You are on page 1of 14

วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ.

2563
128 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก: กรณีศึกษา 2 ราย


Nursing Care for ectopic pregnancy: Case study 2 case
นุชจรินทร์ ทองโรจน์, พยบ.*
Nucharin Thongroj , RN

บทคัดย่อ
ความเป็นมา : การตัง้ ครรภ์นอกมดลูกเป็นภาวะฉุกเฉินทางนรีเวชทีม่ คี วามเสีย่ งสูงในสตรีวยั เจริญพันธุ์ หากเกิดการ
แตกของท่อน�ำไข่จะท�ำให้เกิดภาวะช็อกจากการตกเลือดในช่องท้อง อาจท�ำให้มีอันตรายถึงชีวิตได้ จึงต้องมีการดูแลและ
สังเกตอาการโดยพยาบาลอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องในการดูแลหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกให้ได้ตามมาตรฐานการพยาบาล
วัตถุประสงค์ : เพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาลหญิงตัง้ ครรภ์นอกมดลูก จ�ำนวน 2 ราย
วิธีการศึกษา : เป็นกรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาสารคาม
ปี 2562 โดยศึกษาจากประวัติการรักษาพยาบาล ข้อมูลจากผู้ป่วย ญาติจากเวชระเบียน ใช้แบบประเมิน 11 แบบแผน
ของกอร์ดอน น�ำมาก�ำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล และแก้ไขปัญหาสุขภาพโดยใช้กระบวนการพยาบาล 5 ขั้นตอน
ตั้งแต่แรกรับจนถึงจ�ำหน่าย
ผลการศึกษา : กรณีศึกษาที่1 หญิงไทย วัยเจริญพันธุ์ ตั้งครรภ์ครั้งที่2 แท้ง 1 ครั้ง มีอาการปวดท้องน้อยมากมา
30 นาที ตรวจอัลตร้าซาวด์ พบการตัง้ ครรภ์นอกมดลูกบริเวณ ท่อน�ำไข่ขา้ งขวาแตก มีภาวะช็อก และได้รบั การผ่าตัดด่วน
หลังผ่าตัดฟื้นดี รู้สึกตัวดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใดๆรวมระยะการรักษาตัวในโรงพยาบาล 3 วัน กรณีศึกษาที่ 2 เป็น
หญิงไทยวัยเจริญพันธุ์ ตั้งครรภ์ครั้งที่ 3 หลังคลอดบุตรคนที่ 2 ได้ท�ำหมัน มีอาการปวดหน่วงท้องน้อยด้านซ้ายมา
1 สัปดาห์ ร่วมกับมีเลือดออกทางช่องคลอด ส่งตรวจ Urine Pregnancy test (UPT) พบว่า ผลตรวจเป็นบวก (Positive)
ตรวจอัลตราซาวด์พบก้อนการตัง้ ครรภ์นอกมดลูกบริเวณท่อน�ำไข่ขา้ งซ้ายยังไม่แตก และได้รบั การเตรียมผ่าตัดเป็นอย่างดี
หลังผ่าตัดรู้สึกตัวดี ได้รับการดูแลและให้การพยาบาลไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใดๆรวมระยะการรักษาตัวในโรงพยาบาล
3 วัน
สรุป : หญิงตั้งครรภ์ 2 ราย มีการตั้งครรภ์นอกมดลูกที่ต�ำแหน่งท่อน�ำไข่ส่วนที่เป็น Ampulla part ซึ่งรายที่ 1
ได้รับการการผ่าตัดแบบฉุกเฉินเร่งด่วนและรายที่ 2 ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ดังนั้นพยาบาลจ�ำเป็นต้องมีความรู้ ทักษะความช�ำนาญเป็นพิเศษ ในการประเมินอาการ การประสานงานในทีม ให้การ
พยาบาลที่มีประสิทธิภาพและถูกต้อง รวดเร็วตามกระบวนการพยาบาลได้มาตรฐาน

ค�ำส�ำคัญ : การตั้งครรภ์นอกมดลูก, การพยาบาลการตั้งครรภ์นอกมดลูก, กรณีศึกษา

พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ โรงพยาบาลมหาสารคาม
*
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 129

ABSTRACT
Background : Ectopic pregnancy is an emergency high risk condition in reproductive aged women.
A ruptured tubal ectopic pregnancy with excessive blood lost resulted in patient shock and maternal
death. Clinical observation and proper care are needed. Nurses are healthcare professional who
closelycare for patients have to competence in providing care compliance with nursing standard.
Objective : To study nursing care for two patients with ectopic pregnancy compliance with
nursing standard.
Methods : The purposive sampling method was used to select two patients admitted in Mahasarakham
hospital in fiscal year 2019.Patient’s history from the patients, relatives, and patient records. Nursing
diagnosis was list using Gordon’s 11 functional health patterns. And nursing care was performed base
on five steps of nursing process.
Results : The first case study was a Thai reproductive aged woman, gravida 2, para 0, abortion
1, reported severe dysmenorrhea 30 minutes before admission. The ultrasonography showed ruptured
ectopic pregnancy at right fallopian tube with shock. In order to treat shock and emergency surgery
was performed. After surgery there were no complications after treatment for shock and care. The
hospital stay for this patient were three days. The second case study was a Thai reproductive aged
woman, gravida 3, have had tubal ligation after 2nd birth. The patient reported left lower quadrant
abdominal pain with vaginal bleeding 1 week before admission. Her urine pregnancy test showed
positive result. Ultrasonography showed a non-rupture left tubal ectopic pregnancy. The patient was
well prepared for surgery. After surgery, the patient wakes up from anesthesia with full consciousness.
She received post-operative nursing care and no complications were found. The patient stays in the
hospital for three days.
Conclusion : Two case studies, both have been diagnosed with tubal ectopic pregnancy at the
ampulla part and received surgery. The first patient has been diagnosed with ruptured ectopic
pregnancy with shock and need emergency surgery. The second patient have a non-rupture ectopic
pregnancy. This patient received pre-operative preparations. Nurses who care for patients, specific
nursing competencies needed to provided effective, accurate, systematic and prompt nursing care for
patient base on nursing process, nursing standard and continuity of care including knowledge, health
assessment skill, and collaborative skill.

Keywords : Ectopic pregnancy, Nursing care for Ectopic pregnancy, Case study
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
130 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

บทน�ำ ทั้งนอกเขตและในเขตความรับผิดชอบ จากสถิติพบว่า


การตั้งครรภ์นอกมดลูก เป็นการตั้งครรภ์ที่เกิดจาก มีหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วนอกโพรงมดลูก ร้อยละ 95 ในปี 2560-2562 เป็นจ�ำนวน 190 ราย เกิดภาวะช็อกจาก
เกิดขึน้ ทีท่ อ่ น�ำไข่ นอกจากนัน้ อาจพบได้ทรี่ งั ไข่ ปากมดลูก การสูญเสียเลือดจ�ำนวน 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 ส่วน
และในช่องท้อง อุบตั กิ ารณ์ พบประมาณร้อยละ 0.5-0.75 มากเป็นการส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชน พบว่าได้รับการ
หรือประมาณ 1 : 125 ถึง 1 : 200 ของการคลอดทัง้ หมด1,9 วินิจฉัยล่าช้า 3 ราย7 ถึงแม้ว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อการ
และเป็นสาเหตุการเสียชีวติ ทีพ่ บบ่อย เกิดในช่วงไตรมาสแรก เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและไม่มีการเสียชีวิตก็ตาม
ของการตัง้ ครรภ์1อาการและอาการแสดงของการตัง้ ครรภ์ แต่มผี ลท�ำให้มคี า่ ใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลสูงขึน้ ท�ำให้
นอกมดลูกในระยะแรกอาจไม่พบอาการใดๆ เมื่อการตั้ง คุณภาพชีวิตของหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกและครอบครัว
ครรภ์ด�ำเนินการต่อไปท�ำให้เกิดการแตกของถุงการตั้ง ลดลง จากการทบทวนพบว่า ยังไม่มีมาตรฐานการปฏิบัติ
ครรภ์นอกมดลูกจนเกิดภาวะช็อก ถือเป็นโรคทางนรีเวชที่ ทางการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกที่เป็นแนวทาง
มีความเสีย่ งสูง อาการทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ คือ ปวดท้องหรือปวด เดี ย วกั น ในระดั บ จั ง หวั ด ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารดู แ ลหญิ ง
บริ เ วณท้ อ งน้ อ ย อาจหายไปหรื อ ปวดอยู ่ ต ลอดเวลา ตั้งครรภ์นอกมดลูกให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพนั้น
ในกรณีที่มีเลือดออกในช่องท้องจ�ำนวนมาก ท�ำให้มีการ ย่ อ มขึ้ น กั บความรู ้ ค วามสามารถของผู ้ ปฏิ บัติง านเป็ น
ปวดร้าวไปที่หัวไหล่ จะมาพบแพทย์ด้วยอาการหน้ามืด ส�ำคัญ3 จึงจ�ำเป็นต้องเพิ่มพัฒนาสมรรถนะของพยาบาล
คล้ายจะเป็นลม1,8,9 การรักษามีทงั้ แบบไม่ผา่ ตัดและวิธกี าร วิชาชีพให้มคี วามรูท้ ที่ นั สมัย มีทกั ษะด้านการพยาบาลตาม
ผ่าตัด1,12 อย่างไรก็ตามต้องมีการเฝ้าสังเกตอาการเปลีย่ นแปลง มาตรฐานวิชาชีพมีความรูค้ วามสามารถเฉพาะทางในการ
อย่างใกล้ชิด การวินิจฉัยอย่างรวดเร็วและถูกต้องย่อม ดูแลได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงส่งผลท�ำให้เกิดการ
ลดภาวะแทรกซ้อน และลดอัตราตายจากการตกเลือด บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีความพึงพอใจทัง้ ผูใ้ ห้และผูร้ บั บริการ
ภายในช่องท้องได้1,9,10 ดังนั้นการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์
นอกมดลูกจะต้องประกอบด้วยทีมสหวิชาชีพที่ร่วมกัน วัตถุประสงค์
ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลวิชาชีพเป็นผูท้ ใี่ ห้การ เพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบการพยาบาลหญิงตัง้ ครรภ์นอก
ดูแลปฏิบัติการพยาบาลต่างๆ ในการเฝ้าสังเกตอาการ มดลูกตามมาตรฐานทางการพยาบาล
เปลีย่ นแปลงและภาวะแทรกซ้อนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในทุกขัน้
ตอนของการรักษาพยาบาล เพือ่ ให้การรักษาพยาบาลเป็น วิธีการศึกษา
ไปตามมาตรฐาน ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพจ�ำเป็นที่จะต้องมี กรณีศกึ ษา 2 ราย เปรียบเทียบใช้วธิ เี ลือกแบบเฉพาะ
สมรรถนะที่เพียงพอในการดูแลตั้งแต่ระยะแรกรับจนถึง เจาะจง โดยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่ามีการตั้งครรภ์
จ�ำหน่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการป้องกันภาวะ นอกมดลูก ทีเ่ ข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาสารคาม
แทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระยะก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด ในระหว่างปีงบประมาณ 2561-2562 เครื่องมือที่ใช้
ตลอดจนการให้คำ� แนะน�ำการปฏิบตั ติ วั เมือ่ กลับไปอยูบ่ า้ น ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกการสัมภาษณ์ผปู้ ว่ ย 2) แบบ
เพือ่ ส่งเสริมให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดภาวะ บันทึกการสัมภาษณ์ญาติ 3) แบบบันทึกการสังเกตผู้ป่วย
แทรกซ้อนและการไม่กลับมารับการรักษาซ�้ำโดยยึดหลัก และญาติ 4) แบบบันทึกการทบทวนเวชระเบียน 5) แบบ
การพยาบาลแบบองค์รวมค�ำนึงถึงประเด็นทางจริยธรรม บันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลมหาสารคาม โดยใช้
สิทธิภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวคิดการประเมินผูป้ ว่ ยตามแบบแผนทางด้านสุขภาพ11
หอผู้ป่วยนรีเวช โรงพยาบาลมาหาสารคาม ให้การ แบบแผนของกอร์ ด อนในการค้ น หาปั ญ หาและความ
บริการดูแลรักษาหญิงที่มีปัญหาทางด้านนรีเวชวิทยา ต้องการทางสุขภาพของผู้รับบริการแต่ละราย น�ำมา
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 131

วิเคราะห์แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการในการ 90-102 ครัง้ /นาที หายใจช่วง 20-22 ครัง้ /นาที ความดันโลหิต


ปฏิบัติการพยาบาลให้มีคุณภาพที่ครอบคลุมการส่งเสริม ช่วง 100/58-111/62 mmHg ท้องไม่อืด แพทย์อนุญาต
การป้องกัน การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพและใช้กระบวนการ ให้กลับบ้านรวมเวลารักษาในโรงพยาบาลมหาสารคามเป็น
พยาบาลเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการปฏิบัติการพยาบาล เวลา 3 วันนัดติดตามหลังออกจากโรงพยาบาล 1 เดือน
ตั้งแต่แรกรับจนถึงจ�ำหน่าย กรณีศึกษาที่ 2 เป็นหญิงไทยวัย 30 ปี ครรภ์ที่ 3
กรณีศึกษารายที่ 1 หญิงไทยวัย 24 ปี ตั้งครรภ์ที่ 2 บุตรคนที่ 2 อายุ 2 ปี หลังคลอดบุตรคนที่ 2 ได้ท�ำหมัน
ครรภ์แรกแท้งขณะอายุครรภ์ประมาณ 2 เดือนประจ�ำเดือน ประจ�ำเดือนครัง้ สุดท้าย 8 กรกฎาคม 2562 มาโรงพยาบาล
ครัง้ สุดท้าย 10 พฤษภาคม 2562 คุมก�ำเนิดแบบธรรมชาติ ชุมชนด้วยปวดหน่วงท้องน้อยด้านซ้ายมา 1 สัปดาห์
มาโรงพยาบาลชุมชนด้วยอาการปวดท้องน้อย ก่อนมา ร่วมกับมีเลือดออกทางช่องคลอด ได้ยาแก้ปวดท้องและ
โรงพยาบาล 30 นาที ส่งตรวจ Urine Pregnancy test ยาขับลมมารับประทานต่อทีบ่ า้ น อาการปวดท้องไม่ทเุ ลา
(UPT) พบว่า ผลตรวจเป็นบวก (Positive) ส่งตรวจอัลตรา 1 วันก่อนมาปวดท้องน้อยด้านซ้ายมากขึน้ จึงมาโรงพยาบาล
ซาวด์ พบว่า มีของเหลวอยู่ในช่องท้องและเป็น rupture มหาสารคาม แรกรับผู้ป่วยรู้สึกตัวดี กดเจ็บต�ำแหน่ง
ectopic pregnancy โรงพยาบาลชุมชนจึงส่งตัวมาที่ ปีกมดลูกข้างซ้าย และเจ็บขณะโยกปากมดลูก สัญญาณ
โรงพยาบาลมหาสารคามวันที่ 22 กรกฎาคม 2562 เวลา ชีพแรกรับปกติชัดเจนดี อุณหภูมิช่วง 36.8-37.1 องศา
15.42 น. ถึงห้องฉุกเฉินมีอาการกระสับกระส่าย ซีด เซลเซียส ชีพจรช่วง 80-90 ครั้ง/นาที หายใจช่วง 20-22
(Hct=20%) ปวดเกร็งหน้าท้อง (guarding) ความดันโลหิต ครั้ง/นาที ความดันโลหิตช่วง 100/62-112/74 mmHg
ต�่ำ 84/58mmHg ชีพจรเร็ว 120ครั้ง/นาที อัตราการ ส่งตรวจ Urine Pregnancy test (UPT) พบผลตรวจ
หายใจ 24 ครั้ง/นาที ผลการตรวจอัลตร้าซาวด์ซ�้ำ พบมี เป็นบวก (Positive) ตรวจอัลตร้าซาวด์พบก้อนการ
ของเหลวอยู่ในช่องท้องเป็นจ�ำนวนมากบริเวณท่อน�ำไข่ ตั้งครรภ์นอกมดลูกบริเวณท่อน�ำไข่ข้างซ้ายยังไม่แตกได้
ข้ า งขวาแตกและมี ภ าวะช็ อ ก (Rupture Rt. Tubal วางแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรับการผ่าตัดเป็นอย่างดี
pregnancy with hypovolemic shock) ได้รบั การแก้ไข ได้รับค�ำอธิบายเกี่ยวกับพยาธิสภาพการด�ำเนินของโรค
ภาวะช็อก แพทย์ท�ำการผ่าตัดเปิดทางหน้าท้องตัดท่อน�ำ แนวทางการดูแลรักษาหลังการผ่าตัด ภาวะแทรกซ้อนที่
ไข่ขา้ งขวาออก (( Exploratory Laparotomy with Right อาจเกิดขึ้น และการพยาบาลจนเข้าใจ และยินยอมผ่าตัด
salpingectomy with lysis adhesion) ขณะผ่าตัดเสีย ไดรับการผ่าตัด ตัดท่อน�ำไข่และรังไข่ข้างซ้ายและตัดท่อ
เลือด 3,000 cc ใช้เวลาผ่าตัด 55 นาที สัญญาณชีพขณะ น�ำไข่ข้างขวาออก(Left salpigo-0ophorectomy with
ผ่าตัดอุณหภูมิ 36.6 องศาเซลเซียส ชีพจรช่วง 98-100 Right Salpingectomy)ใช้เวลาผ่าตัด 30 นาที เสียเลือด
ครั้ง/นาที หายใจตามเครื่องช่วยหายใจ ความดันโลหิต จากการผ่าตัด 50 cc หลังผ่าตัดตื่นดีรู้สึกตัวดี ได้รับการ
90/58- 100-60 mmHg หลังผ่าตัดตื่นดี แผลไม่ซึม ดูแลและให้การพยาบาลไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใดๆ รวม
อุณหภูมิ 36.6 องศาเซลเซียส ชีพจรช่วง 98-100ครัง้ /นาที ระยะการรักษาตัวในโรงพยาบาล 3 วัน นัดติดตามหลัง
หายใจช่วง 20-22 ครั้ง/นาที ความดันโลหิตช่วง 90/58- ออกจากโรงพยาบาล 1 เดือน
100/60mmHg ย้ า ยมาที่ ห อผู ้ ป ่ ว ยนรี เ วช รู ้ สึ ก ตั ว ดี การเปรียบเทียบข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลโดยการ
หลังผ่าตัดผู้ป่วยไม่มีภาวะภาวะแทรกซ้อนใดๆ ไม่มีภาวะ ประเมินภาวะสุขภาพโดยใช้แนวคิดแบบประเมินผู้ป่วย
ช็อก ไม่ซดี ไม่มไี ข้ แผลไม่ซมึ สัญญาณชีพอยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ตามแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน ดังแสดงในตารางที่ 1
อุ ณ หภู มิ ช ่ ว ง 36.6-37.3 องศาเซลเซี ย ส ชี พ จรช่ ว ง
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
132 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

ตารางที่ 1 ข้อมูลเปรียบเทียบแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอนในหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ข้อมูลแบบแผนสุขภาพ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


1.การรับรู้และการดูแล รู้สึกปวดท้องมาก อ่อนเพลีย มีอาการวิง
เป็นโรคกระเพาะอาหาร มีเลือดออก
สุขภาพ เวียนศีรษะหน้ามืดจะเป็นลม ซีดช่วย ทางช่องเล็กน้อยเป็นสีดำ�คล้ำ�แต่บาง
เหลือตัวเองได้น้อย ไม่รับรู้ว่ามีปัญหาเกิด
ครั้งก็หายไป ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
ขึ้นขณะตั้งครรภ์ ใกล้บ้านรับรู้ว่าจะเป็นการตั้งครรภ์นอก
ต้องการให้การตั้งครรภ์ดำ�เนินต่อไป มดลูก และมีสีหน้ากังวลเมื่อรับรู้ว่าต้อง
ได้รับการผ่าตัด
2.โภชนาการและการเผา รับประทานอาหารได้ทุกชนิดรสจัดและไม่ รับประทานอาหารตรงเวลาและมี
ผลาญสารอาหาร ตรงเวลา ประโยชน์
3.การขับถ่าย ขับถ่ายปกติ ขับถ่ายปกติ
4.กิจวัตรประจำ�วันและการ ออกกำ�ลังกายโดยการเดิน ยึดแขน ขา ไม่ได้ออกกำ�ลังกาย
ออกกำ�ลังกาย
5.การพักผ่อนนอนหลับ เข้านอนประมาณ 4-5 ทุ่ม ตื่นแต่เช้า เข้านอนประมาณ 3-4 ทุ่ม ตื่นแต่เช้า
6.สติปัญญาและการรับรู้ รู้สึกสับสน บอกว่ามีอาการอ่อนเพลีย จดจำ�ได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
มาก รู้สึกวิงเวียน ด้วยตนเองได้
7.การรับรู้ตนเองและ รับรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์นอกมดลูก รับรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์นอกมดลูกหลัง
อัตมโนทัศน์ สีหน้ากังวลเพราะเคยแท้งบุตร จากแพทย์ให้ข้อมูล
8.บทบาทและสัมพันธภาพ มีสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวอยู่กับสามี มีสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวอยู่กับ
ในครอบครัว สามีและบุตร
9.เพศและการเจริญพันธุ์ ปกติ ปกติ
10.การปรับตัวและการ สิ่งที่วิตกกังวลมากคือการแท้งบุตรเพราะ มีความกังวลเมื่อรับรู้ว่าจะต้องผ่าตัดแต่
เผชิญความเครียด ตนเองและสามีต้องการบุตรมาก ก็ยอมรับและสามารถปรับตัว

11.ความเชื่อ สิ่งที่มีค่าที่สุดบิดามารดาสามีเป็นสิ่งยึด เชื่อว่าอาการที่เกิดขึ้นเป็นสุดวิสัย เชื่อ


เหนี่ยวจิตใจ เรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรื่องบาป-บุญ

ผลการศึกษา ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง โดยในกรณีศึกษารายที่ 1


จากกรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกทั้ง 2 ราย ต้องการมีบุตร ส่วนรายที่ 2 มีบุตรเพียงพอ และท�ำหมัน
ซึ่งสาเหตุและมีปัจจัยของการเกิดโรค อาการและ/อาการ แล้ว หลังจากนั้นเกิดการตั้งครรภ์เกิดขึ้น ซึ่งทั้ง 2 รายมี
แสดงเหมือนกันหรือบางครัง้ อาจมีอาการแสดงทีไม่ชดั เจน รายละเอียดของการวิเคราะห์ ดังแสดงตารางที่ 2
ต้องใช้การตรวจวินจิ ฉัยแยกโรคและมีความแม่นย�ำเพือ่ ให้
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 133

ตารางที่ 2 ข้อมูลเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ประเด็นเปรียบเทียบ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


1. สาเหตุหรือปัจจัยของการเกิดโรค
การตั้งครรภ์นอกมดลูกเกิดจากสาเหตุและ
ปัจจัยเสี่ยงดังนี้
1. การเกิดพังผืด(Adhesion)รอบท่อน�ำไข่และ - ผ่าตัดเข้าไปพบพังผืด(Adhe- -
การตีบตันที่เกิดจาการอักเสบติดเชื้อใน sion)บริเวณท่อน�ำไข่ข้างขวา
อุ้งเชิงกราน การติดเชื้อหลังคลอดและหลังแท้ง
เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ ไส้ติ่งอักเสบเพิ่มความ
เสี่ยงอย่างน้อย 3 เท่า 1,10
2. การผ่าตัดอวัยวะในอุ้งเชิงกรานเช่นการ -จากประวัติเคยเป็นไส้ติ่งอักเสบ - เคยผ่าตัดท�ำหมันหลังคลอด
ผ่าตัดท่อน�ำไข่ การท�ำหมัน ด้วยวิธี bipolar ได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งเมื่อ 2 ปี มานาน 2 ปีหลังคลอดบุตร
ประวัติแก้หมันเพิ่มความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ที่แล้ว คนที่ 2ซึ่งคลอดเองปกติที่
เท่า1,10 - เคยแท้งบุตรในการตั้งครรภ์ โรงพยาบาลชุมชน
ครั้งแรก
2.อาการ/อาการแสดง ปวดท้องน้อยมากมา ปวดหน่วงท้องน้อยด้านซ้าย
อาการที่พบมากที่สุดคือ 30 นาที มา 1 สัปดาห์ร่วมกับมีเลือด
1. กดเจ็บบริเวณหน้าท้องน้อย (ร้อยละ อาการปวดร้าว(refer pain)ไปที่ ออกทางช่องคลอดกระปริด
80-95) มีrebound) ลักษณะการปวดจะรู้สึก หัวไหล่ด้านขวา กระปรอยเป็นมา 1 สัปดาห์
เหมือนถูกเข็มแทง(shape pain) หรือปวด กดเจ็บบริเวณหน้าท้องน้อยด้าน ตรวจหน้าท้องท้องน้อย
แบบบิดๆ (colicky pain) อย่างรุนแรงและ ขวา ลักษณะแข็งตึง ข้างซ้ายกดเจ็บปานกลาง
เฉียบพลัน อาจปวดข้างใดข้างหนึ่งหรือทั่วๆไป มีtenderness lower (mild tender)
ก็ได้อาการนี้จะน�ำมาก่อนการแตกของไข่ใน Quadrant and guarding
รายที่มีเลือดออกภายในช่องท้องอาจมีอาการ
ปวดร้าว (refer pain) ไปที่หัวไหล่หรือบริเวณ
คอในรายที่แตกแล้วจะมีอาการ rebound
tenderness
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
134 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

ตารางต่อ ตารางที่ 2 ข้อมูลเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ประเด็นเปรียบเทียบ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


2. ขาดประจ�ำเดือนและมีคลื่นไส้อาเจียน -ขาดประจ�ำเดือนประมาณ -ขาดประจ�ำเดือนประมาณ
2 เดือน 2 เดือน
3. มีเลือดออกกระปริดกระปรอยเป็นช่วงๆ (LMP 22 ก.ค. 62) (LMP 10เม.ย.62)
หรือออกเรื่อยๆพบได้ประมาณ 75%
4. อาการเป็นลมหรือช็อกพบได้ประมาณ มีอาการกระสับกระส่ายเหงื่อ -สัญญาณชีพแรกรับปกติ
33% ส่วนใหญ่เกิดภายหลังที่ท่อน�ำไข่แตก ออก ตัวเย็น ซีด (Hct=20%) อุณหภูมิช่วง 36.8-37.1 องศา
อาจมีภาวะ hypovolemic shock เป็นผลให้ มีภาวะhypovolemic shock เซลเซียส ชีพจรช่วง 80-90
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง ความดันโลหิตตก สัญญาณชีพแรกรับ ครั้ง/นาที หายใจช่วง 20-22
Pulse pressure แคบ ชีพจรเร็ว เหงื่อออก ความดันโลหิตต�่ำ ครั้ง/นาที ความดันโลหิตช่วง
ตัวเย็นซีด หน้ามืด เป็นลมกดเจ็บต�ำแหน่งปีก 84/58mmHg ชีพจรเบาเร็ว 100/62-112/74 mmHg.
มดลูก (ร้อยละ 48.8) และเจ็บขณะโยกปาก 120 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ Hct=30%)
มดลูก (ร้อยละ 48.8) ในกรณีที่มีเลือดออกใน 24 ครั้ง/นาที ไม่มีภาวะhypovolemic
ช่องท้องอาจพบมี orthostatic hypotension shock
Cui-de-sac โป่งและกดเจ็บในรายที่มีเลือด
ออกในช่องท้อง11,9,10
3. การวินิจฉัย Rupture Right Tubal Left Tubal pregnancy
pregnancy with hypovolemic
shock.Anemia due to
blood loss
1. ประวัติอาการและอาการแสดง ปวดท้องน้อยมากมา 30 นาที ปวดหน่วงท้องน้อยด้านซ้าย
อาการปวดร้าว(refer pain)ไปที่ มา1สัปดาห์ร่วมกับมีเลือดออก
หัวไหล่ด้านขวา ทางช่องคลอดกระปริดกระ
ปรอย 1สัปดาห์
2. การตรวจทางหน้าท้อง
2.1 ในรายที่ท่อน�ำไข่ยังไม่แตกอาจกดเจ็บ -กดเจ็บบริเวณหน้าท้องน้อย -ตรวจหน้าท้อง
บริเวณท้องน้อยโดยเฉพาะข้างที่มีการตั้งครรภ์ ด้านขวา ลักษณะแข็งตึง กดเจ็บท้องน้อยข้างซ้าย
นอกมดลูก(localized tenderness) มี tenderness lower ปานกลาง (mild tender)
2.2 รายที่ท่อน�ำไข่แตกแล้วมักมีอาการท้องอืด Quadrant and guarding
เคาะหน้าท้องได้เสียงทึบ(dullness)มีการเกร็ง
ของกล้ามเนื้อหน้าท้องเมื่อถูกกด รู้สึกเจ็บเมื่อ
ผู้ตรวจเอามือกดแรงๆ แล้วปล่อย 1,10
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 135

ตารางต่อ ตารางที่ 2 ข้อมูลเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ประเด็นเปรียบเทียบ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


3. การตรวจภายใน
3.1 อาการแสดงของการตั้งครรภ์เช่นปาก -ไม่ได้ตรวจภายใน -ตรวจภายในปากมดลูกเป็นสี
มดลูกเป็นสีคล�้ำ ปากมดลูกนุ่ม ตรวจอัลตร้าซาวด์ คล�้ำ นุ่มเจ็บเมื่อโยกปากมดลูก
3.2 เจ็บเมื่อโยกปากมดลูก (excitation pain) พบมี free fluid in cul-de-sac (excitation pain)
พบ ร้อยละ50 พบ hematoma at peritoneum
3.3 cul-de-sac โป่งและกดเจ็บโดยเฉพาะ -ตรวจการตั้งครรภ์ในปัสสาวะ -ตรวจการตั้งครรภ์ในปัสสาวะ
เลือดที่ออกทางช่องท้อง (urine pregnancy test)ได้ (urine pregnancy test)ได้
3.4 คล�ำได้กอ้ นนุม่ ๆ กดเจ็บด้านทีม่ พี ยาธิสภาพ ผลบวก ผลบวก
4. การตรวจการตั้งครรภ์ในปัสสาวะ ร้อยละ
90 ของการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ผลเป็นบวก
และ ควรได้รับการตรวจการตั้งครรภ์ทุกราย
เพื่อช่วยในการวินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
ได้อย่างรวดเร็ว
5. การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงอาจพบ -ตรวจอัลตร้าซาวด์ -ตรวจอัลตร้าซาวด์พบถุงการ
gestational sacโพรงมดลูกได้ตั้งแต่ 4 สัปดาห์ พบมี free fluid in ตัง้ ครรภ์มี free fluid in
หลังจากการขาดประจ�ำเดือน ถือว่าเป็นเครื่อง cul-de-sac cul-de-sacComplex mass at
มือส�ำคัญอย่างหนึ่งในการช่วยวินิจฉัยสามารถ พบhematoma at Lt. fallopian tube เส้นผ่าศูนย์
วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ ร้อยละ peritoneum ประมาณ 4 เซนติเมตร
82.91,8,10
6. การตรวจหาความเข้มข้นของเลือดพบค่า -ตรวจหาความเข้มข้นของเลือด -ตรวจหาความเข้มข้นของ
hematocrit และhemoglobin จะค่อยๆลดลง พบค่า Hct ลดลง เลือดพบค่า Hctไม่ลดลง
ตามสัดส่วนของปริมาณเลือดทีอ่ อกภายในช่องท้อง ก่อนส่งตัวมา 27% ถึงห้องตรวจ แรกรับHct=35%
7. การตรวจหาระดับ ß-hCGในเลือด (serum ฉุกเฉินเหลือHct=20% ขณะรับไว้รักษาHct=35%
ß-hCG)สามารถตรวจได้เร็วที่สุดภายหลัง
ปฏิสนธิ 5 วัน แต่การตรวจดังกล่าวไม่สามารถ
ตรวจได้ทั่วไปจึงไม่เป็นที่นิยมในกรณีฉุกเฉินซึ่ง
ในการตรวจ ß-hCGในครรภ์ปกติจะเพิ่มขึ้นเป็น
2 เท่าภายใน 48 ชัว่ โมง1,8,10 ดังนัน้ ควรติดตาม
ผลß-hCGเป็นระยะโดยวัด 2 ครัง้ ห่างกัน 48 ชัว่ โมง
8. culdocentesis ปัจจุบันไม่นิยมแล้ว1 ไม่ได้เจาะculdocentesis ไม่ได้เจาะculdocentesis
9. Laparoscopy พบว่าได้ผลแน่นอนที่สุด ไม่ได้ท�ำLaparoscopy ไม่ได้ท�ำLaparoscopy
มีโอกาสผิดพลาดได้เพียง 2-5%.1,8,10
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
136 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

ตารางต่อ ตารางที่ 2 ข้อมูลเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ประเด็นเปรียบเทียบ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


4. การรักษา 1.การรักษาด้วยการผ่าตัด 1.เฝ้าสังเกตอาการ
1.การเฝ้าสังเกตอาการ (observation)บางราย แบบฉุกเฉิน(Right Salpingec- (observation)หลังตรวจ
อาจฝ่อหายไปได้เอง เฝ้าสังเกตอาการดังนี้ tomy with lysis adhesion ) อัลตร้าซาวด์พบถุงการตั้ง
1.1 ระดับserum ß-hCG ลดต�่ำลงเรื่อยๆ ผ่าเข้าไปพบท่อน�ำไข่ข้างขวา ครรภ์
1.2 ไม่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ส่วนampulla part ฉีกขาด มี free fluid in cul-de-sac
1.3 ขนาดก้อนครรภ์นอกมดลูกไม่ มี hematoma at perito- Complex mass at Lt.
เกิน1เซนติเมตร neum ประมาณ 3,000 fallopian tubeเส้นผ่าศูนย์
1.4 ไม่มีอาการแสดงของท่อน�ำไข่แตก ccมีพังผืดบริเวณ uterus และ ประมาณ4x4เซนติเมตรท่อน�ำ
(Tubal Rupture) Cul de sacส่วนท่อน�ำไข่ข้างซ้ ไข่แตกยังไม่แตก
2. การรักษาด้วยยาเป็นการรักษาด้วยการฉีดยา ายมีพังผืดระหว่างรังไข่ติดล�ำไ ตรวจความเข้มข้นของเลือด
methotrexate เข้าไปท�ำลายก้อนการตั้งครรภ์ ส้ ได้ตัดท่อน�ำไข่ข้างขวาออก (Hct)ไม่ลดลง
ท�ำให้เสื่อมสลายไปหรือฝ่อไปเหลือท่อน�ำไข่ และ เลาะส่วนที่เป็นพังผืดออก แรกรับ Hct=35%
ที่มีสภาพปกติมากที่สุดได้ผลดีในอายุครรภ์ที่ จากกัน ขณะรับไว้รักษา Hct=35%
น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ก้อนยังไม่แตก ขนาดก้อน การผ่าตัด
ของการตั้งครรภ์ไม่เกิน 4 เซนติเมตรตรวจไม่ รอเตรียมพร้อมการผ่าตัดตาม
พบการเต้นของหัวใจทารก และระดับserum มาตรฐาน
ß-hCG15,000 mIU/ml น้อย1, 10 และได้รับการผ่าตัด
3. การรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่ Left. salpingo-0ophorec-
3.1Salpingostomyวิธีการผ่าตัดโดยการกรีดแ tomy with Right salpin-
ผลให้มีความยาวประมาณ 1-1.5cms.แล้วคีบ gectomy ตัดท่อน�ำไข่และ
เอาส่วนของการตั้งครรภ์ออก จากนั้นหยุดเลือด รังไข่ออกข้างซ้ายและตัดท่อ
โดยใช้ไฟฟ้าจี้และปล่อยให้มีการสมานแผลเอง น�ำไข่ข้างขวาออก
ไม่ต้องเย็บแผล เป็นการผ่าตัดแบบดั้งเดิมเพื่อ
เก็บอวัยวะส่วนที่มีการตั้งครรภ์นอกมดลูกไว้ใน
รายที่มีบุตรยาก ผู้ป่วยสามารถมีบุตรได้ในกรณี
ที่ไม่เสียเลือดมากและไม่มีภาวะช็อกขณะผ่าตัด
การผ่าตัดวิธีนี้เมื่อมีก้อนขนาดน้อยกว่า 2cms.
และฝังตัวใกล้กับส่วนปลายของท่อน�ำไข่
3.2 Salpingotomy เป็นการผ่าตัดที่ท�ำทุกขั้น
ตอนเช่นเดียวกับ Salpingostomy แต่เย็บปิด
แผลบริเวณท่อน�ำไข่
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 137

ตารางต่อ ตารางที่ 2 ข้อมูลเปรียบเทียบและการวิเคราะห์ หญิงตั้งครรภ์นอกมดลูก 2 ราย

ประเด็นเปรียบเทียบ กรณีศึกษารายที่ 1 กรณีศึกษารายที่ 2


3.3 Salpingectomy เป็นการผ่าตัดเอาท่อ -ยาปฏิชีวนะ คือ -ให้ ยาปฏิชีวนะ ก่อนผ่าตัด
น�ำไข่ ข้างที่มีพยาธิสภาพออกมักท�ำในราย Ceftriazone 2 mg iv OD Cefazoline1gms ก่อน
ที่ท่อน�ำไข่อยู่ในสภาพที่ถูกท�ำลายมากหรือ Methonidazole500 mg iv ผ่าตัด30นาที แบบAntibiotic
ควบคุมการเสียเลือดไม่ได้ ผู้ป่วยมีบุตรเพียง ทุก 8 hr.จนครบ24ชม. Prophylaxis หลังผ่าตัดไม่ได้
พอแล้วและ ให้ยาปฏิชีวนะ
ต้องการท�ำหมัน
3.4 Salpingo-oophorectomy การผ่าตัดที่
เอาท่อน�ำไข่ข้างที่มีการตั้งครรภ์ออกพร้อมท่อ
น�ำไข่ นิยมท�ำใน tube-ovarian pregnancy
ที่ไม่สามารถแยกรังไข่จากท่อน�ำไข่ได้ การให้
ยาปฏิชีวนะที่
เหมาะสมครอบคลุมและการผ่าตัดในกรณีที่มี
การแตกของท่อน�ำไข่ ซึ่งพื้นฐานที่ควรให้
คือยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อก่อโรคในช่อง
ท้อง1,10,12
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
138 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

ข้อวินจิ ฉัยทางการพยาบาล ได้จากการประเมินผูป้ ว่ ยเกีย่ วกับโรคทีเ่ กิดขึน้ โดยประเมินทางด้านร่างกาย จิตวิญญาณ และ


สังคม พบว่ามีปัญหาที่จะต้องดูแลจึงได้วางแผนการพยาบาลผู้ป่วยทั้ง 2 รายดังนี้

ตารางที่ 3 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล กิจกรรมการพยาบาล
1) มีภาวะช็อกจากการเสีย 1. ประเมินอาการช็อก ได้แก่ เหงื่อออก ตัวเย็น ระดับความรู้สึกตัวลดลง
เลือดในช่องท้อง เนื่องจากมี 2. งดน้ำ�และอาหารเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด
การแตกของท่อนำ�ไข่ 3. ให้สารน้ำ�และเลือดทางหลอดเลือดดำ�ตามแผนการรักษา
พบในกรณีศึกษารายที่1 4. ใส่สายสวนปัสสาวะ\ สังเกตสีและปริมาณของปัสสาวะซึ่งปัสสาวะควรออก
มากกว่า 30 cc/hr.
5. ประเมินระดับความปวดและภาวะซีด
6. เจาะเลือด เพื่อตรวจหาหมู่เลือด CBC electrolyte Hct, Hb.
7. ให้ออกซิเจน mask with bag 6 ลิตรต่อนาที
8. ประเมินค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ควรมีค่าไม่ต่ำ�กว่า 95 %
2) วิตกกังวลขาดความรู้ความ 1. สร้างสัมพันธภาพ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแสดงความรู้สึก
เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการ 2. ประเมินการรับรู้เกี่ยวกับโรคและสาเหตุของการเจ็บป่วย
ผ่าตัดพบในกรณีศึกษารายที่ 2 3. ให้ข้อมูลก่อนผ่าตัด และลงนามยินยอมโดยให้ญาติ มีส่วนร่วม
3) มีโอกาสเกิดภาวะ 1. ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยหากซึมลง ปลุกไม่ตื่นให้รายงานแพทย์ทันที
แทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัด 2. ประเมินสัญญาณชีพเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลงและให้การช่วยเหลือได้
จากการได้รับยาระงับความ อย่างเหมาะสมและทันท่วงที
รู้สึก 3. ประเมินภาวะการขาดออกซิเจน เช่นหายใจตืน้ เหนือ่ ยหอบ ปลายมือปลายเท้าเขียว
พบในกรณีศึกษารายที่1และ2 4. เมื่อผู้ป่วยตื่นดีกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ(deep breathing exercise)
และไอ อย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
5. กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายตามสภาพที่เหมาะสม
4) ปวดแผลระดับรุนแรง 1. ประเมินระดับความปวดของแผลผ่าตัด (level of pain score) และดูแลให้ยา
เนื่องจากมีการฉีกขาดของ ลดปวดตามแผนการรักษา
เนื้อเยื่อจากการผ่าตัดทาง 2. ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
หน้าท้องพบในกรณีศึกษา 3. จัดให้นอนท่าศีรษะสูงเล็กน้อย เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
รายที่ 1,2 4.กระตุ้นการหายใจแบบผ่อนคลาย (deep breathing exercise)
5. จัดสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 139

ตารางต่อ ตารางที่ 3 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล กิจกรรมการพยาบาล
5) เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก 1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงจนกว่าจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ
จากการเสียเลือดหลังผ่าตัดใน 2. ดูแลให้สารน้ำ�ทางหลอดเลือดดำ�ตามแผนการรักษา
ช่วง 24 ชั่วโมงแรก พบในกรณี 3. สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง และเฝ้าระวังภาวะช็อกจากการเสียเลือด
ศึกษารายที่ 1,2
6) เสี่ยงต่อการได้รับสาร 1. ดูแลให้สารน�้ำตามแผนการรักษา ประเมินความเพียงพอของสารน�้ำ
อาหารไม่เพียงพอต่อความ 2. จัดท่านอนศีรษะสูงเล็กน้อย (semi fowler, s position) เพื่อป้องกันการส�ำลัก
ต้องการของร่างกายเนื่องจาก 3. จัดสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
มีคลื่นไส้ อาเจียน พบในกรณี 4. รายงานแพทย์เพื่อให้ยาแก้อาเจียน สังเกตอาการหลังให้ยา
ศึกษารายที่ 1
7)มีโอกาสติดเชื้อที่แผลผ่าตัด1.ประเมินแผลผ่าตัด สังเกตอาการผิดปกติของแผล โดยการใช้หลัก
เนื่องจากผิวหนังถูกท�ำลายจาก REEDA(R=redness,แดง, E=edema,บวม ,Ecchymosis=ลักษณะช�้ำเลือด,
การผ่าตัด พบในกรณีศึกษา D=discharge,มีหนองไหลออกจากแผลหรือไม่,A=approximate,ลักษณะขอบ
รายที่ 1,2 แผลเสมอกันหรือไม่)
2.ประเมินบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อติดตามภาวะติดเชื้อ
3. แนะน�ำการปฏิบัติตัว การดูแลแผลผ่าตัด
4. ดูแลความสะอาดร่างกายและจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
8) ท้องอืดเนื่องจากการ 1. ประเมินการทำ�งานของลำ�ไส้โดยการฟัง Bowell sound ทั้ง 4 quadrants
เคลื่อนไหวร่างกายลดลง หลังผ่าตัด 24 ชั่วโมง
พบในกรณีศึกษารายที่1 2. สังเกตและประเมินท้องอืดหลังผ่าตัด เช่น แน่นท้อง ท้องแข็งตึง
3. อธิบายสาเหตุของภาวะท้องอืด
4. กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วตามสภาพที่เหมาะสม
5. Step diet เมื่อ Bowell sound positive
6. แนะนำ�เกี่ยวกับอาหารที่ย่อยง่ายและมีกากใยสูง
7. รายงานแพทย์หากอาการไม่ดีขึ้นเพื่อพิจารณาปรับแผนการรักษา
9) เศร้าโศกเนื่องจากการสูญ 1. สร้างสัมพันธภาพโดยการแนะนำ�ตัวเอง ยิ้มทักทาย สัมผัสแบบนุ่มนวล เพื่อให้
เสียตั้งครรภ์และตั้งครรภ์นอก เกิดความอบอุ่นใจ ไว้วางใจ และให้ความร่วมมือ
มดลูกพบในกรณีศึกษารายที่ 1 2.เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัยต่างๆ
3.อธิบายให้เข้าใจถึงพยาธิสภาพของการตั้งครรภ์นอกมดลูก
4. ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวให้การดูแลเอาใจใส่ และให้กำ�ลังใจ
5.ประเมินอารมณ์ พฤติกรรมการดูแลตนเองในการทำ�กิจวัตรประจำ�วัน
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
140 MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020

ตารางต่อ ตารางที่ 3 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล กิจกรรมการพยาบาล
10) ขาดความรู้ในการปฏิบัติ 1.D=Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรค สาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
ตัวเมื่อกลับบ้านโดยใช้หลัก 2. M = Medicine แนะน�ำการใช้ยาที่ได้รับอย่างละเอียด
D -M-E-T-H-O-D model 3. E=Environment คือช่วง 1-2 สัปดาห์แรกให้เดินไปมาระยะใกล้ๆ ค่อยๆ เพิ่ม
พบในกรณีศึกษารายที่ 1,2 ระยะทางขึ้นเรื่อยๆ ควรออกก�ำลังกายเบาๆไม่ท�ำงานหนัก เป็นต้น
4.T=Treatment คือการดูแลหลังแผล ตัดไหมในวันที่ 7 หลังการผ่าตัด
แล้วถ้าแผลไม่แยก สามารถอาบน�้ำแบบใช้ฝักบัวหรือใช้ขันตักอาบน�้ำ
4.2 อาการปวด ถ้าปวดแผลให้รับประทานยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
4.3 การดูแลช่องคลอด รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ควรท�ำความสะอาด
ทุกครั้งหลังอุจจาระ ปัสสาวะและซับให้แห้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อไม่เหน็บยาหรือ
สวนล้างช่องคลอด
4.4 งดการมีเพศสัมพันธ์ 6 สัปดาห์หลังผ่าตัดเพือ่ ป้องกันการบาดเจ็บและการติดเชื้อ
4.5 ภาวะเร่งด่วนที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนนัด เช่นไข้สูง ปวดท้อง และมีสิ่งคัดหลั่ง
ทางช่องคลอดมีกลิ่นเหม็น
- เลือดอกทางช่องคลอดมากผิดปกติใช้ผ้าอนามัยเกิน 3 – 4 ผืนต่อวัน
- แผลผ่าตัดแยก เปียกน�้ำ ปวดมาก มีเลือดหรือหนองซึม ขอบแผลบวมแดงให้รีบ
มาพบแพทย์ทันที
- ปัสสาวะไม่ออก และปัสสาวะบ่อยวันละหลายครั้ง
5. H Health การวางแผนครอบครัว การดูแลตนเองการบริหารร่างกายที่เหมาะ
สมและวิธีการผ่อนคลายความเครียด
6. O: Out patient การมาตรวจตามนัด จากสถานพยาบาลใกล้บ้านเช่นการตัด
ไหมและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
7. D=Diet แนะน�ำให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และมีกากใยสูงเพื่อป้องกัน
อาการท้องผูก
วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม) พ.ศ. 2563
MAHASARAKHAM HOSPITAL JOURNAL Vol. 17 No. 2 (May - August) 2020 141

สรุปและวิจารณ์ 8. Walker JJ. Best Practice & Research Clinical


จากกรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์นอกมดลูกทั้ง 2 ราย Obstetrics & Gynaecology,2017; 43 (1): 76-86.
ซึ่งในกรณีผู้ป่วยรายที่ 1 มีภาวะช็อกจากการแตกของท่อ 9. Stovall TG, Kellerman AL, Ling FW, Buster JE.
น�ำไข่และต้องการมีบุตรอยากตั้งครรภ์อีก ส่วนรายที่ 2 Emergency department diagnosis of ectopic
ประวัติเคยท�ำหมันจากนั้นเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกขึ้น pregnancy. Ann Emerg Med ,1990; 19: 1098-103.
ดังนั้นพยาบาลจ�ำเป็นต้องมีความรู้ ทักษะความช�ำนาญ 10. Stovall TG. Early pregnancy loss and ectopic
เป็นพิเศษ ในการประเมินอาการ การประสานงานในทีม pregnancy. In :Berek JS, Rinehart RD, Hilard
ให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและถูกต้อง รวดเร็วตาม PJ, eds. Novak’s gynecology. 13th ed. Novak’s
กระบวนการพยาบาลได้มาตรฐานตัง้ แต่แรกรับจนจ�ำหน่าย Philadelphia: Lippincott William &Wilkins;2002
: 507-42.
ข้อเสนอแนะน�ำผลที่ได้มาใช้เป็นแนวทาง 11. Tuomivaara L, Kauppila A, Puolakka J. Ectopic
1.ควรพัฒนาสมรรถนะพยาบาลในการดูแลหญิงตั้ง pregnancy an analysis of the etiology,
ครรภ์นอกมดลูกอย่างต่อเนื่อง diagnosis and treatment in 552 cases. Arch
2.พัฒนาคุณภาพทางการพยาบาลและพัฒนาแนว Gynecology ; 1986 : 135-47.
ปฏิ บัติทางการพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์น อก 12. Victon P Sepilian, Michel E Rivlin. Ectopic
มดลูก pregnancy. Retrieved January, 2011. From :
Http//emedicine. meds cap. com/ article/. 923
เอกสารอ้างอิง .
1. ธีระ ทองสม, จตุพล ศรีสมบูรณ์, อภิชาต โอฬารรัตนชัย.
นรีเวชวิทยาฉบับสอบบอร์ด. (พิมพ์ครัง้ ที3่ ) กรุงเทพฯ:
พีบี ฟอเรนบุ๊คเซนเตอร์, 2551.
2. นนั ทนาธนาโนวรรณ. ต�ำราพยาบาลนรีเวช (ฉบับองค์รวม).
กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นตี้ง, 2553.
3. บุญใจ ศรีสถิตยนรากูรณ์. ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางพยาบาลศาสตร์.
กรุงเทพฯ: ยู แอน ไอ อินเตอร์มีเดีย, 2550.
4. ปริญญา ราชกิจ. การตัง้ ครรภ์นอกมดลูกในโรงพยาบาล
ล�ำปลายมาศ. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ
-สุรินทร์-บุรีรัมย์, 2560 ; 32 (1): 33-42.
5. สุวิทย์ บุญยะชีวิน และ เยื้อนตันตินิรันทร์. เวชปฏิบัติ
ทางสูตนิ รีเวชวิทยา. พิมพ์ครัง้ ที5่ . กรุงเทพฯ: โอ เอส.
พริ้นติ้งเฮาร์, 2555.
6. สมศรี พิทักษ์กิจรณกร และคณะ. ตํารานรีเวชวิทยา.
นนทบุรี, บียอนด์เอ์นเตอร์ไพรซ์; 2551.
7. หอผูป้ ว่ ยนรีเวช .รายงานตัวชีว้ ดั ประจ�ำปี 2560-2562.
โรงพยาบาลมหาสารคาม (ส�ำเนาเอกสาร).

You might also like