You are on page 1of 14

บทความวิจยั

ผลการพัฒนากระบวนการประสานรายการยาด้วยระบบอิ เล็กทรอนิ กส์


ระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วยบริ การปฐมภูมิ ณ อาเภอภูหลวง
อมรรัตน์ เต็มวงษ์1, สุรชั ดา ชนโสภณ2, สายทิพย์ สุทธิรกั ษา2

1นิสต
ิ เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชกรรมปฐมภูมิ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2กลุ่มวิชาเภสัชกรรมคลินิก
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อสร้างและประเมินชุดคาสังอิ
่ เล็กทรอนิกส์ในกระบวนการประสานรายการยาสาหรับผูป้ ่ วยในระหว่าง
โรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ วิ ธีการศึกษา: การศึกษากึง่ ทดลองในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง แบ่งเป็ น 3 ระยะ
คือ 1) การวางแผนและวิเคราะห์สถานการณ์และปั ญหาของกระบวนการประสานรายการยา 2) การพัฒนาระบบและกระบวนการ
ของการประสานรายการยาและทดสอบระบบ และ 3) การนาระบบลงสู่การปฏิบตั ิ ประเมินผล และเปรียบเทียบผลก่อนหลัง
พัฒนาการมีกระบวนการประสานรายการยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มผูป้ ่ วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงหรือโรค
ร่วมอื่น ๆ ทีเ่ ข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและดูแลต่อเนื่องในหน่วยบริการปฐมภูมิ ผลการศึกษา: ผูป้ ่ วยเข้ารับการรักษาก่อน
และหลังการปรับปรุงกระบวนการกลุ่มละ 104 ครัง้ หลังการพัฒนากระบวนการประสานรายการยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์พบว่า
ร้อยละของการประสานรายการยาเพิม่ ขึน้ (77.88 และ 100; P<0.001) ระยะเวลาเฉลี่ยในการติดตามข้อมูลทางยาของผู้ป่วย
ลดลง (429.79 ± 868.50 เป็ น 1.00 นาที; P < 0.001) ระยะเวลาเฉลี่ยในได้รบั ยาเดิมของผู้ป่วยลดลง (482.04 ± 913.64 นาที
เป็ น 33.78 ± 93.08 นาที; P < 0.001) ลดปั ญ หาผู้ป่ วยไม่ ไ ด้ร ับ ยาที่ค วรได้ร ับ (ร้อ ยละ 22.12 เป็ น 0; P < 0.001) และลด
ความคลาดเคลื่อนทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลให้เกิดความรุนแรงระดับ D ลดลง (ร้อยละ 18.27 เป็ นร้อยละ 5.77; P < 0.001) คะแนนความพึง
พอใจเฉลี่ยของเจ้าหน้ าที่ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ในด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ ของระบบ คือ 4.06 ± 0.41 ด้านการ
ออกแบบ คือ 3.90 ± 0.54 และด้านการสนับสนุนการใช้งาน คือ 4.07 ± 0.71 สรุป: ชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์สามารถลดระยะเวลา
ในการประสานรายการยา ช่ ว ยป้ อ งกัน และลดความคลาดเคลื่อ นทางยาที่อ าจเกิด ระหว่ า งรอยต่ อ การให้บ ริก ารระหว่ า ง
โรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ
คาสาคัญ: การประสานรายการยา โรงพยาบาล หน่วยบริการปฐมภูมิ ความคลาดเคลื่อนทางยา ชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์

รับต้นฉบับ: 6 พ.ค. 2564, ได้รบั บทความฉบับปรับปรุง: 30 พ.ค. 2564, รับลงตีพิมพ์: 2 มิย. 2564
ผูป้ ระสานงานบทความ: สายทิพย์ สุทธิรกั ษา กลุ่มวิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตาบลขามเรียง อาเภอกันทร
วิชยั จังหวัดมหาสารคาม E-mail: saithip.s@msu.ac.th
Research article
บทความวิจยั
Outcomes of Electronic Medication Reconciliation Implemented for
Network of Hospital and Primary Care Units in Phuluang District
Amornrut Temwong1, Suratchada Chanasopon2, Saithip Suttiruksa2

1Graduate Student in Master Program (Primary Pharmacy), Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University
2Department of Clinical Pharmacy, Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University

Abstract
Objective: To develop and evaluate an electronic program for medication reconciliation process in in-patients
between hospitals and primary care units. Methods: This quasi-experimental study in a 30-bed community hospital was
divided into 3 phases: 1) planning and analyzing the situation and problems of medication reconciliation process; 2)
developing the system and process of medication reconciliation and testing the system and 3) Implementation, evaluation
and comparison of outcomes measured at pre and post implementation period of electronic medication reconciliation in
patients with diabetes or hypertension or other comorbidities who were hospitalized and received continuing care in
primary care units. Results: There were 104 patient visits each at pre and post implementation period. After the
implementation of electronic medication reconciliation, percentage of medication reconciliation was increased (77.88 and
100; P<0.001). The mean time to collect drug history of patients was decreased (429.79 ± 868.50 to 1.00 minutes;
P<0.001). The mean time to obtain drugs being taken by patients was reduced (482.04 ± 913.64 minutes to 33.78 ±
93.08 minutes; P < 0.001). The problems on patients not receiving necessary medication was reduced (22.12% to 0; P
< 0.001). Medication errors with severity in D category was reduced (18.27% to 5.77; P < 0.001). The average satisfaction
score among staff (with full score of 5) in system efficiency and utility was 4.06 ± 0.41. That of design was 3.90 ± 0.54,
and that of usability was 4.07 ± 0.71. Conclusion: Electronic program shortens the time for medication reconciliation,
prevents and reduces medication errors at the transition of care between the hospital and primary care units
Keywords: medication reconciliation, hospital, primary care unit, medication error, electronic program

141
บทนา ทางยา ป้ องกันไม่ให้ผู้ป่วยไม่ได้รบั ยาที่จาเป็ นต้องได้รบั
ปั จจุบนั กลุ่มโรคไม่ตดิ ต่อเรือ้ รังเป็ นปั ญหาสุขภาพ ได้รบั ยาซ้าซ้อน หรือได้รบั ยาทีม่ อี นั ตรกิรยิ าต่อกัน รวมทัง้
อันดับหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบทัง้ ในมิตภิ าวะโรคโดยรวม ติดตามการเปลี่ยนแปลงคาสังใช้ ่ ยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รบั ยา
และการเสียชีวติ นอกจากนี้ยงั ส่งผลกระทบต่อศักยภาพของ อย่างเหมาะสม (7)
ทรัพยากรมนุ ษย์ ทัง้ ด้านสุขภาพ คุณภาพชีวติ เศรษฐกิจ ปั จจุบนั MR ในประเทศไทยระหว่างโรงพยาบาล
และสัง คม จากรายงานสถิติสุข ภาพทัว่ โลกขององค์ก าร กับหน่ วยบริการปฐมภูมิทงั ้ หมดยังคงมีรูปแบบการเขียน
อนามัยโลกในปี พ.ศ. 2555 พบว่า 1 ใน 10 ของประชากร รายการยาลงในแบบฟอร์ม กระดาษ ยังไม่มีการเชื่อมต่ อ
วัยผู้ใหญ่ เจ็บป่ วยเป็ นโรคเบาหวาน และ 1 ใน 3 มีภาวะ ข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิกส์ แต่ จะพบ
ความดัน โลหิต สูง การเสีย ชีวิต จากโรคไม่ ติด ต่ อ เรื้อ รัง มี การใช้ระบบสารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ MR ระหว่าง
แนวโน้มเพิม่ ขึน้ จาก 38 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2555 เป็ น 41 หน่ วยงานต่าง ๆ ภายในโรงพยาบาลเดียวกัน เช่น แผนก
ล้ า นคนในปี พ.ศ. 2559 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกับ รายงานของ ผูป้ ่ วยนอกและผูป้ ่ วยใน เป็ นต้น
สถาบัน วิจ ัย ระบบสาธารณสุข ภาพประเทศไทยที่สารวจ ในโรงพยาบาลทีเ่ ป็ นสถานทีว่ จิ ยั ก่อนการพัฒนา
สุขภาพประชาชนไทย พบว่า ประชากรในกลุ่มอายุ 15 ปี กระบวนการ MR (1 มีนาคม พ.ศ. 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์
ขึน้ ไป มีความชุกของโรคเบาหวานเพิม่ ขึน้ จาก ร้อยละ 6.9 พ.ศ. 2563) พบความคลาดเคลื่อ นทางยาของผู้ป่วยในที่
ในปี พ.ศ. 2552 เป็ นร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2557 และความ เกี่ ย วข้ อ งกับ MR ที่ ร อยต่ อ ของการให้ บ ริ ก ารระหว่ า ง
ชุกของโรคความดันโลหิตสูงเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 22.0 ในปี โรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมิ ร้อยละ 22.12 ของ
พ.ศ. 2552 เป็ น ร้อ ยละ 24.7 ในปี พ.ศ. 2557 อัต ราการ ความคลาดเคลื่อนทางยาทัง้ หมด ความรุนแรงของความ
เสีย ชีวิต เพิ่ม ขึ้น จาก 343.06 ต่ อ แสนคนในปี พ.ศ. 2552 คลาดเคลื่อนทางยาอยู่ในระดับ B, C และ D การติดตาม
เป็ น 355.30 ต่อแสนคนในปี พ.ศ. 2556 (1-3) ข้อมูลทางยาระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมิ
ผูป้ ่ วยโรคไม่ตดิ ต่อเรือ้ รังมักมีอาการเจ็บป่ วยและมี ดาเนิ น การโดยวิธีก ารต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ การน ายาเดิม มาให้
ภาวะโรคแทรกซ้อนได้มาก ทาให้ต้องใช้ยาหลายชนิด จึงมี ตรวจสอบ การสืบ ค้น จากสมุ ดประจ าตัวผู้ป่วย ไลน์ ก ลุ่ ม
โ อกา สเกิ ด ปั ญ ห า จ า ก กา ร ใ ช้ ย า แ ละ ปั ญ ห า ค ว า ม เจ้าหน้าที่ การโทรศัพท์ตดิ ตามประวัตยิ า จากนัน้ บันทึกลง
คลาดเคลื่ อ นทางยา ผู้ ป่ วยหลายรายเมื่ อ รั ก ษาใน ในแบบฟอร์ ม MR เพื่ อ ให้ แ พทย์ ใ ช้ เ ป็ นข้ อ มู ล ในการ
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ เมื่ออาการดีขน้ึ อาจมีการส่งต่อให้ พิจ ารณาการรัก ษา การดาเนิ น งานพบปั ญ หาผู้ป่ วยหรือ
ไปรับการรักษาในสถานพยาบาลทีใ่ กล้บา้ น เมื่อผูป้ ่ วยมีการ ญาติไม่ได้นาสมุดประจาตัวและยาเดิมมา หรือนายามาไม่
ส่งต่อไปมาระหว่างสถานพยาบาลและมีการปรับเปลีย่ นการ ครบถ้วน ประวัติการรักษาในฐานข้อมูลในโรงพยาบาลไม่
รักษา อาจส่งผลให้การประสานรายการยามีความผิดพลาด สอดคล้องกับประวัตกิ ารรักษาล่าสุด ผูป้ ่ วยมารับการรักษา
หรือไม่สามารถติดตามรายการยาระหว่างสถานพยาบาลแต่ ในช่ ว งเวลาที่ห น่ ว ยบริก ารปฐมภู มิปิ ด ท าการ ท าให้ไ ม่
ละแห่งได้ การศึกษาของ Cornish และคณะพบว่า ผูป้ ่ วยที่ สามารถติดตามประวัตกิ ารรักษาได้ ผูป้ ่ วยบางรายจึงไม่ได้
เข้ารับการรักษาเป็ นผู้ป่วยในร้อยละ 46-61 ไม่ได้รบั ยาที่ รับการรักษาต่อเนื่องในช่องว่างดังกล่าว การทีย่ งั ไม่มกี ารใช้
เคยใช้ต่อเนื่องตัง้ แต่ 1 ชนิดหรือมากกว่า (4) ระบบสารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิก ส์ในการเชื่อมโยงการ
ในต่างประเทศ หน่ วยงาน Joint Commission on ประสานรายการระหว่างโรงพยาบาลกับหน่ วยบริการปฐม
Accreditation of Healthcare Organization (JCAHO) ของ ภู มิ ท าให้มีโ อกาสเกิด ความคลาดเคลื่อ นทางยาในช่ ว ง
สหรัฐอเมริกาได้กาหนดให้กระบวนการประสานรายการยา รอยต่อดังกล่าว จนเกิดผลเสียต่อผูป้ ่ วยได้
(Medication Reconciliation ; MR) เป็ นเป้ าหมายข้อ ที่ 8 การศึก ษานี้ จึงมีค วามสนใจที่จะพัฒนากระบวน
ของ national patient safety goal (8A&8B) ตัง้ แต่ ปี ค.ศ. การ MR สาหรับผูป้ ่ วยในโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่าง
2005 (5) ในประเทศไทยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลกั บ หน่ ว ยบริ ก ารปฐมภู มิ เ ครื อ ข่ า ย และ
โรงพยาบาลได้กาหนดให้ MR เป็ นส่วนหนึ่งในการรับรอง เปรียบเทียบผลลัพธ์ก่อนและหลัง การพัฒนากระบวนการ
คุณภาพโรงพยาบาล (6) เพื่อลดการเกิดความคลาดเคลื่อน MR หากระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีประสิทธิภาพจะสามารถป้ องกัน

142
และลดอุบตั ิการณ์ ความคลาดเคลื่อนทางยาที่อาจเกิดขึ้น ก่อนและหลังมีกระบวนการ MR คือ 0.30 ± 0.46 ครัง้ และ
ระหว่างรอยต่อของการให้บริการ 0.0067 ± 0.0816 ครั ้ง ตามล าดั บ การค านวณขนาด
ตัวอย่างโดยใช้สูตรสาหรับกรณีการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย
วิ ธีการวิ จยั สองกลุ่ ม ที่เ ป็ น อิสระต่ อ กัน และเป็ น การทดสอบสองทาง
งานวิ จ ั ย นี้ เ ป็ นงานวิ จ ัย กึ่ ง ทดลองชนิ ด วัด ผล ได้ขนาดตัวอย่าง 19 ครัง้ ต่อกลุ่ม จึงถือว่า ขนาดตัวอย่างที่
ก่ อ นหลัง งานวิจ ัย นี้ ไ ด้ร ับ การรับ รองจากคณะกรรมการ กาหนดไว้แต่แรกมีขนาดทีเ่ พียงพอ
จริย ธรรรมการวิจ ัย ในมนุ ษ ย์ มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม
เลขที่ 010/2563 และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเลยเลขที่ ระยะที่ 1 การวางแผนและวิ เคราะห์สถานการณ์
ECLOEI63006 วิธีก ารวิจ ัย มี 3 ระยะ ดัง นี้ ระยะที่ 1 การ การศึกษารวบรวมข้อมูลทัวไปของผู
่ ้ป่วย ร้อยละ
วางแผนและวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ และปั ญหาของ ของผูป้ ่ วยทีไ่ ด้รบั MR ระยะเวลาในการติดตามข้อมูลทางยา
กระ บ ว นกา ร MR ระ ย ะ ที่ 2 ก า ร พั ฒ นา ระ บ บ แ ล ะ ของผูป้ ่ วยทีร่ บั ไว้ในโรงพยาบาล ระยะเวลาในการได้รบั ยา
กระบวนการของ MR และทดสอบระบบ และระยะที่ 3 การ เดิมของผู้ป่วยที่รบั ไว้ในโรงพยาบาล ร้อยละของปั ญหาที่
นาระบบลงสู่การปฏิบตั ิ ประเมินผล และเปรียบเทียบผล เกิ ด จากยา ประเภทและระดับ ความรุ น แรงของความ
ก่ อ นหลัง พัฒ นาการมี ก ระบวนการ MR ด้ ว ยชุ ด ค าสัง่ คลาดเคลื่อนทางยา การเก็บข้อมูลย้อนหลังก่อนการพัฒนา
อิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการท าในระหว่า ง 1 มีน าคม พ.ศ. 2562 ถึง 29
ประชากรและตัวอย่างผูป้ ่ วย กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 แหล่งที่สบื ค้น ข้อมูล ได้แก่ ข้อมูล
ประชากรในการศึก ษาครัง้ นี้ คือ ผู้ป่ วยที่มีโ รค จากเวชเบี ย นผู้ ป่ วยใน ฐานข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ข อง
ประจาตัวหลัก คือ โรคเบาหวาน (ICD; E10 -E14) หรือโรค โรงพยาบาล ข้อ มู ล การบัน ทึก ประเภทและระดับ ความ
ความดันโลหิตสูง (ICD; I10 – I15) หรือโรคร่วมอื่น ๆ ที่ รุนแรงของความคลาดเคลื่อนทางยา
รักษาตัวในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลภูหลวง และมีประวัติ
การได้รบั การรักษาในโรงพยาบาลภูหลวงและหน่ วยบริการ ระยะที่ 2 การพัฒนาและทดสอบระบบ
ปฐมภูมทิ เ่ี ป็ นเครือข่ายของโรงพยาบาลภูหลวงอย่างน้อย 1 ผู้วจิ ยั จัดการประชุมระดมสมองในกลุ่มบุคลากรที่
ครัง้ ตัว อย่ า ง คือ ประชากรที่ร ัก ษาตัว ในหอผู้ป่ วยในใน เกี่ยวข้อง ได้แก่ แพทย์ 2 ราย เภสัชกร 2 ราย พยาบาล
ช่ ว งเวลา 1 มีน าคม พ.ศ. 2562 ถึง 29 กุ ม ภาพัน ธ์ พ.ศ. 4 ราย นัก วิช าการคอมพิวเตอร์ 1 ราย และเจ้า หน้ าที่ใน
2563 (ก่อนพัฒนาระบบ) และ 1 มิถุนายน พ.ศ.2563 ถึง 14 หน่วยบริการปฐมภูมจิ านวน 5 แห่งอย่างน้อยแห่งละ 1 ราย
พฤศจิกายน พ.ศ.2563 (หลังพัฒนาระบบ) เกณฑ์การคัด รวมทัง้ สิน้ 14 รายในวันที่ 27 เมษายน 2563 โดยนาเสนอ
ผู้ป่วยออกจากการวิจยั คือ 1) ผู้ป่วยที่ย้ายสิทธิการรักษา สรุปผลการวิเคราะห์สถานการณ์ และปั ญหาในปั จจุบนั ของ
หรือส่งต่อการรักษาไปยังนอกพืน้ ทีศ่ กึ ษา และ 2) บุคลากร กระบวนการ MR ในระยะที่ 1 เพื่อระดมสมองหาแนวทาง
ที่ถ อนตัว หรือ ไม่ ส ามารถเข้า ร่ ว มโครงการวิจ ัย ได้ต ลอด ปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมเรื่อง MR ระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วย
โครงการ บริการปฐมภูมิ
การเก็บ ข้อ มูลก่ อ นการศึก ษานาน 1 ปี พบว่ า มี ต่ อ มา ผู้ วิ จ ัย ออกแบบและพัฒ นาชุ ด ค าสัง่ ใน
จ า นว นค รั ้ง ข อง MR ใ นผู้ ป่ ว ย ต า มระ บบ ป กติ ข อง กระบวนการ MR ร่ ว มกับ ผู้ ดู แ ลระบบสารสนเทศ โดย
โรงพยาบาล จานวนทัง้ สิน้ 104 ครัง้ ดังนัน้ หลังจากพัฒนา กาหนดให้ ข้อมูลสาหรับ MR เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา
ชุดคาสังอิ
่ เล็กทรอนิก ส์ในกระบวนการ MR ผู้วิจยั จึงเก็บ การรักษา ประกอบด้วย รหัสประจาตัวผู้ป่วย ที่อยู่ หน่ วย
ข้อมูล MR ด้วยจานวนเท่ากันคือจานวน 104 ครัง้ อย่างไร บริการที่รบั การรักษา เพศ อายุ โรคประจาตัว รายการยา
ก็ต ามหากค านวณขนาดกลุ่ ม ตัว อย่ า งโดยก าหนดความ และสิทธิการรักษา ส่วนเทคโนโลยีท่ใี ช้ใ นการจัดการและ
คลาดเคลื่อนชนิดที่ 1 ทีร่ ะดับ 0.05 และความคลาดเคลื่อน เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ งานสามารถจัดการและเข้า ถึง
ชนิดที่ 2 ที่ระดับ 0.2 จากการศึกษาของวราภรณ์ ภูมิอภิ ข้อมูลให้ทางานผ่านระบบออนไลน์
รัตน์ (8) พบ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อ นทางยาต่ อ ผู้ป่ วย การทดสอบระบบท าโดยทดลองใช้ชุ ด ค าสังใน ่
กระบวนการ MR ทีม่ กี ารรับการรักษาระหว่างโรงพยาบาล

143
และหน่ ว ยบริก ารปฐมภู มิใ นด้ า นการออกรายงานตาม อย่ า งน้ อ ย 1 ครัง้ รู ป แบบการติด ตามข้อ มูล ทางยาด้ว ย
รู ป แบบที่ ก าหนด ความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นของข้ อ มู ล วิธีการต่ าง ๆ ที่เก็บ ได้แก่ การนายาเดิมมาให้ตรวจสอบ
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการติดตามข้อมูลทางยาของผูป้ ่ วยทีร่ บั ไว้ การตรวจสอบจากสมุ ด ประจ าตัว ผู้ป่ วย การใช้ไ ลน์ ก ลุ่ ม
ในโรงพยาบาล เจ้าหน้าทีร่ ะหว่างโรงพยาบาลกับหน่ วยบริการปฐมภูมิ การ
โทรศัพ ท์ ติด ตามประวัติย า การใช้ ชุ ด ค าสัง่ ในการออก
ระยะที่ 3 การนาระบบลงสู่การปฏิ บตั ิ และประเมิ นผล รายงานทีก่ าหนดในกระบวนการประสานรายการยาระหว่าง
การศึกษานากระบวนการ MR ทีไ่ ด้พฒ ั นาแล้วลง โรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมสิ าหรับการพิจ ารณา
สู่การปฏิบตั ิ โดยบูรณาร่วมกับการประชุมวิชาการระบบยา การรักษาแบบผูป้ ่ วยใน หน่วยนับของเวลาทีใ่ ช้เป็ นนาทีโดย
ในโรงพยาบาลเพื่อชีแ้ จงบุคลากรในโรงพยาบาลและหน่วย เริม่ นับตัง้ แต่เวลาทีผ่ ปู้ ่ วยได้รบั การลงทะเบียนเข้าในระบบ
บริ ก ารปฐมภู มิ เกี่ ย วกั บ แนวทางการใช้ ชุ ด ค าสัง่ ใน การรัก ษาของโรงพยาบาล สิ้น สุ ด การนั บ เมื่อ ได้ร ับ การ
กระบวนการ MR ผู้เข้าฟั งการชี้แจงประกอบด้วย แพทย์ พิจารณาข้อมูลประวัตยิ าเดิมของผูป้ ่ วย
เภสัช กร พยาบาล และนัก วิช าการสาธารณสุข โดยการ ระยะเวลาในการได้รบั ยาเดิมของผูป้ ่ วยที่รบั ไว้ใน
ประชุมจัดเป็ น 2 รุ่น ผูเ้ ข้าร่วมจานวน 23 คน โรงพยาบาล: ผู้วจิ ยั เก็บข้อมูลระยะเวลาที่ผู้ป่วยได้รบั การ
การประเมินผลระบบทาโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ พิจารณาการประสานรายการยาและได้รบั ยาต่อเนื่อง หน่วย
ในช่ ว งก่ อ นและหลัง พัฒ นาการมีก ระบวนการ MR ด้ว ย นับของเวลาเป็ นนาที โดยเริม่ นับจากเวลาทีผ่ ปู้ ่ วยได้รบั การ
ชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์ การเก็บข้อมูลทัง้ แบบไปข้างหน้า ลงทะเบียนเข้าในระบบการรักษาของโรงพยาบาลจากจุด
(หลังการพัฒนาระบบฯ) และแบบย้อนหลัง (ก่อนการพัฒนา แรกรับผู้ป่วย และสิ้นสุดการนับเมื่อผู้ป่วยได้รบั พิจารณา
ระบบฯ) ณ หอผู้ป่ วยในของโรงพยาบาลที่ท าการศึก ษา จากแพทย์ผู้รกั ษาและได้รบั การลงทะเบียนโดยมีใบสังยา ่
แหล่ ง ของข้ อ มู ล ที่ เ ก็ บ ได้ แ ก่ สรุ ป ข้ อ มู ล กระบวนการ เข้าในระบบแบบผูป้ ่ วยในฐานข้อมูลของโรงพยาบาล
ประสานรายการยาของผู้ ป่ วยเฉพาะราย ซึ่ ง ได้ จ าก ร้ อ ยละของปั ญหาที่ เ กิ ด จากยา: เภสัช กรผู้ ท่ี
แบบฟอร์มกระบวนการประสานรายการยาของโรงพยาบาล ปฏิ บ ัติ ง านเป็ นผู้ ส ัม ภาษณ์ ผู้ ป่ วย/ผู้ ดู แ ล ทบทวนและ
และหน่ วยบริ ก ารปฐมภู มิ แบบฟอร์ ม รายงานความ ประเมินการใช้ยาของผู้ป่วยโดยอ้างอิงจากนิยามปั ญหาที่
คลาดเคลื่อนทางยา ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล เกี่ย วกับ ยาของ Hepler & Strand (9) ที่ป ระกอบด้ ว ย 8
เวชระเบียนผูป้ ่ วยในของผูป้ ่ วยกลุ่มโรคทีก่ าหนด ข้อมูลเชิง ประเภท ได้แก่ 1) ผู้ป่วยไม่ได้รบั ยาที่ควรจะได้ 2) ผู้ป่วย
ปริมาณทีเ่ ก็บมีรายละเอียดดังนี้ ได้รบั ยาไม่เหมาะสม 3) ผู้ป่วยได้รบั ยาที่ถูกต้องแต่ ขนาด
ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รบั การประสานรายการยา: น้ อยเกินไป 4) ผู้ป่วยไม่ได้รบั ยาตามแพทย์สงั ่ 5) ผู้ป่วย
ผูว้ จิ ยั ตรวจสอบข้อมูลผูป้ ่ วยในกลุ่มทีก่ าหนดทีม่ าด้วยภาวะ ได้รบั ยาถูกต้อง แต่ขนาดมากเกินไป 6) ผูป้ ่ วยเกิดอาการไม่
ใด ๆ ก็ตามที่มีการรับการรักษาระหว่างโรงพยาบาลและ พึงประสงค์จากการใช้ยา 7) ผู้ป่วยเกิดอันตรกิรยิ าระหว่าง
หน่ ว ยบริการปฐมภู มิอย่ างน้ อ ย 1 ครัง้ โดยใช้ชุด คาสังที ่ ่ ยา และ 8) ผู้ป่วยได้รบั ยาโดยที่ไม่มีข้อบ่งชี้ทางวิช าการ
เกีย่ วข้องในการออกรายงานทีก่ าหนด และอ้างอิงตามกรอบ หรือไม่มขี อ้ มูลยืนยันถึงข้อบ่งชีท้ างวิชาการ กรณีมรี ายการ
เวลาโดยการรวบรวมให้เสร็จสิน้ ภายใน 24 ชัวโมง ่ (7) โดย ยาที่ผู้ป่วยได้จากสถานพยาบาลอื่น ๆ เภสัชกรจะติดตาม
เริ่ม นับ เมื่อ มีห ลัก ฐานการดาเนิ น การและการบัน ทึก การ และบันทึกเพิ่มเติมบนแบบบันทึกสรุปข้อมูลกระบวนการ
ประสานรายการยาในฐานข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ข อง MR สาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายเหมือนผูป้ ่ วยแรกรับ หากพบ
โรงพยาบาล หากไม่เป็ นไปตามนิยามข้างต้นจะบันทึกเป็ น ปั ญ หาหรือ โอกาสที่จ ะเกิด ปั ญ หาตามนิ ย ามข้า งต้ น ใน
การไม่ได้รบั การประสานรายการยา ขัน้ ตอน จะบัน ทึ ก และปรึ ก ษาแพทย์ เ พื่ อ แก้ ไ ขรวมถึ ง
ระยะเวลาในการติดตามข้อมูลทางยาของผู้ป่วยที่ ติด ตามผล โดยผู้วิจยั เป็ น ผู้ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล
รับไว้ในโรงพยาบาล: ผูว้ จิ ยั เก็บข้อมูลระยะเวลาทีใ่ ช้ในการ ปั ญหาดังกล่าวจากหลักฐานทีม่ กี ารบันทึกไว้
ติดตามประวัตยิ าเดิมของผูป้ ่ วยกลุ่มโรคทีก่ าหนดทีม่ กี ารรับ ประเภทและระดั บ ความรุ น แรงของคว า ม
การรัก ษาระหว่ า งโรงพยาบาลและหน่ ว ยบริก ารปฐมภูมิ คลาดเคลื่อ นทางยา: เภสัช กรผู้ป ฏิบ ัติง านเป็ นผู้ป ระเมิน

144
ประเภทและระดับความรุนแรงของความคลาดเคลื่อนทาง รักษาเป็ นแบบสหวิชาชีพทีม่ กี ารรับและส่งต่อการรักษาใน
ยาในแต่ละส่วนของกระบวนการใช้ยา คือ 1. ความคลาด กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วยบริการ
เคลื่อนในการสังใช้ ่ ยา 2. ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอก ปฐมภู มิท่ีมีตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2556 การพัฒ นากระบวนการ
ค าสัง่ 3. ความคลาดเคลื่อ นก่ อ นการจ่ า ยยา-จ่ า ยยา 4. ประสานรายการยาในโรงพยาบาลเริ่ม ในปี พ.ศ. 2557
ความคลาดเคลื่อนในการให้หรือบริหารยา และระดับความ รูปแบบ MR ระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมิ
รุนแรงของความคลาดเคลื่อนทางยาตัง้ แต่ A-I (10-14) หาก ได้แก่ การนายาเดิมมาให้ตรวจสอบ การตรวจสอบจากสมุด
เภสัชกรพบความแตกต่างของยาจากกระบวนการ MR ซึง่ ที่ ประจ าตั ว ผู้ ป่ วย การสอบถามจากไลน์ ก ลุ่ ม เจ้ า หน้ า ที่
ไม่ได้บนั ทึกไว้ในเวชระเบียน เภสัชกรจะปรึกษาแพทย์หรือ ระหว่างโรงพยาบาลกับหน่ วยบริการปฐมภูมิ การโทรศัพท์
ผู้ ส ัง่ ใช้ ย าเพื่ อ ทวนสอบข้ อ มู ล แก้ ไ ขและติ ด ตามผลที่ ติดตามประวัติการใช้ยา จากนัน้ บันทึกลงในแบบฟอร์มการ
เกี่ยวข้อง รวมทัง้ บันทึกเป็ นความคลาดเคลื่อนทางยาเมื่อ ประสานรายการยา ข้อจากัดในระบบเดิมนี้ คือ การติดตาม
เกิด ความแตกต่ างโดยไม่ไ ด้ตงั ้ ใจหรือ มีความตัง้ ใจแต่ ไม่ ข้ อ มู ล ช่ ว งนอกเวลาราชการท าไม่ ไ ด้ และยัง ไม่ มีก าร
บันทึกในเวชระเบียน การทวนสอบประเภทและระดับความ ประเมินผลเพื่อการพัฒนางานด้าน MR ระหว่างโรงพยาบาล
รุนแรงของความคลาดเคลื่อนทางยาทาโดยการประเมินของ และหน่วยบริการปฐมภูมิ
เภสัชกร 2 ท่านทีเ่ ป็ นอิสระต่อกัน (ประสบการณ์การทางาน
8 และ 9 ปี ตามลาดับ) ผลการพัฒนากระบวนการ MR
ร้อยละความพึงพอใจของผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง: การศึกษา ผูเ้ ข้าร่วมระดมสมองให้ความเห็นดังนี้
ประเมินความพึงพอใจหรือข้อเสนอแนะด้านอื่น ๆ รวมทัง้ “อยากให้แสดงข้อมูลจานวนยาทีผ่ ปู้ ่ วยได้รบั ที ่ รพ.
การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นระหว่างบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องถึง สต. และวันนัดครัง้ ถัดไปด้วยค่ะ เพือ่ จะได้มปี ระโยชน์ในการ
อุ ป สรรคต่ อ การปฏิบ ัติก ารหรือปั จจัยแห่ งความสาเร็จ ใน ประเมิน วัน นั ด จ านวนยาทีต่ ้อ งจ่ า ยตอนจ าหน่ า ยผู้ป่ วย
วั น ที่ 25 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2564 บุ ค ลา กรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เพราะบางครัง้ ผูป้ ่ วยไม่ได้นาสมุดประจาตัวมาด้วย” (เภสัช
กระบวนการ MR ในการวิจยั คือ แพทย์ 2 ราย เภสัชกร 2 กรโรงพยาบาลท่านที่ 2)
ราย พยาบาล 4 ราย นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 ราย และ “เห็นด้วยในการพัฒนากระบวนการ MR เพราะถ้า
เจ้าหน้าทีใ่ นหน่ วยบริการปฐมภูมจิ านวน 5 แห่งอย่างน้อย ช่วงนอกเวลาราชการจะตามข้อมูลไม่ได้ ผูป้ ่ วยไม่ได้ถอื ยา
แห่ ง ละ 1 ราย รวมทัง้ สิ้น 14 ราย ทัง้ หมดปฏิบ ัติง านใน เดิมมา อยากได้ข้อมูล ประวัติยาทีค่ รบถ้วนและสามารถดู
สถานทีว่ จิ ยั เป็ นเวลาติดต่อกันมากกว่า 6 เดือน ประวัตไิ ด้ในทุกจุดบริการของโรงพยาบาลค่ะ” (พยาบาลใน
การวิ เคราะห์ข้อมูล โรงพยาบาลท่านที่ 1)
การศึก ษาใช้สถิติเ ชิง พรรณนาสรุ ป ข้อ มูลทัว่ ไป จากการทดสอบระบบได้ขอ้ สรุปและแนวทางการ
ผลลัพ ธ์จ ากการใช้ร ะบบ MR ที่พ ัฒ นาขึ้น การวิเ คราะห์ ปฏิบตั ิ คือ เจ้าหน้ าที่ของหน่ วยบริการปฐมภูมิต้องน าส่ง
ความแตกต่างก่อนและหลังพัฒนากระบวนการ MR ด้วย ข้ อ มู ล MR จากหน่ ว ยบริ ก ารปฐมภู มิ (รู ป ที่ 1-2) และ
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้สถิติ Independent t-test หากการ เจ้าหน้าทีข่ องโรงพยาบาลดาเนินงานตามกระบวนการ MR
กระจายของข้อมูลเป็ นโค้งปกติ และใช้สถิติ Mann Whitney (รูปที่ 1, 3-5) ข้อดีของระบบที่พฒ
ั นาขึน้ คือ สามารถ
U test หากการกระจายของข้อ มู ล ไม่ เ ป็ น โค้ง ปกติ การ ติดตามข้อมูล MR ในขัน้ ตอนการทวนสอบเพื่อประกอบการ
ประมวลผลใช้โปรแกรม STATA

ผลการวิ จยั
บริบทของสถานที่วิจยั
บริบทของพื้นที่วิจยั คือ เป็ นโรงพยาบาลชุมชน
ระดับทุตยิ ภูมิ ขนาด 30 เตียง สังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่
รูปที่ 1. การเข้าสู่ระบบเพื่อเข้าใช้งานชุดคาสังโดยข้
่ อมูล
มีห น่ ว ยบริก ารปฐมภู มิใ นเครือ ข่า ย 5 แห่ ง บริก ารตรวจ
สาหรับผูใ้ ช้งาน

145
รูปที่ 2. การนาส่งข้อมูลจากหน่วยบริการปฐมภูมิ

ตัดสินใจในการรักษาได้ทนั ทีด้วยชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิ ก ส์ ใหญ่ คือ สิท ธิป ระกัน สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า (ร้อ ยละ 87.50)
ผ่านทางเครือข่ายออนไลน์ระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วย (ตารางที่ 1) ข้อมูลเพศ อายุ โรคประจาตัว จานวนรายการ
บริก ารปฐมภู มิ ทัง้ ยัง ลดข้อ จากัด ในเรื่อ งการไม่สามารถ ยาที่ได้รบั และสิทธิการรักษาของตัวอย่างในช่วงก่อนและ
ติดตามประวัตกิ ารรักษาของผูป้ ่ วยในช่วงนอกเวลาราชการ หลังพัฒนาระบบไม่แตกต่างกัน
จึ ง น่ า จ ะ สา ม า รถ ป้ อง กั น แ ละ ลดอุ บ ั ติ ก า รณ์ ค ว า ม
คลาดเคลื่ อ นทางยาที่ อ าจเกิ ด ขึ้น ระหว่ า งรอยต่ อ การ ผลของกระบวนการประสานรายการยา
ให้บริการระหว่างโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รบั การประสานรายการยา:
หลังการพัฒนากระบวนการ MR ผู้ป่วยจากหน่ วยบริการ
ข้อมูลทัวไปของผู
่ ป้ ่ วย ปฐมภูมิท่มี าเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในที่โรงพยาบาล
ตัวอย่างในช่วงก่อนพัฒนาระบบ: ผู้ป่วยรักษาตัว ได้รบั การประสานรายการยาเพิม่ ขึน้ อย่างมีนัยสาคัญทาง
ในโรงพยาบาลจานวน 104 ครัง้ (91 ราย) ส่วนใหญ่เป็ นเพศ สถิตจิ ากร้อยละ 77.88 เป็ นร้อยละ 100.00 (P < 0.001)
หญิง (ร้อยละ 67.31) อายุเฉลี่ย 68.43 ± 11.65 ปี จานวน ระยะเวลาในการติดตามข้อมูลทางยาของผู้ป่วยที่
ยาที่ ไ ด้ ร ับ เฉลี่ ย 3.04 ± 1.58 รายการ ส่ ว นใหญ่ มี โ รค รับ ไว้ใ นโรงพยาบาล: หลัง การพัฒ นากระบวนการ MR
ประจาตัวคือความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 75.00) สถานที่ท่ี ระยะเวลาเฉลีย่ ในการติดตามข้อมูลทางยาของผูป้ ่ วยทีร่ บั ไว้
ผูป้ ่ วยรับยาโรคเรือ้ รังส่วนใหญ่ คือ หน่ วยบริการปฐมภูมิ 2 ในโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐม
(ร้อยละ 34.62) และสิทธิการรักษาส่วนใหญ่ท่ีใช้ คือ สิทธิ ภูมิลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ จาก 429.79 ± 868.50
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ร้อยละ 97.12) (ตารางที่ 1) นาที เป็ น 1.00 นาที (P < 0.001)
ตัวอย่างในช่วงหลังพัฒนาระบบ: ผู้ป่วยรักษาตัว ระยะเวลาในการได้รบั ยาเดิมของผูป้ ่ วยที่รบั ไว้ใน
ในโรงพยาบาลจานวน 104 ครัง้ (101 ราย) ส่วนใหญ่เป็ น โรงพยาบาล: การพั ฒ นากระบวนการ MR ส่ ง ผลให้
เพศหญิ ง (ร้ อ ยละ 63.46) อายุ เ ฉลี่ย 63.90 ± 12.57 ปี ระยะเวลาเฉลี่ย ในการได้ร ับ ยาเดิม ของผู้ป่ วยที่ร ับ ไว้ใ น
จ านวนยาที่ไ ด้ร ับเฉลี่ย 3.34 ± 1.48 รายการ ผู้ป่ วยส่วน โรงพยาบาลลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตจิ าก 482.04 ±
ใหญ่มโี รคประจาตัว คือ ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 47.12) 913.64 นาทีในช่วงก่อนการวิจยั เป็ น 33.78 ± 93.08 นาที
และสถานที่ท่ีผู้ป่ วยรับ ยาโรคเรื้อ รัง ส่ว นใหญ่ คือ หน่ ว ย (P < 0.001) ปั ญหาที่เกิดจากยา: การพัฒนากระบวนการ
บริการปฐมภูมิ 1 (ร้อยละ 28.85) สิทธิการรักษาที่ใช้ส่วน MR ส่งผลให้ผปู้ ่ วยไม่ได้รบั ยาทีค่ วรจะได้ ลดลงอย่างมีนยั -

146
รูปที่ 3. กระบวนการ MR

รูปที่ 4. ข้อมูลประวัตกิ ารรักษาครัง้ ทีม่ กี ารรับบริการทีห่ น่วยบริการปฐมภูมิ

147
รูปที่ 5. แบบฟอร์ม MR สาหรับใช้ในโรงพยาบาล

นัยสาคัญทางสถิติ (P < 0.001) จาก 23 ครัง้ ของการเข้า ความพึงพอใจของบุคลากร


รักษาตัว (ร้อยละ 22.12) ในช่วงก่อนการวิจยั เหลือเพียง 10 บุ ค ล า ก ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง จ า นว น 14 ร า ย ต อบ
ครัง้ (ร้อยละ 9.62) ในช่วงหลังการพัฒนาระบบ แบบสอบถามความพึงพอใจ คะแนนความพึงพอใจเฉลีย่ ใน
ด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ ของระบบ เท่ากับ 4.06±
ความคลาดเคลื่อนทางยา 0.41 คะแนน คะแนนเฉลี่ย ในด้า นการออกแบบ เท่ า กับ
การพั ฒ นากระบวนการ MR ส่ ง ผลให้ ค วาม 3.90 ± 0.54 คะแนน และคะแนนเฉลีย่ ในด้านการสนับสนุน
คลาดเคลื่อนทางยาลดลงจากร้อยละ 25.00 ของจานวนครัง้ การใช้งาน เท่ากับ 4.07 ± 0.71 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5
ในการรักษาเหลือพียงร้อยละ 9.62 (P=0.005) (ตารางที่ 2) คะแนน)
ความคลาดเคลื่อ นที่เ กิด จากข้อ จ ากัด ของระบบข้อ มู ล
สารสนเทศที่ทาให้ตดิ ตามข้อมูลทางยาในหน่ วยบริการปฐม การอภิ ปรายผล
ภูมนิ อกช่วงเวลาราชการไม่ได้นัน้ ลดลงจากร้อยละ 22.12 การพัฒนากระบวนการ MR ส่งผลให้ผู้ป่วยจาก
ของจานวนครัง้ ในการรักษา จนหมดไป (P < 0.001) (ตาราง พืน้ ทีข่ องหน่ วยบริการปฐมภูมทิ เ่ี ข้ารับการรักษาแบบผูป้ ่ วย
ที่ 2) นอกจากนี้ ความไม่สอดคล้องของรายการยาทีแ่ พทย์ ในที่โ รงพยาบาลได้ร ับ MR เพิ่ม ขึ้น อย่ า งมีนัยสาคัญทาง
จ่ายและในประวัตกิ ารใช้ยาในอดีตซึง่ เกิดโดยความไม่ตงั ้ ใจ สถิติ จากร้อยละ 77.88 เป็ นร้อยละ 100.00 (P < 0.001) ซึง่
ของแพทย์ลดลง (P=0.246) (ตารางที่ 4) เป็ นผลจากชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์ท่พี ฒ ั นาขึ้นซึ่งสามารถ
การพัฒนากระบวนการ MR ส่งผลให้ระดับความ ลดข้อ จ ากัด การไม่ สามารถติด ตามประวัติก ารรัก ษาของ
คลาดเคลื่อ นระดับ D (เกิด ขึ้น แล้ว แต่ ไม่ เ ป็ น อัน ตรายต่ อ ผู้ป่ วยในช่ ว งนอกเวลาราชการระหว่ า งโรงพยาบาลและ
ผู้ป่ วย แต่ ย ัง มีค วามจ าเป็ น ต้ อ งติด ตามผู้ป่ วยเพิ่ม เติม ) หน่ วย บริการปฐมภูมิ และแก้ปัญหาการติดตามข้อมูลทาง
ลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตจิ ากร้อยละ 18.27 เป็ นร้อย ยารู ป แบบเดิม ที่ม ัก พบว่ า ผู้ป่ วยหรือ ญาติไ ม่ ไ ด้น าสมุ ด
ละ 5.77 (P = 0.004) (ตารางที่ 4) ประจาตัวผูป้ ่ วยและยาเดิมติดตัวมาด้วย หรือนายามาแต่ไม่

148
ตารางที่ 1. ข้อมูลพืน้ ฐานของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังพัฒนาระบบ (หน่วยนับเป็ นจานวนครัง้ ของการเข้ารักษา)
ลักษณะข้อมูล ก่อนพัฒนาระบบ (n = 104) หลังพัฒนาระบบ (n = 104) P
เพศ, จานวนครัง้ (ร้อยละ) 0.6621
ชาย 34 (32.69) 39 (36.54)
หญิง 70 (67.31) 66 (63.46)
อายุ (ปี ), ค่าเฉลีย่ ±SD 68.43 ± 11.65 63.90 ± 12.57 0.0762
พิสยั ของอายุ (ต่าสุด, สูงสุด) (40 , 98) (30 , 96)
โรคประจาตัว/โรคร่วม, จานวนครัง้ (ร้อยละ)
เบาหวาน 8 (7.69) 20 (19.23) 0.0241
ความดันโลหิตสูง 78 (75.00) 49 (47.12) < 0.0011
เบาหวานและความดันโลหิตสูง 13 (12.50) 31 (29.81) 0.0041
อื่น ๆ 5 (4.81) 4 (3.85) 1.0001
จานวนรายการยาทีไ่ ด้รบั , ค่าเฉลีย่ ±SD 3.04 ± 1.58 3.34 ± 1.48 0.1752
(ต่าสุด, สูงสุด, มัธยฐาน) (1, 8, 2) (1, 8, 2)
สถานทีท่ ผ่ี ปู้ ่ วยรับยาโรคเรือ้ รัง, จานวนครัง้ (ร้อยละ)
หน่วยบริการปฐมภูมิ 1 23 (22.12) 30 (28.85) 0.3401
หน่วยบริการปฐมภูมิ 2 36 (34.62) 24 (23.07) 0.0921
หน่วยบริการปฐมภูมิ 3 14 (13.46) 17 (16.35) 0.6971
หน่วยบริการปฐมภูมิ 4 7 (6.73) 16 (15.38) 0.0751
หน่วยบริการปฐมภูมิ 5 24 (23.08) 17 (16.35) 0.2961
สิทธิการรักษา
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 101 (97.12) 91 (87.50) 0.0171
ข้าราชการ 3 (2.88) 12 (11.54) 0.0291
ประกันสังคม 0 1 (0.96) 1.0001
1: Fisher's exact test 2: Student’s t-test

ครบถ้วน หรือประวัตกิ ารรักษาในฐานข้อมูลในโรงพยาบาล เคี ย งกัน กับ โรงพยาบาลในการศึก ษานี้ ผลการศึ ก ษา


ไม่สอดคล้องกับประวัติการรักษาล่าสุด กระบวนการ MR สอดคล้อ งกับ หลายการศึก ษาที่พ บว่ า กระบวนการ MR
แบบใหม่สามารถใช้ในโรงพยาบาลทุกแห่งที่มีบริบทใกล้ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สามารถเพิม่ ความร่วมมือในการทา

ตารางที่ 2. จานวนครัง้ (ร้อยละ) ของความคลาดเคลื่อนทางยาทีเ่ กิดขึน้ (ตัวหารเป็ นจานวนครัง้ ของการเข้ารักษา)


ก่อนพัฒนาระบบ (n = 104) หลังพัฒนาระบบ (n = 104) P
ความคลาดเคลื่อนทางยา 26 (25.00) 10 (9.62) 0.0051
สาเหตุจากบุคลากรทางการแพทย์ 3 (2.88) 0 0.2461
สาเหตุจากผูป้ ่ วย 0 10 (9.62) 0.0021
สาเหตุจากระบบข้อมูลสารสนเทศ 23 (22.12) 0 < 0.0011
ไม่เกิดความคลาดเคลื่อนทางยา 78 (75.00) 94 (90.38) 0.0051
1: Fisher's exact test

149
ตารางที่ 3. จานวนครัง้ (ร้อยละ) ของความไม่สอดคล้องของรายการยาทีแ่ พทย์จ่ายและในประวัตกิ ารใช้ยาในอดีต (ตัวหารเป็ น
จานวนครัง้ ของการเข้ารักษา)
ความไม่สอดคล้อง ก่อนพัฒนาระบบ (n = 104) หลังพัฒนาระบบ (n = 104) P
ความไม่สอดคล้องทีเ่ กิดจากความตัง้ ใจ 35 (33.65) 42 (28.00) 0.0051
ความไม่สอดคล้องทีเ่ กิดจากความไม่ตงั ้ ใจ 3 (2.88) 0 0.2461
ความไม่สอดคล้องทีเ่ กิดจากความตัง้ ใจ 0 0 0
แต่ไม่มกี ารบันทึกไว้
1: Fisher's exact test

MR จากร้อ ยละ 20-40 เป็ น ร้อ ยละ 50-100 (15-19) และ ปั ญหาทีผ่ ปู้ ่ วยหรือญาติไม่ได้นาสมุดประจาตัวและไม่นายา
ส่ ง ผลให้ ผู้ ป่ วยได้ ผ่ า นกระบวนการ MR ใน 24 ชัว่ โมง เดิมมา หรือนายามาไม่ครบถ้วน และประวัติการรักษาใน
ระหว่างการรับรักษาเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 62 เป็ นร้อยละ 90 ฐานข้อมูลในโรงพยาบาลไม่สอดคล้องกับประวัติการรักษา
(20) การศึกษาออกแบบกระบวนการเพื่อลดปั ญหาในช่วง ล่าสุด การที่ผู้ป่วยมารับการรักษาช่วงเวลาทีห่ น่ วยบริการ
รอยต่อการให้บริการของกระบวนการ MR โดยการมีส่วน ปฐมภูมปิ ิ ดทาการ ทาให้ไม่สามารถติดตามประวัตกิ ารรักษา
ร่วมของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง จึงส่งผลให้ความร่วมมือในการ ได้ ซึ่งส่งผลต่ อระยะเวลาในกิจกรรมทัง้ สองดังกล่าว ซึ่ง
ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ดงั กล่าวเพิม่ ขึน้ อย่างมีนัยสาคัญทาง MR แบบใหม่ในการศึกษานี้สามารถช่วยลดข้อจากัดนัน้ ได้
สถิติ ปั ญหาทีผ่ ปู้ ่ วยไม่ได้รบั ยาทีค่ วรจะได้ลดลงอย่างมี
หลัง การพัฒ นาระบบ ระยะเวลาเฉลี่ ย ในการ นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ (P < 0.001) เนื่ อ งจากก่ อ นพั ฒ นา
ติดตามข้อมูลทางยาของผูป้ ่ วยลดลงจาก 429.79 ± 868.50 กระบวนการ ปั ญหานี้ถูก เก็บข้อมูลแบบย้อนหลัง นัน่ คือ
นาที เป็ น ภายใน 1.00 นาที (P < 0.001) และระยะเวลา ไม่ได้มกี ารออกแบบการเก็บข้อมูลทีช่ ดั เจน และขาดการให้
เฉลี่ย ในการได้ร ับ ยาเดิม ของผู้ป่ วยลดลงจาก 482.04 ± ความสาคัญกับการสอบถามผูป้ ่ วยหรือญาติเกีย่ วกับยาทีใ่ ช้
913.64 นาที เป็ น 33.78 ± 93.08 นาที (P < 0.001) ก่อน อยู่ใ นปั จ จุ บ ัน หรือ ญาติผู้ใ ห้ข้อ มูลไม่ ได้เ ป็ น ผู้ดูแลผู้ป่วย
พัฒ นากระบวนการ ระยะเวลาทัง้ สองกิจ กรรมดัง กล่ า ว โดยตรงทาให้มขี อ้ มูลผิดพลาดหรือ ให้ขอ้ มูลไม่เพียงพอ จึง
ยาวนาน เนื่องจากรูปแบบ MR เดิมเป็ นการติดตามข้อมูล ทาให้ไม่พบปั ญหาจากการใช้ยาบางประเภท
ทางยาด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ได้แก่ การทีผ่ ปู้ ่ วยหรือญาตินายา ผลอัน นี้ สอดคล้อ งกับ การศึก ษาของสมสกุ ล ศิริ
เดิมมาให้ตรวจสอบ การตรวจสอบจากสมุดประจาตัวผูป้ ่ วย ไชยและคณะ ที่พบปั ญหาการใช้ยาของผู้ป่วยและปั ญหา
หรือกลุ่มไลน์เจ้าหน้าทีท่ ด่ี แู ลระบบยา การโทรศัพท์ตดิ ตาม ความคลาดเลื่อนทางยาในขัน้ ตอนแรกรับและขัน้ ตอนการ
ประวัติยา จากนัน้ จึงบันทึกลงในแบบฟอร์ม MR ซึ่งมีข้อ รับ ยากลับ บ้ า น ซึ่ ง กระบวนการ MR ช่ ว ยป้ องกัน และ
จากัดในการติดตามข้อมูลช่วงนอกเวลาราชการ และพบ แก้ปัญหาการใช้ยาทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ (21) จากการศึกษาของ

ตารางที่ 4. จานวนครัง้ (ร้อยละ) ของความคลาดเคลื่อนทางยาแบ่งตามระดับความรุนแรง (ตัวหารเป็ นจานวนครัง้ ของการรักษา)


ระดับความรุนแรงของความคลาดเคลื่อน ก่อนพัฒนาระบบ (n = 104) หลังพัฒนาระบบ (n = 104) P
A 0 0 0
B 3 (2.88) 0 0.2461
C 4 (3.85) 4 (3.85) 1.0001
D 19 (18.27) 6 (5.77) 0.0041
E,F,G,H, I 0 0 0
1: chi-square test

150
นิตยา ภาพสมุทรและคณะ ในการนากระบวนการ MR มา MR ในการศึกษานี้เป็ นซอฟต์แวร์ทไ่ี ม่มคี ่าใช้จ่าย อาจส่งผล
ใช้ร่วมกับการให้คาแนะนาโดยเภสัชกรในการดูแลผู้ป่วย ต่อความสวยงาม ทาให้ระดับคะแนนความพึงพอใจในส่วน
นอกโรคเบาหวาน ส่งผลทาให้ปัญหาของการใช้ยาลดลง ด้านการออกแบบไม่สงู นัก
จาก 304 ปั ญหาในครัง้ ที่ 1 ลดลงเป็ น 47 และ 46 ปั ญหาใน ก า ร ศึ ก ษ า นี้ มี ข้ อ จ า กั ด บ า ง ป ร ะ ก า ร คื อ
การติด ตามครัง้ ที่ 2 และ 3 (P<0.001) (22) การทบทวน กระบวนการ MR ด้ ว ยชุ ด ค าสัง่ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ร ะหว่ า ง
วรรณกรรมอย่ า งเป็ นระบบเกี่ย วกับ ผลของ MR แบบ โรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมเิ ป็ นการสารองข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ทด่ี าเนินการในจุดเปลีย่ นผ่านของการรักษา บนระบบ server และใช้งานระบบเครือข่ายออนไลน์ หาก
ในโรงพยาบาล มีผลลดความไม่สอดคล้องของรายการยาที่ ระบบอินเทอร์เน็ตขัดข้องจะไม่สามารถใช้งานคาสังดั ่ งกล่าว
แพทย์จ่ายและในประวัติการใช้ยาในอดีตซึ่งเกิดโดยไม่ได้ ได้ แต่ ต้องติดตามข้อมูลทางยาด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ซึ่งเป็ น
ตัง้ ใจได้ร้อ ยละ 45 (23) ทัง้ นี้ อ าจเนื่ อ งจากการศึ ก ษานี้ กระบวนการเดิมที่มขี อ้ จากัดดดังกล่าวมาแล้ว นอกจากนี้
สามารถติดตามข้อมูลการประสานรายการยาในขัน้ ตอนการ รายงานจากชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์ดงั กล่าวในกระบวนการ
ทวนสอบ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาการรักษาของแพทย์ MR เป็ น รายการยาที่มีก ารใช้ใ นโรงพยาบาลและหน่ ว ย
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเครือข่ายออนไลน์ ระหว่าง บริการปฐมภูมเิ ท่านัน้ กรณียาที่ผู้ป่วยซื้อใช้รกั ษาโรคด้วย
โรงพยาบาลและหน่ วยบริการปฐมภูมไิ ด้ทนั ที จึงช่วยความ ตนเอง หรือ ใช้ ผ ลิต ภัณ ฑ์สุ ข ภาพอื่น ๆ อาจไม่ ไ ด้มีก าร
คลาดเคลื่อนดังกล่าวได้ บันทึกในระบบคอมพิวเตอร์โรงพยาบาล ซึ่งอาจส่งผลต่อ
การพัฒนากระบวนการ MR ใหม่ส่งผลให้จานวน การรักษา
ความคลาดเคลื่อนทางยาที่มีความรุนแรงในระดับ D (เกิด หากต้องการพัฒนา MR ให้บุคลากรเกิดความพึง
ความคลาดเคลื่อนขึน้ แต่ไม่เป็ นอันตรายต่อผู้ป่วย แต่ยงั มี พอใจมากขึน้ อาจต้องมีการพัฒนาด้านการออกแบบเพื่อให้
ความจ าเป็ นต้ อ งติ ด ตามผู้ ป่ วยเพิ่ม เติ ม ) ลดลงอย่ า งมี มีความสวยงามน่ าใช้งานจากซอฟต์แวร์ท่มี คี ่าใช้จ่าย และ
นั ย ส าคัญ ทางสถิ ติ จ ากร้ อ ยละ 18.27 เป็ นร้ อ ยละ 5.77 การเพิ่ม ความสะดวกต่ อ การสืบ ค้ น ข้อ มู ล และการออก
(P<0.001) ตัว อย่ า งความคลาดเคลื่อ นระดับ D ที่พ บใน รายงานการประสานรายการยา โดยเปลี่ยนจากการสืบค้น
การศึก ษา ได้แ ก่ การไม่ สงใช้ ั ่ ย าเดิม ในผู้ป่ วยเบาหวาน โดยใช้เลขบัตรประชาชนในปั จจุบนั เป็ นการสืบค้นจาก รหัส
ส่งผลให้ต้องมีการติดตามและตรวจค่าทางห้องปฏิบตั ิการ ประจ าตัวผู้ป่ วย หรือ ชื่อ -สกุ ล เพื่อ ความรวดเร็วขึ้น การ
เพื่อ ปรับ ขนาดยา เป็ น ต้ น ผลการศึก ษานี้ ส อดคล้อ งกับ ออกแบบระบบควรท าให้ มี ค วามเชื่ อ มโยงกับ ข้ อ มู ล ที่
การศึก ษาของ Hron และคณะ ที่พ บว่ า การใช้ MR ด้ว ย เกีย่ วข้องอื่น ๆ เพื่อพัฒนางานด้านอื่น ๆ เพิม่ เติม
ระบบอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ส่ ง ผลให้ มีก ารประสานรายการยา
เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 84 ความคลาดเคลื่อนทางยาก่อนและหลังใช้ สรุป
กระบวนการลดลงร้อยละ 53 (18) การศึกษาของศิรริ ตั น์ ไส ผ ลกา ร ศึ ก ษ า แ สดง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า กา ร พั ฒ น า
ไทย และคณะพบว่า ในขณะแรกรับผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาล กระบวนการ MR ที่ส ามารถติด ตามข้อ มู ล การประสาน
พบความคลาดเคลื่อนทางยาทีม่ คี วามรุนแรงระดับ B, C, A รายการยาในขัน้ ตอนการทวนสอบเพื่อให้ผู้สงใช้ ั ่ ยาทราบ
และ D เท่ากับร้อยละ 48.7, 25.6, 21.9 และ 3.7 ตามลาดับ ประวัติการรักษาได้ทนั ทีด้วยชุดคาสังอิ ่ เล็กทรอนิกส์ผ่าน
ขณะจาหน่ ายผูป้ ่ วย พบความคลาดเคลื่อนทางยาทีม่ คี วาม ทางเครือข่ายออนไลน์ระหว่างโรงพยาบาลและหน่วยบริการ
รุนแรงระดับ A และ B ร้อยละ 14.0 และ 7.0 ตามลาดับ ซึง่ ปฐมภูมิ ช่วยลดข้อจากัดจากการไม่สามารถติดตามประวัติ
กระบวนการ MR ท าให้สามารถตรวจหาคลาดเคลื่อนได้ การรัก ษาของผู้ ป่ วยในช่ ว งนอกเวลาราชการ ช่ ว ยลด
อย่างมีประสิทธิภาพ (24) ระยะเวลาในการติดตามข้อมูลทางยาและระยะเวลาในการ
คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยของบุคลากรในด้า น ได้รบั ยาเดิมของผู้ป่วยที่รบั ไว้ในโรงพยาบาล จึงสามารถ
ประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบ เท่ากับ 4.06± 0.41 ป้ องกันและลดอุบตั ิการณ์ ความคลาดเคลื่อนทางยาที่ อาจ
คะแนน ด้านการออกแบบมีคะแนน 3.90 ± 0.54 คะแนน เกิดขึ้นระหว่างรอยต่ อการให้บริการระหว่างโรงพยาบาล
และด้า นการสนั บ สนุ น การใช้ง านมีค ะแนน 4.07 ± 0.71 และหน่วยบริการปฐมภูมไิ ด้
คะแนน เนื่ อ งจากเทคโนโลยีและเครื่อ งมือที่เกี่ยวข้องใน

151
กิ ตติ กรรมประกาศ 6. Healthcare Accreditation Institute. History of the
ผู้ วิ จ ั ย ข อข อบ คุ ณค ณา จา รย์ ข อง หลั ก สู ต ร institute [online]. 2015 [cited Jun 10, 2019]. Availa-
เภสัช ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัช กรรมปฐมภูมิ คณะ ble from: www.ha.or.th
เภสัช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคามทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ 7. Hemachudha A, Suetrong C. Medication reconcilia
ค าแนะน าและข้อ เสนอแนะในการท าวิจ ัย ครัง้ นี้ อีก ทัง้ tion measure to increase the safety of the drug
ขอขอบคุ ณ ผู้อ านวยการ เจ้า ที่โ รงพยาบาลภู ห ลวงและ system [ online]. 2019 [ cited Jun 12, 2019] .
เจ้าหน้าทีห่ น่วยบริการปฐมภูมใิ นเขตพืน้ ทีอ่ าเภอภูหลวงทีม่ ี Available from: ccpe.pharmacycouncil.org.
ส่ ว นช่ ว ยให้ ง านวิ จ ัย นี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งไปด้ ว ยดี สุ ด ท้ า ยนี้ 8. Pumapirat W. Evaluation of medication reconciliation
ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ process in outpatients with diabetes from primary
สนับสนุนทุนในการวิจยั ครัง้ นี้ care units at Nopparatrajathanee hospital [master
thesis]. Nakon Pathom: Silpakorn University; 2014.
9. Hepler CD, Strand LM. Opportunities and responsibi
เอกสารอ้างอิ ง
lities in pharmaceutical care. Am J Hosp Pharm.
1. World Health Organization. New data highlight
1990; 47: 533-43.
increases in hypertension, diabetes incidence [on
10. Khrueawang K. Medication error. Public Health &
line]. 2019 [cited Jun 10, 2019] . Available from:
Health Laws Journal. 2018; 4: 251–65.
www.who.int/mediacentre/news/releases/2012/worl
11. Health Information System Development Office. Key
d_health_statistics_20120516/en
performance indicator for hospital pharmacy
2. Aekplakorn W. Executive summary. In: Aekplakorn
[ online]. date unknown [ cited Jun 10, 2019] .
W, editor. Thai national health examination survey,
Available from: www.hiso.or.th/hiso/picture/reportH
NHES V. Nonthaburi: Health Systems Research
ealth /add_pro4_3.pdf
Institute; 2016.
12. Rich DS. New JCAHO medication management
3. Karnjanapiboonwong A, Khamwangsaya P, Keawtha
standards for 2004. Am J Health Syst Pharm. 2004;
S. Non-communicable disease situation according
61: 1349–58.
to 9 global goals in Thailand. In: Aekplakorn W,
13. Payne R, Franklin BD, Slight S, Avery A. Medication
editor. The situation report of NCDs, diabetes,
error. Geneva: Department of Service Delivery and
hypertension and related factors in 2019.
Safety, World Health Organization; 2016.
Nonthaburi: Health Systems Research Institute;
14. National Coordinating Council for Medication Error
2016.
Reporting and Prevention. NCC MERP Index for
4. Cornish PL, Knowles SR, Marchesano R, Tam V,
categorizing medication errors algorithm [online].
Shadowitz S, Juurlink DN, et al. Unintended
1996 [ cited Jun 10, 2019] . Available from:
medication discrepancies at the time of hospital
www.nccmerp.org/types-medication-errors
admission. Arch Intern Med 2005; 165: 424-29.
15. Bails D, Clayton K, Roy K CM. Implementing online
5. Joint Commission on Accreditation of Healthcare
medication reconciliation at a large academic
Organizations. Standards [online]. 2019 [ cited Jun
medical center. Jt Comm J Qual Patient Saf. 2008;
10, 2019]. Available from: www.jointcommission.org
34 : 499–508.
/standard.
16. Agrawal A, Wu W. Reducing medication errors and
improving systems reliability using an electronic

152
medication reconciliation system. Jt Comm J Qual reconciliation system at Lersin Hospital. Journal of
Patient Saf. 2009; 35 : 106 –14. the Department of Medical Services 2017; 42 : 81–
17. Thummawut W, Nualming P, Tansakul S. Deve 7.
lopment of electronic information system for 22. Papsamoot N, Wajajamrorn B, Thaipanich A, Plang
medication reconciliation. Thai Journal of Hospital sangan A, Kumkaew J, Pongpetdit M. Use of
Pharmacy. 2017; 27 : 147–58. medication reconciliation in addition to drug use
18. Hron JD, Manzi S, Dionne R, Chiang VW, Brostoff counseling for diabetic out-patients. Thai Pharma
M, Altavilla SA, et al. Electronic medication reconci ceutical and Health Science Journal 2012; 7: 73-7.
liation and medication errors. Int J Qual Care. 2015; 23. Mekonnen AB, Abebe TB, McLachlan AJ, Brien
27: 314–9. JAE. Impact of electronic medication reconciliation
19. Taha H, Abdulhay D, Luqman N, Ellahham S. interventions on medication discrepancies at
Improve admission medication reconciliation compli hospital transitions: A systematic review and meta-
ance using the electronic tool in admit medical analysis. BMC Med Inform Decis Mak. 2016; 16: 1-
patient. BMJ Qual Improv Rep. 2016; 5: 1–4. 14.
20. White CM, Schoettker PJ, Conway PH, Geiser M, 24. Saithai S, Wongpoowarak. Outcomes of medication
Olivea J, Pruett R, et al. Utilising improvement reconciliation at the female medical ward in a
science methods to optimise medication reconci general hospital. Thai Journal of Pharmacy Practice
liation. BMJ Qual Saf. 2011; 20: 372–80. 2013; 5: 2–15.
21. Sirichai S, Kamalasai K, Kulchulakranont W,
Rutikasem A, Chueiad A. Evaluation of medication

153

You might also like