You are on page 1of 5

้ ระบวนการประสานรายการยาร่วมก ับการให้คา

การใชก ํ แนะนําด้านยา
ในการดูแลผูป
้ ่ วยนอกโรคเบาหวาน
Use of Medication Reconciliation in Addition to Drug Use Counseling
for Diabetic Out-patients

นิพนธ์ตน
้ ฉบ ับ Original Article

นิตยา ภาพสมุทร, บุษรา วาจาจําเริญ, อาทิตยา ไทพาณิชย์*, อรรถยา Nittaya Papsamoot, Bussara Wajajamroen, Artitaya
เปล่งสงวน, จิราพร คําแก ้ว และ มยุร ี พงศ์เพชรดิถ Thaipanich*, Attaya Plangsanguan, Jiraporn Kumkaew and
Mayuree Pongpetdit
กลุม
่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรุงเทพมหานคร Department of Pharmacy, Nopparat Rajathanee hospital, Bangkok, Thailand
* ติดต่อผูน
้ พ
ิ นธ์: sunthai999@gmail.com * Corresponding author: sunthai999@gmail.com

วารสารไทยเภส ัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ 2555;7(2):73-77 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal 2012;7(2):73-77

บทค ัดย่อ Abstract


วัตถุประสงค์: ประเมินผลการนํ ากระบวนการประสานรายการยา (medication Objective: To evaluate medication reconciliation process with pharmacist
reconciliation) ร่ ว มกับ การให้คํา แนะนํ า โดยเภสัช กรมาใช้ก ับ ผู้ป่ว ยนอก counseling in diabetic patients in Nopparat Rajathanee hospital in 3
โรคเบาหวานโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โดยพิจารณาผลลัพธ์ 3 ด้าน คือ ด้าน aspects including economic, patient and clinical outcomes. Methods: In
เศรษฐศาสตร์ (economic outcome) ด้านผูป้ ่วย (patient outcome) และด้าน this descriptive and analytical prospective study, medication reconciliation
คลินิก (clinical outcome) วิ ธีการศึกษา: การวิจยั เชิงพรรณนาไปข้างหน้าโดยนํา was used to determine medication history, drug related problems, costs of
กระบวนการประสานรายการยามาค้นหาประวัตกิ ารใช้ยาของผูป้ ่วย ปญั หาด้านยา returned medications, as well as recommendation for problem resolution.
จํา นวนยาที่เ หลือ พร้อ มทัง้ เสนอแนะและหาแนวทางแก้ป ญ ั หาแก่ ผู้ป่ ว ย โดย Data were collected from 3 visits. Results: Of the 200 patient included,
บันทึกข้อมูลลงในแบบเก็บข้อมูล จากการพบแพทย์ 3 ครัง้ ผลการศึกษา: จาก most patients received medications solely from Nopparat Rajathanee
การศึกษาในผูป้ ว่ ย 200 ราย ส่วนใหญ่รบั ยาจากโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี การ hospital. Medication reconciliation helped reduce medication cost in all 3
นํากระบวนการประสานรายการยามาใช้ดแู ลผูป้ ว่ ย ช่วยประหยัดมูลค่าการใช้ยาได้ visits with a total saving of 151,963.60 baht. A total of 397 drug related
ในการติดตามทัง้ 3 ครัง้ โดยมีมูลค่าการประหยัดสูงสุดรวมมูลค่า 151,963.60 problems were found in 3 visited; 304, 47 and 46 in visits 1, 2 and 3
บาท พบปญั หาด้านยารวม 397 ปญั หา โดยในครัง้ ที่ 1 พบ 304 ปญั หา และลดลง respectively. This reduction was statistically significant (P < 0.001). FBS
เป็ น 47 และ 46 ปญั หาในครัง้ ที่ 2 และ 3 ตามลําดับ โดยลดลงอย่างมีนัยสําคัญ levels decreased significantly (from 175.00 ± 76.58 mg/dl in visit 1, to
ทางสถิติ (P < 0.001) ด้านคลินิก พบว่าค่า FBS มีค่า 175.00  76.58 มก./ดล. 164.21 ± 62.15 and 143.02 ± 44.68 mg/dl in visits 2 and 3 respectively, P =
(ครัง้ ที่ 1) และลดลงเป็ น 164.21  62.15 และ 143.02  44.68 มก./ดล. (ครัง้ ที่ 2 0.006). HbA1C levels also decreased from 8.82 ± 0.62% in visit 1 to 7.32 ±
และ 3 ตามลําดับ) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ (P = 0.006) และค่าเฉลีย่ HbA1C 0.75 and 7.30 ± 0.71%, in visits 2 and 3 respectively. A decrease from visit
จาก 8.82  0.62% (ครัง้ ที่ 1) ลดลงเป็ น 7.32  0.75 และ 7.30  0.71 (ครัง้ ที่ 2 1 to 3 was statistically significant (P = 0.001). Conclusion: Medication
และ 3 ตามลําดัย) ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบค่า HbA1C ในครัง้ ที่ 1 และ 3 พบว่าลดลง reconciliation in addition to pharmacy counseling results in a decrease in
อย่างมีนยั สําคัญ (P = 0.001) สรุป: การนํากระบวนการประสานรายการยา มาใช้ drug related problem, cost saving and improved clinical outcomes in
ร่วมกับการให้คาํ แนะนําโดยเภสัชกรในการดูแลผูป้ ่วยนอกโรคเบาหวานมีผลทําให้ diabetic patients.
ปญั หาของการใช้ยาลดลง ประหยัดค่ายาให้กบั ผูป้ ่วยและโรงพยาบาล และผูป้ ่วย Keywords: medication reconciliation, diabetes mellitus, out-patient, fasting
เบาหวานมีผลทางคลินิกดีขน้ึ
blood sugar, HbA1C
คําสําคัญ: การประสานรายการยา, เบาหวาน, ผูป้ ่วยนอก, ระดับนํ้าตาลในเลือด
หลังอดอาหาร, ฮีโมโกลบินเอวันซี

บทนํา
เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยาเกิดขึน้ ได้ทุกจุดของการ แผนกผูป้ ่วยนอก ผูป้ ่วยอาจได้รบั ยาจากหลายแหล่ง เช่น ยาจาก
ให้บริการในโรงพยาบาล จากการทบทวนเวชระเบียบพบว่า กว่า การตรวจหลายแผนก หรือยาทีซ่ อ้ื มาใช้เอง
ครึ่ง ของการเกิด เหตุ ก ารณ์ ไ ม่ พ ึง ประสงค์จ ากยานั น้ เกิด ขึ้น ที่ การประสานรายการยา (Medication reconciliation) หมายถึง
รอยต่อของการให้บริการ1 ประมาณร้อยละ 20 มีสาเหตุจากการ กระบวนการเปรียบเทียบและประสานรายการยาระหว่างรายการ
สือ่ สารหรือการส่งต่อข้อมูลทีไ่ ม่ครบถ้วนหรือคลาดเคลื่อน ซึง่ การ ยาที่ผูป้ ่วยรับประทานอยู่อย่างต่อเนื่องก่อนการเข้ามารับบริการ
ส่งต่อข้อมูลเรื่องยาทีผ่ ูป้ ่วยใช้อยู่ ยาที่แพทย์ปรับชนิดหรือขนาด รัก ษาในโรงพยาบาลกับ รายการยาที่ผู้ป่ ว ยได้ ร ับ เมื่อ แรกรับ
หรือความถี่ หรือปญั หาในการใช้ยาของผูป้ ว่ ย เหล่านี้ลว้ นส่งผลต่อ รวมทัง้ เมื่อผู้ป่วยย้ายแผนก ย้ายหอผู้ป่วย หรือเมื่อถูกจําหน่ าย
ผลการรักษาในสถานพยาบาล การย้ายหอผู้ป่วย การจําหน่ าย กลับบ้าน โดย Joint Commission on Accreditation of
ผู้ป่วยหรือการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานบริการใกล้บ้าน แม้แต่ใน Healthcare Organizations (JCAHO) และ Institute for

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 2, เมย. – มิย. 2555 73 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 2, Apr. – Jun. 2012
Healthcare Improvement (IHI) พบว่าความผิดพลาดลักษณะ 5) แบบเก็บข้อมูลซึง่ ประกอบด้วย ข้อมูลทัวไป
่ เช่น เพศ อายุ
เหตุการณ์ทต่ี อ้ งทบทวน (sentinel events) เกีย่ วกับยามีสาเหตุมา โรคประจําตัว โรคร่วม ทีม่ าของข้อมูลยา ข้อมูลด้านการเจ็บป่วย
จากการปญั หาการสือ่ สาร แม้จะไม่ใช่สาเหตุโดยตรงทัง้ หมดแต่กม็ ี และการใช้ยา
ส่วนเกีย่ วข้อง และกว่าครึง่ หนึ่งสามารถหลีกเลีย่ งหากมีระบบการ 6) กระเป๋าผ้าสําหรับใส่ยาของผูป้ ว่ ย
ประสานรายการยาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ2 สอดคล้องกับการศึกษาของ งานวิจยั นี้ผา่ นการรับรองของคณะกรรมการวิจยั และจริยธรรม
Bates และคณะ3 ทีพ่ บว่าร้อยละ 28 ของเหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์ วิจยั โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี (เลขทีอ่ นุ มต้ ิ 9/2553 วันที่ 20
จากยาทีเ่ กิดขึน้ สามารถป้องกันได้ JCAHO จึงประกาศให้ การ เมษายน 2553) และผูป้ ว่ ยเบาหวานได้รบั คําอธิบายและยินยอมลง
ประสานรายการยา เป็ น National Patient Safety Goal ข้อ 8 (8A นามเข้าร่วมโครงการ
& 8B) โดยมีเป้าหมายเพือ่ ลดความคลาดเคลื่อนทางยาทีเ่ กิดขึน้
ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2005 เป็ นต้นมา สําหรับประเทศไทย สถาบันพัฒนา
และรับ รองคุณ ภาพโรงพยาบาล (พรพ.) ก็ต ระหนั ก ถึง ป ญ ั หา 2) ขัน้ การดําเนิ นงาน
ดังกล่าว จึงได้กําหนดเรือ่ ง การประสานรายการยาไว้ในมาตรฐาน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ คือผูป้ ่วยนอกโรคเบาหวานโดย
ใหม่ในส่วนของระบบยา ศึกษาในผูป้ ่วยที่มารับการรักษา ณ แผนกผูป้ ่วยนอกอายุรกรรม
กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีมเี ป้าหมาย ช่วงวันที่ 1 มกราคม 2553 ถึง 30 มิถุนายน 2553 สุ่มตามสะดวก
การบริการผูป้ ่วยด้านยาอย่างมีคุณภาพและปลอดภัย ได้เล็งเห็น จํานวน 200 คน โดยมีเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้า (Inclusion
ความสําคัญของกระบวนการดังกล่าว จึงนํ ากระบวนการประสาน criteria) คือผูป้ ่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ทีเ่ ข้ารับการรักษาใน
รายการยามาใช้ในการดูแลผูป้ ่วยนอก เพือ่ หาข้อมูลยาทีผ่ ปู้ ่วยใช้ แผนกผูป้ ว่ ยนอกอายุรกรรมในช่วงเวลา 8.00 - 12.00 น. ส่วน
อยู่ใ ห้ส มบูร ณ์ ท่ีสุด เท่ าที่จ ะเป็ น ไปได้แ ละสื่อ สารกัน ระหว่า งผู้ท่ี เกณฑ์ในการคัดออก (Exclusion criteria) คือ ผูป้ ว่ ยตัง้ ครรภ์
เกีย่ วข้อง เพือ่ ช่วยให้กระบวนการดูแลรักษาผูป้ ่วยมีประสิทธิภาพ (จัดเข้าสูค่ ลินิก GDM)
ปลอดภัย และประหยัด ยิ่ง ขึ้น โดยการศึก ษานี้ ม ีว ัต ถุ ป ระสงค์
จําเพาะ คือ เพือ่ ประเมินผลการนํากระบวนการประสานรายการยา ขัน้ ตอนดําเนิ นการ ผูว้ จิ ยั ติดตามผูป้ ว่ ย 3 ครัง้ คือครัง้ ที่ 1,
ร่ ว มกั บ การให้ คํ า แนะนํ าโดยเภสั ช กรมาใช้ ก ั บ ผู้ ป่ ว ยนอก 2 และ 3 ตามแพทย์นดั ดังรายละเอียดต่อไปนี้
โรคเบาหวาน ในผลลัพธ์ทงั ้ ด้านผูป้ ่วย (Patient outcome) โดย ครัง้ ที่ 1
ประเมินจํานวนความคลาดเคลื่อนทางยาและปญั หาด้านยา ด้าน
ก่อนพบแพทย์
เศรษฐศาสตร์ (Economic outcome) โดยประเมินมูลค่ายาที่
เมื่อ ผู้ป่ ว ยมาพบแพทย์ ผู้ว ิจ ัย สืบ ค้น รวบรวมข้อ มู ล ผู้ป่ ว ย
ประหยัดได้ และด้านคลินิก (Clinical outcome) โดยประเมินผล
ได้แก่ ข้อมูลทัวไป ่ ข้อมูลการเจ็บปว่ ย ประวัตกิ ารใช้ยาครัง้ สุดท้าย
การควบคุมนํ้าตาลในเลือด
ทัง้ ชนิด วิธรี บั ประทานยา จํานวนยาทีเ่ หลือโดยให้ผูป้ ่วยร่วมนับ
เม็ดยาทีเ่ หลือ โดยการสัมภาษณ์และการคัดจากเวชระเบียนผูป้ ว่ ย
วิธก ึ ษา
ี ารศก นอก ประกอบกับข้อมูลการสังใช้ ่ ยาจากฐานข้อมูลอิเลกโทรนิกส์
งานวิจยั นี้เป็ นงานวิจยั เชิงพรรณนาและเชิงวิเคราะห์ แบบเก็บ จากนัน้ ค้นหาปญั หาด้านยา (Drug related problem; DRP) พร้อม
ข้อมูลไปข้างหน้า (Prospective descriptive and analytic study) เสนอแนะแนวทางแก้ปญั หาให้ผปู้ ่วยในกรณีทป่ี ญั หานัน้ สามารถ
โดยมีขนั ้ ตอนการดําเนินงานดังนี้ แก้ไขได้โดยผูว้ จิ ยั (เภสัชกร) ในกรณีท่จี ําเป็ นต้องปรึกษาแพทย์
1) การเตรียมการ ทําการศึกษาค้นคว้าหนังสือ เอกสาร ตํารา ผูว้ จิ ยั เขียนบันทึกขอปรึกษาแพทย์ลงในแบบ MMRF ครัง้ ที่ 1 และ
รวมทัง้ งานวิจยั ต่าง ๆ เกี่ยวกับการประสานรายการยา นํ ามา แนบ MMRFพร้อมเวชระเบียนผูป้ ่วยนอกให้แพทย์เมือ่ ผูป้ ่วยเข้า
กํ า หนดเป็ น ขัน้ ตอนการปฏิบ ตั ิง านการประสานรายการยาของ พบแพทย์
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี พร้อมทัง้ จัดเตรียมเครื่องมือ วัสดุ หลังพบแพทย์
อุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ หลั ง พบแพทย์ ผู้ ป่ ว ยพบเภสั ช กรผู้ ว ิ จ ั ย อี ก ครั ง้ เพื่ อ 1)
1) ชุดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สาํ หรับค้นหาและบันทึกประวัตกิ าร ตรวจสอบผลการปรึกษาแพทย์ว่าการแก้ไขบันทึกลงใน MMRF
ใช้ยา ช่องครัง้ ที่ 1 หรือไม่ จากนัน้ ทําสําเนาใบ MMRF ให้แก่ผปู้ ว่ ยและ
2) แบบบันทึกข้อมูลผูป้ ว่ ย Multi-visit medication reconcil- แจ้ ง ให้ ผู้ ป่ ว ยนํ า ยาที่เ หลือ ใส่ ก ระเป๋ าผ้ า พร้ อ มสํ า เนา MMRF
iation form (MMRF) กลับมาด้วยในครัง้ ต่อไป หลังจากนัน้ ให้ผู้ป่วยรับยากลับบ้านที่
3) เวชระเบียนผูป้ ว่ ยนอก ห้องจ่ายยา 2) ตรวจสอบชนิดและวิธรี บั ประทานยาเปรียบเทียบ
4) แผนผังขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน กับยาที่เคยได้รบั หากมีการเปลี่ยนแปลงผู้วจิ ยั อธิบายให้ผู้ป่วย
ทราบ และ 3) ตรวจสอบจํานวนยาทีแ่ พทย์สงกั ั ่ บจํานวนยาทีเ่ หลือ

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 2, เมย. – มิย. 2555 74 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 2, Apr. – Jun. 2012
คํานวณจํานวนยาให้ตรงตามวันนัด ผูว้ จิ ยั หักลบยาทีเ่ หลือในใบสัง่ ผลการศก ึ ษาและอภิปรายผลการศก ึ ษา
ยาและบันทึกลงใน MMRF (นําจํานวนยาทีเ่ หลือคํานวณมูลค่าการ จากผูป้ ว่ ยนอกโรคเบาหวานทัง้ สิน้ 200 ราย อายุเฉลีย่ 62.3
ประหยัดยา)
ปี ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง (148 ราย, ร้อยละ 74) ส่วนใหญ่รบั
ครัง้ ที่ 2 และ 3 ยาที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีท่เี ดียว (182 ราย, ร้อยละ

เมื่อ ผู้ป ว ยมาพบแพทย์ ค รัง้ ที่ 2 และ 3 ผู้ว ิจ ัย ดํ า เนิ น การ 91.0) และเกือบทุกรายมีโรคร่วม (197 ราย, ร้อยละ 98.5)
เหมือนครัง้ ที่ 1 โดยตรวจสอบสําเนาใบ MMRFและจํานวนยาที่ (ตารางที่ 1)
เหลือและติดตามประเมิน DRP พิจารณาว่าแพทย์สงแก้
ั ่ ไขตามคํา
ขอปรึกษาหรือไม่ แล้วบันทึกการแก้ไขลงใน MMRF ช่องครัง้ ที่ 2
ป้ ว่ ยนอกโรคเบาหวาน (N = 200)
ตารางที่ 1 ข้อมูลทัวไปของผู

และ 3 ตามลําดับ
จํานวน (ร้อยละ)
เพศ: ชาย 52 (26.0)
การประเมิ นผลลัพธ์ หญิง 148 (74.0)
ในการประเมินปญั หาด้านยา จําแนกประเภทปญั หาด้านยา อายุ (ค่าเฉลีย่  ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน) 62.3 ± 11.9
ดังนี้ ผูป้ ว่ ยไม่ได้รบั ยาทีค่ วรได้รบั ได้รบั ยาทีไ่ ม่ควรได้รบั ได้รบั ยา โรคร่วม
ไม่มโี รคร่วม 3 (1.5)
ซํ้าซ้อน ได้รบั ยาขนาดไม่เหมาะสม ได้รบั ยาไม่ครบตามจํานวนนัด มีโรคร่วม* 197 (98.5)
ได้รบั ยาทีม่ ขี อ้ ห้าม ไม่ใช้ยาตามสัง่ ได้รบั ยาผิดขนาด รับประทาน 174
ความดันโลหิตสูง
139
ยาผิดวิธ ี ใช้ยาผิดเวลา เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ได้รบั ยาที่ ไขมันในเลือดสูง
68
โรคอื่นๆ
อันตรกริยาระหว่างกัน และอืน่ ๆ เช่น ความคลาดเคลือ่ นทางยา แหล่งรับยา
สําหรับผลลัพธ์ด้านเศรษฐศาสตร์ ประเมิน โดยการคํานวณ รพ.นพรัตนราชธานี 182 (91.0)
มูลค่ายาจากยาทีผ่ ปู้ ่วยเหลืออยู่และแพทย์สงให้ ั ่ ใช้ต่อ โดยไม่ตอ้ ง รพ.นพรัตนราชธานี และทีอ่ ่นื 18 (9.0)

จ่ า ยยาเพิ่ม ให้ ผู้ป่ ว ย ราคาที่นํ า มาคํ า นวณเป็ น ราคาขายของ * ผูป้ ว่ ยมากกว่า 1 รายมีโรคร่วมหลายโรค

โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี มูลค่าที่ได้เป็ นมูลค่ารวมของผูป้ ่วย


ทัง้ หมดทีม่ ารับการติดตาม ไม่ใช่มลู ค่าต่อราย มูลค่ายาที่ประหยัดได้
ด้านผลลัพธ์ทางคลินิก พิจารณาจากระดับนํ้ าตาลในเลือดหลัง
จากการนํ ากระบวนการประสานรายการยามาใช้ในการ
อดอาหาร (fasting blood sugar; FBS) ทีก่ ารพบแพทย์ครัง้ ที่ 1, 2
ดูแลผูป้ ว่ ย 200 ราย พบว่าสามารถประหยัดยาได้รวมเป็ น
และ 3 และฮีโมโกลบินเอวันซี (HbA1C) ก่ อนเข้ากระบวนการ
ประสานรายการยา (พบแพทย์ครัง้ ที่ 1) กับหลังผ่านกระบวนการ
มูลค่า 151,963.60 บาท รายละเอียดมูลค่ายาทีป่ ระหยัดได้ใน
(พบแพทย์ครัง้ ที่ 3) แต่ละครัง้ แสดงดังตารางที่ 2 ซึ่งพบว่าสามารถประหยัดยา
ได้มากทีส่ ดุ ในครัง้ ที่ 1 เป็ นมูลค่า 126,721.709 บาท
การวิ เคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลทัวไปของกลุ
่ ่มตัวอย่างด้วยความถี่ ตารางที่ 2 มูลค่าการประหยัดยาในแต่ละครัง้ และมูลค่าประหยัดยา
และร้อยละ คํานวณมูลค่ายาจากยาทีผ่ ปู้ ่วยเหลืออยู่และแพทย์สงั ่ รวมตลอดเวลาทีศ่ กึ ษา
ให้ ใ ช้ ต่ อ โดยไม่ ต้ อ งจ่ า ยยาเพิ่ม ให้ ผู้ ป่ ว ย โดยนํ า ข้ อ มู ล การ มูลค่าการประหยัดยา มูลค่าการประหยัดยา
เฉลีย่ ต่อราย (บาท) (บาท)
ประหยัดยาทัง้ หมดของผูป้ ่วยทุกราย ทุกครัง้ รวมกันเป็ นจํานวน
ครัง้ ที่ 1 (N = 200) 633.61 126,721.70
บาท รายงานประเภทและความถีข่ องปญั หาด้านยาทีพ่ บ จํานวน ครัง้ ที่ 2 (N = 89) 205.37 18,278.90
ปญั หาที่ได้รบั การแก้ไขเทียบกับจํานวนปญั หาที่พบเป็ นความถี่ ครัง้ ที่ 3 (N = 67) 103.93 6,963.00
และร้อยละ เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของปญั หาทีพ่ บในครัง้ ที่ 1, 2 รวมมูลค่าทัง้ หมด 151,963.60
และ 3 โดยใช้ non-parametric test (Friedman test) สําหรับ
ผลลัพธ์ FBS เปรียบเทียบจากครัง้ ที่ 1, 2, 3 โดยสถิติ repeated ปัญหาด้านยาและความคลาดเคลื่อนทางยา
measure ANOVA และเปรียบเทียบ HbA1C ก่อนเข้ากระบวนการ จากผูป้ ว่ ยทีค่ ดั เข้าโครงการในครัง้ ที่ 1 จํานวน 200 ราย พบ
ประสานรายการยา (พบแพทย์ครัง้ ที่ 1) กับหลังผ่านกระบวนการ ผูป้ ่วยมีปญั หาด้านยา 304 ครัง้ ปญั หาทีพ่ บมากทีส่ ุดเป็ นปญั หา
(พบแพทย์ครัง้ ที่ 3) โดยสถิติ Paired-t-test การวิเคราะห์ทางสถิติ อืน่ ๆ (เช่น ปญั หาความคลาดเคลือ่ นทางยา และผูป้ ว่ ยขาดความรู้
ทัง้ หมดใช้โปรแกรม SPSS version 16 กําหนดระดับนัยสําคัญ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบตั ติ วั ทีถ่ ูกต้องรวมทัง้ สิ้น 83
ทางสถิตทิ ่ี 0.05 ครัง้ ) ส่ว นป ญั หาผู้ป่วยไม่ใ ช้ย าตามแพทย์ส งพบ ั่ 71 ครัง้
นอกจากนี้ พบป ญ ั หาผู้ ป่ ว ยรับ ประทานยาผิด เวลา 39 ครัง้

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 2, เมย. – มิย. 2555 75 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 2, Apr. – Jun. 2012
รับประทานยาผิดขนาด 33 ครัง้ เกิดอาการข้างเคียงจากการใช้ยา และปรับเปลี่ยนต่อปญั หาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย ทําให้ปญั หาเหล่านี้
30 ครัง้ (ตารางที่ 3) ลดลงอย่างมาก
ผูป้ ว่ ยทีส่ ามารถติดตามได้ในครัง้ ที่ 2 จํานวน 89 ราย พบว่ามี ผูป้ ่วยทีส่ ามารถติดตามได้ครบ 3 ครัง้ มีจํานวน 65 ราย มี
ปญั หาด้านยา 47 ครัง้ โดยปญั หาด้านยาทีพ่ บมากทีส่ ุดยังคงเป็ น ค่ า เฉลี่ ย ของจํ า นวนป ญ ั หาด้ า นยา (รวมถึ ง ป ญ
ั หาความ
ปญั หาอื่น ๆ (เช่น ปญั หาความคลาดเคลื่อนทางยา ผู้ป่วยขาด คลาดเคลือ่ นทางยา) ครัง้ ที่ 1, 2 และ 3 เท่ากับ 1.49 ± 1.00, 0.48
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบตั ติ วั ที่ถูกต้องทัง้ สิ้น ± 0.66 และ 0.68 ± 0.89 ปญั หา ตามลําดับ โดยค่าเฉลีย่ ของ
จํานวน 12 ครัง้ ) รองลงมายังคงเป็ นปญั หาไม่ใช้ยาตามสัง่ 8 ครัง้ จํานวนปญั หาลดลงอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ (P < 0.001)
และปญั หาผูป้ ว่ ยรับประทานยาผิดขนาด 6 ครัง้ (ตารางที่ 3)
ในการติดตามครัง้ ที่ 3 มีผปู้ ่วยเพียง 67 ราย พบว่ามีปญั หา ข้อมูลด้านคลิ นิก (ผลการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด)
ด้านยา 46 ครัง้ โดยปญั หาทีพ่ บมากทีส่ ุด คือ ปญั หาอื่นๆ จํานวน ในการติดตามผลทางคลินิกโดยพิจารณาจากค่า FBS, HbA1C
15 ครัง้ ผู้ป่วยไม่ใ ช้ย าตามสัง่ 8 ครัง้ ได้รบั ยาผิดขนาด 6 ครัง้ ครัง้ ที่ 1, 2 และ 3 ในผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้รบั การตรวจ FBS จํานวน 188,
(ตารางที่ 3) 84 และ 60 ราย ทีไ่ ด้รบั การตรวจ HbA1C จํานวน 92, 31 และ 13
ราย ตามลําดับ โดยแสดงผลทางคลินิกดังตารางที่ 4
ตารางที่ 3 รายละเอียดปญั หาด้านยาของผูป้ ว่ ยทีเ่ กิดขึน้
จํานวนครัง้ ตารางที่ 4 ค่าเฉลีย่ FBS และ HbA1C ในการติดตามผูป้ ว่ ย 3 ครัง้
ปัญหาด้านยา ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3
ค่าทาง
(N = 200) (N = 89) (N = 67) ครัง้ N ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย่
คลินิก
ผูป้ ว่ ยไม่ได้รบั ยาทีค่ วรได้รบั 13 5 1
ครัง้ ที่ 1 FBS 188 54 436 174.38 ± 75.46
ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาทีไ่ ม่ควรได้รบั 8 1 3 HbA1C 92 6 14 8.90 ± 1.79
(N = 200)
ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาซํ้าซ้อน 6 1 0
ครัง้ ที่ 2 FBS 84 86 331 158.30 ± 56.52
ผูป้ ว่ ยได้รบั ขนาดยาไม่เหมาะสม 0 0 0 HbA1C 31 6 12 9.12 ± 1.74
(N = 89)
ผูป้ ว่ ยได้รบั จํานวนไม่ครบตามนัด 15 3 4
ครัง้ ที่ 3 FBS 60 70 232 139.63 ± 43.48
ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาทีม่ ขี อ้ ห้าม 0 1 0 HbA1C 13 6 11 8.02 ± 1.38
(N = 67)
ผูป้ ว่ ยไม่ใช้ยาตามสัง่ 71 8 8
ผูป้ ว่ ยได้รบั ประทานยาผิดขนาด 33 6 6
ผูป้ ว่ ยรับประทานยาผิดวิธี 6 1 1 จากข้อมูลในตารางที่ 4 พบว่า ในครัง้ ที่ 1 ซึ่งได้เริม่ นํ าการ
ผูป้ ว่ ยใช้ยาผิดเวลา 39 5 0
ผูป้ ว่ ยเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา 30 4 7
ประสานรายการยามาใช้ พบว่าค่าระดับนํ้ าตาลในเลือด (FBS) ใน
ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาทีม่ อี นั ตรกริยาระหว่างกัน 0 0 1 ผูป้ ่วยจํานวนหนึ่งทีม่ ี FBS อยู่ในเกณฑ์ทไ่ี ม่เหมาะสม คือ มีทงั ้
อื่น ๆ 83 12 15 ผูป้ ว่ ยทีม่ รี ะดับนํ้ าตาลสูงมาก (FBS = 436 mg/dl) และตํ่ามาก
รวม 304 47 46 (FBS = 54 mg/dl) ทําให้ผปู้ ่วยเสีย่ งต่อการเกิดภาวะนํ้ าตาลสูง
และตํ่าเกินไปได้ หลังจากทีน่ ํ ากระบวนการประสานรายการยามา
จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าปญั หาที่พบในผู้ป่วยเบาหวานเป็ น ใช้ ในครัง้ ที่ 2 ระดับนํ้ าตาลทีส่ งู สุดมีคา่ ลดลง (FBS = 331 mg/dl)
ปญั หาทีส่ ามารถป้องกันได้ เช่น การให้ความรูผ้ ปู้ ว่ ย ให้คาํ แนะนํ า และไม่มผี ปู้ ว่ ยอยู่ในภาวะนํ้ าตาลทีต่ ่าํ เกินไป (FBS = 86 mg/dl)
เพื่อ การปฏิบ ัติต ัว ที่ถู ก ต้อ ง และให้ผู้ป่ ว ยสามารถแก้ ป ญ
ั หาที่
และในครัง้ ที่ 3 ระดับนํ้ าตาลทีส่ งู สุดลง (FBS = 232 mg/dl) และ
เกิดขึน้ ในผูป้ ว่ ยเฉพาะราย ปญั หาทีพ่ บส่วนใหญ่เป็ นปญั หาความ ตํ่าสุด (FBS = 70 mg/dl) เมือ่ เปรียบเทียบผูป้ ว่ ยทีม่ ี FBS ครบ 3
ร่ ว มมือ ในการใช้ย า รับ ประทานยาผิด ขนาด ผิด วิธ ี ทัง้ นี้ อาจ ครัง้ จํานวน 52 ราย พบว่าค่าเฉลีย่ FBS ลดลงอย่างมีนัยสําคัญ
เนื่องจากยาเบาหวานต้องรับประทานให้เหมาะสมกับเวลาและมือ้ ทางสถิติ (ครัง้ ที่ 1; 175.00 ± 76.58, ครัง้ ที่ 2; 164.21 ± 62.15
อาหารของผู้ป่วย และเนื่ องจากแพทย์ได้ป รับยาทัง้ เพิม่ และลด และครัง้ ที่ 3; 143.02 ± 44.68, P = 0.006, repeated measure
ชนิดและขนาดยา เปลีย่ นวิธรี บั ประทานยา อาจทําให้ผปู้ ว่ ยจํานวน ANOVA) แสดงให้เห็น ว่ากระบวนการประสานรายการยา
หนึ่งไม่สามารถปรับเวลารับประทานยาให้เหมาะสมกับชนิดยาและ สามารถช่ ว ยให้ผู้ป่ ว ยเบาหวานมีร ะดับ นํ้ า ตาลอยู่ ใ นเกณฑ์ ท่ี
กิจวัตรประจําวันของผู้ป่วยได้ และในบางรายไม่อ่านฉลากยาที่ เหมาะสมมากขึ้น อย่ า งมากซึ่ง อาจเป็ น ผลจากการได้ ร ับ ยาที่
แพทย์ปรับยาให้ใหม่ทําให้รบั ประทานยาขนาดเดิมตามความเคย เหมาะสม และใช้ยาได้ตามคําแนะนํ ามากขึน้ สอดคล้องกับการที่
ชิน ทําให้ผปู้ ่วยได้รบั ยาทีไ่ ม่เหมาะสม ซึง่ อาจก่อให้เกิดอาการไม่ ผูป้ ว่ ยมีปญั หาด้านยาลดลง
พึง ประสงค์ จ ากการใช้ ย าไม่ ถู ก วิธ ีห รือ ไม่ ถู ก เวลาได้ การนํ า สําหรับค่าเฉลีย่ นํ้ าตาลสะสมฮีโมโกลบินเอวันซี (HbA1C) ใน
กระบวนการประสานรายการยามาใช้ในการดูแลผูป้ ่วย และเภสัช ครัง้ ที่ 1 มีคา่ เฉลีย่ 8.90 ± 1.79 (6 - 14) ครัง้ ที่ 2 มีคา่ เฉลีย่ 9.12
กรได้ แ จ้ ง แพทย์ ท ราบรายการยา วิธ ีร ับ ประทานยาที่ผู้ ป่ ว ย ± 1.74 (6 - 12) และครัง้ ที่ 3 มีค่าเฉลีย่ 8.02 ± 1.38 (6 - 11)
รับประทานอยู่ปจั จุบนั ทีส่ ุด รวมถึงการทีเ่ ภสัชกรได้แนะนํ า แก้ไข แสดงให้เห็นว่า การประสานรายการยาร่วมกับคําแนะนํ าโดยเภสัช

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 2, เมย. – มิย. 2555 76 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 2, Apr. – Jun. 2012
กรสามารถทําให้ระดับนํ้ าตาล HbA1C ของผูป้ ว่ ยเบาหวานส่วน ที่ ม ี ค วามจํ า เป็ นต้ อ งใช้ ย าอย่ า งต่ อ เนื่ อง และมาติ ด ตาม
ใหญ่ลดลง โดยผูป้ ว่ ยทีม่ คี า่ HbA1C สูงมากมีจาํ นวนลดลง เมือ่ นํ า ผลการรัก ษาในระยะยาว น่ า จะช่ว ยลดปญั หาด้านยา ประหยัด
ค่า HbA1C ในครัง้ ที่ 1 และ 3 ของผูป้ ว่ ย 19 รายทีม่ คี า่ HbA1C มูลค่ายา และปรับปรุงผลลัพธ์ทางคลินิกของผูป้ ว่ ยได้
ครบทัง้ สองครัง้ มาเปรียบเทียบกันทางสถิติ โดยค่าเฉลี่ยครัง้ ที่ 1
เท่ากับ 8.73 ± 0.83 และครัง้ ที่ 3 เท่ากับ 7.07 ± 0.59 พบว่ามี กิ ตติ กรรมประกาศ
ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P = 0.001, paired t- ผู้ ว ิ จ ั ย ขอขอบคุ ณ ผู้ อํ า นวยการ อายุ ร แพทย์ ก ลุ่ ม งาน
test) แสดงว่าการนํ ากระบวนการประสานรายการยามาใช้ในการ อายุรศาสตร์ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ผูป้ ่วยและญาติผูป้ ่วย
ดูแลผูป้ ว่ ยเบาหวานสามารถลดค่าเฉลีย่ HbA1C ซึง่ มีแนวโน้มทีด่ ี ทุกท่านทีใ่ ห้ความสนับสนุ นและให้ความร่วมมือเป็ นอย่างดี
ต่อการลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
References
ึ ษา
สรุปและอภิปรายผลการศก 1. Rozich JD, Resar RK, Medication Safety: one organization’s
การนํ ากระบวนการ medication reconciliation มาใช้ร่วมกับมี approach to the challenge. J Clin Outcomes Manage 2001; 8(10):
27-34.
การให้ขอ้ มูลด้านยาและการดูแลตนเองกับผูป้ ่วย พบว่า ช่วยเพิม่ 2. The Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organizations
ผลลัพธ์ทด่ี ที งั ้ ด้าน การประหยัดค่าใช้จ่ายด้านยา โดยพบว่ามูลค่า (JCAHO). Using medication reconciliation to prevent errors. Sentinel
การประหยัด ยาของการศึก ษานี้ มคี ่า ประมาณ 25,327 บาทต่ อ Event Alert Issue 35, Jan. 2006.
เดือน ซึ่งใกล้เคียงกับการศึกษาของโรงพยาบาลลําปางที่มูลค่า 3. Bates DW, Cullen DJ, Laird N, et al. Incidence of adverse drug
events and potential adverse drug events. Implications for
ประหยัด ยาอยู่ ท่ี 20,000 บาทต่ อ เดือ น 4 ซึ่ง ผลของมูล ค่ า การ prevention. JAMA 1995;274:29-34.
ประหยัดยาในการศึกษานี้ในแต่ละครัง้ ลดลงอาจเนื่องจากผูป้ ่วยมี 4. ปิ ยวรรณ เหลืองจิรโณทัย, ศุภธิดา สิทธิหล่อ, รุ่งทิวา หมืน่ ปา. ถุงเขียว
ความร่วมมือในการใช้ยาดีข้นึ จึงทําให้มยี าเหลือ จํานวนน้ อยลง ใบย่ อ ม ต้ อ มยามาโรงพยาบาล การนํ า เสนอผลงานเครื อ ข่ า ยวิ จ ัย
นอกจากนี้ สามารถลดปญั หาด้านยา ป้องกันความคลาดเคลื่อน โรงพยาบาลเขตภาคเหนือ ครัง้ ที่ 1 (1st RNNRH) “Quality Research &
Research of Quality”, ห้องประชุมโรงพยาบาลลําปาง, 23-24 มิถุนายน
ทางยา ซึง่ คล้ายกับการศึกษาของ Lubowski และคณะ5,6 และผล
2551.
ในการรักษาทางคลินิกดีข้นึ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในจํานวน
5. Lubowski TJ, Cronin LN, Pavelka RW, Briscoe-Dwyer LA,
ผูป้ ่วยทีม่ าติดตามผลระดับนํ้ าตาลได้ครบทัง้ 3 ครัง้ แต่การศึกษา
นี้ ไม่ส ามารถติด ตามผู้ป่วย 200 ราย จนครบ 3 ครัง้ ได้ท งั ้ หมด Briceland LL, Hamilton RA. Effectiveness of a medication
reconciliation project conducted by PharmD students. Am J Pharm
เนื่องจากมีผปู้ ว่ ยจํานวนหนึ่งติดปญั หาเรือ่ งสิทธิในการรักษาไม่ถูก
Educ 2007; 71: 1-7.
ส่งตัวมารับการรักษาต่อทีโ่ รงพยาบาล และระยะเวลาทีจ่ ํากัด มีผู้ 6. สุวนั นา ประพฤตินอก, นฤนาถ วิเศษ, นิอซั รี เจ๊ะเมาะ. การประยุกต์ใช้
เข้าการศึกษาในช่วงต้นการศึกษาจํานวนน้ อย ทําให้ผู้ป่วยที่เข้า กระบวนการ Medication Reconciliation เพือ่ ศึกษาปญั หาทางยาในเรื่อง
การศึก ษาช่ ว งหลัง มีร ะยะเวลาติด ตามสัน้ อีก ทัง้ การติด ตาม อาการไม่พงึ ประสงค์และความร่วมมือในการใช้ยาในผูป้ ่วยเบาหวานทีเ่ ข้า
รับการรักษาแบบผูป้ ว่ ยนอก ณ โรงพยาบาลลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.
ผลลัพธ์ทางคลินิกในผูป้ ่วยเป็ นการติดตามผลตามการรักษาปกติ
ปริญญานิพนธ์. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียติ;
ผู้วจิ ยั จึง ไม่ไ ด้แ ทรกแซงหรือ กํ า หนดให้ผู้ป่วยต้อ งตรวจค่า ทาง 2553.
ห้อ งปฏิบ ัติก ารดัง กล่ า วให้ค รบทุ ก ครัง้ ที่ม าพบแพทย์ จึง ทํ า ให้
ผูป้ ว่ ยบางรายเท่านัน้ ทีม่ ตี วั ชีว้ ดั หรือผลลัพธ์ในการศึกษาครบถ้วน
การนํ ากระบวนการประสานรายการยามาใช้ร่วมกับมีการให้ Editorial note
Manuscript received in original form on January 10, 2012;
ข้อมูลด้านยาและการดูแลตนเองกับผูป้ ว่ ยมาใช้ในผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ รัง accepted in final form on October 2, 2012

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 2, เมย. – มิย. 2555 77 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 2, Apr. – Jun. 2012

You might also like