You are on page 1of 25

รายงานการวิจยั เพือสอบวุ ฒบ
ิ ต
ั ร
แสดงความรู ้ความชานาญในการประกอบวิช
าชีพเวชกรรม
สาขาศ ัลยศาสตร ์

เรือง
การศึกษาผลของการใช ้ยาแอสไพรินและเมทฟอร ์มิ
นต่ออัตราการรอด
ชีวต
ิ ในผูป้ ่ วยมะเร็งลาใส ้ใหญ่และทวารหนัก
Metformin and aspirin treatment could
improve overall survival in colorectal
cancer patients.
โดย
นพ. ภัคพล ปรีชาญาณ
อ.ชินกฤต บุญญอัศดร
สถาบันฝึ กอบรม
ภาควิชาศัลยศาสตร ์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้า
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ.2562

หนังสือร ับรอง
คณะกรรมการฝึ กอบรมแพทย ์ประจาบ ้านสาขาศัลยศาสตร ์ภาควิชาศั
ลยศาสตร ์
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้ามหาวิทยาลัยมหิดล

ขอร ับรองว่ารายงานการวิจยั เรืองการศึ กษาผลของการใช ้ยาแอสไพริ
นและเมทฟอร ์มินต่ออัตราการรอดชีวต ิ ในผูป่้ วยมะเร็งลาใส ้ใหญ่และท
วารหนักโดยนพ.ภัคพล ปรีชาญาณ
ได ้ดาเนิ นการวิจยั ในขณะเข ้าร ับการฝึ กอบรมแพทย ์ประจาบ ้านสาขา

ศัลยศาสตร ์ตามหลักเกณฑ ์การวิจยั เพือสอบวุ ฒบิ ต
ั รแสดงความรู ้ควา
มชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาศัลยศาสตร ์ของราชวิ
ทยาลัยศัลยแพทย ์แห่งประเทศไทยตังแต่ ้ พ.ศ.2558-2562

..........................................
(พันเอก ธารงโรจน์ เต็มอุดม)
หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร ์โรงพยาบาล
............................................
( พันเอก ชินกฤต บุญญอัศดร)
่ กษาการทาวิ
อาจารย ์ทีปรึ
จัย
การลงตีพม ิ พ ์ใน Thai Journal of Surgery
• ยินดีให ้ลงตีพม ิ พ์
• ขอสงวนสิทธิในการลงตี ์ พม ิ พ์
..............................................................
อาจารย ์ทีปรึ ่ กษาและอาจารย ์ผู ้ร่วมทาการวิจยั

สารบัญ
Abstract
บทคัดย่อ
บทนา
วิธก
ี ารทาวิจยั
ผลการวิจยั

บทวิจารณ์
บทสรุป
เอกสารอ ้างอิง
ภาคผนวก
แบบบันทึกข ้อมูลการวิจยั
แบบประวัตผิ ู ้วิจยั
Abstract

Metformin and aspirin treatment could improve overall


survival in colorectal cancer patients.
Pakkapol Preechayan MD., Chinakrit Boonyaussadorn MD.
Background: Regular use of aspirin(ASA) or metformin(MFM)
can decreased the incidence of colorectal cancer(CRC), However
the use as primary prevention is debated because of the risk of
adverse effects. Aspirin or metformin as secondary prevention
may be more justified from a risk-benefit perspective.
Objectives: To examined the benefits of aspirin and metformin
as secondary prevention in colorectal cancer patients.
Methods: A retrospective cohort study was conducted by
patients diagnosed with CRC and underwent surgery in
Phramongkutklao hospital between 2007 to 2017. The patient
were divided into four groups by aspirin or metformin use and
compare survival with log rank test. Multivariable Cox-
proportional hazard analyses were used to model survival. The
main outcome measures of the study were overall survival(OS).

Results: A total of 220 CRC patients with curative resection


were enrolled in this study. The 135(61.4%) patients were in
reference group or Group 1(No ASA, No MFM), the 48(21.8%)
patients were in Group 2(ASA use only), the 18(8.2%) patients
were in Group 3(MFM use only), the 19(8.6%) patients were in
Group4(ASA and MFM uses). In multivariable analysis, when
compare with reference group the used of aspirin or metformin
was not associated with improved OS (Group 2, HR=1.27, 95%
CI=0.77-2.09, P=0.345), (Group 3, HR=0.95 95%CI=0.41-2.22,
P=0.908), (Group 4, HR=1.16 95%CI=0.46-2.22, P=0.756)

Conclusion: Aspirin or metformin use in the patient diagnosed


with CRC and underwent surgery is not associated with
improved OS.

บทคัดย่อ

พืนหลั งวิจยั :การใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินสามารถลดอุบต ั ก
ิ ารณ์เกิดโร
คมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ตรงได ้
อย่างไรก็ตามการใช ้ยาเพือป้่ องกันโรคในระดับปฐมภูมย ่
ิ งั เป็ นทีถกเถี ยงกันอยู่
เนื่ องจากมีผลข ้างเคียงค่อนข ้างมาก
การใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินในแง่การป้ องกันทุตยิ ภูมอ
ิ าจมีความคุ ้มค่า
มากกว่าในแง่ประโยชน์และความเสียงที ่ ผู
่ ป้ ่ วยจะได ้ร ับ
่ กษาถึงอัตราการรอดชีวต
วัตถุประสงค ์:เพือศึ ิ ในผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้
่ ้ร ับการร ักษาอย่างหายขาดด ้วยการผ่าตัดโดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
ตรงทีได
่ ้ร ับการรกั ษาด ้วยยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินเทียบกับกลุ่มทีไม่
ทีได ่ ได ้ร ับยา

วิธก
ี ารวิจยั : ทาการสืบค ้นจากเวชระเบียน
่ ้ร ับการร ักษาด ้วยการผ่าตัด
โดยการสุ่มผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ตรงทีได
ในร.พ.พระมงกุฏเกลา้ ตังแต่้ ปีพ.ศ.2550-2560 โดยผูป้ ่ วยจะถูกแบ่งออกเป็ น 4
กลุ่มตามการใช ้ยาและนามาวิเคราะห ์เปรียบเทียบการรอดชีวต ิ ด ้วย log rank
test และ Multivariable Cox- proportional hazard
โดยผลลัพธ ์หลักในงานวิจยั นี คื ้ ออัตราการรอดชีวต ้
ิ ทังหมด
ผลการวิจยั : ผูป้ ่ วยจานวน 220
่ ้ร ับการรกั ษาด ้วยวิธผ
คนทีได ่ นทึกข ้อมูลในงายวิจยั นี ้
ี ่าตัดได ้ถูกสุ่มเผือบั
โดยมีผูป้ ่ วยจานวน 135คน(61.4%)ถูกจัดอยู่ในกรุ ๊ป
1(ไม่ได ้ใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มิน) 48คน(21.8%)ในกรุ ๊ป
2(ใช ้เฉพาะยาแอสไพริน) 18คน(8.2%)ในกรุ ๊ป3(ใช ้เฉพาะยาเมทฟอร ์มิน) และ
19คน(8.6%)ในกรุ ๊ป4(ใช ้ยาแอสไพรินและเมทฟอร ์มิน)
จากการวิเคราะห ์พหุตวั แปร
ไม่พบความสัมพันธ ์ระหว่างกลุ่มทีใช ่ ้ยาและอัตราการรอดชีวต ่
ิ รวมทีมากขึ น้

สรุป:การใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินไม่สม ั พันธ ์กับการรอดชีวต ่


ิ ทีมากขึ
นใ้
่ ้ร ับการร ักษาด ้วยการผ่าตัด
นผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ตรง ทีได

บทนา
มะเร็งลาไส ้ใหญ่และไส ้ตรง ( Colorectal cancer )

เป็ นมะเร็งทีพบบ่ อยและเป็ นสาเหตุของการเสียชีวต ิ ทีส ่ าคัญของประชากรทัวโล

ก และจากข ้อมูลทะเบียนมะเร็งในประเทศไทยใน Cancer in Thailand
Vol.VIII 2010-2012 พบว่า โรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และไสต้ รง พบเป็ นอันดับ 3
ในเพศชาย (รองจากมะเร็งตับและมะเร็งปอด) มีอบ ุ ต ั ก
ิ ารณ์คอื 14.4
ต่อประชากรแสนคน และเป็ นอันดับ 4 ในเพศหญิง(รองจากมะเร็งเต ้านม
มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งตับ) โดยมีอบ ุ ต ั ก
ิ ารณ์ 11.2 ต่อประชากรแสนคน1
โดยพบว่าผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และไสต้ รงทีได ่ ้ร ับการร ักษาด ้วยวิธผี ่าตัดนั้น
มีอต ั ราการรอดชีวต ้
ิ และการเป็ นซาในระยะเวลา 5 ปี ที่ 73.8% และ 5.7%
ตามลาดับ2 จากหลักฐานเชิงประจักษ ์พบว่า
การให ้ยาแอสไพรินและยาต ้านการอักเสบชนิดทีไม่
่ ใช่สเตียรอยด ์
สามารถลดอุบต ั กิ ารณ์และอัตราการเสียชีวต ่
ิ ของมะเร็งลาไส ้ใหญ่และไส ้ตรงได ้เมือให ้ก่อนการวินิจฉัย3-5 แต่อย่างไรก็ตาม
่ นการป้ องกันโรคแบบปฐมภูมิ อาจไม่คุ ้มค่ากับผลขา้ งเคียงของยาทีผู
การให ้ยาเพือเป็ ่ ป้ ่ วยจะได ้รบั เช่นภาวะ aspirin-induced
gastric และ cerebral hemorrhages6-7 ในทางตรงกันข ้าม
การให ้ยาเพือ
่ ป้ องโรคแบบทุตย ิ ภูมใิ นผู ้ป่ วยทีไ่ ด ้รับการวินจ
ิ ฉั ย Colorectal cancer
และได ้รับการรักษาด ้วยวิธผ
ี า่ ตัดมาแล ้วนัน ้ น่าจะมีประโยชน์มากกว่าเมือ ่ งในการเป็ นซ้าของโรค
่ เทียบกับความเสีย

Metformin เป็ นยากลุม่ biguanide มีประสิทธิภาพลดน้ าตาลในเลือดในผู ้ป่ วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2


กลไกหลักในการออกฤทธิข ์ อง metformin นัน ้ ไปลดการสร ้างน้ าตาลทีต
่ ับ (hepatic gluconeogenesis)
และช่วยเพิม
่ peripheral insulin sensitivity รวมทัง้ ลดการดูดซึมของ glucose ทีล ่ าไส ้ ส่วนกลไกด ้านโมเลกุลนัน

Metformin ไปกระตุ ้น AMP- activated protein kinase (AMPK) ผ่านทาง Liver kinase B1 (LKB1)-dependent
ผลจากการกระตุ ้น AMPK ทาให ้เกิดการยับยัง้ mammalian target of the rapamycin(mTOR) pathway
ซึง่ มีบทบาทสาคัญในการทาให ้เกิด cell growth และ proliferation ดังนั น ้ การกระตุ ้น AMPK โดย Metformin
อาจมีผลต่อการกดการสร ้างและการเติบโตของเซลล์มะเร็ง โดยมีการวิจัยแบบทดลองในสัตว์พบว่าการใช ้ยา
Metformin ช่วยลดการเกิด Colorectal adenomas8,9
และมีการศึกษาวิจัยทีพ
่ บว่าผู ้ป่ วยโรคเบาหวานชนิดทีส ่ องทีไ่ ด ้รับยา Metformin
มีโอกาศการเกิดโรคมะเร็งตา่ กว่าผู ้ป่ วยทีไ่ ม่ได ้รับยาชนิดนี้

ถึงแม ้ว่าจะมีหลักฐานจากงานวิจัยทัง้ ในแบบ In vivo และ In vitro ทีส ่ นับสนุนประสิทธิภาพของ


Metformin ในการทาหน ้าทีเ่ ป็ นสารป้ องกันมะเร็ง ( Chemopreventive agent)
แต่ก็ยังไม่มงี านวิจัยทางคลินก
ิ ทีท
่ าการศึกษาผลของการให ้ยา Metformin และ Aspirin

ในการป้ องกันเกิดเป็ นซารวมถึงอัตราการรอดชีวต ิ ในผู ้ป่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และไส ้ตรง

้ ศ้ ก
ด ้วยเหตุนีผู ่
ึ ษาจึงเลือกศึกษาวิจยั ในเรืองของการได ้ร ับยา
Metformin และ Aspirin

ของผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่ว่าจะมีการเป็ นซาและอั ตราการเสียชีวต ิ ลดลงได ้ห
รือไม่
วิธก
ี ารทาวิจยั
แบบแผนการวิจย

การศึกษาแบบการวิจยั เชิงวิเคราะห ์ (Observational, Retrospective
cohort study)
่ กษาถึงอัตราการรอดชีวต
เพือศึ ่ ้ร ับก
ิ ในผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ตรงทีได
ารร ักษาอย่างหายขาดด ้วยการผ่าตัด (Curative resection)
่ ้ร ับยา Aspirin และ Metformin
ระหว่างกลุ่มผูป้ ่ วยทีได
เทียบกับกลุ่มทีไม่่ ได ้ร ับยา
โดยการเก็บข ้อมูลจากเวชระเบียนของผูป้ ่ วยทีได ่ ้ร ับการผ่าตัดรกั ษาโรคมะเร็ง
ลาไส ้ใหญ่และทวารหนักในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้า

และตรวจพบการกลับเป็ นซาของโรคมะเร็ ้ ปี 2549-2559
ง ตังแต่
่ าการศึกษา
ลักษณะตวั อย่างหรือประชากรทีท
ก.ประชากรเป้ าหมาย
่ ้ร ับการผ่าตัดรกั ษาโรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนักในโรงพยาบาล
ผูป้ ่ วยทีได

พระมงกุฎเกล ้าและตรวจพบการกลับเป็ นซาของโรคมะเร็ ้ ปี 2549-
ง ตังแต่
2559
ข.การเลือกตัวอย่าง
Inclusion criteria
- ผูป้ ่ วยโรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนักระยะที่ 1-3
่ ้ร ับการผ่าตัดแบบ Curative resection
- ผูป้ ่ วยทีได
Exclusion criteria

- ผูป้ ่ วยโรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนักระยะที4
หรือตรวจพบการกระจายของมะเร็งตังแต่ ้ กอ่ นผ่าตัด
่ ได ้มาร ับการร ักษาติดตามหลังผ่าตัดอย่างต่อเนื่ อง
- ผูป้ ่ วยทีไม่
ค.ขนาดตัวอย่าง

ในการศึกษาครงนี ้ั ได้ ้ทบทวนวรรณกรรมจาก Simer J.Bains


และคณะพบว่า ปัจจัยทีมี ่ ผลต่อการเกิดเสียชีวต ิ ของ CRC
มีคา่ อุบต
ั ก
ิ ารณ์เท่ากับ 32.9% และพบว่าการใช ้ Aspirin
มีคา่ ความสัมพันธ ์ในการเสียชีวต ิ เป็ น HR เท่ากับ 3. เท่า 12(95%CI: 1.03
8 –) ดังนั้นจึงนาค่าสถิตข ิ องงานวิจยั ดังกล่าว
มาใช ้ในการคานวณขนาดตัวอย่างดังนี ้

2 pq ( Z  Z  ) 2
สูตร n
( pc  pt ) 2

โดย pc คือสัดส่วนการเสียชีวต ่ ใช ้ Aspirin


ิ ในกลุ่มคนไข ้ทีไม่
มีคา่ เท่ากับ 0.329
R = ค่าระดับความสัมพันธ ์ของ Aspirin
มีผลต่อการเกิดเสียชีวต
ิ เท่ากับ 3. 12
โดยที่
pt  R  pc สัดส่วนค่าการเสียชีวต ่ ้ Aspirin มีคา่ เท่ากับ
ิ ในกลุ่มคนไข ้ทีใช
0.605
pc  pt
p =0.467
2

q  1  p =0.533

กาหนดให ้ n  ขนาดตัวอย่าง
Z  คือค่า type I error กาหนดให ้   5% ; Z = 1.96
2

Z  คือค่า type II error กาหนดให ้   20% ; Z = 0.84


2 pq ( Z  Z  ) 2
คานวณ n
( pc  pt ) 2

2(0.467)(0.533)(1.96  0.84)2

(0.329  0.605)2

 51.34

 52 / groups

นั้นคือ จะต ้องใช ้จานวนขนาดตัวอย่าง น้อยทีสุ


่ ด (52x4)= 208 ราย
ในการศึกษาครงนี ้ั ้

วิธด
ี าเนิ นการวิจยั (Methodology)

ก.วิธด
ี าเนิ นการ

การศึกษาเชิงวิเคราะห ์จากเหตุไปหาผลแบบย ้อนหลัง (Retrospective


Cohort Study)
โดยการเก็บข ้อมูลจากเวชระเบียนและผลตรวจทางหอ้ งปฏิบต ั กิ ารของผูป้ ่ วยทีไ่
ด ้เข ้าร ับการร ักษาในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้าทีได ่ ้ร ับการผ่าตัดมะเร็งลาไส ้ใ
หญ่และทวารหนักตังแต่ ้ ปี 2549-2559

และตรวจพบการกลับเป็ นซาของโรคมะเร็ ง และคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตาม
inclusion และ exclusion criteria โดยเก็บข ้อมูลพืนฐาน ้ ได ้แก่ เพศ, อายุ,
โรคทีได ่ ้ร ับการวินิจฉัย, ระยะของโรคขณะได ้ร ับการวินิจฉัยตาม 7th TNM
classifcation, การกลับเป็ นซา, ้ การได ้รบั ยา MetforminและAspirin
หลังจากได ้ขอมูลแลว้ นามาแบ่งเป็ น 4 กลุ่มได ้แก่
่ ได ้ร ับยา Metformin และ Aspirin
1.กลุ่มทีไม่
่ ้ร ับเฉพาะยา Aspirin
2.กลุ่มทีได
่ ้ร ับเฉพาะยา Metformin
3.กลุ่มทีได
่ ้ร ับทังยา
4.กลุ่มทีได ้ Metformin และ Aspirin

ข.การวัดผลทางการวิจยั (Outcome measurement)

ศึกษาหาผลของยา Metformin และ Aspirin


่ ต่อการกลับเป็ นซาและการรอดชี
ทีมี ้ วติ ในผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และไสต้ รง
หลังได ้ร ับการร ักษาด ้วยการผ่าตัด โดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 4
กลุ่มข ้างต ้น โดยใช ้การวิเคราะห ์ข ้อมูลทางสถิติ

ค.คาจากัดความ (Operational definition)



1. การกลับเป็ นซาของโรคมะเร็ ง (Tumor recurrence)

ในการวิจยั นี หมายรวมถึ ้
งการกลับเป็ นซาในต าแหน่ งเดิม (local
recurrence) และการตรวจพบการกระจายไปตาแหน่ งอืน ่ (metastasis)
โดยตรวจพบภายหลังมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนัก (primary tumor)
่ นยันโดยการตรวจอย่างน้อยหนึ่ งอย่าง ดังนี ้
อย่างน้อย 3 เดือน ซึงยื
การตรวจ pathology, computed tomography (CT), magnetic
resonance imaging (MRI) หรือ X-ray
2. Curative resection คือ
การไม่พบมะเร็งหลงเหลืออยู่ในบริเวณทีผ่ ่ าตัดก ้อนมะเร็ง(surgical bed)
้ ้วยตาเปล่า(gross residual tumor)
ทังด
้ ผ่
และการดูขอบเขตของก ้อนเนื อที ่ าตัดออกจากกล ้องจุลทรรศน์(patholo
gical surgical resection margin)
การเก็บรวบรวมข้อมู ล
ก. วิธก
ี ารเก็บรวบรวมข ้อมูล

หลังจากทาการขออนุ ญาตผูอ้ านวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้าเพือ ่


ขอเข ้าสืบค ้นข ้อมูลในเวช-ระเบียนแล ้ว
จะทาเก็บรวบรวมข ้อมูลจากบันทึกเวชระเบียนและผลตรวจทางห ้องปฏิบต ั ก ิ
าร โดยการสืบค ้นข ้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร ์ของรพ.พระมงกุฎเกล ้า
่ ้กรอกลงในเอกสารบันทึกข ้อมูล
และนาข ้อมูลทีได
ตามเอกสารทีได ่ ้แนบในภาคผนวก
ภายหลังจากการรวบรวมข ้อมูลแล ้ว
จะนาข ้อมูลทีได ่ ้มาบันทึกลงในโปรแกรมทางสถิติ
โดยการบันทึกจะใช ้เฉพาะรหัสประจาตัวทีเตรี ่ ยมขึนส
้ าหร ับการวิจยั โดยเฉ

พาะ ซึงจะไม่ มช ่ื
ี อของเจ ้าของข ้อมูล
และต ้นฉบับของข ้อมูลจะถูกเก็บไว ้ในทีที ่ ปลอดภั
่ ย และเป็ นความลับ
ผูท้ าการวิจยั เท่านั้นทีสามารถค
่ ่ แท
้นหารายชือที ่ ้จริงได ้
่ี ้ในการเก็บข ้อมูล
ข. อุปกรณ์ทใช
1. เวชระเบียน ผ่านระบบคอมพิวเตอร ์รพ.พระมงกุฎเกล ้า
2. ผลตรวจทางห ้องปฏิบต ั ก
ิ าร ผ่านระบบคอมพิวเตอร ์รพ.พระมงกุฎเกล ้า
3. เอกสารบันทึกข ้อมูล (Case report form)
การวิเคราะห ์ข้อมู ล
อธิบายลักษณะข ้อมูลทีได ่ ้จากการสุ่มตัวอย่าง
ด ้วยการวัดค่าแนวโน้มเข ้าสู่ส่วนกลางและค่าการกระจาย โดยใช ้สถิตพ
ิ รรณนา
)Descriptive) แสดงค่าความถี่ )Frequency, N) และร ้อยละ(%)
สาหร ับข ้อมูลเชิงกลุ่ม และแสดงค่ากลางด ้วยค่าเฉลีย ่

และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน )S.D.) สาหรบั ข ้อมูลเชิงปริมาณ
ในลาดับของการวิเคราะห ์อนุ มานทางสถิติ
โดยค่าสถิตท ้ั
ิ งหมดจะก าหนดค่าระดับความมีนัยสาคัญทางสถิตท ิ ่ี p-value <
0.05 ใช ้สถิตวิ เิ คราะห ์ในแต่ละวัตถุประสงค ์ของผลการศึกษาดังต่อไปนี ้

1. วิเคราะห ์เปรียบเทียบผลการศึกษาสาหร ับข ้อมูลเชิงปริมาณระหว่างกลุ่ม


กลุ่ม 4ว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตห ิ รือไม่ด ้วยสถิติ
ANOVA test
2. วิเคราะห ์เปรียบเทียบผลการศึกษาสาหร ับข ้อมูลเชิงกลุ่ม ระหว่าง 4 กลุ่ม
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตห ิ รือไม่ด ้วย สถิติ Chi square
test
3. ทาการวอเคราะห ์ Multivariate analysis

เพือขจั ่ ความสัมพันธ ์ร่วมกัน โดยสถิติ
ดอิทธิพลร่วมระหว่างตัวแปรทีมี
Cox regression analysis
ปั ญหาด้านจริยธรรม

ข ้อมูลส่วนตัวของแต่ละบุคคล รวมทังผลการตรวจทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
จะถูกเก็บเป็ นความลับ
โดยการบันทึกจะใช ้เฉพาะรหัสประจาตัวทีเตรี ่ ยมขึนส
้ าหร ับการวิจยั โดยเฉพาะ

ซึงจะไม่ มช ่ื
ี อของเจ ้าของข ้อมูล
และต ้นฉบับของข ้อมูลจะถูกเก็บไว ้ในทีที ่ ปลอดภั
่ ย และเป็ นความลับ
ผูท้ าการวิจยั เท่านั้นทีสามารถค
่ ่ แท
้นหารายชือที ่ ้จริงได ้

ผลการวิจยั
ผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนักระยะที่ 1-3 จานวน 220 คน
่ ้ร ับการผ่าตัดในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล ้า ตังแต่
ทีได ้ มกราคม พ.ศ. 2549
ถึง ธันวาคม พ.ศ.2559 พบการกลับเป็ นซา้ 88 คน คิดเป็ น 40%
โดยศึกษาข ้อมูลพืนฐาน ้ ประกอบด ้วย อายุ, เพศ, ตาแหน่ งการเกิดมะเร็ง,

โรคประจาตัว, ลักษณะการเปลียนแปลงของเซลล ์มะเร็ง (Differentiation),
ขอบเขตของก ้อนหลังผ่าตัด, ความลึกในการลุกลามของก ้อนมะเร็ง(T
staging), การกระจายไปต่อมน้าเหลือง,
การลุกลามเข ้าสู่ระบบหลอดเลือดและน้าเหลือง(lymphovascular invasion),
การได ้ร ับยาเคมีบาบัดหลังผ่าตัด,

การใชยาแอสไพริ นหรือเมทอฟอร์มน ิ แบ่งตามกลุม ่ ดังแสดงในตารางที่ 1
่ าการเก็บข ้อมูลมีอายุเฉลียอยู
พบว่าผูป้ ่ วยทีท ่ ่ท่ี 63ปี (63.66 ± 9.24)
ส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย(59.5%)
ตาแหน่ งของการเกิดมะเร็งพบทีล่ าไส้ตรง(61.8%)มากกว่าลาไส้ใหญ่(38.2%)
ผูป
้ ่ วยมีโรคประจาตัวเป็ นความดันโลหิตสูง(31.4%)เบาหวาน(20%)
และไตวายเรื้อรังเรียง(13.6%) ตามลาดับ
ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่มีลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงของเซลล์มะเร็งในระดับปานกลางถึงชัดเจน(95.5%)
ผูป ้ ่ วยส่วนใหญ่ได้รบั การรักษาเสริมหลังผ่าตัด (85.9%)
และเมือ ่ แบ่งผูป ้ ่ วยออกเป็ นกลุม ่ ตามการใช้ยา
พบว่าผูป ้ ่ วยอยุใ่ นกลุม
่ ทีไ่ ม่ได้ใช้ยามากทีส
่ ุด(61.4%)
และผูป ้ ่ วยทีไ่ ด้รบั เฉพาะยาแอสไพริน(21.8%)รองลงมา
และผูป ้ ่ วยทีไ่ ด้รบั เฉพาะยาเมทฟอร์มน ิ หรือใช้ยาทัง้ สองตัวตามลาดับ (8.2%, 8.6%)

ตารางที่ 1 ข ้อมูลพืนฐาน

Table 1 Demographic data (n=220)
Statistics data
Variables
Mean ± SD. or n (%) Median [range]
Age 63.66 ± 9.24 65 [38 - 85]
Gender
Male 131 (59.5%)
Female 89 (40.5%)
Location
Colon 84 (38.2%)
Rectum 136 (61.8%)
Statistics data
Variables
Mean ± SD. or n (%) Median [range]
Underlying disease
DM 44 (20%)
HT 69 (31.4%)
CKD 30 (13.6%)
Differentiation
Undiff, Poorly diff 10 (4.5%)
Mod, Well diff 210 (95.5%)
LN positive 98 (44.5%)
LVI positive 74 (33.6%)
Margin 2 (0.9%)
Adjuvant therapy 189 (85.9%)
Group
1=ASA:No MFM:No 135 (61.4%)
2=ASA:Yes MFM:No 48 (21.8%)
3=ASA:No MFM:Yes 18 (8.2%)
4=ASA:Yes MFM:Yes 19 (8.6%)
Status
Alive 132 (60%)
Recurrence 3 (1.4%)
Death 85 (38.6%)

ในตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบข ้อมูลทั่วไปของผู ้ป่ วยใน 4 กลุม



พบว่ามีความแตกต่างกันของตาแหน่งทีเ่ กิดมะเร็งในระหว่างกลุม ่ และโรคประจาตัวคือเบาหวาน ความดัน
และไตวายเรือ
้ รัง (P<0.001)

Table 2 การเปรียบเทียบระหว่าง 4 กลุ่ม


Variables 1=ASA: 2=ASA:Y 3=ASA:N 4=ASA:N p-
No es o o value
MFM:No MFM:No MFM:Ye MFM:Yes
s
(n=135) (n=48) (n=18) (n=19)
Age 63.26 ± 63.73 ± 68.61 ± 61.63 ± 0.09
9.37 9.19 6.36 9.87 5
Gender
Male 84 27 8 12 0.48
(62.2%) (56.3%) (44.4%) (63.2%) 9
Female 51 21 10 7 (36.8%)
(37.8%) (43.8%) (55.6%)
Location
Colon 56 19 6 3 (15.8%) <0.0
(41.5%) (39.6%) (33.3%) 01*
Rectum 79 29 12 16
(58.5%) (60.4%) (66.7%) (84.2%)
DM 5 (3.7%) 3 (6.3%) 17 19 (100%) <0.0
(94.4%) 01*
HT 11 38 3 17 <0.0
(8.1%) (79.2%) (16.7%) (89.5%) 01*
CKD 8 (5.9%) 13 2 7 (36.8%) <0.0
(27.1%) (11.1%) 01*
Diff
Undiff,poo 7 (5.2%) 3 (6.3%) 0 (0%) 0 (0%) 0.53
rly diff 0
Mod, well 128 45 18 19 (100%)
diff (94.8%) (93.8%) (100%)
Variables 1=ASA: 2=ASA:Y 3=ASA:N 4=ASA:N p-
No es o o value
MFM:No MFM:No MFM:Ye MFM:Yes
s
(n=135) (n=48) (n=18) (n=19)
LN 59 19 13 7 (36.8%) 0.08
(43.7%) (39.6%) (72.2%) 8
LVI 45 15 7 7 (36.8%) 0.93
(33.3%) (31.3%) (38.9%) 2
Margin 1 (0.7%) 0 (0%) 0 (0%) 1 (5.3%) 0.2
Adjuvant 116 40 16 17 0.89
therapy (85.9%) (83.3%) (88.9%) (89.5%) 8
Status
Alive 80 26 12 14 0.62
(59.3%) (54.2%) (66.7%) (73.7%) 0
Recur 3 (2.2%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%)
Death 52 22 6 5 (26.3%)
(38.5%) (45.8%) (33.3%)
Value presented as mean ± SD. and n (%).P-value corresponds
to ANOVA test and Chi-square test.

ในตารางที่ 3 พบว่า เมือ


่ ทาการเปรียบเทียบอัตราการรอดชีวต ิ ในคนไข ้ทัง้ 4 กลุม

โดยทาการวิเคราะห์แบบพหุตัวแปรหลังปรับปั จจัยร่วมคือ อายุ, ตาแหน่งของการเกิดมะเร็ง,
โรคประจาตัว และการลุกลามไปยังต่อมน้ าเหลืองพบว่า
การใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร์มน ิ กับอัตตราการรอดชีวต
ิ นัน
้ ไม่มค
ี วามแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิต ิ
Table 3 การเปรียบเทียบกลุม
่ คนไข ้และอัตตราการรอดชีวต

Adjusted
p- p-
Group of patient HR (95%CI.) HR
value value
(95%CI.)
Group
1=ASA:No and
Reference 1 Reference 1
MFM:No
1.27 (0.77, 0.345 0.98
2=ASA:Yes and
2.09) (0.51, 0.962
MFM:No
1.91)
0.95 (0.41, 0.908 1.06
3=ASA:No and
2.22) (0.29, 0.934
MFM:Yes
3.84)
1.16 (0.46, 0.756 0.91
4=ASA:No and
2.92) (0.21, 0.906
MFM:Yes
4.07)

เช่นเดียวกันกับกราฟ Kaplan-Meier survival estimates ในรูปที่ 1


ไม่แสดงถึงความแตกต่างกันของอัตราการรอดชีวต ิ ในผู ้ป่ วยทัง้ 4 กลุม

รูปที่ 1
บทวิจารณ์
การศึกษาของ Bains SJ และคณะ ในปี 2016 เรือง ่ Aspirin As Secondary
Prevention in Patients With Colorectal Cancer: An Unselected
Population-Based Study10
ทาการศึกษาผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนักจานวน 23,162 ราย
จากการติดตามเป็ นระยะเวลา 3 ปี พบว่า ผูป้ ่ วยทีได ่ ้ร ับยาแอสไพรินจานวน
6,102 ราย(26.3%) เสียชีวต ้
ิ ทังหมด 2,071 ราย(32.9%, ทุกสาเหตุ)
โดยเป็ นการเสียชีวต ่ ยวกั
ิ ทีเกี ่ บโรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนัก 1,158
่ ได ้ร ับยาแอสไพรินจานวน 17,060 ราย มีผูป้ ่ วยเสียชีวต
ราย(19%) ผูป้ ่ วยทีไม่ ิ
7,218 ราย(42.3%)
โดยเป็ นการเสียชีวต ่ ยวกั
ิ ทีเกี ่ บโรคมะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนัก 5,375
ราย(31.5%) หลังทาการวิเคราะห ์พหุตวั แปรพบว่าการใช ้แอสไพริน
เป็ นปัจจัยอิสระต่อการเพิมขึ ่ นของอั
้ ตตราการรอดชีวต ิ (HR, 0.95; 95% CI,
0.90 to 1.01)
่ Metformin
งานวิจยั ของ Fransgaard T และคณะในปี 2016 เรือง
Increases Overall Survival in Patients with Diabetes Undergoing
Surgery for Colorectal Cancer11 เป็ นการศึกษาความสัมพันธ ์
ระหว่างโรคเบาหวานและการได ้ร ับยาเมทฟอร ์มินต่ออัตรารอดชีวต
ิ ของผูป้ ่ วยม
ะเร็งลาไส ้ใหญ่และไสต้ รง หลังได ้ร ับการร ักษาด ้วยการผ่าตัด
่ นเบาหวานจะมีอต
โดยพบว่าผูป้ ่ วยทีเป็ ิ จากทุกสาเหตุนอ้ ยกว่่าก
ั ราการเสียชีวต
่ ได ้ร ับยา (HR, 0.85; 95% CI, 0.73 to 0.93, p = 0.03)
ลุ่มทีไม่
่ าวมาข ้างต ้น พบว่าไม่สอดคลอ้ งกับผลการวิจยั ของงานวิจยั นี ้
จากงานวิจยั ทีกล่

ซึงพบว่ าการได ้ร ับยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินไม่มค
ี วามสัมพันธ ์กับการรอดชี
วิต
ของผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ตรงทีได ่ ้ร ับการรกั ษาด ้วยผ่าตัด
ทางวิจยั มีความเห็นว่าสาเหตุทท ่ี าให ้ผลการวิจยั ทีออกมาไม่
่ สอดคลอ้ งกันนี ้
อาจเป็ นได ้จากหลายสาเหตุเช่น
จานวนเวลาทีป่่ วยได ้ร ับยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินอาจไม่เพียงพอ,
จานวนของประชากรศึกษา,
การไม่ได ้แบ่งแยกสาเหตุการเสียชีวต ่
ิ ว่าเกียงข ้องกับตัวโรคหรือไม่

รวมไปถึงเชือชาติ ของประชากรศึกษาทีแตกต่ ่ างจากงานวิจยั ทีกล่ ่ าวอ ้างมาข ้าง
ต ้น อย่างไรก็ตามหากมีการศึกษาเพิมเติ ่ มในอนาคต
อาจแยกประเภทของการเสียชีวต ิ , ระบุจานวนเวลาขันต ้ ่าทีผู
่ ป้ ่ วยได ้ร ับยา
่ มจานวนประชากรศึกษาให ้มากขึน้
หรือเพิมเติ

บทสรุป
การใช ้ยาแอสไพรินหรือเมทฟอร ์มินในผูป้ ่ วยมะเร็งลาไส ้ใหญ่และลาไส ้ต
่ ้ร ับการร ักษาด ้วยการผ่าตัด ไม่มส
รง ทีได ี ม
ั พันธ ์กับการรอดชีวต ่ น้
ิ ทีมากขึ
เอกสารอ้างอิง
1. Cancer Registry Unit, National Cancer Institute Thailand.Cancer in
Thailand
Vol. VIII, 2010-2012. Bangkok: New Thammada Press; 2015.
2. Seyed Reza Fatemi. Recurrence and Five-Year Survival in
Colorectal Cancer Patients After
Surgery.Iran J Cancer Prev. 2015 Aug; 8(4): e3439.
3. Rothwell PM, Wilson M, ElwinCE, et al: Long-term effect of
aspirin on colorectal cancer
incidence and mortality: 20-year follow-up of five randomised trials.
Lancet 376:1741-1750,
2010
4. Rothwell PM, Wilson M, Price JF, et al: Effect of daily aspirin on
risk of cancer metastasis: A
study of incident cancers during randomised controlled trials. Lancet
379:1591-1601, 2012
5. Cuzick J, Thorat MA, Bosetti C, et al: Esti- mates of benefits and
harms of prophylactic use
of aspirin in the general population. Ann Oncol 26:47-57, 2014
6. Gorelick PB, Weisman SM: Risk of hemorrhagic stroke with
aspirin use: An update. Stroke
36: 1801-1807, 2005
7. Duggan JM: Gastrointestinal toxicity of minor analgesics. Br J Clin
Pharmacol 10:407S-410S, 1980
8. Hosono K, Endo H, Takahashi H, etal. Metformin suppresses
azoxymethane-induced colorectal aberrant crypt foci by activating
AMP-ac tivated protein kinase. Molecular
Carcinogenesis 2010; 49: 662–71.

9.Tomimoto A, Endo H, Sugiyama M, et al. Metformin suppresses
intestinal polyp growth in
Apc(Min/+mice). Cancer Science 2008; 99: 2136–41.
10.Bains SJ, Aspirin As Secondary Prevention in Patients With
Colorectal Cancer: An Unselected Population-Based Study.J Clin
Oncol.2016;34:2501-08.
11. FransgaardT, Metformin Increases Overall Survival in Patients
with Diabetes Undergoing Surgery for Colorectal Cancer.Ann Surg
Oncol (2016) 23:1569–75.
แบบบันทึกข้อมู ลการวิจยั
Case No. ……
Age: …… Sex Male… Female...
Diagnosis: ……………………………………….
Underlying disease: DM…. HT…. CKD…. Other……………
History of surgical treatment: …………………………….
Pathological report
Tumor: …………………….
Lymph node: …………...
LVI: ……….
Margin: ………………
Adjuvant therapy: …………………
Current medication
Aspirin: ………..
Metformin: ……………
Categorized in group: 1… 2… 3… 4…
Current status: ………
Time to recurrence (Month): ……
Time to death (Month): …..
Remark:
…………………………………………………………………………
รูป (ถ ้ามี)

แบบประวัตผ
ิ ู ว้ จ
ิ ยั

1. ยศ-ชือ-นามสกุ
ล (ภาษาไทย) น.พ.ภัคพล ปรีชาญาณ
(ภาษาอังกฤษ) Pakkapol Preechayan
2. ประวัตก
ิ ารศึกษา (โดยย่อ)
แพทยศาสตร ์บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. ประวัตก
ิ ารทางาน (โดยย่อ)
แพทย ์ใช ้ทุน รพ.โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้า
แพทย์ใชทุ ้ น รพ.เปื อนน ้อย จ.ขอนแก่น
้ น รพ.สช
แพทย์ใชทุ ี มพู จ.ขอนแก่น
่ ยวชาญ
4. สาขาทีเชี ่ ่
ศัลยกรรมทัวไป
5. ตาแหน่ งทางวิชาการ -
6. สังกัด กระทรวงสาธารณสุข
่ ดต่อ กองศัลยกรรม รพ.รร.6
7. สถานทีติ
เลขที่ 315 ถนน ราชวิถี ตาบล/แขวง ทุง่ พญาไท
อาเภอ/เขต ราชเทวี จังหวัด กทม. รหัสไปรษณี ย ์ 10400
่ างาน) ………………………………… (มือถือ) 087-
โทรศัพท ์ (ทีท
4349516
E-mail Address Pakkupol@gmail.com

8. ประวัตก
ิ ารอบรม Good Clinical Practice (GCP)
ATLS

ผลงานวิจยั
่ พม
9. ผลงานวิจยั ทีตี ิ พ ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ --
่ ๆ เช่น นวัตกรรม สิทธิบต
10. ผลงานอืน ั ร ฯลฯ --

11. รางวัลผลงานวิจยั ทีเคยได ้ร ับ --
12. งานวิจยั ทีร่ ับผิดชอบในปัจจุบน

การศึกษาผลของการใช ้ยาแอสไพรินและเมทฟอร ์มินต่ออัตราการรอด
ชีวต
ิ ในผูป้ ่ วยมะเร็งลาใส ้ใหญ่และทวารหนัก
Metformin and aspirin treatment could improve overall
survival in colorectal cancer patients.

You might also like