You are on page 1of 10

วารสารพยาบาลทหารบก

Trauma Primary Survey and Nursing Management Journal of The Royal Thai Army Nurses 53

การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล
Trauma Primary Survey and Nursing Management
โสพรรณ โพทะยะ*1 พรจิรา จันทร์โรจนกิจ2
Soparn Potaya*1 Pornjira Chanrojanakit2
1
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ ประเทศไทย 10210
1
Faculty of Nursing, HRH Princess Chulabhorn College of Medical Science,
Chulabhorn Royal Academy, Bangkok, Thailand 10210
2
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ กรุงเทพฯ ประเทศไทย 10220
2
Bhumibol Adulyadej Hospital, Directorate of Medical Services, Royal Thai Air Force, Bangkok, Thailand 10220

บทคัดย่อ
การตรวจประเมินผูบ้ าดเจ็บเบือ้ งต้นและการจัดการทางการพยาบาล เป็นขัน้ ตอนส�ำคัญในระยะแรกของการประเมินและ
การช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บรุนแรง ซึ่งต้องอาศัยการท�ำงานที่เป็นระบบ รวดเร็ว แม่นย�ำ และการตัดสินใจให้การช่วยเหลือที่เหมาะสม
ในระยะเวลาอันสัน้ บทความนีเ้ ป็นการน�ำเสนอการตรวจประเมินเบือ้ งต้น พยาธิสภาพการบาดเจ็บ วิธกี ารตรวจประเมิน การจัดการ
ทางการพยาบาล และประเด็นทีม่ กั ถูกมองข้ามตามขัน้ ตอน ABCDEs เพือ่ ให้พยาบาลได้เพิม่ พูนความรู้ และพัฒนาทักษะในการตรวจ
ประเมิน สามารถระบุปัญหาและจัดการภาวะคุกคามชีวิตที่อาจจะเกิดขึ้นหรือก�ำลังเกิดขึ้นกับผู้บาดเจ็บรุนแรงได้อย่างรวดเร็วและ
มีประสิทธิภาพ

ค�ำส�ำคัญ: การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น, การบาดเจ็บรุนแรง, การจัดการทางการพยาบาล

Abstract
Trauma primary survey and nursing management is a critical stage of initial assessment and treat any
life-threatening injuries. It requires a systematic approach, rapid, accuracy and good clinical judgement for
optimizing resuscitation in time limited situation. This article provides trauma primary survey, pathology,
assessment, nursing management and pitfalls by following of ABCDEs step-by-step. It aims to improve nurses’
knowledge and skills of assessment, can identify and management impending or immediate life-threatening
injuries quickly and efficiently.

Keywords: trauma primary survey, life-threatening injuries, nursing management

Corresponding Author: *E-mail: soparn.pot@cra.ac.th

วันที่รับ (received) 14 มิ.ย. 2564 วันที่แก้ไขเสร็จ (revised) 18 ต.ค. 2564 วันที่ตอบรับ (accepted) 20 ต.ค. 2564
ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564
Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
54 การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล Journal of The Royal Thai Army Nurses

บทนำ� การท�ำงานอย่างเป็นระบบของทีมสหสาขาวิชาชีพ มีการเตรียม


การบาดเจ็บเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 10 อันดับแรก ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมืออุปกรณ์เพียงพอพร้อมใช้
ของประชากรโลก ในปี 2559 มีผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ และการติดต่อประสานงานที่มีประสิทธิภาพ3,4 พยาบาลมี
ราว 4.9 ล้านคน ในจ�ำนวนนี้ร้อยละ 29 หรือ 1.4 ล้านคนมี บทบาทส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยเหลื อ ดู แ ลผู ้ บ าดเจ็ บ ร่ ว มกั บ ที ม
สาเหตุจากอุบัติภัยจราจร โดยกลุ่มประเทศรายได้น้อยมีอัตรา สหสาขาวิ ช าชี พ จึ ง ต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจในการตรวจ
การเสียชีวิตจากอุบัติภัยจราจรสูงสุด 29.4 คนต่อประชากร ประเมิ น ผู ้ บ าดเจ็ บ เบื้ อ งต้ น สามารถระบุ พ ยาธิ ส ภาพหรื อ
100,000 คน ขณะที่อัตราการเสียชีวิตโดยเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ ภาวะคุกคามชีวิตได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�ำ และตัดสินใจให้การ
18.8 คน1 ส�ำหรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยจราจร พยาบาลได้อย่างเหมาะสมทันท่วงที เพื่อให้ผู้บาดเจ็บรอดชีวิต
ปี 2562 ใน 9 เดือนแรก จ�ำนวน 15,775 คน หรือมีอัตราการ และลดความพิการ
เสียชีวิต 24.12 คนต่อประชากร 100,000 คน และมีผู้บาดเจ็บ บทความนี้ จะกล่าวถึงการตรวจประเมินผู้บาดเจ็บ
ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลประมาณ 2 แสนคนต่อปี เบื้องต้น ตามขั้นตอน ABCDEs พยาธิสภาพของการบาดเจ็บ
คิดเป็นความสูญเสียทางเศรษฐกิจ 5 แสนล้านบาท2 การลดอัตรา หรือภาวะคุกคามชีวติ วิธกี ารตรวจประเมิน การจัดการทางการ
การเสียชีวิตและลดความรุนแรงจากการบาดเจ็บ นอกจากการ พยาบาล และประเด็ น ที่ มั ก ถู ก มองข้ า ม ในแต่ ล ะขั้ น ตอน
ป้องกันการเกิดอุบัติภัยแล้ว จ�ำเป็นต้องมีกระบวนการรักษา เพื่อเป็นแนวทางให้พยาบาลน�ำไปประยุกต์ใช้ในการตรวจ
พยาบาลผู้บาดเจ็บที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในชั่วโมงแรก ประเมินผู้บาดเจ็บต่อไป
หลังได้รับบาดเจ็บ ซึ่งต้องการการประเมินและการช่วยชีวิต
ผู้บาดเจ็บอย่างเร่งด่วน3 หลักการตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น
การประเมิ น ขั้ น ต้ น และการช่ ว ยเหลื อ (initial การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น มีขั้นตอนการ
assessment and management) เป็ น ขั้ น ตอนส� ำ คั ญ ประเมิน ABCDEs การช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บขั้นสูง (ATLS®)3 ดังนี้
ในการรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บรุนแรงในระยะเริ่มแรก ซึ่งต้อง A: การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งและยึดตรึงกระดูก
อาศัยการท�ำงานอย่างเป็นระบบ รวดเร็ว แม่นย�ำและการตัดสินใจ สันหลังส่วนคอ (Airway maintenance with restriction
ที่ดี เพื่อลดการสูญเสียชีวิตที่ป้องกันได้ (preventable death) cervical spine motion)
และลดภาวะแทรกซ้อนซึ่งเกิดจากการบาดเจ็บ3 การประเมิน B: การหายใจและการระบายอากาศ (Breathing
ขั้ น ต้ น ประกอบด้ ว ย การตรวจประเมิ น ผู ้ บ าดเจ็ บ เบื้ อ งต้ น and ventilation)
พร้อมกับการแก้ไขภาวะเร่งด่วน ((Primary survey with C: ระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด (Circulation
immediate resuscitation) การตรวจประเมิ น เพิ่ ม เติ ม with hemorrhage control)
(Adjuncts to the primary survey) การตรวจวินิจฉัย D: การตรวจประเมินระดับความรูส้ กึ ตัว (Disability:
(Secondary survey) การตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม (Adjuncts to assessment of neurologic status)
the secondary survey) และการรั ก ษาเฉพาะเจาะจง E: การค้ น หาการบาดเจ็ บ ภายนอกและควบคุ ม
(Definitive care) โดยให้มีการประเมินซ�้ำ (Re-evaluation) สิ่งแวดล้อม (Exposure / Environmental control)
ในทุกขั้นตอน ผู้ประเมินจะท�ำการตรวจประเมินในแต่ละขั้นตอน
การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น เป็นการตรวจ A, B, C, D, E ตามล�ำดับ พร้อมกับท�ำการแก้ไขภาวะเร่งด่วน
หาพยาธิสภาพของการบาดเจ็บหรือภาวะคุกคามชีวิต และ ให้แล้วเสร็จก่อนด�ำเนินการในขั้นตอนต่อไป3,5 โดยปฏิบัต ิ
ตัดสินใจให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนในระยะเวลาอันสั้น3,4 เช่นเดียวกันในทุกขั้นตอนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้มองข้ามการ
ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผลลัพธ์โดยรวมของการรักษาพยาบาล บาดเจ็บที่เป็นภาวะวิกฤตหรือคุกคามชีวิตผู้บาดเจ็บ4 แต่หาก
ในระยะต่อมา ผู้ท�ำการตรวจประเมินจึงต้องมีความรู้อย่าง ทีมช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บมีจ�ำนวนหลายคน แต่ละคนมีความรู้
ถ่ อ งแท้ แ ละมี ทั ก ษะในการตรวจประเมิ น ตามขั้ น ตอน ทักษะและรับรูบ้ ทบาทหน้าทีใ่ นการช่วยชีวติ ผูบ้ าดเจ็บ สามารถ
ABCDEs การช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บขั้นสูง (Advanced Trauma ท�ำการประเมินและแก้ไขภาวะเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ
Life Support®/ ATLS®)3 ซึง่ มีกระบวนการรักษาทีต่ อ้ งอาศัย ไปพร้อมกันหลายขั้นตอนในเวลาเดียวกันได้

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
Trauma Primary Survey and Nursing Management Journal of The Royal Thai Army Nurses 55

การตรวจประเมินผูบ้ าดเจ็บเบือ้ งต้น ตามขัน้ ตอน ABCDEs รู้สึกระคายเคืองในล�ำคอ (sore throat) หายใจเร็วกว่าปกติ
ก่อนท�ำการตรวจประเมินเบือ้ งต้นทุกครัง้ ผูป้ ระเมิน มีเสียงดังหรือเสียงฮิ๊ด (stridor) เสียงนอนกรน (snoring)
ต้องค�ำนึงถึงหลักการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ หรือเสียงโครกคราก (gurgling) รูปแบบการหายใจผิดปกติ
อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความเสี่ยงจากการรับเชื้อโรคติดต่อผ่าน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมาก มีอาการกระวนกระวาย
ทางระบบการหายใจ หรือการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่ง กระสับกระส่ายจากภาวะพร่องออกซิเจน ผิวซีดหรือมีอาการ
ของผูป้ ว่ ย และเป็นการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ เขียว (cyanosis) โดยเฉพาะเยื่อบุและเล็บ5
ติดเชื้อให้แก่ผู้บาดเจ็บ โดยการท�ำความสะอาดมือและสวม วิธีการตรวจประเมิน เริ่มด้วยการพูดเพื่อดูการตอบ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal protective สนองของผู้บาดเจ็บ โดยผู้ประเมินแนะน�ำตัวกับผู้บาดเจ็บว่า
equipment/PPE) นอกจากนี้ การได้รบั ข้อมูลจากผูป้ ระสบภัย ผู้ประเมินเป็นใคร ก�ำลังท�ำอะไร พร้อมทั้งซักถามชื่อผู้บาดเจ็บ
หรือผู้ประสบเหตุ เกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วย สาเหตุของ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หากผู้บาดเจ็บสามารถบอกชื่อและ
การบาดเจ็บ เวลาที่เกิดการบาดเจ็บ และกลไกการบาดเจ็บ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ชัดเจน แสดงว่ามีทางเดินหายใจโล่ง4,5,6
เป็นข้อมูลส�ำคัญที่ช่วยในการคาดการณ์ความต้องการการดูแล การหายใจไม่มีการบาดเจ็บรุนแรง มีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ
และความรุนแรงของการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นได้ เพียงพอและระดับความรู้สึกตัวดี3 แต่หากผู้บาดเจ็บไม่ตอบ
A: การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งและการยึดตรึง สนองต่อค�ำถามเหล่านี้ พูดคุยไม่รู้เรื่อง หรือพู ด คุ ย สั บ สน
กระดูกสันหลังส่วนคอ (Airway with restriction cervical แสดงว่ามีความผิดปกติใน A, B, C หรือ D ต้องรีบท�ำการตรวจ
spine motion) ประเมินและให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โดยสังเกตการผิดรูป
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บหรือภาวะคุกคามชีวิต ร่องรอยบาดแผล อาการบวมบริเวณใบหน้าและล�ำคอ การเบีย่ ง
ส่ ว นใหญ่ เ กิ ด จากการอุ ด กั้ น ในทางเดิ น หายใจ ซึ่ ง มี ส าเหตุ เบนของหลอดลม หลอดเลื อ ดด� ำ ที่ ค อโป่ ง พอง เพื่ อ ระบุ
จากการบาดเจ็บโดยตรงต่อทางเดินหายใจ หรือโครงสร้างโดย การแตกหักของใบหน้าและขากรรไกร หลอดลมหรือกล่องเสียง
รอบถูกท�ำลาย3,5 ได้แก่ และการบาดเจ็บอื่นๆ ที่อาจมีผลให้เกิดการอุดกั้นในทางเดิน
1) การบาดเจ็ บ ต่ อ กระดู ก หน้ า กล่ อ งเสี ย งหรื อ หายใจ5 สังเกตลักษณะการหายใจและฟังเสียงการหายใจ
ล� ำ คออย่ า งรุ น แรง จากการถู ก กระแทกหรื อ มี แ ผลทะลุ ผู ้ บ าดเจ็ บ จากแผลไหม้ สั ง เกตได้ จ ากเส้ น ผม ใบหน้ า ไหม้
มีการบวมของเนือ้ เยือ่ บริเวณคอ หรือมีสงิ่ แปลกปลอมไปอุดกัน้ ขนจมูก เสียงแหบหรือเสียงเปลีย่ น ไอรุนแรง ศีรษะหรือคอบวม
ทางเดินหายใจ เขม่าในปาก จมูก หรือน�้ำลาย ลิ้นบวมแดง กลืนล�ำบาก
2) การบาดเจ็บต่อกระดูกหน้า ขากรรไกรที่มีผล การจัดการทางการพยาบาล ประกอบด้วย การเปิด
ท�ำให้มีฟันหลุด เลือดออกในช่องปากและทางเดินหายใจส่วน ทางเดินหายใจให้โล่ง การยึดตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอ และ
บน หรือโครงสร้างภายในช่องปากและล�ำคอเคลื่อนหรือแตก การประเมินทางเดินหายใจซ�้ำ
ยุบไปอุดกั้นทางเดินหายใจ 1) การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดย open airway,
3) การบาดเจ็บจากแผลไหม้รุนแรงบริเวณใบหน้า clear airway และ maintain airway4
และล�ำคอ ท�ำให้เกิดอาการบวมของเนื้อเยื่อทางเดินหายใจ - Open airway โดยใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณ
จากการสัมผัสเปลวเพลิง สูดดมก๊าซหรือสารพิษ และส่งผล มุมขากรรไกรล่างแล้วยกขากรรไกรล่างขึ้นพร้อมกับดันไปช้าง
ให้เกิดการอุดกั้นในทางเดินหายใจ6 หน้า (jaw-thrust maneuver)4 (ภาพที่ 1a) โดยผู้ช่วยเหลือ
4) ผู้บาดเจ็บที่ไม่รู้สึกตัวจากการได้รับบาดเจ็บที่ จะอยู่เหนือศีรษะในขณะที่ผู้บาดเจ็บนอนราบ วิธีการนี้ช่วยไม่
ศีรษะ กลาสโกว์ โคมา สกอร์ 8 คะแนนหรือต�่ำกว่า ผู้ที่ระดับ ให้ ล� ำ คอแหงนมากจนเกิ น ไป หรื อ กระดู ก สั น หลั ง ส่ ว นคอ
ความรู้สึกตัวลดลง ผู้ที่เมาสุราหรือเสพยาเสพติด มีโอกาส เคลื่อนไหวมากจนท�ำให้เกิดการบาดเจ็บที่ไขสันหลัง หากไม่
เสี่ยงต่อภาวะโคนลิ้นและกล่องเสียงตกลงไปอุดกั้นทางเดิน สามารถท�ำ jaw-thrust ได้ ให้ใช้การเชยคาง (Chin lift)
หายใจ หรือการส�ำลักเศษอาหารจากการอาเจียนถ5 (ภาพที่ 1b) โดยวางนิว้ หัวแม่มอื ใต้คางผูบ้ าดเจ็บและเชยคางขึน้
ผู้บาดเจ็บที่มีการอุดกั้นในทางเดินหายใจส่วนบน มืออีกข้างกดหน้าผากไว้ไม่ให้แหงนขึ้น
จะมีอาการเสียงแหบ (hoarse voice) พูดไม่ออก เจ็บคอหรือ

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
56 การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล Journal of The Royal Thai Army Nurses

- Clear airway ใช้เครื่องดูดเสมหะดูดสิ่งอุดกั้น 2) การยึดตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอ ผู้บาดเจ็บ


ในทางเดินหายใจ เช่น วัตถุแปลกปลอม เลือดหรือน�้ำลาย รุนแรงทุกรายให้สันนิษฐานว่ามีการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
โดยระมัดระวังให้ปลายสายยางอยู่ในต�ำแหน่งที่ไม่ลึกจนกลาย ส่วนคอ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูบ้ าดเจ็บทีไ่ ม่รสู้ กึ ตัว มีการบาดเจ็บ
เป็นสาเหตุกระตุ้นให้ผู้บาดเจ็บมีปฏิกิริยาขย้อน (gag reflex) ที่ศีรษะ การบาดเจ็บต่อกระดูกหน้า ล�ำคอ หรือมีการบาดเจ็บ
และไม่ดูดนานจนอาจท�ำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน ในรายที่ เหนือกระดูกไหปลาร้า รวมทั้งผู้บาดเจ็บที่บ่นว่าปวดคอ ให้ยึด
มีเลือดออกจัดให้ผู้บาดเจ็บนอนตะแคงไปข้างใดข้างหนึ่งเพื่อ ตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอไว้ ไม่ให้กม้ แหงนจนเกินไป หรือหมุน
ระบายเลือด โดยยึดตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอของผูบ้ าดเจ็บไว้ คอ จนกว่าพิสจู น์ได้วา่ ไม่มกี ารบาดเจ็บในบริเวณดังกล่าว ยกเว้น
ตลอดเวลา หากสิ่งอุดกั้นเป็นของแข็ง เช่น เศษกระดูกหน้าที่ ในผูบ้ าดเจ็บทีต่ อ่ ต้าน กระสับกระส่าย และการใส่เครือ่ งมือเพือ่
แตกหัก ให้ใช้ Magill forceps คีบออก ห้ามใช้นิ้วกวาดออก ยึดตรึงกระดูกสันหลังส่วนคออาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อ
โดยไม่เห็นสิง่ แปลกปลอม (blind finger) เพราะอาจดันสิง่ แปลก ไขสันหลัง ผู้บาดเจ็บประเภทนี้ควรได้รับการหาสาเหตุและ
ปลอมให้หลุดเข้าไปในทางเดินหายใจได้ ให้ ก ารรั ก ษาอาการกระสั บ กระส่ า ย เช่ น จากภาวะพร่ อ ง
- Maintain airway ผู้บาดเจ็บที่ไม่รู้สึกตัวจะใส่ท่อ ออกซิเจน การบาดเจ็บที่ศีรษะ เป็นต้น ในขั้นตอนนี้ควรกระท�ำ
เปิดทางเดินหายใจทางปาก (oropharyngeal airway) ป้องกัน โดยผู้ช่วยเหลืออย่างน้อยสองคน โดยคนหนึ่งยึดตรึงศีรษะ
ไม่ให้ลนิ้ ตกลงไปอุดกัน้ ทางเดินหายใจ3 หากผูบ้ าดเจ็บรูส้ กึ ตัวดี และล�ำคอ อีกคนหนึ่งจัดการเรื่องทางเดินหายใจ4
จะใส่ ท ่ อ เปิ ด ทางเดิ น หายใจทางจมู ก (nasopharyngeal การยึ ด ตรึ ง ศี ร ษะและล� ำ คอ (manual in-line
airway) เนื่องจากการใส่ท่อเปิดทางเดินหายใจทางปากอาจไป immobilization) และการสวมเฝือกดามคอ ผู้ช่วยเหลือ
กระตุ้นปฏิกิริยาขย้อน อาเจียนและส�ำลักได้5 ผู้บาดเจ็บที ่ คนที่ 1 จะประคองศีรษะและล�ำคอ (head grip) ก่อนเรียก
ศีรษะ กลาสโกว์ โคมา สกอร์ เท่ากับ 8 คะแนนหรือต�่ำกว่า หรื อ กระตุ ้ น ผู ้ บ าดเจ็ บ เพื่ อ ป้ อ งกั น ผู ้ บ าดเจ็ บ หั น คอ จั ด ให้
ต้องได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะและคออยู่ในแนวเดียวกัน
ยกเว้ น ผู ้ บ าดเจ็ บ บริเ วณใบหน้าและขากรรไกร หรือสงสัย (neutral position) (ภาพที่ 2a) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 ท�ำการวัด
ว่าฐานกะโหลกศีรษะแตก ไม่ควรใส่ท่อเปิดทางเดินหายใจ ขนาดของเฝือกดามคอ โดยลากเส้นสมมุติ 2 เส้นขนานกันลงมา
หรือท่อช่วยหายใจผ่านทางจมูก เนื่องจากอาจทะลุเข้าไปใน เส้นแรกผ่านปลายคางผู้บาดเจ็บ และเส้นที่ 2 ผ่านบ่า (root of
โพรงกะโหลกศีรษะได้3,5,7 neck) วัดระยะห่างระหว่างเส้นโดยใช้นวิ้ มือทาบ (finger brace)
ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564
Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
Trauma Primary Survey and Nursing Management Journal of The Royal Thai Army Nurses 57

(ภาพที่ 2b) แล้วน�ำไปวัดกับเฝือกดามคอจากจุดเครื่องหมาย ผู้บาดเจ็บมีอาการปวด คอเกร็ง แขนขาชาหรืออ่อนแรง หรือมี


ที่ก�ำหนดจนถึงครอบพลาสติกด้านล่าง (ภาพที่ 2c) ปรับขนาด ปัญหาทางเดินหายใจ ให้หยุดการเคลื่อนไหวคอผู้บาดเจ็บทันที
เฝือกดามคอให้เข้าทีต่ ามทีว่ ดั ได้ น�ำไปสวมให้ผบู้ าดเจ็บ ให้ขอบ และท�ำการยึดตรึงด้วย towel roll หรือ manual in-line
บนของเฝือกดามคอค�้ำที่ปลายคาง ขอบล่างค�้ำที่กระดูกสันอก immobilization แล้วท�ำการตรวจประเมินว่าผูบ้ าดเจ็บมีอาการ
(ภาพที่ 2d) โดยปุ่มยึดโฟมด้านบริเวณใต้คางและหน้าอก คอบวม มีรอยฟกช�้ำจ�้ำเลือด ล�ำคอผิดรูป มีแผลทะลุหรือวัตถุ
อยู่ในแนวเดียวกันกับสันจมูก ในระหว่างการจัดศีรษะหาก ปักคาหรือไม่

3) การประเมินทางเดินหายใจซ�้ำบ่อยๆ เพื่อระบุ ของปอดข้างที่มีพยาธิสภาพไม่ได้ ทรวงอกเคาะโปร่ง หน้าเขียว


ปัญหาและให้การรักษาพยาบาลในผู้บาดเจ็บที่สูญเสียความ จากภาวะพร่องออกซิเจน และความดันโลหิตต�่ำ ผู้บาดเจ็บอาจ
สามารถในการคงสภาพทางเดินหายใจได้อย่างเพียงพอ มีอาการแน่นหน้าอก หอบ เหนื่อย หายใจล�ำบาก หายใจใกล้
ประเด็นที่มักถูกมองข้าม ตาย หัวใจเต้นเร็ว เมื่อเลือดไหลกลับหัวใจไม่ได้ ความดันโลหิต
1) การตรวจสอบเครือ่ งมือและอุปกรณ์การช่วยชีวติ ต�่ำ และน�ำไปสู่ภาวะหัวใจหยุดเต้นในที่สุด
ให้เพียงพอ และพร้อมใช้ 2) เลือดออกมากในช่องเยื่อหุ้มปอด (Massive
2) การประเมินทางเดินหายใจซ�้ำบ่อยๆ โดยเฉพาะ hemothorax) มากกว่า 1,500 มิลลิลิตรหรือมากกว่าร้อยละ
ในผู้บาดเจ็บที่สูญเสียความสามารถในการคงสภาพทางเดิน 40 ของปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียน จากบาดแผลถูกยิงถูก
หายใจได้อย่างเพียงพอ เช่น บาดเจ็บที่ศีรษะ แทง ท�ำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดด�ำ
B: การหายใจและการระบายอากาศ (Breathing ใหญ่ ปอดขยายตัวไม่ได้เต็มที่ อากาศเข้าไปในปอดได้น้อยกว่า
and ventilation) ปกติ การแลกเปลีย่ นก๊าซลดลง และมีปญ ั หาเกีย่ วกับการสูญเสีย
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บหรือภาวะคุกคามชีวติ ที่ เลือด ผูบ้ าดเจ็บจะมีอาการช็อก หลอดเลือดทีค่ อแฟบ ทรวงอก
ต้องให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีเพื่อให้ผู้บาดเจ็บมีการ ด้านทีม่ พี ยาธิสภาพเคลือ่ นไหวน้อย เคาะทึบ เสียงหายใจเบาลง
ระบายอากาศและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ได้แก่3 3) แผลเปิ ด ที่ ผ นั ง ทรวงอกทะลุ ช ่ อ งเยื่ อ หุ ้ ม ปอด
1) มี ล มอั ด ดั น ในช่ อ งเยื่ อ หุ ้ ม ปอด (Tension (open pneumothorax หรือ Sucking chest wound)
pneumothorax) จนความดั น ในช่ อ งเยื่ อ หุ ้ ม ปอดสู ง กว่ า เมื่อผู้บาดเจ็บหายใจเข้าท�ำให้เกิดแรงดันลบ และดูดอากาศ
บรรยากาศ จากแรงกระแทก ถูกยิงหรือถูกแทง ท�ำให้มีลมรั่ว ภายนอกเข้ า ไปในช่ อ งเยื่ อ หุ ้ ม ปอดผ่ า นแผลเปิ ด ที่ ท รวงอก
จากปอด หลอดลมหรื อ จากภายนอกผ่ า นบาดแผลที่ ผ นั ง ท�ำให้ปอดแฟบ อากาศเข้าไปในปอดได้น้อยลง ผู้บาดเจ็บจะมี
ทรวงอกเข้าสู่ช่องอก ท�ำให้ความดันในช่องเยื่อหุ้มปอดเพิ่มขึ้น ภาวะหายใจล�ำบาก หายใจเร็ว เวลาหายใจจะเห็นฟองเลือด
และกดปอดข้างนั้นให้แฟบ และดันหลอดลมไปด้านตรงข้าม เข้ า ออกทางบาดแผล เสี ย งหายใจของปอดข้ า งที่ มี พ ยาธิ
ปิดกั้นการไหลกลับของเลือดด�ำที่ผ่านทาง superior และ สภาพเบาลงหรือไม่ได้ยินเสียง และอาจเกิดภาวะมีลมอัดดัน
inferior vena cava หลอดเลือดด�ำทีค่ อโป่งพอง ฟังเสียงหายใจ ในช่องเยื่อหุ้มปอดมากตามมา

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
58 การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล Journal of The Royal Thai Army Nurses

4) การบาดเจ็บของหลอดลมหรือขั้ วปอด และช่วยแพทย์ในการเจาะปอดและเตรียมใส่ทอ่ ระบายทรวงอก


(tracheal or bronchial injuries) จากการบาดเจ็บชนิด ให้ทันท่วงที
แผลทะลุ ที่ ล� ำ คอหรื อ ทรวงอก ส่ ง ผลให้ มี เ นื้ อ เยื่ อ ไปอุ ด กั้ น 3) ในรายทีม่ แี ผลเปิดบริเวณทรวงอก ให้ปดิ บาดแผล
ในทางเดินหายใจ และ/หรือมีเลือดเข้าไปในหลอดลม ปอด ด้วยผ้าปิดแผลที่ลมผ่านไม่ได้ เช่น วาสลินก๊อซ โดยปิดผนึก
ผู้บาดเจ็บจะมีอาการไอเป็นเลือด มีฟองอากาศเซาะใต้ชั้น แผลเพียง 3 ด้าน ให้ด้านหนึ่งเผยอได้ (three side dressing)
ผิวหนัง (subcutaneous emphysema) บริเวณทรวงอก เพือ่ ให้อากาศจากช่องเยือ่ หุม้ ปอดออกได้แต่อากาศภายนอกเข้า
ล�ำคอ แขนและล�ำตัว ในรายที่มีทางเดินหายใจอุดกั้นบางส่วน ไม่ได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมีลมอัดดันในช่องเยื่อหุ้ม
จะหายใจมีเสียงดัง หากมีการอุดกั้นโดยสมบูรณ์จะมีอาการ ปอดมาก
หายใจล�ำบากหรือหยุดหายใจ 4) ผูบ้ าดเจ็บรุนแรงทุกรายต้องได้รบั ออกซิเจนเสริม
วิธีการตรวจประเมิน จะใช้การดู คล�ำ เคาะ และฟัง ในรายที่ไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจจะให้ออกซิเจนระดับความเข้ม
โดยดูการตอบสนองของผู้บาดเจ็บ การเบี่ยงเบนของหลอดลม ข้นสูงโดยใช้หน้ากากออกซิเจนแบบมีถุงลม 10 ลิตรต่อนาที3
บาดแผลบริเวณทรวงอก รอยฟกช�ำ ้ ลักษณะการเคลือ่ นไหวของ แต่ในสถานการณ์การระบาดของโรคทางเดินหายใจ COVID-19
ทรวงอกว่าเท่ากันทั้งสองข้างหรือไม่ อัตราการหายใจ รูปแบบ ควรระมัดระวังการให้ออกซิเจนแบบความเข้มข้นสูง เนื่องจาก
และลักษณะการหายใจ สังเกตอาการตัวเขียว หลอดเลือดด�ำที่ อาจท�ำให้มีการแพร่กระจายแบบฝอยละออง ผู้ให้การดูแลควร
คอโป่งพอง การใช้กล้ามเนือ้ ช่วยการหายใจและ/หรือกล้ามเนือ้ สวมหน้ากากแบบ N95 หากจ�ำเป็นต้องมีการใส่ท่อช่วยหายใจ
หน้าท้อง และค่าความอิม่ ตัวของออกซิเจนในเลือด คล�ำต�ำแหน่ง ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้มกี ารปฏิบตั ติ ามแนวทางการดูแลผูป้ ว่ ย
ของหลอดลมว่าเอียงไปข้างหนึง่ ข้างใดหรือไม่ มีฟองอากาศเซาะ ติดเขื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อ หรือใช้มาตรการป้องกันโรคติดต่อ
ใต้ชั้นผิวหนังของทรวงอกหรือไม่ หากมีแสดงว่าอาจมีภาวะลม ทางเดินหายใจตามแผน COVID-19 ของสถานพยาบาลทีป่ ฏิบตั ิ
อัดดันในช่องเยื่อหุ้มปอดหรือมีการบาดเจ็บของหลอดลมหรือ งานอยู่
ขั้วปอด ท�ำการเคาะผนังทรวงอกฟังเสียงสะท้อน เสียงทึบอาจ ประเด็นที่มักถูกมองข้าม
เป็นอาการของภาวะมีเลือดหรือของเหลว หากเคาะโปร่งอาจ 1) การใช้ pulse oximeter วัดค่าความอิ่มตัว
เป็นอาการของภาวะมีลมในช่องเยือ่ หุม้ ปอด และการฟังปอดว่า ของออกซิ เ จนในเลื อ ด โดยไม่ ว างอุ ป กรณ์ จั บ ยึ ด ปลายนิ้ ว
มีเสียงลมหายใจเข้าปอดเท่ากันทั้งสองข้างหรือไม่ เสียงหายใจ บนแขนข้างเดียวกับที่ก�ำลังวัดความดันโลหิต
ที่เบาลงอาจเป็นอาการของภาวะมีลมหรือเลือดในช่องเยื่อหุ้ม 2) ให้ออกซิเจนเสริมแก่ผู้บาดเจ็บรุนแรงทุกราย
ปอด3,4,5,6 โดยใช้หน้ากากออกซิเจนแบบมีถุงลม 10 ลิตรต่อนาที และ
การจัดการทางการพยาบาล ระมัดระวังการให้ออกซิเจนระดับความเข้มข้นสูงในสถานการณ์
1) เฝ้าระวังค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
โดยใช้ pulse oximeter ค่าปกติไม่ควรต�่ำกว่า 95%3 อย่างไร 3) ให้ออกซิเจน 100% ก่อนและหลังการดูดเสมหะ
ก็ตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดอาจจะไม่เที่ยงในผู้ เพื่อป้องกันภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
บาดเจ็บที่มีคาร์บอกซี่ฮีโมโกลบิน (carboxyhaemoglobin) C: ระบบไหลเวี ย นเลื อ ดและการห้ า มเลื อ ด
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต�่ำกว่าปกติ โลหิตจาง ปริมาณเลือดใน (Circulation and bleeding control)
ระบบไหลเวียนน้อย (MAP <50 mmHg)5 ภาวะช็อก แขนชา พยาธิสภาพของการบาดเจ็บหรือภาวะคุกคามชีวิต
หรือแผลไหม้ หากไม่แน่ใจในผลการตรวจประเมินควรปรึกษา คือการสูญเสียเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะช็อกที่พบได้บ่อย4
พยาบาลรุ่นพี่หรือผู้เชี่ยวชาญ ในกรณีที่ทีมช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ และเป็นสาเหตุส�ำคัญของการเสียชีวิตที่ป้องกันได้3,5 จากการ
ยังมาไม่ถึง สูญเสียเลือดภายในหรือภายนอกร่างกาย เมื่อปริมาณเลือดใน
2) ผู้ป่วยที่มีภาวะลมอัดดันในช่องเยื่อหุ้มปอดมาก ระบบไหลเวียนลดลง ความดันเลือดที่ไปเลี้ยงสมองบกพร่อง
จ�ำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยแพทย์จะรีบใช้เข็ม การน�ำออกซิเจน กลูโคสและอาหารอื่นๆ ไม่เพียงพอ ส่งผล
เจาะปอดระบายลมออก (Needle thoracocentesis) พยาบาล ให้ผู้บาดเจ็บมีระดับความรู้สึกตัวลดลง และจากปริมาณเลือด
จึงต้องจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์และเวชภัณฑ์ให้พร้อมใช้ ในระบบไหลเวียนที่ลดลง มีการก�ำซาบเลือดลดลง ท�ำให้ผู้

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
Trauma Primary Survey and Nursing Management Journal of The Royal Thai Army Nurses 59

บาดเจ็บมีผิวซีด ชีพจรเบาหรือคล�ำยาก และมีอาการแสดง ลักษณะโดยทัว่ ไปของปริมาณเลือดทีไ่ หลเวียนในร่างกายลดลง


ของการสู ญ เสี ย เลื อ ดภายนอก โดยต� ำ แหน่ ง สู ญ เสี ย เลื อ ด การประเมิ น ชี พ จรส่ ว นกลาง เช่ น หลอดเลื อ ดแดงต้ น ขา
ที่พบบ่อย คือ บริเวณทรวงอก ช่องท้อง กระดูกเชิงกราน หรือหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอทั้งสองข้าง ลักษณะการเต้น
กระดูกยาว และบาดแผลภายนอก3 อัตราการเต้นและความสม�่ำเสมอของชีพจร เป็นการยืนยันการ
ภาวะช็อกจากการสูญเสียเลือดที่ไม่ได้รับการแก้ไข สูญเสียเลือด
จะท�ำให้การก�ำซาบเลือดในเซลล์ไม่เพียงพอ มีการเผาผลาญ 4) ปริมาณเลือดที่สญ ู เสียภายนอกร่างกาย โดยการ
แบบไม่ใช้ออกซิเจน เกิดการผลิตกรดแลคติก และน�ำไปสู่ภาวะ ตรวจหาบาดแผลและการมีเลือดออก ส่วนการสูญเสียเลือด
กรดจากกระบวนการเผาผลาญ (metabolic acidosis) ขณะ ภายในร่างกายบริเวณที่ส�ำคัญ เช่น บริเวณทรวงอก ช่องท้อง
เดียวกันก็รบกวนกลไกการแข็งตัวของเลือด ท�ำให้เกิดความผิด อุ้งเชิงกราน และกระดูกยาว มักจะระบุโดยการตรวจร่างกาย
ปกติในการแข็งตัวของเลือดและการสูญเสียเลือด การทีอ่ ณ ุ หภูมิ ของแพทย์ การตรวจทางรังสีและการตรวจพิเศษอืน่ ๆ ซึง่ แพทย์
ร่างกายต�่ำ มีภาวะกรดและผลจากการให้เลือดในปริมาณมาก จะรีบด�ำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ก่อให้เกิดความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด (coagulopathy) การจัดการทางการพยาบาล
ท�ำให้อัตราการเสียชีวิตสูง 3-4 เท่า5 1) การห้ า มเลื อ ดจากการสู ญ เสี ย เลื อ ดภายนอก
วิธีการตรวจประเมิน การประเมินสภาวะการไหล ร่ า งกายอย่ า งรวดเร็ ว โดยการกดตรงบริ เ วณบาดแผล
เวี ย นอย่ า งรวดเร็วและแม่นย�ำเป็นสิ่ง จ�ำเป็น โดยประเมิน (direct pressure)4 พันแขนหรือขาที่มีเลือดออกด้วยผ้ายืด
จากระดับความรู้สึกตัว การก�ำซาบเลือดบริเวณผิวหนัง ชีพจร ในรายทีม่ ปี ญั หาเรือ่ งกระดูกเชิงกรานหัก ท�ำการยึดตรึงกระดูก
และปริมาณเลือดที่สูญเสีย5 เชิงกราน โดยใช้แถบรัดตรึงกระดูกเชิงกราน (Pelvic binding
1) ระดับความรูส้ กึ ตัว เมือ่ ผูบ้ าดเจ็บมีอาการกระสับ device) หรือผ้าปูทน่ี อนมัดรอบกระดูกเชิงกราน (pelvic wrap)
กระส่าย สับสน หรือซึมลง แสดงว่าอาจมีภาวะพร่องออกซิเจน การดามหรื อ ยึ ด ตรึ ง ในผู ้ บ าดเจ็ บ กระดู ก ต้ น ขาหั ก เพื่ อ ลด
หรือช็อกจากการเสียเลือด การประเมินระดับการตอบสนองของ ปริมาณการสูญเสียเลือด หากไม่ได้ผลและผูบ้ าดเจ็บอยูใ่ นภาวะ
ผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว จะใช้การประเมิน AVPU คุกคามชีวิต เช่น ในรายที่แขนขาขาดให้ใช้สายรัดห้ามเลือด
A = Alert มีความตื่นตัว (tourniquets) ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดแขนขาส่วนปลาย
V = Respond to verbal stimuli ตอบสนองต่อ ขาดเลือดไปเลี้ยง3
เสียง 2) การให้สารน�ำ้ ทดแทน โดยเปิดหลอดเลือดด�ำสอง
P = Respond to painful stimuli ตอบสนองต่อ เส้นที่แขนทั้งสองข้างด้วยเข็มที่มีขนาดใหญ่ เช่น เบอร์ 18
ความเจ็บปวด พร้ อ มเก็ บ ตั ว อย่ า งเลื อ ดเพื่ อ ตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารและ
U = Unresponsive to any stimuli ไม่ตอบสนอง cross matching โดยทั่วไปสารน�้ำที่ใช้ จะให้ crystalloid
2) การก�ำซาบเลือดบริเวณผิวหนัง โดยประเมินจาก เช่น Ringer’s lactate อุณหภูมิ 39 ํC (102.2 ํF) หรือ Acetar
อาการซีด สีหน้าหรือแขนขาซีดขาวและเย็น ซึง่ เป็นอาการเตือน ควรเริ่มให้เมื่อความดันซีสโตลิค (systolic blood pressure/
ของภาวะปริมาณเลือดในระบบไหลเวียนลดลง การประเมินการ SBP) ต�่ำกว่า 80 mmHg ให้เพิ่มขึ้นเป็น 90-100 mmHg
คืนกลับของเลือดในหลอดเลือดฝอย (Capillary refill time) ต่อจากนั้นควรเป็นการให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด
โดยการกดบริเวณปลายนิว้ โคนเล็บ กระดูกสันอก หรือหน้าผาก เช่น platelets, Fresh Frozen Plasma (FFP) ในรายที่ไม่
นาน 5 วินาที แล้วปล่อย สีผิวจะคืนกลับภายใน 2 วินาที ต้องการให้เลือดในปริมาณมาก ส�ำหรับผู้บาดเจ็บรุนแรงที่มี
หากเกิน 2 วินาทีแสดงว่าการก�ำซาบเลือดลดลง เมื่อพบผู้บาด ความเสีย่ งต่อการเกิด coagulopathy ให้ทำ� การซักประวัตกิ าร
เจ็บมีภาวะซีด แขนขาเย็น ให้คำ� นึงว่าผูบ้ าดเจ็บอยูใ่ นภาวะช็อก ได้ รั บ ยาต้ า นเกล็ ด เลื อ ดและยาต้ า นการแข็ ง ตั ว ของเลื อ ด
จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นอย่างอื่น 4 สังเกตผลกระทบอื่นๆ ซึ่ ง แพทย์ จ ะให้ reversal agent ทั น ที การส่ ง ตรวจ
ทีบ่ ง่ ชีว้ า่ การไหลเวียนเลือดในร่างกายไม่เพียงพอ เช่น อัตราการ Prothrombin time (PT), Partial thromboplastin time
หายใจที่เพิ่มขึ้น ความรู้สึกตัวที่ลดลง (PTT) และ platelet count เป็นต้น
3) ชีพจร จะพบว่าชีพจรเบาเร็ว คล�ำยาก ซึ่งเป็น 3) การบั น ทึ ก ชี พ จร อั ต ราและลั ก ษณะการเต้ น

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
60 การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล Journal of The Royal Thai Army Nurses

ของชีพจร และความดันโลหิต การก�ำซาบของเลือดบริเวณ โดยการเคลื่ อ นไหว ในการประเมิ น จะใช้ ห ลั ก การตรวจ


ผิวหนัง การคืนกลับของเลือดในหลอดเลือดฝอย หากมากกว่า การสังเกต การกระตุ้น และการล�ำดับคะแนน โดยแยกให้
2 วินาที หรือสีผิวซีดขาว แสดงว่าเริ่มมีปริมาณสารน�้ำใน คะแนนในแต่ละด้าน8 ค่าคะแนนรวมของพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน
ร่างกายลดลง มีระดับคะแนนตั้งแต่ 3-15 คะแนน ระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง
ประเด็นที่มักถูกมองข้าม แสดงว่าออกซิเจนในสมองและแรงดันเลือดที่ไปเลี้ยงสมองลด
1) การให้ความส�ำคัญกับการห้ามเลือดมากกว่า ลง หรือจากสาเหตุการบาดเจ็บสมองโดยตรง ส่งผลให้ผบู้ าดเจ็บ
การเปิดหลอดเลือดให้สารน�้ำ สูญเสียความสามารถในการคงสภาพทางเดินหายใจได้อย่าง
2) ไม่ ใ ช้ ค ่ า ความดั น โลหิ ต เป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ห ลั ก ใน เพียงพอ อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยอื่นๆ เช่น การดื่มสุรา เสพยา
การประเมิ น การสู ญ เสี ย เลื อ ด เนื่ อ งจากผู ้ บ าดเจ็ บ อาจมี เสพติ ด ได้ รั บ ยาบางชนิ ด หรื อ ระดั บ น�้ ำ ตาลในเลื อ ดต�่ ำ
การสูญเสียเลือดมากถึงร้อยละ 30 ของปริมาณเลือดในร่างกาย ล้วนส่งผลให้ระดับความรู้สึกตัวของผู้บาดเจ็บเปลี่ยนแปลงได้
ก่อนที่ค่าความดันโลหิตจะลดลง4 เช่นกัน5,7 ให้ผู้ประเมินสันนิษฐานว่าระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง
3) ไม่ใช้คา่ ความดันโลหิตเป็นค่าตรวจวัดการก�ำซาบ เป็นผลจากการบาดเจ็บของระบบประสาท จนกว่าจะพิสูจน์
เลื อ ดในผู ้ สู ง อายุ เนื่ อ งจากผู ้ สู ง อายุ มั ก มี ค วามดั น โลหิ ต สู ง ได้ว่าเป็นอย่างอื่น3
อยู่ก่อนแล้ว เมื่อมีภาวะช็อกระดับความดันโลหิตยังคงสูงกว่า 2) การตรวจรูปร่าง ขนาดรูม่านตาและปฏิกิริยา
ภาวะช็อกในคนอายุนอ้ ย ประกอบกับหัวใจของผูส้ งู อายุปรับตัว ตอบสนองต่อแสง และประเมินการเคลื่อนไหวของแขนขา
ได้นอ้ ยกว่าคนอายุนอ้ ย แม้จะสูญเสียเลือดมากก็อาจไม่พบหัวใจ หากพบความผิดปกติของการเคลื่อนไหว หรือรูม่านตาขยาย
เต้นเร็วเพื่อชดเชยได้ เช่นเดียวกับนักกีฬาที่ไม่แสดงการตอบ และไม่ ต อบสนองต่ อ แสงข้ า งใดข้ า งหนึ่ ง หรื อ ทั้ ง สองข้ า ง
สนองด้วยอัตราการเต้นของหัวใจต่อการสูญเสียเลือด แสดงว่าเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ต้องรีบรายงานแพทย์
4) ประวัติการเจ็บป่วย โรคประจ�ำตัว และยาที่รับ ในผู้บาดเจ็บที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขาได้เอง ร่วมกับมี
ประทาน อาจมีผลต่อการตอบสนองและการจัดการการบาดเจ็บ อาการหายใจล�ำบากเป็นอาการแสดงเบื้องต้นของการบาดเจ็บ
ในระยะแรก ที่ไขสันหลัง
D: การประเมินระดับความรู้สึกตัว (Disability: 3) การวั ด สั ญ ญาณชี พ เพื่ อ ตรวจสอบสั ญ ญาณ
assessment of neurologic status) ของความดันในกะโหลกศีรษะที่เพิ่มขึ้น จากภาวะหัวใจเต้นช้า
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บหรือภาวะคุกคามชีวิต ความดันโลหิตสูง ความดันชีพจรกว้าง การหายใจผิดปกติ
ผู้บาดเจ็บที่มีระดับความรู้สึกตัวลดลงอาจบ่งชี้ได้ว่าสมองได้รับ และการลดลงของกลาสโกว์ โคมา สกอร์
ออกซิเจนลดลง และ/หรือแรงดันเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง การจัดการทางการพยาบาล
ซึ่งอาจเกิดจากการบาดเจ็บต่อสมองโดยตรง หรือจากปัญหา ผู ้ บ าดเจ็ บ ที่ ศี ร ษะอย่ า งรุ น แรงต้ อ งได้ รั บ การ
เกี่ยวกับทางเดินหายใจ การได้รับออกซิเจน การระบายอากาศ ตรวจสอบอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการบาดเจ็บสมองทุติยภูมิ
และสภาวะการก�ำซาบของเลือด กรณีความดันในกะโหลกศีรษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาวะพร่องออกซิเจนและความดั น
เพิ่มขึ้น จะท�ำให้มีปฏิกิริยาโต้ตอบ (Cushing response) โลหิตต�่ำ ซึ่งทั้งสองภาวะนี้ท�ำให้ความเสี่ยงของการเสียชีวิต
คือ ชีพจรช้าลง ความดันโลหิตสูงขึ้น ความดันชีพจร (pulse เพิ่มขึ้นร้อยละ 75 ดังนั้น เป้าหมายหลักของการจัดการใน
pressure) กว้าง จังหวะและลักษณะการหายใจอาจผิดปกติ ระยะเริม่ แรก คือ การให้สมองได้รบั ออกซิเจนและมีแรงดันเลือด
วิธกี ารตรวจประเมิน ประเมินระดับความรูส้ กึ ตัวโดย ไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ3
ใช้ กลาสโกว์ โคมา สเกล ตรวจรูปร่าง ขนาดของรูม่านตาและ 1.) การดู แ ลทางเดิ น หายใจให้ โ ล่ ง มี ก ารระบาย
ปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อแสง การเคลือ่ นไหวของแขนขาและระดับ อากาศและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และคงความสมดุล
การบาดเจ็บของไขสันหลัง3,4 ของระบบไหลเวียนตามขั้นตอน A, B, C ผู้บาดเจ็บที่กลาสโกว์
1) กลาสโกว์ โคมา สเกล (GCS) เป็นมาตรวัดระดับ โคมา สกอร์ 8 คะแนนหรือต�่ำกว่า ต้องได้รับการใส่ท่อช่วย
ความรู้สึกตัวโดยประเมินพฤติกรรมการตอบสนองใน 3 ด้าน หายใจ เพื่อช่วยให้ทางเดินหายใจโล่ง การระบายอากาศดี
คือ การลืมตา การตอบสนองโดยค�ำพูด และการตอบสนอง และได้ รั บ ออกซิ เ จนเพี ย งพอ 9 ผู ้ บ าดเจ็ บ ที่ มี ค วามดั น ใน

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
Trauma Primary Survey and Nursing Management Journal of The Royal Thai Army Nurses 61

กะโหลกศีรษะสูงให้ท�ำ hyperventilation ได้เป็นครั้งคราว ที่คุกคามชีวิตได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง พลิกตะแคงตัวตรวจ


เท่ า ที่ จ� ำ เป็ น เพื่ อ ควบคุ ม ระดั บ ความดั น ในกะโหลกศี ร ษะ หาการบาดเจ็บทางด้านหลังด้วยวิธี log roll โดยใช้คนช่วย
โดยคงระดับ PCO2 30-35 mmHg เพือ่ ป้องกันสมองขาดเลือด พลิกตะแคงตัว 3 คน คนที่ 1 ท�ำ head grip ตลอดเวลา
การป้องกันภาวะความดันโลหิตต�่ำ โดยเฉพาะในรายที่มีการ คนที่ 2 ใช้มือจับหัวไหล่และสะโพกของผู้บาดเจ็บ คนที่ 3
บาดเจ็บหลายระบบและมีการสูญเสียเลือด จะควบคุมระดับ จับที่ทรวงอกตอนล่างและอีกข้างจับที่กระดูกต้นขาเหนือเข่า
ความดันซีสโตลิค (systolic blood pressure/ SBP) มากกว่า และผูท้ ำ� การประเมินตรวจดูดา้ นหลังรวมถึงแนวกระดูกสันหลัง
หรือเท่ากับ 100 mmHg ในผู้ป่วยที่อายุ 50-69 ปี และ และการหดรัดของรูทวาร
SBP มากกว่ า หรื อ เท่ า กั บ 110 mmHg ในผู ้ ป ่ ว ยที่ อ ายุ การจัดการทางการพยาบาล
15-49 ปีหรือมากกว่า 70 ปี3 และคงค่าเฉลี่ยความดันโลหิต การถอดเสื้อผ้าเปิดเผยร่างกายผู้ป่วยต้องพิจารณา
(mean arterial pressure/ MAP) มากกว่า 70 mmHg อายุ เพศ และวัฒนธรรมของผู้บาดเจ็บ โดยการแจ้งแก่ผู้บาด
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะสมองขาดเลือด โดยประเมินอาการและ เจ็บและ/หรือญาติ ขณะท�ำการตรวจร่างกายควรกั้นม่านให้
อาการแสดง ขณะเดียวกันระวังอย่าให้เกิดภาวะความดันโลหิต มิดชิด เปิดเผยร่างกายหรือบริเวณทีจ่ ะตรวจทีละส่วนและใช้ผา้
สูง (SBP >160 mmHg หรือ MAP >110 mmHg) เพราะจะ คลุมส่วนที่ไม่ต้องการตรวจให้เรียบร้อยเพื่อให้เกียรติผู้บาดเจ็บ
ท�ำให้สมองบวม เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ส่งผล พร้อมกับการควบคุมอุณหภูมิห้อง การห่มผ้าห่มอุ่นๆ ป้องกัน
ให้ความดันเลือดที่ไปเลี้ยงสมองลดลง สมองขาดเลือดได้ การสูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย ไม่ให้ผู้บาดเจ็บเกิด
2.) การจัดให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะ ภาวะอุณหภูมิร่างกายต�่ำผิดปกติ11 และการให้สารน�้ำอุณหภูมิ
และคออยู่ในแนวเดียวกัน ไม่ก้ม แหงน หรือบิดหมุนซ้าย-ขวา 39 ํC หากไม่มีเครื่องอุ่นสารน�้ำ ให้อุ่นในไมโครเวฟได้ แต่ห้าม
ยกศีรษะสูงประมาณ 30 องศา เพื่อช่วยเพิ่มการไหลกลับของ ใช้กับเลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด3 ผู้บาดเจ็บแผลไหม้ให้ปิด
เลือดด�ำจากสมองสูห่ วั ใจ และการไหลเวียนของน�ำ้ ไขสันหลังลง แผลด้วยน�้ำยาอุ่นๆ
ช่องไขสันหลังได้สะดวก ลดความดันในกะโหลกศีรษะและ ประเด็นที่มักถูกมองข้าม
เพิ่มความดันเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง การป้องกันไม่ให้ผบู้ าดเจ็บเกิดภาวะอุณหภูมริ า่ งกาย
3.) การประเมินระดับความรูส้ กึ ตัวของผูบ้ าดเจ็บซ�ำ้ ต�่ำผิดปกติ โดยการควบคุมอุณหภูมิห้อง การห่มผ้าห่ม และ
บ่อยๆ เนื่องจากผู้บาดเจ็บอาจมีอาการแย่ลงอย่างรวดเร็ว การให้สารน�้ำอุ่นๆ
โดยแสดงอาการชัดเจนก่อนแย่ลง เช่น ขนาดของรูม่านตา
หรือการขยายตัวของรูม่านตาสองข้างไม่เท่ากัน ไม่ตอบสนอง หลังการตรวจประเมินเบือ้ งต้นตามขัน้ ตอน ABCDEs
ต่อแสง และมีอัมพาตครึ่งซีกหรือแขนขาอ่อนแรง ซึ่งบ่งบอกถึง พร้อมกับการแก้ไขภาวะเร่งด่วน จะท�ำการตรวจประเมินเพิ่ม
การขยายตั ว ของสิ่ ง กิ น ที่ ใ นกะโหลกศี ร ษะหรื อ สมองบวม เติม (Adjuncts to the primary survey) โดยการเฝ้าระวังค่า
ต้องได้รับการแก้ไข โดยให้ mannitol หรือ Hypertonic ทางสรีรวิทยา การส่งตรวจทางรังสีวินิจฉัยและการสืบค้นที่
saline ทางหลอดเลื อ ดด� ำ การช่ ว ยหายใจ (temporary จ�ำเป็นในผู้บาดเจ็บ4 ซึ่งอาจท�ำไปพร้อมกับการตรวจประเมิน
hyperventilation) และการผ่าตัดเร่ง ด่วน 5,6 หาก GCS เบือ้ งต้นและการช่วยชีวติ แต่ตอ้ งไม่ทำ� ให้เสียเวลาหรือขัดขวาง
ลดลงมากกว่า 2 คะแนน ให้รีบรายงานแพทย์10 ต่อการตรวจประเมินเบื้องต้นหรือการช่วยชีวิต มีการประเมิน
ประเด็นที่มักถูกมองข้าม ซ�้ำเป็นระยะ และเมื่อผู้บาดเจ็บมีสัญญาณชีพคงที่ จะเข้าสู่ขั้น
การตรวจประเมิ น ภาวะระดั บ น�้ ำ ตาลในเลื อ ดต�่ ำ ตอนการตรวจวินิจฉัย (Secondary survey) ต่อไป
ภาวะพร่องออกซิเจน ยาหรือสารพิษที่ผู้บาดเจ็บได้รับ เพื่อให้
มั่นใจว่าระดับความรู้สึกตัวที่เปลี่ยนไป ไม่ได้มาจากสาเหตุอื่น สรุป
E. การค้นหาการบาดเจ็บภายนอกและการควบคุม การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้น เป็นขั้นตอน
สิ่งแวดล้อม (Exposure and environment control) ส�ำคัญในระยะแรกของการประเมินและการช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ
ในการตรวจประเมิ น ผู ้ บ าดเจ็ บ รุ น แรงควรได้ รั บ รุนแรงซึง่ ต้องอาศัยการท�ำงานทีเ่ ป็นระบบ รวดเร็ว แม่นย�ำและ
การถอดเสื้อผ้าออกให้หมด เพื่อให้สามารถมองหาการบาดเจ็บ การตั ด สิ น ใจที่ เ หมาะสมในระยะเวลาอั น สั้ น การมี ค วามรู ้

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021
วารสารพยาบาลทหารบก
62 การตรวจประเมินผู้บาดเจ็บเบื้องต้นและการจัดการทางการพยาบาล Journal of The Royal Thai Army Nurses

ความเข้าใจในพยาธิสภาพของการบาดเจ็บ หลักการและวิธกี าร 6. Wilson CT & Clebone A. Initial assessment


ตรวจประเมินตามขัน้ ตอน ABCDEs การจัดการทางการพยาบาล and management of the trauma patient.
และประเด็ น ที่ มั ก ถู ก มองข้ า มในแต่ ล ะขั้ น ตอน จะช่ ว ยให้ Anesthesia for Trauma. 2014. Doi 10.1007/978-
พยาบาลสามารถพัฒนาทักษะการตรวจประเมินเบื้องต้นและ 1-4939-0909-4_1.
การจัดการทางการพยาบาล ในการปฏิบัติงานร่วมกับทีมช่วย 7. Scarboro M, Massetti J, and Aresco C. Traumatic
ชีวิตผู้บาดเจ็บ เพื่อระบุปัญหาและจัดการภาวะคุกคามชีวิตที่ brain injuries. In McQuillan, K.A. & Makic,
อาจจะเกิดขึ้นหรือก�ำลังเกิดขึ้นกับผู้บาดเจ็บรุนแรงได้อย่าง M.B.F. Trauma Nursing from Resuscitation
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ รักษาแขน Through Rehabilitation. 5th edition. St Louis,
ขาและการท�ำหน้าที่ของอวัยวะในร่างกาย Missouri: Elsevier Inc. 2020: 332-409.
8. Soparn Potaya. Glasgow Coma Scale. Journal of
References The Royal Thai Army Nurses 2018; 19(1):30-8.
1. World Health Organization [WHO]. Global Health (in Thai).
Estimates 2016: Deaths by Cause, Age, Sex, by 9. Janich, K., Nguyen, H.S., Patel, M., Shabani, S.,
Country and by Region 2000-2016. Geneva: Montoure, A., and Doan, N. Management of
World Health Organization. 2018. adult traumatic brain injury: A review. Journal
2. Division of Non Communicable Disease, of Trauma and Treatment. 2016; 5:320.
Department of Disease Control, Ministry of Doi:10.4172/2167-1222.1000320.
Public Health. Annual Report 2019. Bangkok: 10. Sharpe, O., & Cole, T. Traumatic brain injury. In
Aksorn Graphic and Design. 2020. (In Thai). Curtis, K., Ramsden, C., Shaban, R.Z., Fry, M.,
3. American College of Surgeons. Advanced Trauma and Considine, J. (Editors). Emergency and
Life Support® Student Course Manual. Trauma Care for Nurses and Paramedics.
10th edition. Chicago: American College of 3rd edition. NSW: Elsevier Australia. 2020.
Surgeons. 2018. p.1227-1247.
4. Planas, JH., Waseem, M. and Sigmon, DF. Trauma 11. Sweet V. Patient assessment. In Emergency
primary survey. StatPearls [Internet]. 2020. Nurses Association. Sheehy’s Emergency
PMID: 28613551. Nursing Principles and Practice. 7th edition.
5. Gumm, K. Major trauma initial assessment and St Louis, Missouri: Elsevier. 2020: 68-74.
management. In Curtis, K., Ramsden, C.,
Shaban, R.Z., Fry, M., and Considine, J. (Editors).
Emergency and Trauma Care for Nurses and
Paramedics. 3 rd edition. NSW: Elsevier
Australia. 2020: 1189-1226.

ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564


Vol. 22 No.3 September - December 2021

You might also like