฐมภูมิ โดยภาพรวม พบวา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) กลาวคือ หนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 1 มีจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยนอยกวาหนวยบริการปฐมภูมิประเภท
อื่น หนวยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 3 มีจํานวนรอ ยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยมากที่สุด ยกเวน
ป พ.ศ. 2551 และเมื่อ พิจ ารณาเป นรายป พบวา ในป พ.ศ. 2547 หน วยบริ การปฐมภู มิป ระเภทที่ 3
มีจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยมากกวา หนวยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 1,2,และ 4 และ
หนวยบริการปฐมภูมิที่ 2 และ 3 มีจํานวนรอ ยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยมากกวา หนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) ขณะที่ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 และ 3
มีจํานวนรอ ยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยไมแ ตกตางกัน ใน ป พ.ศ. 2548 – 2550 พบวา หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 มีจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยมากกวา หนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ 1,2 และ 4 และหนว ยบริการปฐมภูมิที่ 4 มากกว าหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) ขณะที่ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 ไมแตกตางกัน ในป
พ.ศ. 2551 พบว า หน วยบริ ก ารปฐมภูมิป ระเภทที่ 4 มีจํ านวนรอ ยละการนอนโรงพยาบาลของผูป วย
มากกวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1,2 และ 3 และหนวยบริการปฐมภูมิที่ 3 มากกวาหนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) ขณะที่ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1
และ 2 ไมแตกตางกัน ดังตารางที่ 8
36

ตาราง 8 จํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการปฐมภูมทิ ี่
ตองนอนโรงพยาบาล

ประเภทหนวย พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551


บริการปฐมภูมิ
1 4.1 6 5.8 6.3 3.7
2 7.3*>1 6.2 6 6.9 5
3 14.7*>1,2,4 28*>1,2,4 25 *>1,2,4
21.2*>1,2,4 13.8*>1,2
4 8.7*>1 9.8*>2 14.6*>1,2 14.4*>1,2 16*>1,2,3
หมายเหตุ * มีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปรียบเทียบจํานวนผูปวยแยกประเภท แยกรายป

จากแผนภูมิ 1 สถานการณการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการ
ปฐมภูมิ พบวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 มีแนวโนมของจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลดวย
โรคความดันโลหิตสูงลดลงมากที่สุด คือ เริ่มลดลงตั้งแต ป พ.ศ. 2548 - 2551 คือ จํานวนรอ ยละ 28, 25,
21.2 และ 13.8 ขณะที่ ห น วยบริ ก ารปฐมภู มิป ระเภทที่ 4 มี ก ารเพิ่ มขึ้ น ของจํ านวนร อ ยละการนอน
โรงพยาบาลตั้งแตป พ.ศ. 2548 - 2551 คือ จํานวนรอยละ 8.7, 9.8, 14.6 และ 16 ตามลําดับ ดังแผนภูมิ 1
แผนภูมิ 1 แสดงสถานการณการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงของหนวยบริการปฐมภูมิ
แตละประเภท
สถานการณโรคความดันโลหิตสูง
ของหนว ยบริ การปฐมภูม ิ 4 ประเภท

30

25
จํานวนรอยละผู ปวย

20
PCU 3
15
PCU 4
10
PCU 2
5
PCU 1
0
1 2 3 4 5
พ.ศ. 2547- 2551
37

โรคปอดบวม
จากตาราง 10 พบวาจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวมของผูปวยโรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลันจากหนวยบริการปฐมภูมิ โดยภาพรวม พบวา จํานวนรอยละการนอนของผูปวย
มีไมมากนัก อยูระหวาง รอยละ 0.5 - 2.5 ของผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน จํานวนรอยละ
การนอนโรงพยาบาลของหนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภท ไมมีความแตกตางกัน และเมื่อพิจารณาราย
ป พบวา ในป พ.ศ.2547 จํา นวนรอ ยละการนอนโรงพยาบาลด วยโรคปอดบวมของผู ปวยโรคติ ดเชื้ อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลันมากที่สุด คือ หนวยบริการปฐมภูมปิ ระเภทที่ 2, 1, 3 และ 4 (รอยละ 1.2,0.9,0.8
และ 0.6 ตามลํ าดั บ) ใน ป พ.ศ. 2548 ได แ ก หน วยบริ การปฐมภู มิประเภทที่ 1, 2, 3 และ 4 (ร อ ยละ
2.4,1.5,1.5 และ 0.9 ตามลําดับ) ในป พ.ศ. 2549 ไดแก หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 1, 3 และ 4
(รอยละ 2,1.6,1.4 และ 0.8 ตามลําดับ) ในป พ.ศ. 2550 ไดแ ก หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1, 2, 3
และ 4 (รอยละ 1.9, 1.3,1.2 และ 1 ตามลําดับ) และ ในป พ.ศ. 2551 ไดแก หนวยบริการปฐมภูมิประเภท
ที่ 1, 2, 3 และ 4 (ร อ ยละ 1.3, 1.1,1.1 และ 0.9ตามลํ าดับ ) และเมื่ อ พิจ ารณาสถานการณ ก ารนอน
โรงพยาบาลของผูปวยโรคความปอดบวมจากหนวยบริการปฐมภูมิ พบวา แตละมีการเพิ่มขึ้น /ลดลง ไม
มากนัก และไมคงที่ ดังตารางที่ 10
ตาราง 10 จํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันจากหนวย
บริการปฐมภูมทิ ี่ตองนอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม

ประเภทหนวย พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551


บริการปฐมภูมิ
1 0.9 2.4 1.6 1.9 1.3
2 1.2 1.5 2 1.3 1.1
3 0.8 1.5 1.4 1.2 1.1
4 0.6 0.9 0.8 1 0.9
38

การดูแลผูปวยตามแนวเวชปฏิบัติของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน (ผูปวยที่มีประวัตินอนโรงพยาบาล ในป พ.ศ. 2551)
ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ได ศึ ก ษาการได รั บ การดู แ ลตามแนวเวชปฏิ บั ติ กั บ ผู ป ว ยที่ น อน
โรงพยาบาล ดวยโรคความดันโลหิตสูงและโรคปอดบวมจากหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ในป พ.ศ.
2551
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ จํานวนผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการปฐมภูมทิ ี่นอน
โรงพยาบาลดวยอาการแทรกซอนโรคความดันโลหิตสูงและผูปวยติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ที่นอน
โรงพยาบาลดวยโรคปอดบวมจากหนวยบริการปฐมภูมิ ในป พ.ศ. 2551
กลุมตัวอยาง
การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
คํานวณจาก N = จํานวนผูปวยที่นอนโรงพยาบาลของแตละโรค จากสูตร Taro Yamane' ดังนี้
n= N
1 + Ne 2
ขนาดกลุ มตั ว อย า งผูป วยโรคความดั น โลหิต สู ง เท ากับ 277 คน จากนั้น คํ านวณตามสัด ส วน
กระจายตามประเภทหนว ยบริการปฐมภูมิ คือ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 จํานวน 85 คน หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 จํานวน 65 คน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 จํานวน 75 คน และหนวย
บริการปฐมภูมิที่ 4 จํานวน 52 คน
ขนาดกลุมตัวอยางผูปวยโรคปอดบวม เทากับ 232 คน คํานวณตามสัดสวนกระจายตามประเภท
หนวยบริการปฐมภูมิ คือ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 จํานวน 80 คน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่
2 จํานวน 71 คน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 จํานวน 61 คน และหนวยบริการปฐมภูมิที่ 4 จํานวน
20 คน
จากนั้น ผูวิจัยได ศึก ษาการได รับ การดูแ ลตามแนวเวชปฏิ บัติ ดวยแบบสอบถามตามกิจ กรรมที่
ผูวิจัยพัฒนาขึ้น จากตาราง 12 พบวา การดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูงของหนวยบริการปฐมภูมิกอน
เขานอนโรงพยาบาลโดยภาพรวม พบวา การดูแลผูปวยตามแนวเวชปฏิบัติของหนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4
ประเภทไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตเมื่อวิเคราะหรายขอพบวา หนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ 1 สามารถ ประเมินความเสี่ยงและใหการรักษาตามระดับความเสี่ยง ไดดีกวา หนวยบริการปฐม
ภูมิประเภท 2, 3 และ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) ขณะที่ หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 หนวย
บริการปฐมภูมิประเภท 2, 3 และ 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) ดังตารางที่ 12
39

ตาราง 12 จํานวนรอยละผูปวยที่ไดรับการดูแลตามแนวเวชปฏิบัติโรคความดันโลหิตสูง ของหนวยบริการ


ปฐมภูมแิ ตละประเภท

หนวยบริการ หนวยบริการ หนวยบริการ หนวยบริการ


กิจกรรม ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท
ที่ 1 (n=85) (%) ที่ 2 (n=65) (%) ที่ 3(n=75) (%) ที่ 4(n=52) (%)
การไดรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 54 68 61 70*>1
การติดตามอาการอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ 63 57 68 60
คนหาปจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงของผูปวย 56 56 51 51
ตรวจรางกายเบื้องตน ผูปวยเพื่อปองกัน โรค 58 56 51 52
แทรกซอน
มีการตรวจพิเศษทางหองปฏิบัติการคนหา 66*>2,3,4 51 52 50
รองรอยความเสี่ยงของอวัยวะ
มีการประสานงานกับโรงพยาบาลเมื่อผูป วย 68 54 54 59
ตองไปโรงพยาบาลเพื่อการดูแลตอเนื่อง
มีการประเมินความเสี่ยงและใหการรักษาตาม 72*>2,3,4 58 50 54
ระดับ ความเสี่ยง
ติดตามอาการเมื่อไมมาตามนัด หรือขาดยา 59 53 52 57
คาเฉลี่ย 62 57 55 57
หมายเหตุ *มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

การไดรับการดูแลตามแนวเวชปฏิบัติดวยแบบสอบถามตามกิจ กรรม จากตาราง 13 พบวา การ


ดูแลผูปวยโรคติดเชื้อทางดินหายใจเฉียบพลันกอนเขานอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม โดยภาพรวม
พบวา การดูแลผูปวยตามแนวเวชปฏิบัติของหนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภทไมมีความแตกตางกัน แต
เมื่อวิเคราะหรายขอพบวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 สามารถใหคําแนะนําวิธีการดูแลตนเองของ
ดีกว า หนว ยบริ การปฐมภูมิป ระเภทที่ 1 และ 2 อย างมีนัย สําคั ญทางสถิติ แต ไมแ ตกตางกัน กับหนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 ในดานการไดรับยาปฎิชีวนะเมื่อมีอาการติดเชื้อแทรกซอน หลังจากมีอาการไข
มาแลว 2-3 วัน พบวา หนวยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 1 สามารถปฏิบัติได ดีกวา หนวยบริการปฐมภู มิ
ประเภทที่ 1, 2 และ 3 ขณะที่ หนวยบริ การปฐมภู มิป ระเภทที่ 3 และ 4 สามารถปฏิบัติ ได ดีกว าหนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 แตระหวางหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 และ 4 ไมแตกตางกัน ดานความรู
ความสามารถในการคัดกรอง มีการตรวจวินิจฉัยแยกโรค เมื่อมีอาการแทรกซอน พบวา หนวยบริการปฐม
ภูมิประเภทที่ 1 มีความสามารถดําเนินการไดดีกวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4
ดังตารางที่ 13
40

ตาราง 13 จํานวนรอยละผูป วยปอดบวมที่ไดรับการดูแลตามแนวเวชปฏิบัติตอการดูแลโรคติดเชื้อทางเดิน


หายใจเฉียบพลัน ของหนวยบริการปฐมภูมแิ ตละประเภท

หนวยบริการ หนวยบริการ หนวยบริการ หนวยบริการ


กิจกรรม ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท ปฐมภูมิประเภท
ที่ 1 (n=80) (%) ที่ 2 (n=71) (%) ที่ 3(n=61) (%) ที่ 4(n=20) (%)
การไดรับวัคซีน ครบตามเกณฑ (เด็ก) 95 98 97 98
ไดรับการดูแลเบื้องตน กอนดําเนิน การรักษา 50 54 52 47
มีการใหการพยาบาลเบื้องตนเมื่อมีอาการไข 45 57 56 54
มีการไดรับ คําแนะนําวิธีการดูแลตนเอง 36 38 57*>1,2 48
ไดรบั ยาปฎิชีวนะเมื่อมีอาการติดเชื้อแทรกซอน 60*>2,3,4 41 44 45
หลังจากมีอาการไขมาแลว 2-3 วัน
ความรูความสามารถในการคัดกรอง มีการ 68*>2,3,4 41 44 42
ตรวจวินิจฉัยแยกโรค เมื่อมีอาการแทรกซอน
คาเฉลี่ย 59 55 58 56
หมายเหตุ *มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
41

สวนที่ 3 กระบวนการและผลลัพธดานการตอบสนองความคาดหวังตอบริการปฐมภูมิ ของหนวย


บริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ในบริการ 6 ดาน ดังนี้
ในการศึ ก ษาด า นการตอบสนองความคาดหวั ง บริ ก ารปฐมภู มิ ข องหน ว ยบริ ก ารปฐมภู มิ
4 ประเภท ครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาในกลุมประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิ
ตัวอยางทั้ง 4 ประเภท โดยวิธีการสนทนากลุม จํานวน 35 พื้นที่ รวมวิธีการดําเนินสนทนากลุมทั้งสิ้น
35 กลุ ม ผู เข าร วมประชุ ม จํานวนกลุ มละ 9 คน การอภิ ปรายกลุ มภายใต กรอบการบริการปฐมภู มิ
6 ดาน ไดแก การใหบริการดานแรก (First contact), การใหบ ริการผสมผสาน (Comprehensive care)
การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care) การใหบ ริการประสานงาน เชื่อ มโยง สงตอ จากหนวยบริการปฐม
ภูมิกับ สถานบริ การ อื่น ๆ (Coordinate care) การใหบ ริการแบบเนน ครอบครั ว ชุม ชน (Family and
community oriented) และการให บ ริ การเชิ งสั งคม เน น การดูแ ลเอาใจใส (Empathy relationship)
เครื่องมือที่ใชในการสนทนากลุม ประกอบดวย เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง บริการปฐมภูมิ บริการ
ใกลบา น ใกล ใจ และการชี้ แ จงวั ตถุป ระสงค การเก็ บ ขอ มูล ลัก ษณะการเก็บ ข อมู ล โครงสร า งและ
ประเด็นคําถาม ความหมายคําสําคัญ และแบบประเมิน ความคาดหวังกับบริการที่ไดรับของแตละกลุม
หลังจากอภิปรายจนเปนขอสรุปของกลุม
การกําหนดคุณสมบัติรวมของสมาชิก
คุณสมบัติที่เหมือนกัน (Homogeneous) คือ เปนผูที่มีอายุตั้งแต 20 ป เปนผูที่อาศัยอยูใน
ชุมชนนั้น ๆ มากกวา 5 ป และปจจุบันยังอาศัยอยูในชุมชน
คุณสมบั ติ รว มกัน (Control characteristic) คื อ ผู ทํา หน าที่ เ ป น ผู นํ าชุม ชน 2 คน (กํา นั น /
ผูใหญบาน, สมาชิกอบต.) ผูทําหนาที่เปนตัวแทนการดูแ ลสุขภาพ 2 คน (อสม.) ผูทําหนาที่เ ปนตัวแทน
ชาวบาน 2 คน (สมาชิกกลุมแมบาน, สมาชิกกลุมผูสูงอายุ) ผูประสานงานและเตรียมพื้นที่ 1 คน ผูปวย
จํานวน 2 คน คือ ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงที่มีประวิตินอนโรงพยาบาล 1 คน(ในรอบ 5 ปที่ผานมา)
ผูที่เคยปวยเปนโรคปอดบวมมีประวัตินอนโรงพยาบาล(ในรอบ 5 ปที่ผานมา) 1 คน
เมื่อกําหนดลักษณะดังกลาวขางตนแลว ผูวิจัย ดําเนินการคัดเลือก ผูประสานงานพื้นที่ที่เปนผูที่
ชุมชนยอมรับ ใหความเชื่อถือ มีประสบการณ มีขอมูล เขาใจรายละเอียดของบริการปฐมภูมิมากที่สุด
เลือกโดยใชวิธีการไดคะแนนมากที่สุดจากประชาชนในพื้น ที่ จากนั้นคัดเลือกสมาชิกที่เขาสนทนากลุม
โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง โดยผูประสานงานพื้นที่
ผูวิจัย ไดจั ดขอ มูลเพื่อพรรณนากลุมข อมูล ที่ได ด วยการนํ าขอ มูล ภายใตรหั ส เดี ยวกั นหรื อคํา/
พยางคและประโยคสํา คัญมาจัด ในกลุมเดียวกัน แล วจึง สังเคราะหข อความเพื่อใชแ ทนขอ มูลเหลานี้
ดังตารางที่ 6
42

ตาราง 6 แสดงการจัดหมวดหมูขอมูลตามรหัส

CODE นิยาม
Fc การไดพบผูใหบริการทุกเวลาเมื่อมีปญหาทางสุขภาพ ผูใหบริการเปนบุคคลเดิม มีเวลา
การใหบริการอยางนอย 56 ชั่วโมง ผูใหบริการมีความรู ความสามารถ ความพรอมและ
กระตื อ รื อ ร น ในการใหบ ริ การ เวลาในการรั กษา และเวลาในการรอคอย ช วงเวลา
ใหบริการสอดคลองกับความตองการของชาวบาน การเดินทางมารับบริการไมมีปญหา
เรื่องคาใชจาย มีชองทางใหคําปรึกษาดานสุขภาพ เชน โทรศัพท ไปรษณีย
Cc ความถูกตอ ง นาเชื่อถือตอการใหบริการ ความรูความสามารถในการใหบริการแบบ
ครอบคลุม ทั้ งรักษาพยาบาลขั้น พื้นฐาน สงเสริมสุ ขภาพ ดานทัน ตสุข ศึกษา สรา ง
เสริมภูมิคุมกันโรค อนามัยแมและเด็ก การควบคุมและปองกันโรคระบาดอยางถูกตอ ง
และทันเวลา การดําเนินงานใหความรูในดานปองกันโรคและอุบัติภัย สุข อนามัยและ
อนามัยสิ่งแวดลอม มีบริการและใหคําปรึกษาดานกายภาพบําบัด
Lc การติดตามผูปวยโรคเรื้อรังตาง ๆ เชน ผูพิการ โรคความดัน โลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ
จิตเวช วัณโรค บริการครอบคลุมการใหคําปรึกษา เยี่ยมบาน อนามัยโรงเรียน การ
ดูแ ลผู สูงอายุ การติ ดตามผูป วยไมมารั บ ยาต อเนื่อ ง การใหคําแนะนํ าดานสง เสริ ม
สุขภาพและปองกันโรคที่บานอยางสม่ําเสมอ
Coc มีการสงตอผูปวยอยางเปนระบบ มีการเชื่องโยงขอมูลผูปวยระหวางหนวยบริการปฐม
ภูมิกับโรงพยาบาล มีชองทางดวนสําหรับผูปวยที่ผานระบบสงตอ มีการติดตามผูปวย
อยางตอเนื่อง จาก หนวยบริการปฐมภูม-ิ โรงพยาบาล-ชุมชน
Er การใหบริการเปนกันเอง สนใจคําบอกเลาเกี่ยวกับความเจ็บ ปวย เปดโอกาสใหผูปวย
ถามโรคที่เปนการและผูใหบริการเขาใจ การพูดจาไพเราะใหเกียรติผูปวย มีการตอนรับ
ดี เอาใจใสผูรับบริการ
Fco มีการพัฒนาบริการสอดคลองกับความเห็นของชุมชน มีการดําเนินงานโครงการตาง ๆ
ในชุมชน มีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชน มีรูปแบบการเผยแพรขาวสารดาน
สงเสริมสุขภาพและปองกันโรค สิทธิการรักษา และอื่นๆ ในชุมชนอยางสม่ําเสมอ

จากนั้นผูวิจัยใชวิธีการจัดเรียงขอมูล ดวยโปรแกรม Excell และใชวิธีการวิเคราะหจําแนกประเภท


เชิงระบบ (Taxonomy) [71] ซึ่งเปนการจําแนกตามระบบความคิด ระดับการรับ รูในการบริการปฐมภูมิ
ของสมาชิกกลุมที่เปนตัวแทนของประชาชนในพื้นที่
43

การหาชอ งวา งของการบริการในแต ละด าน ผู วิจั ยได กํ าหนดใหส มาชิ กกลุ มให คะแนนความ
คาดหวังกับบริการที่ไดรับ หลังจากไดรับการบรรยายจากผูวิจัยในเรื่อง หนวยบริการปฐมภูมิ ประโยชน
ของหนวยบริการปฐมภูมิ และความหมายและรายละเอียดของการบริการใน 6 ดาน/ชี้แ จงวัตถุประสงค
ของการสนทนากลุม และการสนทนากลุม
คาคะแนนของความคาดหวัง และบริการที่ไดรับ [11] ดังนี้
5 = มากที่สุด
4 = มาก
3 = ปานกลาง
2 = นอย
1 = นอยที่สุด
ชองวางของการบริการ = คะแนนความคาดหวัง - คะแนนของบริการที่ไดรับ
การแปลผล คาคะแนนที่เปนบวก หมายถึง ผูรับบริการตองการการบริการที่เพิ่มขึ้น
คาคะแนนที่เปนลบ หมายถึง ผูรับบริการไดรับการบริการที่เพียงพอตามความ
ตองการ

ผูวิจัย ตีคาคะแนนของชองวางของการบริการ ดังนี้


1 - 1.99 = นอย
2 - 2.99 = ปานกลาง
3-4 = มาก

ความคาดหวังกับบริการที่ไดรับในบริการ 6 ดานของหนวยบริการปฐมภูมิ จากตารางที่ 7 พบวา


คาเฉลี่ยของคาดหวังตอบริการทั้ง 6 ดานของหนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท มากที่สุดเทากับ 5 การ
บริการที่ไดรับในภาพรวมทั้ง 6 ดาน พบวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 และ 3 มากกวา (คาเฉลี่ย
เทากับ 2) หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 (คาเฉลี่ยเทากับ 1.6) เมื่อพิจารณาการบริการเปนราย
ดานพบวา ประชาชนในหนวยบริ การปฐมภู มิประเภทที่ 1 ไดรับบริการดา นแรกนอยกวา ประชาชนใน
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3, 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) แตไมแตกตางกันระหวาง หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 ดานการบริการผสมผสานและบริการตอเนื่อง พบวา ประชาชนใน
หนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภท ไดรับบริการนอ ยที่สุด คือ เทากับ 1 ในดานการบริการประสานงาน/
เชื่อมโยง พบวา ประชาชนในหนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภทไดรับบริการไมแตกตางกัน ดานบริการ
เนน ครอบครัว/ชุมชน พบว า ประชาชนในหนวยบริการปฐมภู มิประเภทที่ 1 ไดรับ การบริการ นอ ยกว า
ประชาชนในหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3, 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) แตแตไมแตกตางกัน
44

ระหวาง หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 ดานการบริการแบบเอาใจใส พบวา ประชาชนใน


หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 ไดรับเนนการบริการแบบเอาใจใส นอยกวา ประชาชนในหนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3, 4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (0.05) แตไมแตกตางกัน ระหวาง หนวยบริการปฐม
ภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 ดังตารางที่ 7
ตาราง 7 ความคาดหวังกับบริการที่ไดรับของบริการที่ไดรับของหนวยบริการปฐมภูมิ

ประเภท บริการ บริการ บริการตอเนื่อง บริการประสาน/ บริการเนน บริการเอาใจใส


หนวย ดานแรก (5) ผสมผสาน (5) (5) เชือ่ มโยง (5) ครอบครัว และ (5)
บริการ ชุมชน (5)
ปฐมภูมิ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรบั คาดหวัง ไดรับ
1(n=9) 5 1* 5 1 5 1 5 2 5 1.2*. 5 1.6*.
2(n=9) 5 2.1 5 1 5 1 5 1.8 5 3 5 3
3(n=9) 5 2 5 1 5 1 5 1.9 5 3 5 3.1
4(n=8) 5 1.8 5 1 5 1 5 1.1 5 2.5 5 2.4
หมายเหตุ * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผลการอภิปรายจากการสนทนากลุม
สาระสําคัญที่สรุปไดจากขอมูลการบริการดานแรก (First contact)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิ สวนใหญเปดใหบริการเฉพาะเวลาราชการ จํานวน 8 แหง การไดพบผูใหบริการทุก
เวลาเมื่อมี ปญหาทางสุข ภาพเปน ไปได นอ ย เนื่ องจากผูใหบ ริ การมี เวลาการทํ างานตามเวลาราชการ
ชวงเวลาใหบริการไมสอดคลองกับความตองการของชาวบาน ยกเวนหนวยบริการปฐมภูมิเขตอําเภอเมือง
ที่เปดใหบริการตลอด 24 ชั่วโมงเนื่องจากใชส ถานี อนามัยเดิม ทําใหมีเวลาการใหบริการอยางนอย 56
ชั่วโมงได อยางไรก็ตามชาวบานไมมีปญหาเรื่องคาใชจายในการเดินทางมาทีห่ นวยบริการปฐมภูมิ
“พวกเราอยากใหศูนยสุขภาพเปดเหมือนกับที่อื่น สามารถไปหาหมอไดในเวลาเรากลับจากทํางาน บางทีเวลาเกิด
อุบัติเหตุหรือฉุกเฉิน ถาไมไปคลินิก ก็รพ.เอกชน”(ผูนําชาวบาน)
“อยากใหมีหมออยูเวร เวลาปวยกลางค่ํากลางคืน จะไดอุน ใจ”(ผูป ระสานงานพื้นที)่
ในดานการใหบริการจะมีแพทยประจําเปนผูใหการตรวจรักษา ยกเวนเมื่อแพทยไมอยู พยาบาลเวชปฏิบัติ
เปนผูตรวจรักษา หากเกินความสามารถก็จะมีการปรึกษาทางโทรศัพท
“บางทีหมอไมอยูเราจะพบพยาบาลตรวจแทนหมอ หรือบางรายมีอาการหนัก พยาบาลก็จะโทรศัพทห าหมอที่
โรงพยาบาล แตถารักษาไดก็รักษาเลย”(อสม.)
แตปญหาที่พบของสมาชิกคือ มีผูรับบริการมาก ทําใหตองเสียเวลารอนาน มีเวลาพบแพทยคอนขางนอย
“เวลาพวกเราไปที่ศูนยสุขภาพเราตองใชเวลารอนานมาก เพราะวาคนไขเยอะใครๆเขาก็ตองการพบแพทย”(ผูน ําชาวบาน)
45

“รอนาน แตมีเวลาพบหมอนอย เวลาเราเขาพบหมอ พวกพยาบาลเขาก็ท ํางานอื่น จัดยา ทํางานทะเบียนอื่น ๆ ไป”


(ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง)
ประชาชนไมมีชองทางในการใหคําปรึกษาอื่นๆ ไมสามารถติดตอไดเมื่อตองการปรึกษา นอกจากเวลาที่
เขารับการตรวจรักษา เนื่องจากไมมีความสนิทเปนสวนตัวกับผูใหบริการ
“ถามีเรื่องอยากถามเกี่ยวกับอาการเจ็บปวย สวนมากพวกเราถามหมอทีค่ ลินิก”(ผูปวยเคยนอนรพ.ดวยโรคปอดบวม)
“บางทีเรายอมเสียเงิน กัน เพราะวาไปเอกชนจะเร็วและบริการดี หมอที่ศูนยสุขภาพไมคอยสนิท กับ ชาวบานหรอก”
(ตัวแทนแมบาน)
“บางทีอยากรูเรื่องการแพยาโทรฯปรึกษาสายดวน อย.ไมคอยคุนกับหมอที่ศูนยสุขภาพ”(อสม.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2.9
ชาวบานไมมีปญหาเรื่องคาใชจายในการเดินทางมาที่หนวยบริการปฐมภูมิ หนวยบริการปฐมภูมิ เปด
ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง กลางคืนมีเจาหนาที่อยูเวรอยางนอย 1 คน
“กลางคืนสามารถเรียกไดตลอด บางทีก็มีบางที่เจาหนาที่ไมอยู แตไมบอย”(ผูป ระสานงานพื้นที)่
“แตถึงแมวาจะมีหมอใหบริการตอนกลางคืนแตวา ถากลับจากทํางานมาเราอยากไดยากิน แบบไอเปนหวัด เราก็ไปหา
ไมไดน อกจากกรณีฉุกเฉิน”(ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง)
“ตั้งแตมี 30 บาท พวกเราก็สบายขึ้น มีหมอมาบรรจุเพิ่มขึ้น ชุมชนเรามีประชากรมากพวกเราอยากใหเปดบริการถึง 2
ทุม” (ผูป ระสานงานพื้นที)่
ผูรับบริการคอนขางมาก เสียเวลารอนาน มีเวลาพบแพทยคอนขางนอย
“ถาวัน ไหน ทีมหมอ(แพทย) มาจากโรงพยาบาล เราตองรอนานมาก กวาหมอจะตรวจเสร็จตองรอเปน วัน แตเราก็อยาก
พบหมอ”(อสม.)
“สมัยกอนทีมหมอ(แพทย) มาบอย เดี๋ยวนี้ไมคอยมาประมาณเดือน 2 เดือนครั้งแตพยาบาลสวนใหญก็ดูแลดีชาวบาน
ชอบ” (ผูนําชาวบาน)
มีชองทางในการใหคําปรึกษาทางสุขภาพคอนขางดี ผูปวยสามารถปรึกษาปญหาทางสุขภาพทางโทรศัพท
“บางทีก็ปรึกษาพวกหมออนามัยที่อยูนี่แหละไดรับ คําแนะนําดี ถาบริการดี พวกเราเองก็ไมอยากไปไหน”(ตัวแทนแมบ าน)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3
หนวยบริการปฐมภูมิเปดใหบริการตลอด 24 ชม. กลางคืนมีเจาหนาที่อยูเวรอยางนอย 1 คน
“กลางคืนสามารถเรียกไดตลอด บางทีเจาหนาที่ไมอยูเ ราก็จะเจออสม.แตเราไมอยากรักษากับอสม.”
(ผูประสานงานพื้นที)่
“ถามีหมออยูกัน ครบเรียกไดตลอดเวลา แตห มอมักไมคอยอยูประชุมบอย ขนาดมากลางวันยังไมคอยจะเจอแตเจออสม.
อสม.จายยาให เราก็เอา”(ผูนําชาวบาน)
“งานที่อนามัยเยอะมาก แตเราก็คุนเคยกับหมอ เวลามีป ญหาก็ปรึกษาทางโทรศัพทได อสม.ก็ดีบริการดีมีน้ําใจ ถึง
อนามัยยังไมไดตรวจ อสม.ก็จะมานั่งคุยเปนเพื่อน”(ตัวแทนแมบ าน)
“อสม.ยังตองเขาไปชวยทํางานลงทะเบียนบาง แตที่ชวยทุกวันหมุนเวียนกันไป คือไปชวยคัดกรองคนไขตอนเชากอนพบ
หมอตรวจ”(อสม.)
การเดินทางเพื่อรับบริการที่หนวยบริการปฐมภูมิไมมีปญหา ไมมีผลกระทบตอคาใชจายเนื่องจากอยูใกล
ชุมชน สวนมากเดินทางดวยการเดินเทาหรือจักรยาน/มอเตอรไซด
46

หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3.2


หนว ยบริ การปฐมภูมิเป ดใหบริ การตลอด 24 ชม. กลางคื นมีเ จา หนา ที่อ ยูเวรอยางนอย 1 คน แต ผู
ใหบริการสวนใหญเปน อสม.และอสม.จะอยูเวรตอนกลางคืนดวย อสม.ในพื้นทีม่ ีบทบาทหนาที่คอนขางสูง
ทําหนา ที่คัดกรองผูปวย รักษาเบื้องตนและอื่นๆ มีเจาหนาที่คอ นขางน อ ย ประมาณ 2-3 คนตอหนวย
บริการปฐมภูมิ มีการโยกยายบอยบรรจุขาราชการใหมเกือบทุกป ระยะการเดินทางคอนขางไกลจากตัว
อําเภอ และการเดินทางคอนขางทุรกันดาร
“หมอจะทํางานเต็มที่ประมาณ 3 วัน เนื่องจากกลับบาน เดินทางวัน ศุกรกลับวัน อังคาร (ผูนําชาวบาน)
“หมอตองไปประชุมบอย แลวก็ยายบอยเพราะวามัน ไกล พอเราเริ่มปรับ ตัวเขากับหมอได หมอไปแลว”
(อสม.)
“บางอาทิตยไมมีหมออยูเลยหมอไปประชุมกันหมด เวลาเจ็บปวยเราก็จะไปอนามัย แตเจออสม ก็ไดยาเปนยาที่หมอจัด
ไวใหเขาเปนถุงๆ”(ตัวแทนแมบ าน)
“แตถาเวลาหมออยู เขาก็จะบริการเราดี อัธยาศัยก็ดี”(ผูนําชาวบาน)
“เห็นใจหมอ แตเราอยากใหห มอมาอยูที่นี่ และใหท างการชวยเพิ่มคนลงมาใหหนอย” (ผูประสานงานพื้นที)่
“ถาไมมกี ็เอา อสม.เราไปอบรมใหมีความรูหนอยเวลาเขามารักษาเรา เราไมคอยมั่น ใจ ก็เราเห็น อยูวาเขาไมมีความรูอะไร
แตเราก็พูดไมได”(ผูประสานงานพื้นที)่
มีชองทางการใหคําปรึกษาดานสุขภาพ ทางโทรศัพททั้ง อสม.และเจาหนาที่
“หมออนามัยใจดี มีอะไรปรึกษาพูดคุยกันเรือ่ ย ไมถือตัว” (ผูป วยโรคความดันโลหิตสูง)
“บางทีดวน ๆ ก็โทรฯหาไดหมอก็จะบอกวาใหทําอยางนี้ แลวเวลาเขากลับมาที่อนามัยเขาก็จะถามอาการเราตอ”(ผูป วย
เคยนอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม)
การบริการผสมผสาน (Comprehensive care)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิ สวนใหญเนนการรักษาพยาบาล เนื่องจากประชาชนยังเห็นวาการรักษาพยาบาล
เป น เรื่ อ งสํ า คั ญของการบริ การ การบริ การด า นอื่ น จึ งน อ ยลง ประกอบกั บ ภาระงานของผูใ ห บ ริ การ
คอนขางมาก จึงทําใหภาระงานดานอื่นขาดหายไป ดานสงเสริมสุขภาพ มีกลุมออกกําลังกายรําไมพลอง
หรื อ เต น แอโรบิคอยู บางแต ไม ตอ เนื่อ ง จัดตามความว างของผูนํ าเต น มี การบริ การดานภู มิคุมกัน โรค
บริ การอนามั ยแม แ ละเด็ ก ฝากครรภ แ ละตรวจหลั งคลอด มี ว างแผนครอบครั ว ตรวจสุ ข ภาพเด็ ก ดี
แตใหบริการเฉพาะสํานักงาน มีบริการทัน ตสุขศึกษาเนื่องจากมีทันตแพทย/ทัน ตาภิบาลรวมใหบริการ
แตบริการปองกันโรคมีนอยมาก ทั้งในเรื่องการใหความรูสุขอนามัย อนามัยสิ่งแวดลอม รวมถึงการรณรงค
โรคระบาดตามฤดูกาล ไมมีบริการดานฟนฟูสภาพ
“งานรักษาพยาบาลที่ศูนยสุขภาพก็มากแลว บางทีท ีมหมอไมคอ ยมีเวลา เลยทําใหงานอื่น ๆไมคอยดี(ผูใหญบ าน)
“แตจะวาไมดีซะเลยก็ไมได งานฉีดวัคซีนเด็กครบทุกหมูบาน ทีค่ รอบคลุมเพราะจะมีอสม.แตละคุมคอยเตือนใหไปฉีด
วัคซีน หรือไปชั่งน้ําหนัก(ผูประสานงานพื้นที)่
“งานรณรงคตามบานนอย มีการฉีดยากัน ยุง แจกทราย แตก็ชาวบานไมคอยรวมมือ ทําใหไมคอยไดผลเพราะไมรูวาใส
ทําไม ใสแลวกันไดจริงหรือเปลา”(ตัวแทนแมบาน)
47

“บางทีหมอใหเราไปแจกทราย ชาวบานไมเอา บอกวาเอาใสในน้ําเอาไปรดน้ําตนไม ตนไมตายหมด”(อสม.)


“ไมคอยเห็นหมอหรอก มาทีก็ตอนโนน ไขเลือดออกระบาด หวัดนก หรือชวงมีโรคระบาดนั่นแหละ(อบต.)
“เรื่องแนะนําใหความรูไมมี เรื่องสงเสริมสุขภาพหรือปองกันโรคไมตองพูดถึง ไมมีเลย จะมีแนะนําตัวใหดูแลตัวเอง ตอน
เราไปหาที่ศูนยสุขภาพ”(อสม.)
“อยากใหมีหมอกายภาพมาอยูนี่บาง คนแกอัมพาตตองไปหาหมอเฉพาะทาง ใหนวดที่ศูนยก็ไมคอยดีห รอก หลังนวดแลว
เจ็บตัว”(ผูปวยโรคความดัน โลหิตสูง)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิมีแพทยหมุนเวียนมาใหบริการทุกแหงจะมีพยาบาลปฏิบัติหนาที่ป ระจํา ทําใหการ
ทํางานคอนขางครอบคลุม ทั้งงานรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐาน สงเสริมสุขภาพ แตไมมีการใหบริการดาน
กายภาพบําบัด ถึงแมจะมีงานดานแพทยแผนไทยที่มีอยูก็ไดเพียงจายยาสมุนไพรและนวดเพื่อผอนคลาย
แตไมตรงตามพยาธิสภาพของโรค การบริการใหความรู คําแนะนํามีนอยมาก โดยเฉพาะการใหความรูแ ละ
งานควบคุมและปองกันโรค
“งานดานสงเสริมสุขภาพก็มีบาง อยางเชน การออกกําลังกาย การใหวัคซีน ตรวจสุขภาพเด็ก ตรวจแมตั้งครรภ หลัง
คลอด วางแผนครอบครัวในอนามัย สวนมากอสม.แตละคุมจะเปนคนคอยตามคนไขใหไปตรวจ”(อสม.)
“เรื่องการออกกําลังกายใหมๆชาวบานรวมมือดี แตตอนหลังหมอไมมา ชาวบานก็หาย เครื่องออกกําลังกายที่มีอยูก็
หยากไยขึ้นเต็ม”(กํานัน)
“การรํากระบองปาบุญมีดีน ะ พวกคนแกเวลามาออกกําลัง แขนขาขยับไดดีขึ้น แตพักหลังไมคอยมีผูนําไมวาง”(อบต.)
“ถาหมอนวดมีความรูเหมือนหมอกายภาพก็ดีจะชวยคนแก คนพิการไดเยอะ”(อบต.)
“อยากใหหมอมาดูเรื่องการกําจัดขยะในหมูบาน ชาวบานไมคอยมีความรูเก็บ ขยะ มีอยูชวงหนึ่ง เด็กทองเดินเปนแถว
สงสัยมาจากแมลงวันตอมขยะ”(ตัวแทนแมบ าน)
“หมอควรจะทํางานประสานกับชาวบาน เวลามีโรคระบาด อยางไขเลือดออก เด็กปวยเปน แถว หมอเพิ่งมาเดิน แจกทราย
พนหมอกควัน บางทีมัน ชาเกิน ไป เด็กตองนอนโรงพยาบาลกันเปนแถว”(ผูประสานพื้นที)่
“อยาวาแตเด็กเลยผูใหญยังปวยเลยไขเลือดออกเนี่ย”(ตัวแทนแมบ าน)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิมีการกําหนดเกณฑการดําเนินงาน ทัง้ 4 ดาน งานหลักคืองานรักษาพยาบาลเบื้องตน
แตเนื่องจากผูใหบริการคอนขางนอย อสม.จึงหมุน เวียนมาชวยในการใหการรักษาพยาบาลทุกวันเวลา
ราชการ งานดานสงเสริมสุขภาพ ควบคุมและปองกันโรค งานฟนฟูสภาพมีนอยมาก งานสงเสริมสุขภาพที่
เห็นชัดสวนมากเปนงานในสํานักงาน เชน การใหภูมิคุมกัน ดูแลหญิงตั้งครรภ ตรวจหลังคลอด และบริการ
สุข ภาพเด็ กดี ซึ่งเป น หน าที่ ที่กําหนด สํ า หรับ งานส ง เสริ มสุ ข ภาพและงานควบคุ มโรค อสม.จะเป น
ผูกลับไปกระตุนชุมชน ใหคนในคุมที่รับผิดชอบเขารวมกิจกรรม แตไมคอยไดรับความรวมมือ
มีการรณรงคโรคระบาดบางตามฤดูกาล
“งานพื้นที่สวนใหญเปนงาน อสม. แตเราไมอยากใหอสม.ทํา ทางการชวยอบรมพวกอสม.หนอยก็จะดี เราคอยไวใจเขา
หนอยเวลารักษาเรา”(อบต.)
“อยากใหมีหมอชวยดูแลเรื่องคนไขที่เปน อัมพาต สอนวิธีการดูแลผูปวยทํากายภาพดูแลอาการคนไข”(อสม.)
48

“ไมมีหมอฟน อยากใหหมอฟน มาอยู จะไดไมตองเดินทางไปทําฟนไกลเวลาจะทําฟนทีตองไปอนามัยที่มีหมอมา ที่น ั่นจะ


มีหมอฟนอยูแตก็ไมคอยวางหรอก คิวยาวมาก”(ผูป ระสานงานพื้นที)่
“เดี๋ยวนี้งานพวกฉีดยาหมาเปนของอบต.ไปแลว เวลาติดตอใหไปฉีดก็ยาก เสียเงินกันตัวละ 100 บาทพวกหมาจรจัดก็
ไมไดฉีดเพราะมันมีคาใชจาย เวลาหนารอนทีกลัวมันเปนบามากัดเด็ก อยากใหทางการชวยสนับ สนุนวัคซีน พวกนี้บ าง”
(อสม.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิมีเจาหนาที่คอ นขางนอย อสม.มีบทบาทหนาที่คอนขางสูง คลายกับหนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 3 เนนการทํางานดานรักษาพยาบาล มีการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพในเรื่องการให
ภู มิคุ ม กั น โรค อนามั ย แม แ ละเด็ ก วางแผนครอบครั ว ดู แ ลสุ ข ภาพเด็ ก ดี ส ว นใหญ อสม.เป น คน
ดําเนินการในดานการติดตามงาน มีงานออกกําลังกายบางแตไมมากนัก เนนเรื่องการเตนแอโรบิค รําไม
พลอง สิ่งจูงใจที่เขารวมกิจกรรมออกกําลังกาย คือ การไดรับของแจก การจัดเลี้ยงหลังออกกําลังกาย งาน
ควบคุมและปองกันโรคมีนอย โดยเฉพาะดานสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม
“พวกเราพยายามเขารวมกิจกรรมออกกําลังกายในหมูบ าน เพื่อชักชวนใหเพื่อนบานเขามารวม แตก็ไดพักเดียว ถาไมมี
รางวัลก็ไมคอยมากัน นอยคนที่มาออกกําลังเพื่อสุขภาพ”(ผูใหญบาน)
“อนามัยคนนอย แคงานบนอนามัยก็แทบจะไมมีเวลาแลว ไหนจะงานประชุม งานทะเบียน สารพัด”(อสม.)
“อยากใหมีหมอฟนมาใหบ ริการที่นบี่ าง เวลาจะทําฟนก็ตองเดินทางไปไกล”
“การดําเนินงานเรื่องโรคระบาดสวนใหญท ี่นี่ อบต.กับ อสม.จะดูแลเปนสวนใหญ” (อบต.)
“เวลาไขเลือ ดออกระบาดพนหมอกควัน พวกเราตองเสียเงินหลังคาเรือนละ 300 บาทเปนคารถ น้ํามันรถและน้ํายา”
(ตัวแทนแมบาน)
“อยากใหท างการเพิ่มหมอลงมาชวยงาน เพราะวาหมอนอย” (ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง)
งานดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง ทั้งผูพิการ ผูสูงอายุ เปนหนาที่ข อง อสม. การคัดกรองผูปวย เชน โรคความดัน
โลหิตสูงและโรคเบาหวาน อสม.จะเปนผูวัดความดันโลหิตสูง เจาะเลือดหาน้ําตาลในเลือด ซึ่งชาวบานไม
เชื่อถือและมักจะไมคอยใหความรวมมือ การดําเนินงานดานภูมิคุมกันโรค ครบถวนเนื่องจาก อสม.เปน
ผูดูแล ติดตามและชั่งน้ําหนัก ในดานอนามัยแมและเด็ก ไมมีการเยี่ยมกอน/หลังคลอด การควบคุมและ
ปองกันโรค มีการดําเนินงานคอนขางนอย ทั้งสุขอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอม มีการรณรงคโรคระบาด
ตามฤดู กาล แตไมมีบริการดา นกายภาพบํ าบัดหรื อการใหคํ าปรึกษา เพราะส วนใหญตอ งทํ างานดาน
รักษาพยาบาล
“งานสงเสริมสุขภาพและควบคุมปองกัน โรคไมตองพูดถึง ทุกวันนี้หมอแทบไมมีเวลาทํางานดานรักษาพยาบาลเลย ทั้ง
ประชุม ของงานอนามัย อบต. ไขห วัดนก อําเภอ แคเดินสายประชุมก็แทบจะทําไมไหวแลว”(อบต.)
“งานพนหมอกควันเราก็ตองออกเงิน คารถ คาน้ํายาพน ใหกับอบต.เอง” (อสม.)
การบริการตอเนื่อง (Longitudinal care)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หน ว ยบริ การปฐมภู มิมี การติ ด ตามผู ป วยโรคเรื้ อ รั ง ต างๆ เช น การดู แ ลผูพิก ารผู ป ว ยจิ ตเวช ผู ป ว ย
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง วัณโรค การติดตามสวนใหญท างโทรศัพท มีการดูแลผูสูงอายุแตไม
49

ทั่วถึง มีก ารติดตามผูปวยเมื่อ มีการผิดนัด งานดา นอนามัยโรงเรียนคอ นขางนอย การดูแ ลผูปวยโรค


เรื้อรังที่อยูในทะเบียนสามารถดูแลใกลชิด เนื่องจากมีแพทยสามารถสั่งยาใหกับผูปวยได
“ถามีการติดตามผูปวยโรคเรื้อรังแบบตอเนื่อง ผูป วยจะลดคาใชจายลงไปเยอะ”(อสม.)
“แตเราโชคดีน ะ เราสามารถพบแพทยเพื่อสั่งยาโรคเรื้อรังไดเลย”(ผูปวยโรคความดัน โลหิตสูง)
“ดีอยางตรงที่ไดพบแพทยอยางสะดวก แตก็ไมมีใครมาคอยบอกเเนะนําวาตองทําตัวยังไง จะควบคุมระดับ ความดัน
เลือดและน้ําตาลได” (ผูป วยโรคความดันโลหิตสูง)
“หมอมีแฟมครอบครัว เวลาคนไขมาหาหมอจะคนแฟมแลวดูอาการ ดูเรื่องยาเกาได”(อบต.)
“แตก็มีเฉพาะกลุมโรคบางโรคอยางเบาหวาน ความดันเทานั้น อยางอื่นไมมีห รอก”(ผูใหญบาน)
“หมอไมคอยออกมาเยี่ยมดูอาการคนไขห รอก เราตองรูอาการเองและคอยไปพบหมอเวลาเรามีอาการ”(ผูประสานงาน
พื้นที)่
“สวนมากคนไขตองดูแลตัวเอง ถาไมงั้นเวลาเปนมากตองเสียเวลา เสียคาใชจาย เผลอๆพิการอีก”(อสม.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิมีการดํ าเนินการคลายๆกัน มีติดตามผูปวยโรคเรื้อรังตา งๆ เชน การดูแลผูพิการ
ผูปว ยจิตเวช ผูป วยโรคเบาหวาน โรคความดัน โลหิ ตสู ง วั ณโรค มีการดู แลผู สูงอายุแ ต ไมทั่ วถึ ง งาน
อนามัยโรงเรียนคอนขางนอย การสั่งจายโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานตองรอแพทย บางทีเลยเวลา
ผูปวยตองเดินทางไปเอง
“เจาหนาที่งานเยอะ คนไขมาจากหลายที่เวลาหมอมาตรวจที คนไขแนน อนามัย ทําใหไมคอยมีเวลาไปเยี่ยมพวกเรา”
(อสม.)
“ก็มีมาเยี่ยมบาง นานๆที ประมาณ 3-4 เดือนมาที โดยเฉพาะผูพิการ ถาโรคเรื้อรังแทบไมคอยไดเยี่ยม”(ผูป วยโรคความ
ดันโลหิตสูง)
“สวนใหญมีอสม.มาวัดความดันเลือด 2-3 เดือนตอครั้ง ก็ดีเหมือนกัน ทําใหเราไดรอู าการ แตถาเบาหวานตองไปเจาะ
เลือดที่อนามัย สวนมากเราตองดูแลตัวเอง”(กํานัน)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หน ว ยบริ การปฐมภู มิมี การติ ด ตามผู ป วยโรคเรื้ อ รั ง ต างๆ เช น การดู แ ลผูพิก ารผู ป ว ยจิ ตเวช ผู ป ว ย
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง วัณโรค บาง มีการดูแลผูสูงอายุแตไมทั่วถึง การติดตามผูปวยเมื่ อ
ผูปวยขาดยา งานอนามัยโรงเรียนคอนขางนอย การติดตามเยี่ยมบานมารดาหลังคลอดคอนขางนอย
“ไมคอยมีหมอมาเยี่ยมหรอก สวนมากก็เห็น แตอสม.” (ผูใหญบ าน)
“พวกเราตองดูแลตัวเอง ถาเปนมากก็โนน โรงพยาบาล” (อบต.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 4
หนวยบริการปฐมภูมิมีการดําเนินดูแลผูปวยตอเนื่อง ในผูปวยผูปวยโรคเรื้อรังตางๆ เชน การดูแลผูพิการ
ผูปวยจิตเวช ผูปวยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง วัณโรค ผูสูงอายุ
“เจาหนาที่งานเยอะ ไมคอยมีเวลาไปดูแลพวกเรา คนก็น อย”(อสม.)
“ก็มีการดูแลตอเนื่องบาง แตไมท ั่วถึง หรือมาติดตามอาการเวลามีโครงการ หรือตองทํารายงานสง”(ผูใหญบาน)
50

“บางทีคนไขขาดยาตองไปเอายาคลินิกในหมูบ าน หรือบางทีไปรอหมอตรวจที่โรงพยาบาล รอนานไมไดตรวจเลยเขา


คลิน ิกไปเลย ตองยอมจายตังคเอง”(ตัวแทนแมบาน)
“การตรวจรางกายสวนใหญเพื่อตรวจดูอาการแทรกซอน ทําที่อนามัยไมได ตองเขาเมือง ทุก 3 เดือนหรือบางทีก็ไมถึง
ตองเตรียมเงิน คาเหมารถไปโรงพยาบาล”(ผูปวยโรคความดัน โลหิตสูง)
“อยากใหท างการชวยแกไขเรื่องการตองเดินทางไปตรวจของคนไขโรคเบาหวาน ความดัน เพราะคนไขบางคนตองขอเงิน
ลูกหรือกูเงิน ขางบานเหมารถไป นาสงสาร”(อบต.)
การใหบริการแบบประสานงาน เชื่อมโยง สงตอ (Coordinate care)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3
หนวยบริการปฐมภูมิมีการสงตอยางเปนระบบ ระหวางหนวยบริการปฐมภูมิกับ หนวยบริการคูสัญญา
(CUP) หรือสถานบริการอื่น มีการสงขอมูลผูปวยกลับไปที่หนวยบริการปฐมภูมิ เพื่อดูแ ลตอ เนื่อง สวน
ใหญเนนผูปวย 2 ไดแกโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน แตอยางไรก็ตามไมมีการติดตามประสานไปยัง
สถานบริการที่ผูปวยตองไปรับการรักษาถึงแมมีหนังสือสงตัวก็ตองนั่งรอเหมือนกับผูปวยทั่วๆไป (กรณีไม
ฉุกเฉิน) มียานพาหนะไปสง แตกลับเอง
“มีรถรับ สงคนไขดี แตเวลากลับตองกลับ เอง บางทีถาไมตองรอนานและหมอใหกลับบานถารถของศูน ยสุขภาพรอก็จะ
ทําใหสะดวกขึ้น”(อบต.)
“ถามาที่ศูนยสุขภาพ บางทีถาหมอเห็นวาตองพบหมอใหญ ก็ไมตองเดินไกล กลับ เขาไปที่ห องบัตรแลวยื่นใบสงตัวให
แลวไปเขาคิวรอพบหมอใหญไดเลยไมนานหรอก”(อสม.)
“แตวาถาตอ งไปที่โรงพยาบาลในเมือง(รพ.ศูน ย) หมอโรงพยาบาลจะดูอีกครั้งแตก็ตองรอคิวเหมือนเดิม ถาเราไมไดนอน
ไป”(ตัวแทนแมบ าน)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3.2
หนวยบริการปฐมภูมิมีการดําเนินการคลายๆกัน แตไมมีขอ มูลเมื่อผูปวยไปรับการรักษาที่อื่น ถาไมผาน
ระบบสงตอ มีการประสานงานระหวางหนวยบริการปฐมภูมิกับหนวยบริการคูสัญญา (CUP) หรือสถาน
บริการอื่น มีการสงขอมูลผูปวยกลับไปที่ห นวยบริการปฐมภูมิ เพื่อดูแ ลตอ เนื่อง สวนใหญเนนผูปวย 2
โรค ไดแกโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน บางครั้งจะมีรถรับ-สงแตสวนใหญผูปวยเดินทางไปเอง และ
ไมมีการประสานงานกอนผูปวยไปถึง
“มีรถบริการรับ-สงดี หมอดูแลดี บางทีก็โทรศัพทบ อกที่โรงพยาบาลให เราก็สบายหนอย ไมตองรอนาน”(อบต.)
“เปนบางราย บางที่ก็ไมมี เราตองรอนานกวาจะมีหมอมาดู ตองเขาคิว”(อสม.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลีย่ ชองวางการบริการเทากับ 3.1
หนวยบริการปฐมภูมิมีการดําเนินการคลายๆกัน เชน การไมมีขอมูลเมื่อผูปวยไปรับการรักษาที่อื่น ถาไม
ผานระบบสงตอ แตไมมีการประสานงานระหวางหนวยบริการปฐมภูมิกับหนวยบริการคูสัญญา(CUP)
หรือสถานบริการอื่น มีการสงขอมูลผูปวยกลับไปที่หนวยบริการปฐมภูมิ สวนใหญเนนผูปวย 2 โรค ไดแก
โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ถามีการสงตัวไปรักษาที่สถานบริการที่สูงขึ้น ผูปวยตอ งเดินทางไปเอง
และไมมีการประสานงานกอนผูปวยไปถึง
“ไมมีรถรับ-สง สวนมากเหมารถไปเอง”
51

“บางทีเราก็ไมผานอนามัยหรอก เราขี้เกียจรอใบสงตัว ชา หมอก็ไมคอยออกให”(ตัวแทนแมบาน)


หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3.9
หนวยบริการปฐมภูมิไมคอยมีระบบการสงตอที่ดี ขาดการประสานระหวาง หนวยบริการปฐมภูมิกับหนวย
บริการคู สัญญา(CUP) หรือสถานบริ การอื่น หนังสื อสงตัวไมแ จง รายละเอียดของการรักษาหรือ เขียน
สาเหตุของการสงตัวใหชัดเจน มีการบอกขอมูลเกี่ยวกับประวัติคอนขางนอย ทําใหผูปวยตอ งเลาประวัติ
เอง บางครั้งผูปวยไมเขาใจและบอกไมรูเรื่อง ไมมีการติดตามประสานไปยังสถานบริการทีผ่ ูปวยตองไปรับ
การรักษา มีรถรับ-สงคอนขางนอย สวนใหญผูปวยเหมารถไปเอง เมื่อกลับไปถึงบานก็ไมมีขอมูลสงกลับ
ไปที่หนวยบริการปฐมภูมิ ทําใหขอมูลผูปวยขาดการตอเนื่อง
“หมอก็เขียนใบใหเราเวลาเราอยากไปโรงพยาบาล แตก็ตองไปนั่งรอคิวนานเหมือนเราไปเอง”(กํานัน)
“คาเหมารถไปทีก็หลายบาท ถาเราขึ้นรถโดยสารไปก็น าน เลยตัดสิน ใจเหมาไปเองดีกวา”(ผูป วยโรคความดันโลหิตสูง)
“หมอไมคอยออกใบสงตัวใหเรา เวลาเราไปขอแตเราก็กินยาไมห าย บางทีก็ไปคลิน ิกใกลบาน หายบางไมห ายบาง”
(ตัวแทนแมบาน)
การใหบริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน (Family and community oriented)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3.8
หนวยบริการปฐมภูมิมีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชนในรูปแฟมประจําครอบครัว มีการดําเนินงาน
โครงการตาง ๆ ในชุมชนบางไมมากนัก
“ที่ศูน ยสุขภาพมีแฟมครอบครัวครบทุกหมูบาน พวกเราชวยกันสงขอมูลใหหมอ และเดินเก็บกันตามคุมที่รับผิดชอบกัน
นานกวาจะครบ เดี๋ยวนี้ก็ยังตองทําเรื่อย เพราะคนมันเขาออกกันเรื่อย เดี๋ยวเกิด เดี๋ยวตาย เดี๋ยวคนนี้แตงงานกับคนนั้น
เดี๋ยวคนนั้นไปทํางานตางจังหวัด” (อสม.)
“ที่ศูน ยสุขภาพไมคอยมีกิจกรรมเขารวมประชุมกับ ชาวบานเทาไร สวนใหญทํางานในสํานักงาน เวลาจะเก็บขอมูลของ
ชุมชนที ก็มาหาอสม.หรืออบต.กอน (ผูใหญบาน)
“ไมคอยเห็นหมอมาเยี่ยมคนไขหรอก ก็แคงานทุกวันนี้ก็มากแลว” (ตัวแทนแมบาน)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2
หนวยบริการปฐมภูมิมีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชนในรูปแฟมประจําครอบครัวคอนขางครบถวน
มีก ารดํ าเนิ น งานโครงการต า ง ๆ ในชุ มชนบ อ ย มีการกิจ กรมในชุ มชนอย า งสม่ํ าเสมอ มี ก ารประชุ ม
ประจําเดือนรวมกับชาวบานทุกเดือน หลังจากประชุมถามีปญหาทางดานสุขภาพ จะมีโครงการแกไข
ปญหารวมกันกับทีมผูนําชาวบาน เชน กํานัน ผูใหญบาน อบต. คณะครูในพื้นที่ เปนตน นอกจากนั้น ใน
ชุมชนจะมีกลุม/ชมรมตางๆ เชน ชมรมดนตรีไทย ผูสูงอายุ ออกกําลังกาย
“หมอเขาจะเขาประชุมดวยทุกเดือน ที่ประชุมก็จะมีผูเกี่ยวของหลายคน อยางผม กํานัน ผูใหญบาน ครู เกษตร
ตัวแทนแมบ าน อสม.เขาประชุมกัน ทุกเรื่องเพื่อพัฒนา หรือใครมีปญหาอะไร อยากใหใครชวยจะพัฒนาชุมชนเรา
อยางไร ก็คุยกันเลย หมอเขาก็รับ ฟงนะ บางทีมปี ญหาดานสุขภาพในพื้นที่ หมอเขาก็จะเขียนโครงการ เขามาขอ
งบประมาณจาก อบต.” (อบต.)
“หมอก็มาเยี่ยมพวกเราเรื่อยเหมือนกัน สวนใหญเห็นไปเยี่ยมโนน คนพิการ ยิ่งเวลาพวกหมอที่เปนนักเรียนวิทยาลัย
สาธารณสุขมาฝกงานกัน ยิ่งออกเยี่ยมบอย พวกหมอที่มาฝกงานเนี่ยใจดี ทํางานเกง”(ตัวแทนแมบาน)
52

หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2
หนวยบริการปฐมภูมิมีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชนในรูปแฟมประจําครอบครัว มีการดําเนินงาน
โครงการตาง ๆ ในชุมชน คลายๆกับหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 มีเจาหนาที่รับผิดชอบงานในชุมชน
ชัดเจน มีการทํางานเปนเครือขายรวมกับทีมอสม. มีการจัดชมรมกิจกรรมตางๆในชุมชนสม่ําเสมอ มี
ปฏิทินชุมชน
“หมอจะเขารวมประชุมประจําเดือนทุกเดือน เวลามีป ญหาทางโรคภัยไขเจ็บ เราก็คุยกัน หมอก็จะรับ ไปปรับปรุง หรือ
ทํากิจกรรมให สวนใหญเขียนโครงการของงบอบต. อยางเมื่อเดือนที่แลว เพิ่งจะเขียนของงบตั้งชมรมออกกําลังกาย
และก็จัดงานกีฬาไป ประมาณ 600,000 บาท นาจะอนุมัติแลว เพราะเพิ่งผานวาระไปเมื่ออาทิตยท ี่แลว” (อบต.)
“สวนใหญแกนนําในชุมชนจะรวมทํากิจกรรมกัน คอนขางดี เราพยายามปลูกฝงใหชาวบานรักชุมชน เหมือนกับที่อื่น
(อสม.)
“อยางชวงหวัดนกมาเนี่ย พวกเราก็เขาประชุมกับปศุสัตว เดี๋ยวประชุมเรื่องโนน เรื่องนี้ กันไมไดหยุดหรอก นี่บายตองไป
คัดกรองเบาหวาน ความดันอีก”(อสม.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2.5
หนวยบริการปฐมภูมิมีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชนในรูป แฟมประจําครอบครัวแตไมครอบคลุม
และคอนขางเกา มีการดําเนินงานโครงการตาง ๆ ในชุมชนบางไมมากนัก มีการทํางานเปนเครือขาย
รวมกับทีมอสม. มีการจัดชมรมกิจกรรมตางๆในชุมชนบาง
“ปกติหมอจะมีรายชื่อเขาประชุมกับพวกเราทุกเดือน แตสวนใหญไมคอยไดเขาหรอก หมอติดประชุมบอย เดี๋ยวงาน
โนน งานนี้ ก็มีแค 3 คน” (อบต.)
“แตหมอเขาก็มาเขามาทํากิจกรรมในชุมชนบอยเหมือนกัน อยางนัดประชุมชาวบาน หรืออสม.เรื่องบัตรทอง เรื่องการ
สํารวจผูพิการ ผูสูงอายุ อะไรประมาณนี้ (ตัวแทนแมบาน)
“หมอที่น ี่เขาเกง เวลาเห็นเรา เขาจะถามถึงคนนั้น คนนี้ครอบครัวเราเขาจําไดหมด” (ผูปวยโรคความดัน โลหิตสูง)
การบริการแบบเอาใจใส (Empathy relationship)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 3.4
ผูใ ห บ ริ การในหน วยบริก ารปฐมภูมิ มีป ฎิสั มพั น ธกับ ชาวบ าน หรื อ ผู รั บ บริก ารในระดั บหนึ่ ง ไม คอ ยมี
ความคุนเคย การสื่อสารระหวางกันเหมือนหมอกับคนไข หรือหมอกับชาวบาน ถามีเวลาก็อาจจะปรึกษา
เรื่องทางสุขภาพไดบางกับเฉพาะผูใหบริการบางคนเทานั้น
“ไมคอยคุน เคยกับหมอเลย มีอะไรไมคอยกลาถาม ยกเวนบางคนแตก็ไมไดคุนเคยอะไรเปนพิเศษ” (อบต.)
“แตหมอก็พูดจาดีนะ ยิ้มแยมแจมใสตอนรับ ดี บางคนอีกแหละ บางคนก็ดุ อยางหมอใหญเนี่ยไมกลาถามเลย มีเวลา
คุยเฉพาะตอนตรวจโรค ถามอาการ ตรวจ สั่งยา” (ตัวแทนแมบาน)

หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2
ผูใหบริการในหนวยบริการปฐมภูมิมีปฎิสัมพันธกับชาวบานดี ผูปวย/ชาวบานมีความคุนเคย ดูแลเอาใจ
ใสผูปวยดีไมเลือกคนรวยคนจน เวลาตรวจรักษาจะพูดคุยกับผูปวยดี ยกเวนแพทย เวลามีปญหาปรึกษา
ไดทุกเรื่องและรักษาความลับของผูปว ยได
53

“หมอที่น ี่ดี มีอะไรปรึกษาไดห มด ไมเอาเรื่องเราไปพูดที่อื่น” (ตัวแทนแมบ าน)


“เจาหนาที่เอาใจใสคนไขดี ยิ้มแยม ไมเคยโมโหคนไขเลย เวลาไปตรวจ(ไมใชหมอใหญนะ) ฟงเรา ใหเราเลา ถาม
อาการเราละเอียด สบายใจเวลามาหาหมอ” (ผูปวยที่เคยนอนโรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 1.9
ผูใหบริการในหนวยบริการปฐมภูมิมีปฎิสัมพันธกับชาวบานดี ผูปวย/ชาวบานมีความคุนเคย ดูแลเอาใจ
เหมือนหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 เวลาตรวจรักษาจะพูดคุยกับผูปวยดี เวลามีปญหาปรึกษาไดทุก
เรื่องและรักษาความลับของผูปวยได
“พวกเรารักหมออนามัยทุกคน บริการดียิ้มแยมเเจมใส ไมรังเกียจคนจนคนรวย” (อสม.)
“เจาหนาที่เอาใจใสคนไขดี ยิ้มแยม ไมเลือกปฏิบ ัต”ิ (อบต.)
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 คะแนนเฉลี่ยชองวางการบริการเทากับ 2.6
ผูใหบริการในหนวยบริการปฐมภูมิมีปฎิสัมพันธกับชาวบานดี ผูปวย/ชาวบานมีความคุนเคย ดูแลเอาใจ
เหมือนหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 แตไมคอยมีเวลาใหกับชาวบานมากนัก (ยกเวนที่หนวยบริการ
ปฐมภูมิ 1 แหงที่มีปญหากับชาวบาน)
“หมอก็ดี อารมณดี ไมคอยโกรธหรอก แตไปไมคอยไดเจอ งานเขาเยอะ”(อสม.)
“บางทีมีเรื่องก็ปรึกษาไดท ุกเรื่องแหละ แตไมบอยหรอก” (อบต.)
“เวลามาหาหมอบนอนามัย ก็ไมคอยไดคุย หมอตรวจเร็ว ฟงๆอาการแลวสั่งยา(ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง)
“ความที่หมอไมใชคนพื้นที่ กลับบานบอย เราก็เลยไมคอยคุน เคยกับหมอ แตหมอก็อัธยาศัยดีน ะ”(อสม.)
“มีหมอบางคน ทําตัวเปนเจาแม ถูกคนไขรองเรียนเรื่องเอาหมามาเลี้ยงที่อนามัย แตก็ไมเห็นไปยังไง เรื่องก็เงียบ ทุก
วันนี้ถามีคนไขไปหาหมอ หมาไลกัดคนไข จนเดี๋ยวนี้ไมคอยมีคนไขกลางคืน หรอก ก็หมามัน ไลกัด” (ตัวแทนแมบาน)
“ถาหมอคนนี้ออกยายออกไปไหนนะ อนามัยจะดีกวานี้เยอะ”(ผูประสานงานพื้นที)่
54

บทที่ 5

อภิปรายผล สรุป และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง การประเมินคุณภาพบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค เพื่อ ประเมิน


คุณภาพบริการปฐมภูมิจากหนวยบริการปฐมภูมิที่มีความแตกตางในดานผูใหบริการ จังหวัดพิษณุโลก
4 ประเภท ไดแก (1) หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่
สาธารณสุข ) (2) หน วยบริการปฐมภูมิใหบ ริ การประจําโดยแพทยห มุนเวียนและทีมพยาบาลวิช าชีพ/
เจา หน า ที่ ส าธารณสุ ข ) (3) หน วยบริ ก ารที่ ให บ ริ การประจํ าโดยที มพยาบาลวิ ช าชี พ และเจ า หน า ที่
สาธารณสุข และ (4) หนวยบริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข ทั้งนี้เพื่อศึกษา
การดูแลตามแนวเวชปฎิบัติของโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ของหนวย
บริการปฐมภูมิ 4 ประเภท ผลของการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน โดยการสํารวจจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง และโรคปอด
บวม จากหนวยบริการปฐมภูมทิ ั้ง 4 ประเภท และเพื่อศึกษาผลการตอบสนองความคาดหวังในบริการ
ปฐมภูมิของหนวยบริการปฐมภูมทิ ั้ง 4 ประเภท จากประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ วิธีการเก็บขอมูลเชิง
คุณภาพและเชิงปริมาณ คือ วิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ ไดแ ก การสนทนากลุม การเก็บ
ขอมูลเชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม แบบตรวจเช็ค แบบสํารวจและการเก็บขอมูลจากทะเบียนผูปวย
นอกของหนวยบริการปฐมภูมิ ทะเบียนผูปวยในของโรงพยาบาล(CUP) ทะเบียนรายงานและเอกสารอื่น
ๆ ที่เกี่ยวของ เมื่อตรวจสอบความครบถวนของขอมูล นําขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุมที่เปนขอมูลเชิง
คุณภาพ วิเคราะหโดยใชเทคนิคการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะหเชิงเนื้อหา สวนขอมูล
เชิ งปริ มาณ วิเ คราะห โดยใช โปรแกรม SPSS ค าสถิติที่ ใ ช ในการวิเ คราะห ได แ ก ค าจํ า นวนร อ ยละ
คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน chi-square test และ วิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of variance,
ANOVA) การทดสอบคาความนาเชื่อ ถือ (Reliability test) โดยใช Cronbach alpha coefficient เพื่อ
ทดสอบความนาเชื่อถือของขอมูล

อภิปรายผล
การศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพบริการปฐมภูมิ มีขอนาสังเกตในดานคุณภาพบริการ
ดังตอไปนี้
55

วิธีการศึกษา
เปน การศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional) และการศึกษาแบบติดตามยอนหลัง เพื่อ
เปรียบเทียบและหาความสัมพันธ (Retrospective cohort) โดยติดตามผูปวยโรคความดันโลหิตสูงและโรค
ติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน ที่ตอ งนอนโรงพยาบาลดวยอาการ/โรคแทรกซอ น ใน ปพ.ศ. 2547 ถึง
2551 โดยพื้นที่/หนวยบริการปฐมภูมิ คือ ศูนยสุขภาพชุมชนหรือสถานีอนามัย จํานวน 35 แหง จาก 165
แหงใน 9 อํา เภอของจั งหวัด พิษณุ โลก การสุมกลุมตั วอยา งใชการสุ มแบบกลุม 2 ขั้ น (Two-stage
cluster) ขั้นที่ 1 จัดตามประเภทของหนวยบริการปฐมภูมิออกเปน 4 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 หนวย
บริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข, ประเภทที่ 2 เปน
หนวยบริการปฐมภูมใิ หบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข,
ประเภทที่ 3 เปนหนวยบริการที่ใหบริการประจําโดยทีมพยาบาลวิช าชีพและเจาหนาที่สาธารณสุข และ
ประเภทที่ 4 เปนหนวยบริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข
จากนั้น ขั้นที่ 2 สุมตามการกระจายเพื่อการเปนกลุมตัวอยางที่ครอบคลุมทุกพื้น ที่และเชื่อ ถือได
โดยจัดกลุมกระจายทุกอําเภอ ขนาดของกลุมตัวอยางของหนวยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 2, 3 และ 4
สอดคลองกับหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 (เพื่อความเชื่อ มั่นในการเปรียบเทียบ) จากนั้นนําจํานวน
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 มาสุมอยางงายดวยวิธีการจับฉลาก
วิธีการรวบรวมขอมูล
การดําเนินการเก็บ ขอมูล เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ วิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ
ไดแก การสนทนากลุม การเก็บขอมูลเชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม แบบตรวจเช็ค แบบสัมภาษณ
และการเก็บ ข อ มู ล จากทะเบี ยนผู ป วยนอก ทะเบี ยนผู ป วยใน ทะเบี ยนรายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่
เกี่ยวของ ตามขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้ (1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ เชน ระบบบริการสุข ภาพ การ
ปฏิรูประบบบริการสุขภาพ นโยบายหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ระบบบริการปฐมภูมิ คุณภาพบริการ
คุณภาพบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดในการวัดคุณภาพปฐมภูมิ เครื่องมือที่ใชการประเมินคุณภาพบริการปฐม
ภูมิ และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ ง (2) สรางเครื่องมือ และตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อ หา (3) ทดลองใช
เครื่อ งมือ ปรับปรุง แกไข (4) กําหนดกลุมตัวอยางและจํานวนในแตล ะหนวยบริการปฐมภูมิ (5) เก็ บ
รวบรวมขอมูล/วิเคราะหขอมูล
ในศึก ษาครั้ งนี้ ผู วิ จัย ไดศึกษาคุ ณภาพบริ การปฐมภูมิ จากหนวยบริ ก ารปฐมภู มิที่ มีความ
แตกตางเชิงโครงสรางดานผูใหบริการ ผลของคุณภาพการบริการจําแนกออกเปน 2 สวน คือ ผลผลิตและ
ผลลัพธ ผลผลิตวัดจากการนอนโรงพยาบาลของโรคในกลุมโรคที่สามารถดูแลและปองกันการเกิดโรค
แทรกซอนไดบริการปฐมภูมิ (ACSC admission) ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยเลือก โรคความดันโลหิตสูง เปน
ตัวแทนการดูแลผูปวยโรคเรื้อ รั ง และโรคปอดบวมซึ่งเปนโรคแทรกซอ นจากโรคติ ดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลัน เป นตั วแทนการดู แ ลโรคแบบเฉียบพลั น การศึ กษาคือ (1) ผลของจํ านวนร อยละการนอน
56

โรงพยาบาลของผูปวยจากการเกิดโรคแทรกซอนของโรคความดันโลหิตสูง และจํานวนรอยละการนอน
โรงพยาบาลดวยโรคปอดบวม และ(2) ผลการตอบสนองความคาดหวังของบริการปฐมภูมิในมุมมองของ
ประชาชน ตามบริการปฐมภู มิ 6 ด าน ไดแ ก ด านบริก ารด านแรก บริ การผสมผสาน บริ การตอเนื่อ ง
บริการเชื่อมโยง ประสานงาน บริการเนนครอบครัว ชุมชน และบริการแบบการเอาใจใส
โครงสรางของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
โครงสรางทั่ว ๆ ไปของหนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภทไมแตกตางกัน ยกเวนดานผูใหบริการ
เนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรทางวิชาชีพ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ สุวิทย วิบูลยผลประเสริฐ [72]
ในดานการขาดแคลนกําลังคนซึ่งพบวาคาเฉลี่ยเจาหนาที่ตอหนวยบริการปฐมภูมิ เทากับ 3.8 คน หนวย
บริการปฐมภูมิทุกแหงมีเกณฑมาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูมิ [1] ประชากรในพื้น ที่รับผิดชอบของ
หนวยบริการปฐมภูมิทั้ง 4 ประเภทเปนไปตามเกณฑมาตรฐานศูนยสุขภาพชุมชน หนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ใหบริการประจําโดยแพทย (ทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข) มีประชาชนในพื้นที่
รับผิดชอบมากที่สุด โดยเฉลี่ย 9,567 คน, รองลงมาคือหนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทย
หมุนเวียน (ทีมพยาบาลวิช าชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข) โดยเฉลี่ย 6,250 คน, หนวยบริการที่ใหบริการ
ประจําโดยทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข โดยเฉลี่ย 4,614 คน และนอยที่สุด ไดแ ก หนวย
บริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยทีมเจาหนาที่สาธารณสุข โดยเฉลี่ย 2,958 คน ดานงบประมาณมี
การจัดสรรเหมือนกัน งบประมาณหลักสําหรับบริห ารจัดการของหนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท การ
จัดสรรเปนงบคงที่ไมไดจัดสรรเปนรายหัวตอป โดยเฉลี่ยประมาณ 400,000 บาท งบประมาณสวนใหญ
ใชในดานการรักษาพยาบาล รองลงมาเปนดานสงเสริมสุขภาพ และการดําเนินงานในหนวยบริการปฐม
ภูมิ ดานการบริหารจัดการ หนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท มีระบบการบริหารจัดการเหมือ นกัน คือ
มีระบบสวัสดิการ และการประเมินผลระบุเปนเกณฑการปฏิบัติ ในดาน (1) มีระบบการประเมินผล การ
ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ (2) มีระบบการเพิ่มพูนความรูแ ละทักษะแกเจาหนาที่ (3) มีระบบการอบรม
แนวคิดการใหบริการแกเจาหนาที่ (4) มีระบบสวัสดิการในดานขวัญ กําลังใจในการทํางาน (5) มีระบบ
การจ ายผลตอบแทนและสวัส ดิการ จากการประเมิน ตนเองของหัว หน าหนวยบริก ารปฐมภู มิ พบว า
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 ประเมินตนเองทั้ง 5 ดานอยูในระดับดี หนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ 3 ประเมินตนเองอยูในระดับดีในดานการมีระบบประเมินผล การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ การ
มีระบบการอบรมแนวคิดการใหบริการแกเจาหนาที่ และการมีระบบสวัสดิการในดานขวัญกําลังใจในการ
ทํางาน ระดับปานกลางไดแกการมีระบบการเพิ่มพูนความรูและทักษะแกเจาหนาที่ และการมีระบบการ
จา ยผลตอบแทนและสวั สดิ การ ทั้ งนี้เ นื่ อ งจากเจ า หนา ที่ ไมคอ ยได รับ การสนับ สนุ นจากหน ว ยบริ การ
คูสัญญาหลัก และการไมมีทีมแพทยหมุนเวียนมาใหบริการ รวมทั้งภาระงานที่มากกวาจํานวนบุคลากร
จึงทําใหมีความรูสึกวาผลตอบแทนสวัสดิการนอย หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 ประเมินตนเองอยูใน
ระดับดี 4 ดาน ไดแ ก ดานการมีระบบประเมิน ผล การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ การมีระบบการอบรม
57

แนวคิดการใหบริการแกเจาหนาที่ และการมีระบบสวัสดิการในดานขวัญกําลังใจในการทํางาน การมี


ระบบการเพิ่ มพู น ความรู แ ละทั กษะแก เ จ า หน าที่ และระดั บ ปานกลางในด า นการมี ร ะบบการจ า ย
ผลตอบแทนและสวัสดิการ ดวยเหตุผลที่คลายกับหนวยบริการปฐมภูมิที่ 3 ดานเครื่องมือ/เครื่องใช
หนวยบริการปฐมภูมิทุกประเภท ไดรับการสนับสนุน ทั้งหมดจากหนวยบริการคูสัญญาหลัก ทุกแหงมี
โครงสรางดานเครื่องมือ/เครื่องใชเหมือนกัน และมีความพรอมในทุกดาน ดังนี้ (1) อาคารสถานที่ แยก
สัดสวนและตั้งอยูในบริเวณที่เห็นชัด (2) หนวยบริการปฐมภูมิ มีความสะอาด สะดวก ปลอดภัยตอการ
ใหบริการผูปวย (3) มีระบบสํารองไฟฉุกเฉิน (4) มีอุปกรณสื่อสารเพื่อใชในการติดตอ กับ CUP (5) มีพื้นที่
ใชสอย ในการบริการจําเปนเพียงพอ (6) มีครุภัณฑสํานักงานครบ (7) เครื่องมือ เครื่อ งใชท างการแพทย
ครบ และ(8) อุปกรณ และเวชภัณฑครบถวนตามมาตรฐาน ดานผูใหบริการ (ไมรวมเจาหนาที่ธุรการ)
โดยภาพรวม หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 มีจํานวนบุคลากรโดยเฉลี่ย จํานวน 7 คน หนวยบริการ
ปฐมภูมิประเภทที่ 2 มีจํานวนบุคลากรโดยเฉลี่ย จํานวน 6 คน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 มีจํานวน
บุคลากรโดยเฉลี่ย จํานวน 4 คน และหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 มีจํานวนบุคลากรโดยเฉลี่ย จํานวน
2.6 คน ประเภทผูใหบริการ พบวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 ที่มีแพทยใหบริการประจําอยางนอย
4 ชั่วโมงตอวัน มีพยาบาลวิชาชีพและนักวิชาการสาธารณสุข หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 มีแพทย
หมุนเวียนมาใหบริการ จํานวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน
นักวิชาการสาธารณสุข หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 มีพยาบาลวิชาชีพ เจาพนักงานสาธารณสุข
ชุมชน นักวิช าการสาธารณสุข และหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 มีเจาพนักงานสาธารณสุข และ
เจาหนาที่บริหารงานสาธารณสุข และนักวิชาการสาธารณสุข
ผลของการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังและโรคเฉียบพลันตามแนวเวชปฏิบัติ
โรคความดันโลหิตสูง
ในรอบ 5 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2547 – 2551) ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงจากหนวยบริการปฐมภูมิ
ประเภทที่ 3 มี ผู ป ว ยโรคความดั น โลหิ ตสูง นอนโรงพยาบาลมากที่ สุ ด (พ.ศ. 2547 - 2550) มากที่ สุ ด
รองลงมา ไดแก หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4, 2 และนอยที่สุด ไดแก หนวยบริการปฐมภูมปิ ระเภทที่ 1
ทั้งนี้เพราะการที่หนวยบริการปฐมภูมิมีแพทยใหบริการประจํา แพทยส ามารถวินิจฉัยอาการและปจ จัย
เสี่ยงที่เกิดกับผูปวยไดทันทวงที ซึ่งจากผลการประเมินการไดรับการดูแ ลตามแนวเวชปฎิบัติของผูปวยที่
นอนโรงพยาบาลดวยโรคความดันโลหิตสูงใน ป พ.ศ. 2551 พบวาความสามารถปฎิบัติตามแนวเวชปฏิบัติ
ดานการดูแลความเสี่ยงและใหการรักษาตามระดับความเสี่ยง และการตรวจพิเศษทางหอ งปฏิบัติการ
คน หารองรอยความเสี่ยงของอวัยวะสูงกวาหนวยบริ การปฐมภูมิประเภทที่ 2, 3 และ 4 แสดงถึง การมี
แพทยประจําสามารถดูแลปองกันการนอนโรงพยาบาลของผูปวยดวยอาการแทรกซอนจากโรคความดัน
โลหิตสูงไดดี และทําใหความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรกซอนลดลง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของปราณี
มหศักดิ์พันธ [73] วา การไมสามารถรักษาอาการตามปจจัยเสี่ยงไดจะสงผลใหเกิดอาการแทรกซอ น ตอ
58

หัวใจ สมอง ไต หลอดเลือด และจอภาพนัยนตา อันจะสงผลใหผูปวยตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล


จากโรคแทรกซ อ นดั ง กล า ว และนอกจากนั้ น จํ า นวนร อ ยละการนอนโรงพยาบาลของผู ป ว ยที่ น อน
โรงพยาบาลดวยโรคความดันโลหิตสูงใน ป พ.ศ. 2551 ของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 มีการนอน
โรงพยาบาลเพิ่มขึ้น และจากการประเมิ นการดูแ ลตามแนวเวชปฎิบัติในดานการไดรับการคัดกรองโรค
ความดันโลหิตสูงของหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 สูงกวาหนวยบริการปฐมภูมิป ระเภทที่ 1 เปนการ
แสดงถึง ผูปวยจําเปนตองไดรับการวินิจฉัยแยกโรคจากแพทยเวชปฏิบัติเพื่อใหการดูแลรักษาอยางถูกตอง
ในเบื้องตนกอน สําหรับการปฏิบัติตามแนวเวชปฏิบัติดานอื่น เชน การติดตามอาการอยางตอเนื่อ งและ
สม่ําเสมอ คนหาปจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงของผูปวย ตรวจรางกายเบื้องตนผูปวยเพื่อปอ งกันโรคแทรก
ซอน มีการประสานงานกับโรงพยาบาลเมื่อผูปวยตองไปโรงพยาบาลเพื่อการดูแลตอเนื่อ ง ติดตามอาการ
เมื่อไมมาตามนัด หรือขาดยา ไมมีความแตกตางกัน
โรคปอดบวม
ในรอบ 5 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2547 – 2551) การนอนโรงพยาบาลของผูปวยโรคปอดบวมซึ่งเปน โรค
แทรกซอนของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันของหนวยบริการปฐมภูมิแ ตละประเภทไมแตกตางกัน
การนอนของผูป วยมี ไมมากนัก อยูระหวาง รอยละ 0.5 - 2.5 ตลอดทั้ง 5 ป ทั้งนี้เ นื่องจากผู ใหบ ริการ
ปฐมภูมิสวนใหญมีความรูดานการดูแลผูปวยโรคติดเชือ้ ทางเดิน หายใจเฉียบพลันรอยละ 91.0 และเคย
ผานการอบรม เรื่อง ARIC มาแลวตามแนวปฏิบัติงาน ARIC ที่กําหนดไววา เจาหนาที่สถานีอนามัยทุกแหง
อยางนอย 2 คน ตองไดรับการฝกอบรมเรื่อง การบริบาลมาตรฐาน ARIC เพื่อรักษาโรคปอดบวมไดตั้งแต
แรกเริ่ ม [74] อย างไรก็ ต ามผลการประเมิ น การได รั บ การดู แ ลตามแนวเวชปฎิบั ติ ข องผู ป ว ยที่ น อน
โรงพยาบาลดวยโรคปอดบวมใน ป พ.ศ. 2551 พบวาหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3 ใหคําแนะนําวิธีการ
ดูแ ลตนเอง มากกวาหนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 แตไมแตกตางเมื่อ เปรียบเทียบกับหนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 4 มีการความแตกตางในดานการไดรับ เชน หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 3
ปฏิบัติในดานการไดรั บยาปฎิชีวนะเมื่ อมีอาการติ ดเชื้อ แทรกซอ นหลังจากมี อ าการไขมาแลว 2-3 วั น
สูงกวา ดานความรูความสามารถในการคัดกรอง มีการตรวจวินิจฉัยแยกโรค เมื่อมีอาการแทรกซอน พบวา
หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 และ 2 สูงกวา หนวยบริการปฐมภูมิ 3 และ 4 ทั้งนี้เนื่องจากมีแพทย
ใหบริการจึงสามารถวินิจฉัยแยกโรคไดดีกวา สาเหตุที่ไมแตกตางกัน
ผลการตอบสนองความคาดหวังในบริการปฐมภูมิของหนวยบริการปฐมภูมิ 4 ประเภท
ประชาชนมีความคาดหวังในบริการปฐมภูมิมากที่สุด จากการศึกษาพบวาประชาชนเชื่อวา หาก
หนวยบริการปฐมภูมิสามารถปฏิบัติตามเกณฑบริการปฐมภูมิในดานทั้ ง 6 ดาน ไดแก บริการดานแรก
(First contact), การใหบริการผสมผสาน (Comprehensive care) การดูแลตอเนื่อง (Longitudinal care)
การใหบริการแบบเนนการประสานงาน เชื่อมโยง สงตอ จากหนวยบริการปฐมภูมิกับสถานบริการ อื่น ๆ
(Coordinate care) การใหบริการแบบเนนครอบครัว ชุมชน (Family and community oriented) และการ
59

ใหบริการเชิงสังคม เนนการดูแลเอาใจใส (Empathy relationship) จะสงผลใหคุณภาพของหนวยบริการ


ปฐมภูมิดีขึ้นและประชาชนจะสามารถเขาถึงคุณภาพบริการที่ดี ผลการศึกษาภาพรวมทั้ง 6 ดาน พบวา
ประชาชนในพื้นที่หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่ 2 และ 3 มากกวา ไดรับบริการมากกวาหนวยบริการปฐม
ภูมิป ระเภทที่ 1 และ 4 นอกจากนั้นประชาชนใหความสําคั ญกับกิจกรรมและภาระงานที่สอดคลองกั บ
บริบทของสังคม เชน การบริการดานแรก ประชาชนใหความสําคัญในดานการไดรับ บริการตามเวลา
ของความตองการมากกวาที่จะมีขอจํากัดเฉพาะเวลาราชการมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับ ความหมายของ
บริการปฐมภูมิ [68] จึงเห็นไดวา หนวยบริการปฐมภูมิประเภทที่แพทยประจํา ที่เปดใหบริการเฉพาะเวลา
ราชการ จึงมีชองวางการบริการมากที่สุด การบริการผสมผสานและการบริการตอเนื่อง ประชาชนมี
ความเห็ น วา หนว ยบริ การปฐมภูมิทุก ประเภทไม ตอบสนองต อ ความต อ งการได ทั้ ง นี้ เ นื่อ งจากการ
ดําเนินงานในกิจ กรรมตางๆ มีภ าระงานมากมาย อีกทั้งในงานแต ละดานจําเปนตอ งใชความถนัดทาง
วิชาชีพ ในขณะที่กําลังคนในหนวยบริก ารปฐมภูมิมีจํ านวนจํ ากัด โดยเฉพาะหน วยบริ การปฐมภูมิที่ มี
พยาบาลประจํา และหนวยบริการปฐมภูมิที่มีแตเฉพาะเจาหนาที่สาธารณสุข ซึ่งสอดคลองกับ การศึกษา
ของ สุวิทย วิบูลยผลประเสริฐ และคณะ [72] และประคิณ วัฒนกิจ [75]วาการขาดแคนบุคลากรสงผลตอ
คุณภาพบริการปฐมภูมิ ในดานการบริการเชื่อมโยงประสานงาน หนวยบริการปฐมภูมิที่มีแพทยประจํา
จะตอบสนองความคาดหวังไดดี เนื่องจากทําหนาที่เปนโรงพยาบาลอีกสถานะหนึ่ง ดังนั้นการสงขอมูล
ขาวสารจึงสะดวกกวาหนวยบริการปฐมภูมิอื่น ๆ ในดานบริก ารเนนครอบครัว ชุมชนเปนศูนยกลาง
และการบริ ก ารแบบเอาใจใส พบว า ประชาชนให ความสํ าคั ญกั บ การมี ส วนรวมในชุ มชน การมี
มนุษยสัมพันธที่ดี การใหขอมูลคําแนะนําที่ดี การใหเวลาแกผูรับบริการ อยางไรก็ตามหนวยบริการปฐม
ภูมิที่ทีมสุขภาพและมีจํานวนผูใหบริการครบ ควรจะสามารถตอบสนองความคาดหวังไดดี แตพบวา หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทที่ 1 สามารถตอบสนองความคาดหวังของประชาชนใน 2 ดานนี้นอยที่สุด แสดงถึง
ประชาชนตองการบุคลากรที่สามารถทํางานกับชุมชนได และตระหนักดีวาบทบาทหนาที่ของหนวยบริการ
ปฐมภูมิ ไมใชเปนการตั้งรับ เทานั้น แตตองมีบทบาทในการทํางานรวมกับชุมชนและตองออกไปทํางานใน
ชุมชนดวย ซึ่งผูใหบริการจําเปนตองมีทักษะในดานนี้ ซึ่งสอดคลองกับ การศึกษาของ Nokglak Pagiya
[76] พบวา ประชาชนให ความสําคั ญกั บการมีมนุษ ยสั มพัน ธที่ ดีข องผูใ หบ ริการ ประชาชนตอ งการ
บุคลากรที่สามารถทํางานในชุมชนได

สรุป
สรุปขอคนพบสําคัญของการศึกษานี้ มีดังนี้
การศึกษานี้ชี้ใหเห็นถึงคุณภาพบริการของหนวยบริการปฐมภูมิที่มีความแตกตางของผูใหบริการ
ไดแ ก หนว ยบริ การปฐมภูมิ ใหบ ริก ารประจํ าโดยแพทย และทีมพยาบาลวิช าชีพ /เจาหนาที่ สาธารณสุ ข
หนวยบริการปฐมภูมใิ หบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข
60

หนวยบริการปฐมภูมทิ ใี่ หบริการประจําโดยพยาบาลวิชาชีพและเจาหนาที่ส าธารณสุข และหนวยบริการ


ปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยเจาหนาที่สาธารณสุข สามารถใชเปนขอมูลในการวางแผนดานบุคลากรใน
หนวยบริการปฐมภูมิ ดังนี้
1. ขอมูลเชิงโครงสราง
หนวยบริการปฐมภูมิมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโครงสรางตามเกณฑ มาตรฐานหนวยบริการ
ปฐมภูมิ สงผลใหมีความพรอมในดานอุปกรณ/เครื่องมือ เครื่องใช เวชภัณฑ ดานการมีระบบการจัดการที่
เปนมาตรฐาน หนวยบริการปฐมภูมทิ ี่ใหบริการประจําโดยพยาบาลวิชาชีพและเจาหนาที่สาธารณสุข และ
หนวยบริการปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยเจาหนาที่สาธารณสุข ไดรับการจายผลตอบแทนและสวัสดิการ
อื่นๆ และขวัญกําลังใจนอยกวา หนวยบริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/
เจาหนาที่สาธารณสุข หนวยบริการปฐมภูมใิ หบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิชาชีพ/
เจาหนาที่ส าธารณสุข งบประมาณไดรับการจัดสรรจาก CUP เปนงบคงที่ จัดสรรเปนรายป โดยเฉลี่ ย
400,000 บาท/ป ความแตกตางดานผูใหบริการและจํานวนผูใหบริการแตกตางกัน หนวยบริการทีใ่ หบริการ
ประจํ า โดยแพทย จ ะมี ที มพยาบาลวิ ช าชี พและเจ า หน า ที่ ส าธารณสุ ข จํ า นวน 7 คน หนว ยบริ การที่
ใหบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียน จะมีทีมพยาบาลวิชาชีพและเจาหนาที่สาธารณสุข จํานวน 6 -7 คน
หนวยบริการทีใ่ หบริการประจําโดยพยาบาลวิชาชีพจะมีเจาหนาที่สาธารณสุขรวมทํางาน จํานวน 4 คน
หนวยบริการทีใ่ หบริการประจําโดยเจาหนาที่สาธารณสุข จํานวน 3 คน
2. คุณภาพบริการตอการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังและโรคเฉียบพลัน
(โรคความดันโลหิตสูง, โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน เปนตัวแทนของโรค ตามลําดับ)
โรคเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง) ความสามารถในการดูแลผูปวยโรคความดันโลหิตสูงของหนวย
บริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข สูงกวา หนวย
บริการปฐมภูมิประเภทอื่น แสดงถึง ความจําเปนตองมีแพทยเวชปฏิบัติดูแลผูปวยโรคเรื้อรังเปนประจําและ
ตอเนื่องที่ระดับปฐมภูมเิ พื่อปองกันการเกิดอาการแทรกซอนอื่น ๆ โดยเฉพาะการวินิจฉัยแยกโรคเบื้องตน
การตรวจทางหองปฏิบัติการ การประเมินความรุนแรง การประเมิน ความเสี่ยงและการรักษาตามความ
เสี่ยง โรคเฉียบพลัน (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน) ความสามารถของการดูแ ลผูปวยโรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจเฉียบพลันจองหนวยบริการปฐมภูมิจ ะมีความแตกตางดานผูใหบริการ แตสามารถดูแล
ผูปวยไดไมแตกตางกัน แสดงถึงการไมจําเปนตองมีแพทยที่ระดับปฐมภูมิในการดูแลโรคติดเชื้อ ทางเดิน
หายใจเฉียบพลัน เนื่องจากผูใหบริการปฐมภูมิสวนใหญไดรับการอบรมพัฒนาตอ เนื่องในดานการดูแล
ผูปวยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน
3. คุณภาพบริการตอการตอบสนองความคาดหวังในบริการปฐมภูมิในมุมมองของประชาชน
ประชาชนมีความคาดหวัง ในบริการปฐมภูมิมากที่สุด ประชาชนในพื้น ที่ หนวยบริการปฐมภู มิ
ใหบริการประจําโดยแพทยหมุนเวียนและทีมพยาบาลวิช าชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข และหนวยบริการ
61

ปฐมภู มิที่ให บริการประจําโดยพยาบาลวิ ชาชีพและเจาหนาที่ส าธารณสุข ไดรับบริก ารมากกวาหนวย


บริการปฐมภูมิใหบริการประจําโดยแพทยและทีมพยาบาลวิชาชีพ/เจาหนาที่สาธารณสุข และหนวยบริการ
ปฐมภูมิที่ใหบริการประจําโดยเจาหนาที่สาธารณสุข ประชาชนใหความสําคัญกับการทํางานที่ตอบสนอง
กับความตองการทางสุขภาพ และเชิงสังคม นอกจากนั้นยังตองการบุคลากรที่สามารถทํางานกับชุมชนได
มีมนุษยสัมพันธ เอาใจใส ใหเวลากับประชาชน และประชาชนตระหนักดีวาบทบาทหนาที่ของหนวย
บริการปฐมภูมิ ไมใชเปนการตั้งรับ เทานั้น แตตองมีบทบาทในการทํางานรวมกับชุมชนและตอ งออกไป
ทํางานในชุมชนดวย

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอ
1. ควรมีการประเมินเปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังกับบริการที่ไดรับระหวาง
ประชาชนกับผูใหบริการ
2. ควรมีการศึกษาการดูแลผูปวยเปนกลุมโรคเรื้อรังและกลุมโรคเฉียบพลันไมจํากัดเฉพาะโรค
3. ควรมีการศึกษาเชิงลึกในกิจกรรมและการดําเนินงานของอสม.ในชุมชน

ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
จากการที่ ห น ว ยบริ ก ารปฐมภู มิต อ งรั บ ผิ ด ชอบประชาชนในพื้ น ที่ เ ป น ด า นแรกก อ นส ง ต อ ไป
โรงพยาบาล ทําใหหลาย ๆ แหงตองใหความสําคัญตอการบริการตั้งรับในบริการหลักและทํางานเชิงรุกใน
ชุมชน ขณะเดียวกัน หนวยบริการปฐมภูมิก็ไดรับความคาดหวังจาก กระทรวงสาธารณสุข หนวยบริการ
คูสัญญาหลัก และประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบวาตองใหบริการที่มีคุณภาพ ภายใตภาวะที่จํากัดในดาน
บุคลากร รายงานการศึกษา การประเมิน คุณภาพบริการปฐมภูมิ จังหวัดพิษณุโลกนี้ ไดนําเสนอ การ
ประเมินคุณภาพบริก ารในมิติท างคลินิกด านผลผลิตของการดูแ ลตามแนวเวชปฏิบั ติโรคเรื้อรังและโรค
เฉียบพลัน และจากจํานวนรอยละการนอนโรงพยาบาลของโรคที่สามารถดูแลและปองกันโรคแทรกซอนได
ที่ระดับปฐมภูมิ และในมิติเ ชิงสังคมดานผลลัพธตอการตอบสนองความคาดหวังและบริการที่ไดรับ ใน
บริการปฐมภูมิของประชาชน ซึ่งขอมูลเหลานี้เปนประโยชนตอผูบริหารซึ่งมีหนาที่ในการวางแผนพัฒนา
บุคลากรของระดับปฐมภูมิ ผูกําหนดนโยบายและผูจัดการระบบบริการปฐมภูมิ ดังนี้
1. การวางแผนดานบุคลากรที่เหมาะสมควรจะมีการยึดความตองการของพื้นที่เปนหลัก เพื่อพื้นที่
จะไดบุ คลากรในดานประเภท ทั กษะ และจํานวน ที่สอดคลอ งกับ ความต องการของท องถิ่น และจะ
สามารถแกปญหาการกระจายบุคลากรไดอยางเหมาะสม
2. ไมควรจะวางแผนคนแยกเปน สวนๆ เฉพาะวิชาชีพ ควรดู สัดสวนการผสมผสานของแตล ะ
วิชาชีพ (Skill mix) ตามการบริการที่เหมาะสม เพื่อการใหบริการที่เหมาะสมกับคุณภาพการบริการ
ความตองการของประชาชนและประสิทธิภาพการดําเนินงาน
62

3. จัดการพัฒนาหลักสูตรเรงดวนเพื่อ ทักษะที่จําเปนและสอดคลองกับความตองการของพื้นที่
ใหกับผูใหบริการ และที่สําคัญคือ อสม.ในพื้นที่ ซึ่งผลจาการศึกษา อสม.จะเปนผูดําเนินกิจ กรรมหลักใน
ดานการคัดกรองผูปวยการทํางานในชุมชน การติดตามเยี่ยมบาน เนื่องจากการขาดแคลนบุคลากร
63

เอกสารอางอิง

1. สํานักพัฒนาเครือขายบริการสุขภาพ, มาตรฐานการจัดการระบบริการปฐมภูมิ. สํานักพัฒนา


เครือขายบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2545.
2. สํานักพัฒนาเครือขายบริการสุขภาพ, แนวทางการจัดกิจกรรมคุณภาพการบริการปฐมภูมิ.
กระทรวงสาธารณสุข, 2545.
3. ทวีศักดิ์ ไชยภักษา, การศึกษารูปแบบของสถานีอนามัยในอนาคตจังหวัดนาน. สํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดนาน, 2545.
4. Canadian.PHC, The Canadian experience of intersectoral collaboration for health
gains. Canadian Public Health Association, 1997.
5. กลุมงานระบาดวิทยาโรคติดตอ, ระบาดวิทยาโรคปอดอักเสบ. 2548: กระทรวงสาธารณสุข.
6. สุภรี สุวรรณจูฑะ, โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก, ed. ฉ.เ. 1. 2540,
กรุงเทพมหานคร: บริษัทโฮลิสติก พับลิชชิ่ง จํากัด. 503-506, 517-530.
7. จันทรเพ็ญ ชูประภาวรรณ, สถานะสุขภาพคนไทย. 2543, นนทบุรี กระทรวงสาธารณสุข: โครงการ
สํานักพิมพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
8. สํานักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค, อัตราตายตอประชากรแสนคน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
ขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง. Weekly Epidemiology Surveillance Report 2005. 36(1s).
9. กลุมงานประกันสุขภาพ, รายงานผลการดําเนินงานโครงการหลักประกันสุขภาพ จังหวัดพิษณุโลก
ปงบประมาณ 2547. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก, 2547.
10. ฉัตร เสกสรรวิริยะ, การวิจัยและพัฒนาการดําเนินงานศูนยสุขภาพชุมชน เขต 3: รูปแบบและ
ปจจัยที่มีผลตอการดําเนินงานศูนยสุขภาพชุมชน เขต3, in สํานักงานสาธารณสุขเขต 3. 2546.
11. Parasuraman, A., Zeithmal, V.A. & Berry, L.L, SERVQUAL: A Multiple-Item Scale
for Measuring Customer Perceptions of Service Quality. Journal of Retailing
(Spring), 1988. 64: p. 12-40.
12. สุนทราวดี เธียรพิเชฐ และคณะ, รายงานวิจัยการศึกษาสถานการณและรูปแบบบริการสุขภาพ
ระดับตนในชุมชนภาคตะวันออก คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. 2544, ชลบุรี.
13. ปรีดา แตอารักษ.และคณะ, ขอเสนอเพื่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับตนของไทย. 2543.
14. วิจิตร ศรีสุพรรณ, โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ :
กรณีศึกษา 6 พื้นที่ของประเทศไทย, in คณะพยาบาลศาสตร. 2545, มหาวิทยาลัยเชียงใหม:
เชียงใหม.
64

15. สมจิต หนุเจริญกุล, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง บัณฑิตศึกษากับ


การปฎิรูประบบสุขภาพแหงชาติ. 22-24 สิงหาคม 2544.
16. สําเริง แหยงกระโทก. รุจิรา มังคละศิร,ิ ศูนยสุขภาพชุมชน หนทางสูร ะบบบริการที่พึงประสงค.
2545: บริษัทสมบรูณการพิมพ จํากัด กรุงเทพ.
17. สํานักพัฒนาเครือขายบริการสุขภาพ, บริการปฐมภูมิ บริการสุขภาพ ใกลบาน ใกลใจ นนทบุร.ี
สํานักพัฒนาเครือขายบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2545.
18. จินตนา ยูนิพันธ, ขอบเขตของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชสูการประกันคุณภาพบริการ
เอกสารในการประชุมวิชาการพยาบาลจิตเวชแหงประเทศไทย. 13-14 กันยายน 2544: ณ โรงแรม
นารายณ.
19. ทวีเกียรติ บุณยไพศาลเจริญ, แนวคิดในการพัฒนาการใหบริการสาธารณสุขระดับตน. โครง
การปฎิรูประบบริการสาธารณสุข. 2542, นนทบุร:ี กระทรวงสาธารณสุข.
20. Starfield, B., Primary care: Concept, evaluation, and policy. 1992, New York Oxford
University Press.
21. Feigenbaum, A., Total Quality Control, 3rd Edition, McGrew-Hill, New York, NY.
1963.
22. Crosby, P., Quality is Free: The Art of Making Quality Certain. The New American
Library, New York, NY, 1984.
23. Juran, J., managerial Breakthrough, McGraw-Hill. New York, NY, 1964.
24. Canadian Council on Health Facilities Accreditation, Quest for Quality in Canadian
Health Care: Continuous Quality Improvement. www.outcome-trust.org., 1999.
25. Parasuraman, A., Zeithmal, V.A. and Berry, L.L, Reassessment of Expectations as a
Comparison Standard in Measuring Service Quality: Implications for Future
Research. Journal of Marketing, 1994. 58: p. 111-124.
26. Donabedian, A., Explorations in Quality Assessment and Monitoring. Health
Adminstration, 1980. 1-3.
27. Donabedian, The quality of care : how can it be assessed? JAMA, 1988. 260: p. 1743-
1748.
28. Lohr, K., Medicare: A Strategy for Quality Assurance. Institute of Medicine, National
Academy Press, 1990.
29. อนุวัฒน ศุภชุติกุล.จิรุตม ศรีรัตนบัลล, ระบบบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาล. สถาบันพัฒนาและ
รับรองคุณภาพโรงพยาบาล 2545.
65

30. สําเริง แหยงกระโทก.และคณะ, ศูนยสุขภาพชุมชน หนทางสูระบบบริการที่พึงประสงค. 2545:


บริษัทสมบรูณการพิมพ จํากัด กรุงเทพ.
31. Mulley.AG, Improving the Quality of Decision Making. Clinical Outcomes
Management, 1995. 2: p. 9-10.
32. Laffel, G., Blumental, D., The case for using industrial quality management science
in health organization. JAMA, 1999. 262(20)
33. Anderson, J., Rungtusanathan, M.,Schroeder, R., A Theory of Quality Management
Underlying the Deming Method. Academy of Management Review, 1994. 19: p. 472-
509.
34. Hofer, The Unreliability of Individual Physician “Report Cards for Using the Costs
and Quality of Care of a Chronic Disease”. . JAMA, 1957. 281(22).
35. สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข, เครื่องชี้วัด การประเมินผลการพัฒนาสุขภาพในสวน
กระทรวงสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549). 2545: กระทรวงสาธารณสุข
36. Barbakus, E., Boller, G.W., Empirical Assessment of the SERVQUAL Scale. Journal
of Business Research, 1992. 24: p. 253-268.
37. Juran, Juran on quality by design: The new steps for planning quality into goods and
services. 1992, New York.
38. IOM, A Manpower Policy for Primary Health Care. IOM Publication 78-02. 1978,
Washington, D.C.; National Academy of Science
39. Proctor, S., Campbell, J., Measuring care: the case of district nursing. Journal of
Advance Nursing, 1999. 25: p. 673-680.
40. Toms, E.C., Evaluating the quality of patient care in district nursing. Journal of
Advance Nursing, 1992. 17: p. 1489-1495.
41. Institute of Medicine, Primary care: America's Health in a New Era. 1996,
Washington DC.: National Academic Press.
42. Jaturapatporn, D., Manataweewat B., Leelaharattanarak S., Dellow J, Reliability and
Validity of a Thai Version of the General Practice Assessment Questionaires. J Med
Assoc Thai, 2006. 89(9).
43. Weissman, J., Gatsonic. C, Epsein. A.M, Rates of avoidable hospitalization by
insurance status in Massachusetts and Maryland. Journal of the American Medical
Association, 1992. 268(17): p. 2388-2394.
66

44. Billing, S., Analysis of variation in hospital admission rates associated with area
income in New York city. Technical report, United Hospital Fund of New York, 1994.
45. Shi, L., Samuel. M.E., Pease. M, Patient characteristics associated with
hospitalizations for ambulatory care sensitive conditions in South Carolina. Southern
Health Care, 1999. 92(10): p. 989-998.
46. Falik, M., Needlemen, J., Well. B.L,, Ambulatory Care Sensitive Condition
Hospitalization and Emergency visits: Experiences of Medicaid patients using
federally qualified health centers. Med Care, 2001. 39(6): p. 551-61.
47. Health section, The Victorian ambulatory care sensitive conditions study:
Preliminary analysis. . Technical report, Victorian Government Department of
Human Services, Melbourne, 2001.
48. Gill, J., Mainous, A.G.,, The Role of provider continuity in preventing
hospitalizations. Arch Fam Med, 1998. 7(4): p. 352-7.
49. Kozak, L.J., Hall. M.J., Owing. M.F.,, Trends in Avoidable Hospitalization 1980-
1998. Health Affairs, 2001. 20(2): p. 225-32.
50. Cable, G., Income, race, and preventable hospitalizations; A small area analysis in
New Jersy. J.Health care Poor underserved, 2002. 13(1): p. 66-80.
51. Billing, J., Anderson G.M., Newman LS, Recent finding on preventable
hospitalizations. Fall, 1996. 15(3): p. 239-249.
52. Pappas, G., Hadden W.C., Kozak L.J, Potential avoidable hospitalizations and
socioeconomic status. Health affairs, 1998. 17(2): p. 177-89.
53. Culler, S., Parchman ML., Przybylski M, Factors related to potentially preventable
hospitalization among the elderly. Medical Care, 1998. 36(6): p. 804-17.
54. Schreiber, S., Zeilinski T, The Meaning of Ambulatory Care Sensitive Admissions:
Urban and Rural Perspectives. Fall, 1997. 13(4): p. 276-284.
55. Rowe, J., Wing, R., Peter, L., Working with vulnerable families: the impact on health
visitors' workloads. Health Visitors, 1995. 68: p. 232-235.
56. West, M., Poulton, B., A failure of function: teamwork in primary health care.
Journal of Interprofessional Care, 1997. 11: p. 205-216.
57. Rowe, A., Mackeith, P., Is evaluation a dirty word? Health Visitors, 1991. 64: p. 292-
293.
67

58. Phillip, L.R., Morrison, E.F., Chae, Y.M., The QUALCARE scale: developing an
instrument to measure quality of home care. International Journal of Nursing Studies,
1990. 27(1): p. 61-75.
59. Commission, A., Homeward Bound: A new course for community care. London:
Audit Commission, 1992.
60. Waite, R., A network for safe staffing. Nursing Times, 1986. 82(9): p. 58-60.
61. Anderson, W., Quality assurance in general practice. Medical Audit News, 1991.
1(4): p. 50-51.
62. Rink, E., Ross, F., Goodfrey, E., The changing use of nursing skill in general
practice. British Journal of Community Health Nursing, 1996. 1: p. 364-369.
63. Almond, P., An analysis of the concept of equity and its application to health visiting.
Journal of Advance Nursing, 2002. 37: p. 598-606.
64. Stevenson, K., Ion, V., Merry, M., Primary care: more than words. Health Service
Journal, 2003. 113(5838): p. 26-28.
65. Poulton, B.C., Use of the consultation satisfaction questionaire to examine patients'
satisfaction with general practitioner and community nurses: reliability, explicability
and discriminate validity British Journal of General Practice, 1996. 46: p. 26-31.
66. Kendall, L., Lissauer, R., The Future Health Worker. London: IPPR, 2003.
67. Barriball, L., Mackenzie, A., Measuring the impact of nursing interventions in the
community. Journal of Advance Nursing, 1993. 17(3): p. 4-8.
68. สํานักพัฒนาเครือขายบริการสุขภาพ, มาตรฐานการจัดระบบบริการปฐมภูม.ิ โครงการปฏิรูป
ระบบบริการสาธารณสุข, 2545.
69. จิรุตม ศรีรัตนบัลล, ประสิทธิภาพในระบบสุขภาพ. 2543: บริษัทดีไซร จํากัด, กรุงเทพฯ.
70. Parasuraman, A., Zeithmal, V.A. and Berry, L.L, A Conceptual Model of Service
Quality and its Implications for Future Research. Journal of Marketing (Fall), 1985.
49: p. 41-50.
71. สุภางค จันทวานิช, การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ. 2546, กทม.: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
72. สุวิทย วิบูลยผลประเสริฐ, อนาคตสถานีอนามัยไทย: กรณีศึกษา วิจัย การประเมินผลโครงการ
ทศวรรษแหงการพัฒนาสถานีอนามัย. 2539: โรงพิมพทหารผานศึก กรุงเทพมหานคร.
73. ปราณี มหศักดิ์พันธ, ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมารับบริการอยางตอเนื่องของผูสูงอายุที่มีความดัน
โลหิตสูง. 2538, มหาวิทยาลัยเชียงใหม: เชียงใหม.
68

74. สํานักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค, คูมือปฏิบัติงานควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ระบบ


ทางเดินหายใจในเด็ก. 2546, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศ
ไทย.
75. ประคิณ วัฒนกิจ, การวิเคราะหงานของสถานีอนามัยของกระทรวงสาธารณสุข. กระทรวง
สาธารณสุข, 2543.
76. Pagaiya N, Implementing clinical guideline in nurse-led primary health care in
Thailand: Arandomised controlled trial. 2003, University of Liverpool.
69

ภาคผนวก
70

เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
แบบสอบถามเชิงโครงสราง (Q1,Q2)
1.หนวยบริการปฐมภูมิอยูหางจากพืน้ ที่รับผิดชอบประมาณ......กม. หากเดินทางดวยรถยนตใชเวลาประมาณ...........นาที
2.ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบ.....คน.................................หมูบ าน………………………….หลังคาเรือน
3.ประชากรที่ขึ้นทะเบียนใชสิท ธิ์ หลักประกัน สุขภาพ....................................คน สิท ธิ์ขาราชการ.............................คน
สิทธิ์ประกันสังคม................................คน อื่น ๆ..............................คน ไดแก.....................................................
4.จํานวนเจาหนาที่ท ี่ใหบริการประจําดานสุขภาพ.................................คน
มีแพทยป ระจํา................คน (อยางนอยวันละ 4 ชม) แพทยหมุนเวียน........คน คนเดิม ไมใชคนเดิม
หมุน เวียน.................สัปดาห/เดือน (…….....ชั่วโมง/สัป ดาห) ทันตแพทย...............คน ทันตาภิบาล ...................คน
เภสัชกรประจํา.............คน (ทํางานนอยวันละ 4 ชม) หมุนเวียน.................ครั้ง/เดือน (…….....ชั่วโมง/สัปดาห)
พยาบาลวิชาชีพประจํา............................คน หมุน เวียน.................ครั้ง/เดือน (…….....ชั่วโมง/สัป ดาห)
เจาหนาที่สาธารณสุขประจํา............................คน (จนท.สสช., นวก.สส., พยาบาลเทคนิค, ผดุงครรภ)
5.การไดรับการจัดสรรเงินจาก CUP ดานรักษาพยาบาล...................บาท/ป ดานผูปวยนอก.................บาท/ป
ดานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน..................บาท/ป ดานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค................................บาท//ป
งบลงทุน..............................บาท/ป อื่น.................................................บาท/ป
แหลงที่มาของรายได 1........................................................จํานวน..............................................บาท/ป
2.........................................................จํานวน..............................................บาท/ป
3........................................................จํานวน..............................................บาท/ป
6. ความพรอมของเครื่องมือ เครื่องใช และอุปกรณท ี่จําเปน ตามมาตรฐานขั้นต่ําที่กําหนดของหนวยบริการปฐมภูมิ
ดานบัตร-จายยา พรอม ไมพรอม ดาน..............................................................................
ดานหองตรวจโรคและปฐมพยาบาล พรอม ไมพรอม ดาน.................................................
อุปกรณ ชุดชวยชีวิต พรอม ไมพรอม ดาน..........................................................................
7. สิ่งที่ไดรับจากการการสนับสนุน ของ CUP
วัสดุท างการแพทย…………………………………บาท/ป
ทีมสุขภาพ (ทีมเยี่ยมบาน/การเปนพี่เลี้ยง/ใหคําปรึกษา)............................ชั่วโมง/สัปดาห)
อื่นๆ..............................................................................................................................................
8. รูปแบบการสงตอ.........................................................................................................................
แบบสํารวจจํานวนผูป วย ใน ป พ.ศ. 2547 – 2551 ของหนวยบริการปฐมภูมิ
ขอมูลดานการบริการ ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจและโรคความดันโลหิตสูง (ในเขตรับผิดชอบ)

การใหบริการในหนวยบริการปฐมภูมิ 2547 2548 2549 2550 2551


1. จํานวนผูป วยนอกทั้งหมด
2. จํานวนผูป วยโรคความดันโลหิตสูง
จํานวนผูป วยที่สงตอดวยโรคความดัน โลหิตสูง
3. ผูป วยโรคระบบทางเดินหายใจ
จํานวนผูป วยที่สงตอดวยโรคระบบทางเดินหายใจ
71

แบบสอบถามดานการจัดการ (Q5)
การประเมินตนเองในดานการบริหารจัดการของหนวยบริการปฐมภูมิ

หนวยบริการ การประเมินผล การเพิ่มพูน การอบรมแนวคิด การใหขวัญกําลังใจ การจายผลตอบแทน


ปฐมภูมิ การปฏิบัติงาน ความรู & ทักษะ การใหบริการ ในการทํางาน และสวัสดิการอื่น ๆ
(9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน) (9 คะแนน)

แบบสอบถามการไดรับการดูแลตามแนวเวชปฏิบัติ (Q3, Q4)


โรคความดันโลหิตสูง (Q3)

กิจกรรม ไดรับ ไมไดรับ


การไดรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
การติดตามอาการอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ
คนหาปจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงของผูปวย
ตรวจรางกายเบื้องตน ผูปวยเพื่อปองกัน โรคแทรกซอน
มีการตรวจพิเศษทางหองปฏิบัติการคนหารองรอยความเสี่ยงของอวัยวะ
มีการประสานงานกับโรงพยาบาลเมื่อผูปวยตองไปโรงพยาบาลเพื่อการดูแลตอเนื่อง
มีการประเมินความเสี่ยงและใหการรักษาตามระดับความเสี่ยง
ติดตามอาการเมื่อไมมาตามนัด หรือขาดยา

โรคปอดบวม (Q4)

กิจกรรม ไดรับ ไมไดรับ


การไดรับวัคซีน ครบตามเกณฑ (เด็ก)
ไดรับการดูแลเบื้องตน กอนดําเนิน การรักษา
มีการใหการพยาบาลเบื้องตนเมื่อมีอาการไข
มีการไดรับ คําแนะนําวิธีการดูแลตนเอง
ไดรับยาปฎิชีวนะเมื่อมีอาการติดเชื้อแทรกซอน หลังจากมีอาการไขมาแลว 2-3 วัน
ความรูความสามารถในการคัดกรอง มีการตรวจวิน ิจฉัยแยกโรค เมื่อมีอาการแทรกซอน
72

คําถามความคาดหวังกับบริการที่ไดรับในบริการปฐมภูมิจากหนวยบริการปฐมภูมิ (Q6-11)
1. ทานมีความคาดหวังตอการบริการดานแรกอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร
2. ทานมีความคาดหวังตอการบริการผสมผสานอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร
3. ทานมีความคาดหวังตอการบริการตอเนื่องอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร
4. ทานมีความคาดหวังตอการบริการประสานงานอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร
5. ทานมีความคาดหวังตอการบริการเนนครอบครัว/ชุมชนอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร
6. ทานมีความคาดหวังตอการบริการเอาใจใสอยางไร บริการที่ทานไดรับเปนอยางไร

หมายเหตุ : ความหมายคําสําคัญของบริการปฐมภูมิ
บริการดานแรก ประกอบดวย การไดพบผูใหบริการทุกเวลาเมื่อมีปญหาทางสุขภาพ ผูใหบริการ
เปนบุคคลเดิม มีเวลาการใหบริการอยางนอย 56 ชั่วโมง ผูใหบริการมีความรู ความสามารถ ความพรอม
และกระตือรือรนในการใหบริการ เวลาในการรักษา และเวลาในการรอคอย ชวงเวลาใหบริการสอดคลอง
กับความตองการของชาวบาน การเดินทางมารับบริการไมมีปญหาเรื่องคาใชจาย มีชองทางใหคําปรึกษา
ดานสุขภาพ เชน โทรศัพท ไปรษณีย ภายในหนวยบริการปฐมภูมิสะอาด สะดวก พื้นที่ใหบริการเพียงพอ
เครื่องมือเครื่องใชพรอม อุปกรณสื่อสารกรณีฉุกเฉินครบ มีปายใหความรูเกี่ยวกับสุขภาพชัดเจน
เจาหนาที่มีความรู มีความสามารถ
บริการผสมผสาน ประกอบดวย ความถูกตอง นาเชื่อถือตอการใหบริการ ความรูความสามารถใน
การใหบริการแบบครอบคลุม ทั้งรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐาน สงเสริมสุขภาพ ดานทันตสุขศึกษา สรางเสริม
ภูมิคุมกันโรค อนามัยแมและเด็ก(การดูแลหญิงตั้งครรภ หลังคลอด และการดูแลเด็ก 0-5 ป) การควบคุม
และปองกันโรคระบาดอยางถูกตองและทันเวลา การดําเนินงานใหความรูในดานปองกันโรคและอุบัติภัย
การใหความรูดานสุขอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอม (เชน การดื่มน้ําสะอาดและพอเพียง การใชสวม
การจัดบานและกําจัดขยะ การปองกันมลพิษและสารพิษ การกินอาหารที่ทําใหสุกดวยความรอน การ
บริโภคไอโอดีน การใชยาที่เหมาะสม การดูแลชองปาก ฟน เหงือก การปองกันโรคติดตอ การดูแลตนเอง
เมื่อเจ็บปวยเล็กนอย การคุมกําเนิด การดูแลผูสูงอายุและผูดอยโอกาสในครอบครัว) การไดรับการเยี่ยม
บานเพื่อประเมินพื้นฐาน การฉีดวัคซินปองกันสุนัขบา การไดรับการตรวจสุขภาพตามเกณฑในกลุมอายุ
20 – 51 ปและ 60 ป ขึ้นไป มีบริการและใหคําปรึกษาดานกายภาพบําบัด
บริการตอเนื่อง ประกอบดวย การติดตามผูปวยโรคเรื้อรังตาง ๆ เชน ผูพิการ โรคความดันโลหิตสูง
เบาหวาน หัวใจ จิตเวช วัณโรค บริการครอบคลุมการใหคําปรึกษา เยี่ยมบาน อนามัยโรงเรียน การ
ดูแลผูสูงอายุ การติดตามผูปวยไมมารับยาตอเนื่อง การใหคําแนะนําดานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค
ที่บานอยางสม่ําเสมอ
73

บริการประสานงาน/เชื่อมโยง ประกอบดวย มีการสงตอผูปวยอยางเปนระบบ มีการเชื่อมโยง


ขอมูลผูปวยระหวางหนวยบริการปฐมภูมิกับโรงพยาบาล มีชองทางดวนสําหรับผูปวยที่ผานระบบสง
ตอ มีการติดตามผูปวยอยางตอเนื่อง จาก หนวยบริการปฐมภูม-ิ โรงพยาบาล-ชุมชน มียานพาหนะ
เหมาะสม มีเจาหนาที่ไปดวยระหวางสงตอ การสงตอรวดเร็ว
บริการเนนครอบครัวและชุมชน ประกอบดวย มีการพัฒนาบริการสอดคลองกับความเห็นของชุมชน
มีการดําเนินงานโครงการตาง ๆ ในชุมชน มีการเก็บขอมูลอนามัยครอบครัวชุมชน มีรูปแบบการเผยแพร
ขาวสาร การรูจักประชาชนและสมาชิกครอบครัวของประชาชน จําประวัติการเจ็บปวยประชาชนและ
สมาชิกในครอบครัวไดการรูจักชุมชน การเยี่ยมบานของเจาหนาที่ปละครั้งหรือเมื่อปวย การเคยเห็น
เจาหนาที่มาเยี่ยมบานคนอื่นบอย ๆ การประชุมเพื่อแกปญหาพัฒนาสุขภาพในชุมชน การรูปญหาและมี
แผนแกปญหา การประสานงานกับผูนําเพื่อระดมทุนสนับสนุนกิจกรรมทางสุขภาพ การทํากิจกรรม
สงเสริมสุขภาพ กิจกรรมสาธารณะรวมกับชุมชนเปนประจํา การมีอาสาสมัครในชุมชนเพียงพอ อสม.มี
ศักยภาพดําเนินงานดานสุขภาพชุมชน ผูสูงอายุ/กลุมอายุอื่น ๆ รวมทํากิจกรรมสุขภาพในชุมชน ชาวบาน
มีชองทางเสนอ ความตองการ ปรับปรุง พัฒนาหนวยบริการปฐมภูมิ การมีสวนรวมในการพัฒนาหนวย
บริการปฐมภูมิ ทุกคนในชุมชนมีสวนรวมในการสงเสริมสุขภาพ
บริการเอาใจใส ประกอบดวย การใหบริการเปนกันเอง สนใจคําบอกเลาเกี่ยวกับความเจ็บปวยมีเวลา
รับฟงผูปวย เปดโอกาสใหผูปว ยถามโรคที่เปนการและผูใหบริการเขาใจ การตรวจไมรีบรอน การมี
มนุษยสัมพันธ สุภาพ ยิ้มแยม พูดจาไพเราะ ใหเกียรติผูปวย มีการตอนรับดี เอาใจใสผูรับบริการ ทาทาง
การพูดคุยของเจาหนาที่ทําใหสบายใจ และไววางใจ การปรึกษาพูดคุยไดทุกเรื่อง การเอาใจใส การ
พูดคุยที่ดีกับทุกคนไมวาคนจนคนรวย การรักษาความลับของผูปวย

แบบประเมินความคาดหวังกับบริการที่ไดรับจากหนวยบริการปฐมภูมิ
หนวย บริการ บริการ บริการประสาน/ บริการเนน บริการเอาใจใส
บริการ ดานแรก ผสมผสาน บริการตอเนื่อง เชื่อมโยง ครอบครัว และ (5)
ปฐมภูมิ (5) (5) (5) (5) ชุมชน (5)
คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรับ คาดหวัง ไดรบั คาดหวัง ไดรับ

คาคะแนนของความคาดหวัง และบริการที่ไดรับ
5 = มากที่สุด
4 = มาก
3 = ปานกลาง
2 = นอย
1 = นอยที่สุด

You might also like