You are on page 1of 14

วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล

ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ
Nursing care for multiple trauma patients
วิมล อิ่มอุไร
Vimon Aimaurai
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ หัวหน้าหอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัตเิ หตุ โรงพยาบาลสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
Registered Nurse Professional Level, Head Nurse of Accident Surgery Department,
Samutprakan Hospital, Samutprakan Province
ผู้นิพนธ์ (Corresponding Author); Email: vimonaim@gmail.com
(Received: April 4, 2019, Revised: April 16, 2019, Accepted April 18, 2019)

บทคัดย่อ
การบาดเจ็บหลายระบบเป็น การเกิดอุบัติเหตุที่มีผลกระทบต่อร่างกายหลายแห่งของผู้ป่วย หรือหลายระบบในเวลา
เดียวกัน ทาให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนในการคัดกรองอาการแรกรับ เพื่อวินิจฉัยการพยาบาลและรายงานแพทย์ ตลอดจนการ
ติดตามดูแลผู้ป่วยในระยะรักษา ผ่าตัด และระยะพักฟื้นในหอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุ และหากการวินิจฉัยการพยาบาลล่าช้า
จะเป็นสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว จากการเสียเลือดอย่างรุนแรง อาจมีทางเดินหายใจอุดกั้น หรือการ
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ สมองได้รับการบาดเจ็บรุนแรง เป้าหมายในการช่วยเหลือผู้ที่ได้ รับบาดเจ็บหลายระบบ คือ การช่วยให้
ผู้ป่วยรอดชีวิต ซึ่งต้องทาการคัดกรองอาการโดยเร็วที่สุดและมีประสิทธิภาพ เพื่อวินิจฉัยการพยาบาลและรายงานแพทย์เพื่อทา
หัตถการ และทาการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน ซึ่งหากเกิดความล่าช้าจากการวินิจฉัยการพยาบาลผิดพลาด จะทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง
ต่อการสูญเสียหน้าที่ของร่างกาย และเป็นสาเหตุสาคัญของความพิการและเสียชีวิต พยาบาลซึ่งเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่
เป็นผู้ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดตั้งแต่แรกรับ จนถึงการดูแลในระยะพักฟื้นหลังผ่าตัดในหอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุ ดังนั้นพยาบาล
จึงมีบทบาทสาคัญในการรักษาพยาบาล และต้องมีสมรรถนะด้านการพยาบาลผู้ป่วยด้านศัลยกรรมอุบัติเหตุ ที่เข้าใจถึงพยาธิ
สภาพของโรค การดาเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญ และจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการประเมินผู้ป่วย
บาดเจ็บหลายระบบ เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันเวลา และสามารถกาหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ได้อย่างถูกต้องและครอบคลุม
คาสาคัญ : การบาดเจ็บหลายระบบ ,สมรรถนะด้านการพยาบาลผู้ป่วยด้านศัลยกรรมอุบัติเหตุ ,การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บ, ข้อ
วินิจฉัยการพยาบาล

e0054
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

Abstract
Multiple system injuries are accidents that affect many bodies of patients, or multiple systems at
the same time causing complications in screening the first symptoms to diagnose nursing and medical
reports. As well as monitoring patient care during the surgical treatment and recovery period in the
accident surgery ward. And if the delayed nursing diagnosis is the cause of the death of the patient in a
short time from severe blood loss, may have obstructive airway, or inefficient breathing, the brain suffered
severe injuries. The goal of helping people with multiple injuries is to help patients survive. Which requires
screening symptoms as quickly and efficiently, to diagnose nursing and report doctors to perform
procedures and perform urgent surgery. Which if there is a delay from misdiagnosis of nursing will make the
patient more vulnerable to loss of body function and is a major cause of disability and death. Nurses who
are medical personnel who are closely caring for patients from the beginning, until taking care of
postoperative recovery in an accident surgery ward. Therefore, nurses play an important role in medical
treatment, and must have competency in nursing, surgical patients, accidents, that understand the
pathology of the disease, disease progression, important complications and must be a person with
knowledge and ability to evaluate multiple trauma patients, to provide information in making decisions to
help patients in time, and can determine the correct and comprehensive nursing diagnosis.
Keywords: multiple injuries, Nursing Competency in Accident Surgery Patients, Injury patient assessment,
Nursing Diagnosis.
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เพื่อค้นหาภาวะคุกคามต่อชีวิตได้อย่างรวดเร็ว และกาหนด


การบาดเจ็ บ จากอุบั ติเหตุยั งคงเป็ น ปั ญ หาสาคัญ ข้ อ วิ นิ จ ฉั ย การพยาบาลได้ ถู ก ต้ อ ง (8) รายงานแพทย์ ไ ด้
ทางสาธารณสุ ข ของทุ ก ประเทศทั่ ว โลก จากรายงาน ทั น เวลา จึ งได้ ป รั บ ปรุง คุ ณ ภาพการดู แ ลผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ
สถานการณ์ อุ บั ติเหตุโลกล่ าสุ ด ประเทศไทยอยู่ ในอันดั บ หลายระบบ เพื่อป้องกั นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ลด
ที่ 9 แต่ ยั ง มี ผู้ เ สี ย ชี วิ ต และบาดเจ็ บ สู ง เป็ น อั น ดั บ 1 ความผิดพลาดในการรักษาผู้บาดเจ็บหลายระบบในกรณีที่
ในอาเซี ย นโดยอั ต ราการเสี ย ชี วิต บนท้ องถนนอยู ที่ 32.7 สามารถป้องกันได้
ต่อแสนประชากร มีผู้เสียชีวิต 22,491 รายต่อปี เฉลี่ย 60 ข้อมูลคนไข้ : Case Report
รายต่อ วัน โดยพบเกิด ในช่ว งอายุ 15 - 29 ปี (1) ภาพรวม ผู้ ป่ ว ยชายไทยอายุ 42 ปี น้ าหนั ก 65 กิ โ ลกรั ม
เขตสุ ข ภาพที่ 6 (จั ง หวั ด ชลบุ รี ระยอง จั น ทบุ รี ตราด ส่ ว นสู ง 175 เซนติ เมตร สั ญ ชาติ ไทย นั บ ถื อศาสนาพุ ท ธ
สระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ) มีอัตราการ ไม่ มี ป ระวั ติ โรคประจ าตั ว รั บ ไว้ ในโรงพยาบาลวั น ที่ 26
เสียชีวิตของผู้บาดเจ็บที่มีค่าโอกาสรอดชีวิต (Probability ธั น วาคม 2561 เวลา 11.06 น. ด้ ว ยอาการส าคั ญ ปวด
of survival score) มากกว่ า 0.75 ร้ อ ยละ 0.58 และ ศีรษะมาก แน่นหน้าอก 6 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล
ถู ก จั ด ให้ อยู่ อั น ดั บ 3 ใน 6 ปั ญ ห าใน การจั ด ล าดั บ ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ความส าคัญ ของปั ญ หาสาธารณสุ ขของเขตสุ ขภาพที่ 6(2) ก่อนมาโรงพยาบาล 2 วัน ผู้ป่วยถูกทาร้ายร่างกาย
และเป็ น ที่ 7 ใน 10 อั น ดั บ ของสาเหตุ ก ารเสี ย ชี วิ ต ใน ถู ก ตี ด้ ว ยไม้ หมดสติ จ าเหตุ ก ารณ์ ไม่ ได้ ม าตรวจที่ ห้ อ ง
จังหวัดสมุทรปราการ(3) อุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลสมุทรปราการ อาการแรกรับ
โรงพ ย าบ าล ส มุ ท รป ราก าร ระดั บ ต ติ ย ภู มิ ปวดศี ร ษะเล็ ก น้ อ ย สั ญ ญาณชี พ อุ ณ หภู มิ 36.8 องศา
ถู ก ก าหนดให้ เป็ น Excellent Trauma Center ระดั บ 3 เซลเซียส ชีพจร 76 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/
ในเขต 6 สถิ ติ ปี 2559 - 2561 มี ผู้ ป่ ว ยอุ บั ติ เหตุ ม าเฉลี่ ย นาที ความดันโลหิต 110/70 มิลลิเมตรปรอท การประเมิน
ปีละ 18,588 ราย คิดเป็นร้อยละ 30 ของผู้ป่วยทั้งหมดรับ ระดับความรู้สึกตัว (Glasgow Coma Score; GCS) ได้ 15
ไว้ น อนโรงพยาบาลเฉลี่ ย ปี ล ะ 3,156 ราย เป็ น ผู้ ป่ ว ย คะแนน (E4M5V6) Pupil size 2 มิลลิ เมตร ทาปฏิกิริยา
บาดเจ็ บ หลายระบบเฉลี่ย ปี ละ 280 ราย มีอัตราตายเป็ น ต่อแสงเท่ากันทั้งสองข้าง แพทย์บันทึกการตรวจร่างกายพบ
อั น ดั บ สองรองจากผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ สมองคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ศีรษะด้ านซ้ ายบวมโนมี แผลฉีก ขาดขนาด 0.5 x 5 x 0.7
28.81 ของผู้บาดเจ็บที่เสียชีวิตทั้งหมด(4) เซนติ เมตร ไม่ พ บการบั น ทึ ก การตรวจร่างกายระบบอื่ น
การบาดเจ็ บ หลายระบบเป็ น การบาดเจ็ บ ของ และการส่ ง ตรวจเอกซเรย์ ท รวงอก (CXR) ส่ ง ตรวจ CT
อวัยวะร่วมกันตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป (5) โดยเป้าหมายในการ Brain พบมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิดเฉียบพลัน ขนาด
ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บ หลายระบบ คือการช่วยให้ 1 เซนติเมตร แพทย์รักษาด้วยการเย็บแผล ให้กินยาแก้ปวด
รอดชีวิต ซึ่งต้องทาโดยเร็วที่สุดด้วยการประเมินสภาพและ นอนสั ง เกตอาการ 9 ชั่ ว โมง อาการปวดศี ร ษะดี ขึ้ น ไม่
ให้การรักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ(6) จึง อาเจียน รู้สึกตัวดี แพทย์จาหน่ายทุเลากลับบ้าน
ต้ อ งการบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถเกี่ ย วกั บ การ ต่อมา 6 ชั่วโมง มีอาการปวดศีรษะมากขึ้น แน่น
พยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต (7) และที่สาคัญต้องมีการทางาน หน้ า อกเล็ ก น้ อ ยจึ ง กลั บ มาโรงพยาบาล แรกรั บ ที่ ห้ อ ง
เป็นทีมต้องมีการประสานกันอย่างดี พยาบาลเป็นบุคลากร อุ บั ติ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ผู้ ป่ ว ยรู้ สึ ก ตั ว ดี ประเมิ น GCS ได้ 15
ทางการแพทย์ในทีมสุขภาพที่ มีบทบาทสาคัญที่ดูแลผู้ป่วย คะแนน Pupil size 3 มิลลิเมตร ทาปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากัน
อย่างใกล้ ชิด ตั้งแต่แรกรับ ดังนั้ น พยาบาลจึ งจ าเป็ น ต้องมี ทั้ งสองข้ า ง สั ญ ญาณชี พ อุ ณ หภู มิ 36.6 องศาเซลเซี ย ส
ความรู้ที่ถูกต้อง และครอบคลุมในการประเมินสภาพผู้ป่วย ชี พ จร 62 ครั้ ง /นาที อั ต ราการหายใจ 22 ครั้ ง /นาที
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ค ว าม ดั น โล หิ ต 130/80 มิ ล ลิ เม ต รป รอ ท Oxygen มีภ าวะซีด และเกล็ ดเลื อดต่าเฉียบพลั น จากการบาดเจ็บ


saturation 100 % ส่ ง ตรวจ CT Brain มี เ ลื อ ดออกใต้ ได้ รั บ Packed Red Cell (PRC) ร ว ม 4 ยู นิ ต แ ล ะ
เยื่ อ หุ้ ม สมองเพิ่ ม ขนาดจาก 1 เซนติ เ มตร เป็ น 1.6 Platelet concentrate ร ว ม 12 ยู นิ ต ผ ล Platelet
เซนติ เ มตร แพทย์ ต รวจพบรอยช้ าที่ ห น้ า อกด้ า นขวา count เพิ่ ม จ า ก 125,000 เป็ น 150,000/ mm3 ผ ล
ขนาด 3 x 5 เซนติเมตร ส่ ง CXR แพทย์ อ่านไม่พ บความ Hematocrit เพิ่ ม จาก 29.5% เป็ น 36.7 % ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ
ผิดปกติ ตรวจวินิจฉัยช่องท้อง (FAST) ไม่พบความผิดปกติ การใส่ท่อช่วยหายใจและเครื่องช่วยหายใจเป็นเวลา 3 วัน
ในช่ อ งท้ อ ง Hematocrit 43.6% แพทย์ รั บ ไว้ รั ก ษาใน จึงสามารถหย่ าและถอดเครื่อ งช่ว ยหายใจออกได้ ใส่ ท่ อ
หอผู้ ป่ ว ยศั ล ยกรรมอุ บั ติ เหตุ สั ญ ญาณชี พ แรกรั บ ที่ ห อ ระบายทรวงอกเป็นเวลา 4 วัน หลังถอดสายระบายทรวง
ผู้ ป่ ว ยศั ล ยกรรมอุ บั ติ เ หตุ ผู้ ป่ ว ยรู้ สึ ก ตั ว ดี ประเมิ น อกด้านขวาขยายตัวดี ไม่หอบเหนื่อย แพทย์จาหน่ายอาการ
ระดับความรู้สึกตัว (GCS) ได้ 15 คะแนน (E4M5V6) Pupil ทุเลาวันที่ 8 มกราคม 2562 เวลา 13.30 น. รวมระยะเวลา
size ขนาด 3 มิลลิเมตร ทาปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากันทั้งสอง ที่ รั บ ไว้ ในความดู แ ล 13 วั น สภาพผู้ ป่ ว ยก่ อ นจ าหน่ า ย
ข้าง อุ ณ หภู มิ 36.6 องศาเซลเซี ย ส อั ต ราการหายใจ 30 รู้สึกตัวดี แผลตัดไหมที่ศีรษะและแผลใส่ท่อระบายทรวงอก
ครั้ ง /นาที ชี พ จร 98 ครั้ ง /นาที ความดั น โลหิ ต 130/80 แห้ งดี ผลการติ ด ตามหลั งออกจากโรงพยาบาล 1 เดื อ น
มิ ล ลิ เ มตรปรอท Oxygen saturation 92% การตรวจ ผู้ป่วยกลับมาตรวจที่ OPD ยังมีอาการปวดศีรษะบางครั้ง
ร่ า งกาย พบศี ร ษะด้ า นซ้ า ยบวมโนมี แ ผลเย็ บ ยาว 5 ไม่มีอ่อนแรงและคลื่นไส้อาเจียน เดินได้ปกติ ผล CT Brain
เซนติเมตร หน้าอกด้านขวามีรอยช้าขนาด 3x5 เซนติเมตร ไม่มีเลือดออกเพิ่ม แพทย์นัดพบเพื่อตรวจหลังการรักษาอีก
ผู้ป่วยเหนื่อยแน่นหน้าอก จึงรายงานศัลยแพทย์ 3 เดือน
แพทย์ตรวจร่างกายผู้ป่วยและดูผลเอกซเรย์ทรวง สรุปการวินิจฉัยโรค
อกซ้า พบมีเลือดออกในเยื่อหุ้มปอดด้านขวารักษาด้วยการ 1. เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิดเฉียบพลัน
ใส่ท่อระบายทรวงอกได้เลือด 160 มิลลิลิตร ผู้ป่วยหายใจดี (Acute subdural hematoma)
ขึ้นไม่เหนื่ อย อัตราการหายใจลดลงเหลื อ 22 - 24 ครั้ง/ 2. เลือดออกในเยื่อหุ้มปอดด้านขวา
นาที และปรึ ก ษาประสาทศั ล ยแพทย์ ท าการรั ก ษาเรื่ อ ง (Hemothorax)
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองด้วยการผ่าตัด Craniotomy with 3. ภาวะซีดและเกล็ดเลือดต่า หลังการเสียเลือด
remove clot หลังผ่าตัดสมอง 2 วัน ผู้ป่วยมีอาการซึมลง เฉียบพลัน
การประเมิ น ระดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว (GCS) ลดลงจาก 15 การพยาบาลในระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
คะแนนเป็ น 8 คะแนน (E2M4V2) Pupil size ข้างขวา 3 วินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 เสี่ยงต่อการกาซาบเลือดไปเลี้ยง
มิ ล ลิ เมตร ข้ า งซ้ า ย 4 มิ ล ลิ เมตร มี ป ฏิ กิ ริ ย าต่ อ แสงช้ า สมองลดลง เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
(sluggish) สั ญ ญาณชี พ อุ ณ หภู มิ 36.9 องศาเซลเซี ย ส ข้อมูลสนับสนุน
หายใจได้เอง อัตราการหายใจช้าลง 18 ครั้ง/นาที ชีพจร 1. แผลฉีกขาดที่ศีรษะด้านขวาขนาด 0.5x5x0.7
66 ครั้ ง /นาที ความดั น โลหิ ต 120/50 มิ ล ลิ เมตรปรอท เซนติเมตร CT Brain พบเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองเพิ่มขึ้น
Oxygen saturation 94% รายงานแพทย์เวรให้ ใส่ท่อช่วย จากขนาด 1 เซนติเมตร เป็น 1.6 เซนติเมตร
หายใจ และส่ง CT Brain พบภาวะแทรกซ้อนมีเลือดออกใต้ 2. GCS 15 คะแนน (E4M6V5) Pupil size
เยื่อหุ้มสมองซ้า ขนาด 2.7 เซนติเมตร (Re-bleeding 3 มิลลิเมตร ทาปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากันทั้งสองข้าง
Acute Subdual Hemorrhage) แ พ ท ย์ จึ ง ผ่ า ตั ด 3. อัตราการหายใจ 30 ครั้ง/นาที ชีพจร 98 ครั้ง/
Craniotomy with remove clot รอบที่ 2 ระหว่างรักษา นาที ความดันโลหิต 130/80 มิลลิเมตรปรอท
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

4. Oxygen saturation 92% หลีกเลี่ยง ได้แก่ ท่านอนศีรษะต่า เพราะจะส่งผลให้เลือดไป


เกณฑ์การประเมิน เลี้ยงสมองมากขึ้น ทาให้แรงดันกาซาบสมอง และความดัน
1. ผู้ ป่ ว ยรู้ สึ ก ตั ว ดี ร ะดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว ไม่ ล ดลง ในกะโหลกศี รษะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และท่ า นอนคว่าหรือ ท่ าก้ ม
คะแน น รวม Glasgow Coma Scale (GCS) ไม่ ล ด ล ง ศีรษะหรือแหงนคอมากเกินไป จะทาให้แรงดันกาซาบสมอง
มากกว่ า 2 คะแนน หรื อ Motor response ไม่ ล ดลง และความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น เนื่องจากระหว่างการ
มากกว่ า 1 คะแนน Pupil size ของตาทั้ ง สองข้ า งอยู่ จัดท่า อาจมีการหมุนศีรษะผู้ป่วยไปด้านซ้ายหรือขวาทาให้
ระหว่าง 2 - 3 มิลลิเมตร มีปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากันทั้งสอง ขัดขวางการไหลกลับของเลือดดาสู่หัวใจ(9)
ข้าง 2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2. ผู้ป่วยไม่มอี าการแสดงของภาวะความดันใน และดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
กะโหลกศีรษะสูง (Cushing’s response) ได้แก่ ความดัน 2.1 ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Mask with
โลหิ ต สู ง อั ต ราการเต้ น ของหั ว ใจต่ ากว่ า 60 ครั้ ง /นาที bag 10 ลิตร/นาที
รูปแบบการหายใจเปลี่ยนแปลงและไม่สม่าเสมอ 2.2 Keep Oxygen saturation >95%
3. สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ อุณหภูมิ 36.5 – 3. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ อาการทาง
37.5 องศาเซลเซียส อัตราการหายใจ 16 - 20 ครั้ง/นาที ระบบประสาท ในระยะวิกฤติ อย่างใกล้ชิด ทุก 1 - 2 ชม.
ชีพจร 60 - 100 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต Systolic Blood และรายงานแพทย์ทันทีหากพบความผิดปกติ ดังนี้
Pressure 90 - 140 มิ ล ลิ เม ต รป รอ ท แล ะ Diastolic 3.1 ระดับความรู้สึกตัวโดยใช้แบบประเมิน
Blood Pressure 60 - 90 มิลลิเมตรปรอท Glasgow Coma Scale (GCS)(10) ซึ่ ง ประเมิ น พฤติ ก รรม
4. Pulse Pressure อยู่ในเกณฑ์ปกติ 30 – 50 การตอบสนอง 3 ด้าน คือ การลืมตา (Eye opening) การ
มิ ล ลิ เมตรปรอท (ผลต่ างของ Systolic Blood Pressure สื่อสาร (Verbal response) และ การเคลื่อนไหว (Motor
และ Diastolic Blood Pressure) response) ค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 3 - 15 โดย คะแนนมาก
5. Oxygen saturation มากกว่า 95% หมายถึงมีระดับความรู้สึกตัวดี คะแนนน้อยกว่า 8 หมายถึง
วัตถุประสงค์ อยู่ในภาวะ Coma
มีการกาซาบเลือดไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ 3.1.1 ระดับความรู้สึกตัวลดลงจากเดิมที่
กิจกรรมการพยาบาล ต้องรายงานแพทย์ด่วน ได้แก่ GCS ลดลง มากกว่า 2 หรือ
1. จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา โดยให้ ศีรษะ Motor response ลดลงมากกว่า 1
และคออยู่ในแนวเดียวกันไม่บิดหมุนซ้าย ขวา และการพลิก 3.1.2 ตรวจการตอบสนองของรูม่ านตา
ตะแคงตัวผู้ป่วยควรทาด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้สะโพกงอ (Pupil) ต่อแสง คือ ดูขนาด รูปร่างของรูม่านตา ปกติจะมี
มากกว่า 90 องศา จากผลการศึกษา พบว่าท่านอนศีรษะสูง รูปร่างกลมเท่ากันทั้ง 2 ข้าง
30 องศา จะท าให้ มี ก ารแพร่ กระจายของน้ าไขสั น หลั งสู่ 3.1.3 ต รว จ ก าลั งก ล้ าม เนื้ อ (Motor
ช่องว่างไขสันหลังได้ดีและมีการไหลกลับของเลือดดาสู่หัวใจ power) ถ้ า ตรวจพบการอ่ อ นแรงของร่ า งกายด้ า นใด
ได้สะดวก เนื่องจากคุณสมบัติของน้ าไขสันหลังและการที่ ด้ า นหนึ่ ง จะเรี ย กว่ า อ่ อ นแรงครึ่ ง ซี ก (Hemiplegia,
หลอดเลือดดาในสมองไม่มีลิ้ นจึง ทาให้มีการไหลกลับของ Hemiparesis) ซึ่งบ่ งบอกว่าน่ าจะมี รอยโรคในสมองด้ าน
เลือดทันที ขณะเดียวกัน 70 – 80 % ของเลือดในสมองอยู่ ตรงข้ามกับด้านที่อ่อนแรง เช่น อ่อนแรงครึ่งซีกขวา น่าจะ
ในหลอดเลือดดา จึงทาให้ความดันในกะโหลกศีรษะลดลง มี ร อยโรคในสมองด้ านซ้าย โดยให้ ผู้ ป่ ว ย ยกแขน ยกขา
และแรงดันกาซาบสมองไม่เปลี่ยนแปลง ส่วนท่านอนที่ควร
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

กามือ งอแขน งัดข้อ และให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับผู้ตรวจ กระสับกระส่ายไม่รับรู้ วัน เวลา สถานที่บุคคล หรือมี


ถ้าต้านแรงผู้ตรวจได้ก็คือ ปกติ อาการง่วงซึม
การบอกกาลังกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 6 ระดับ คือ 4.1.2 แขนขาอ่อนแรงแย่ลงจากเดิมตั้งแต่
ระดับ 5 : ต้านแรงได้เต็มที่ 1 ระดับ มีอาการตาพร่ามัว อาการพูดลาบาก
ระดับ 4 : ต้านแรงได้ไม่เต็มที่ 4.1.3 ขนาดของ Pupil ที่เปลี่ยนแปลง 2
ระดับ 3 : ยกแขน ขา ลอยจากพื้นได้ ข้าง แตกต่างกันเกิน 1 มิลลิเมตร ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง
แต่ต้านแรงไม่ได้ ต่อแสง แสดงว่าอาจมีภาวะ Brain herniation
ระดับ 2 : เคลื่อนไหวแขน ขา ได้บนพื้น 4.1.4 ปวดศีรษะมากขึ้น ได้รับ ยาบรรเทา
แต่ไม่สามารถยกขึ้นจากพื้นได้ ปวดแล้วอาการไม่ทุเลา
ระดับ 1 : มีการเกร็งของกล้ามเนื้อ 4.1.5 อ า ก า ร แ ส ด ง ข อ ง Cushing’s
แต่ไม่มีการเคลื่อนไหว response ได้ แ ก่ ความดั น โลหิ ต สู ง อั ต ราการเต้ น ของ
ระดับ 0 : ไม่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อเลย หัวใจต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที รูปแบบการหายใจเปลี่ยนแปลง
3.2 ประเมินสัญญาณชีพ (Vital Signs) โดย และไม่ ส ม่ าเสมอ (Hypertension, Brady cardia, and
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพซึ่งมีความสัมพันธ์ Irregular respiration)(11)
โดยตรงกับพยาธิสภาพทางสมองหรือกับภาวะแทรกซ้อนที่ 4.2 ภาวะชัก จากเนื้อเยื่อสมองขาดเลือด
เกิดขึ้น ดังนั้น ควรมี การบัน ทึกและสังเกตความดัน โลหิ ต ถ้าผู้ป่วยชักให้บันทึก ระยะเวลาที่ชัก ลักษณะการชัก ระดับ
ชีพจร อุณหภูมิ และการหายใจเป็นระยะ ๆ ความรู้สึกตัวขณะชัก หลังชัก เพื่อรายงานแพทย์
3.2.1 สัญญาณชีพ ผิดปกติที่ต้องรายงาน 5. ดูแลให้ยา ตามแผนการรักษาของแพทย์ ดังนี้
แพทย์ได้แก่ ชีพจรน้อยกว่า 60 หรือ มากกว่า 100 ครั้ง/ 5.1 ยาช่วยลดสมองบวม ได้แก่
นาที การหายใจไม่ ส ม่ าเสมอ ใช้ แ รงในการหายใจและ 20% Mannitol 250 มิ ล ลิ ลิ ต ร ท า งห ล อ ด เลื อ ด ด า
หายใจช้าลง free flow ต่ อ ด้ ว ย 20% Mannitol 100 มิ ล ลิ ลิ ต ร
3.2.2 Pulse Pressure กว้างมากกว่า 60 ทางหลอดเลื อ ดด าทุ ก 8 ชั่ ว โมง กลไกการออกฤทธิ์ เป็ น
มิลลิเมตรปรอท ยา Osmotic/diuretic หวั ง ผลให้ มี ก ารดึ ง น้ าจากรอบๆ
3.2.3 ควบคุม Systolic Blood หลอดเลือดในสมองเข้ามา ทาให้มีการขับปัสสาวะเพิ่มขึ้น
Pressure น้อยกว่าหรือเท่ากับ 140 มิลลิเมตรปรอท เพื่อ ผลของยาท าให้ ส มองยุ บ บวมได้ ระวั งผลข้ า งเคี ย งเรื่ อ ง
ป้องกันการเกิดเลือดออกในสมองเพิ่ม ร่วมกับ การเฝ้าระวัง Hypovolumia และ Electrolyte imbalance โดยเฉพาะ
ภาวะความดันโลหิตต่า เพื่อป้องกันไม่ให้สมองขาดเลือด อย่างยิ่ง Hypokalemia ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย
4. ประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจาก 5.2 ยากันชักเพื่อป้องกันการชักซึง่ เป็น
ภาวะเลื อ ดออกในสมองและรายงานแพทย์ ทั น ที ห ากพบ สาเหตุ ท าให้ ส มองบวมมากขึ้ น ได้ แ ก่ ย า Dilantin 750
อาการ ได้แก่ มิ ล ลิ ก รั ม ทางหลอดเลื อ ดด า ทั น ที และต่ อ ด้ ว ย 100
4.1 ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง มิล ลิ กรัม ทุก 8 ชั่วโมง กลไกการออกฤทธิ์ ทาให้ เกิดการ
และรายงานแพทย์ทันทีหากพบอาการ(11) ดังนี้ ชะลอการแลกเปลี่ยนเกลือโซเดียม และส่งผลให้ สมองส่วน
4.1.1 คะแนนระดับความรู้สึกตัวลดลง ควบคุมการเคลื่อนไหว (Motor Cortex) ไม่สามารถสร้าง
มากกว่า 2 คะแนน (ประเมินโดยใช้ GCS) สับสน กระแสประสาทไปกระตุ้นร่างกายให้ เกิดการชักได้ ระวัง
ผลข้างเคียง - อาจก่อให้เกิด ภาวะหั วใจและหลอดเลือดที่
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ไปเลี้ยงหัวใจ ทางานผิดปกติ และสามารถก่อให้เกิด ความ 11. บันทึกจานวนน้าเข้าและออก จานวนปัสสาวะ


ดันโลหิตต่าได้ ต้องออกมากกว่า 30 มิลลิลิตร/ชั่วโมง
6. Monitor Hematocrit เนื่องจากผู้ป่วยมี ประเมินผลการพยาบาล
โอ ก าส เกิ ด Cerebral ischemia ได้ ง่ า ย จึ งค ว รให้ มี ผู้ ป่ ว ยรู้ สึ ก ตั ว ดี ร ะดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว ไม่ ล ดลง
oxygen ไปยั ง เนื้ อ สมองอย่ า งเพี ยงพอ ดั ง นั้ น ระดั บ ประเมิ น ระดั บ ความรู้สึ ก ตัว (GCS) ได้ 15 คะแนน ตรวจ
Hematocrit ต่าสุดที่ยอมรับได้ คือ 30% กาลังกล้ามเนื้อ แขนขา (Motor power) ได้ระดับ 5 Pupil
7. เจาะ Dextrostix เพื่อติดตามระดับน้าตาล ใน size 2-3 มิล ลิเมตรมีปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากันทั้ง สอง
เลื อ ด keep 80 - 180 mg/dl เนื่ อ งจากเมื่ อ สมองได้ รั บ ข้าง ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลก
บาดเจ็ บ จะเกิด ภาวะ Posttraumatic stress response ศีรษะสูง สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ อัตรา การหายใจ
ซึ่ ง ท าให้ ระดั บ น้ าตาลใน เลื อ ดสู ง ได้ จ ากการศึ ก ษ า 18 - 22 ครั้ ง /นาที ชี พ จร 70 - 86 ครั้ ง /นาที ความดั น
พบว่า ระดับน้าตาลในเลือดสูงส่งผลทาให้ภาวะสมองขาด โลหิต 120/60 – 130/80 มิลลิเมตรปรอท
เลือดมากขึ้น ภาวะเลือดจะเป็นกรด (Acidosis) และสมอง Oxygen saturation 99 - 100%
บวม ส่งผลให้ มีความดัน ในกะโหลกศีรษะสู งขึ้น และเพิ่ ม หลั ง ผ่ า ตั ด สมอง 2 วั น ผู้ ป่ ว ยมี อ าการซึ ม ลง
อั ต ราการตายโดยเฉพาะผู้ ป่ ว ยที่ มี ร ะดั บ น้ าตาลในเลื อ ด ประเมินระดับความรู้สึกตัว (GCS) ลดลงจาก 15 คะแนน
สู งก ว่ า 200 mg/dL จ ะ มี โอ ก า ส เกิ ด Hemorrhagic เป็น 8 คะแนน (E2M4V2) รูม่านตาข้างขวา 3 มิล ลิ เมตร
transformation ประมาณ 25% เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วย ข้ า งซ้ า ย 4 มิ ล ลิ เมตร มี ป ฏิ กิ ริ ย าต่ อ แสงช้ า (sluggish)
ที่ มี ร ะ ดั บ น้ า ต า ล ใน เลื อ ด ที่ ต่ า ก ว่ า มี โอ ก า ส เกิ ด สัญ ญาณชีพ อุณ หภูมิ 36.9 องศาเซลเซียส หายใจได้เอง
Hemorrhagic transformation เพียง 9 % เท่านั้น(12) อัตราการหายใจช้าลง 18 ครั้ง/นาที ชีพจร 66 ครั้ง/นาที
8. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้า 0.9 % NSS 1000 ความ ดั น โล หิ ต 120/50 มิ ล ลิ เม ต รป รอ ท Oxygen
มิลลิลิ ตร อัตรา 80 มิล ลิลิตรต่อชั่วโมงทางหลอดเลื อดดา saturation 94% รายงานแพทย์เวรให้ ใส่ ท่ อ ช่ว ยหายใจ
และควบคุมอัตราการไหลตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อ และส่ ง CT Brain พบภาวะแทรกซ้ อนมี เลื อดออกใต้เยื่ อ
รั ก ษาระบบการไหลเวี ย นเลื อ ดและสมดุ ล ของน้ าและ หุ้มสมองซ้า ขนาด 2.7 เซนติเมตร (Re - bleeding Acute
Electrolyte Subdual Hemorrhage) แพทย์ผ่าตัดสมองรอบที่ 2 ผู้ป่วย
9. ปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลอย่างนุ่มนวลและ ปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม
ลดการรบกวนผู้ป่วยเพื่อป้องกันความดันในกะโหลกศีรษะ วินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
สูงขึ้นได้เนือ่ งจากการทากิจกรรมพยาบาลต่างๆ เนื่องจากมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
10. ให้การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง ข้อมูลสนับสนุน
10.1 ประเมินลักษณะ สี จานวน Content 1. ผู้ป่วยเหนื่อยแน่นหน้าอก หายใจเร็ว อัตรา
ที่ อ อกมาจากสาย drain ที่ ศี ร ษะตรวจสอบสาย Drain การหายใจ 30 ครั้ง/นาที ชี พ จร 98 ครั้ง/นาที ความดั น
ไม่ให้หักพับ หรือ งอ ระมัดระวังการเลื่อนหลุด และไม่ให้มี โลหิต 130/80 มิลลิเมตรปรอท
การดึงรั้ง 2. มีแผลรอยช้าที่ทรวงอกด้านขวา ขนาด 3 x 5
10.2 ทาแผลที่ศีรษะ แผลผ่าตัด เซนติ เ มตร CXR : Right - sided Hemothorax ใส่ ส าย
Craniotomy วันละ 1 ครั้ง และดูแลให้ยา Antibiotic ระบายทรวงอกได้เลือด 160 มิลลิลิตร
ได้แก่ Cefazolin 1 กรัม ทางหลอดเลือดดา ทุก 6 ชั่วโมง 3. Oxygen saturation 92%
นาน 7 วัน เพื่อป้องกันการแผลติดเชื้อ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

วัตถุประสงค์ 1 ชั่วโมงหรื อมีมากกว่า 100 - 120 มิลลิลิตร/ชั่วโมง เป็น


เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ระยะเวลาติดต่อกัน 4 - 6 ชั่วโมง ให้รีบรายงานแพทย์
เกณฑ์การประเมิน 7.2 ประเมิ น content และจดบั น ทึ ก เพื่ อ
1. ระดับความรู้สึกตัวปกติ ทางเดินหายใจโล่งไม่ รายงานแพทย์ในการพิจารณาเอาสายระบายทรวงอกออก
มีสิ่งอุดกั้น เมื่ อ ปริ ม าณที่ อ อกในแต่ ล ะวั น น้ อ ยกว่ า 100 มิ ล ลิ ลิ ต ร
2. สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ อัตราการหายใจ ติดต่อกัน 2 วัน สีของ content เป็นสีเหลืองใส ไม่มีเลือด
16 - 20 ครั้ ง /นาที ชี พ จร 60 - 90 ครั้ ง /นาที Systolic หรือหนอง และ CXR ผลทรวงอกขยายตัวดีและไม่มีลมรั่ว
Blood pressure 90 - 140 มิลลิลิตรปรอทและ Diastolic 8. ส่งเสริมการขยายตัวของปอดเพื่อให้การแลก
Blood pressure 60 - 90 มิลลิลิตรปรอท เปลี่ยนก๊าซเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน 8.1 สอนและสาธิตให้ผู้ป่วยดูดเครื่อง
ค่า Oxygen saturation มากกว่า 95% บริห ารปอด (Triflo) ช่วยให้ ผู้ป่วยสามารถหายใจเข้า ออก
4. การทางานของท่อระบายทรวงอกมีการระบาย อย่างเต็มทีป่ ้องกันภาวะปอดแฟบ
อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินผลการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล หลั ง ใส่ ส ายระบายเลื อ ดออกจากช่ อ งอกได้
1. ประเมินภาวการณ์ขาดออกซิเจนของผู้ป่วย เลื อดออกรวม 160 มิ ล ลิ ลิ ต ร ผู้ ป่ ว ยแน่ น หน้ าอกน้ อ ยลง
เช่น ริมฝีปากเขียวคล้า ปลายมือปลายเท้าเขียวเหงื่อออก ไม่ มี ภ าวะเนื้ อ เยื่ อ ขาดออกซิ เ จน ป ระเมิ น Oxygen
ตัวเย็น กระสับกระส่าย ความรู้สึกตัวลดลง ชีพจรเบาเร็ว saturation 98 - 100% อั ต ราการหายใจลดลงจาก 30
2. จัดท่า ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ช่วยให้การ ครั้ง/นาที เป็น 22 - 24 ครั้ง/นาที ผู้ป่วยสามารถถอดสาย
หายใจมีประสิทธิภาพ ระบายได้ภายใน 4 วัน หลังถอดสายผู้ป่วยไม่มีเหนื่อยหอบ
3. ประเมินสัญญาณชีพทุก 1- 2 ชั่วโมง อัตราการหายใจ 20 - 22 ครั้ง/นาที Oxygen saturation
โดยเฉพาะประเมินการหายใจ อัตรา จังหวะ ลักษณะการ 100 % ส่ง CXR ทรวงอกขยายตัวดี ไม่มีเลือดออกเพิ่ม
หายใจ และการขยายของทรวงอกทั้งสองข้าง วินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 มีมีภาวะแทรกซ้อนเลือดออกซ้า
4. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา (Re-bleeding Acute Subdural
Mask with bag 10 ลิ ต ร /น า ที ติ ด ต า ม ค่ า Oxygen Hematoma) หลังผ่าตัดสมอง
saturation ให้มากกว่า 95% ข้อมูลสนับสนุน
5. ดูแลให้ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดา 1. ผู้ป่วยระดับความรู้สึกตัวลดลง GCS ลดลงจาก
ทดแทนเพื่อทดแทนเลือดและปริมาณสารน้าที่สูญเสีย ไปใน 15 เหลื อ 8 คะแนน (E2V2 M4) Pupil size ข้ า งขวา 3
การบาดเจ็บ มิ ล ลิ เมตร ข้ า งซ้ า ย 4 มิ ล ลิ เมตร มี ป ฏิ กิ ริ ย าต่ อ แสงช้ า
6. เจาะติดตามผล Hematocrit ทุก 4 –6 ชั่วโมง (sluggish)
และ keep Hematocrit มากกว่า 30% 2. CT Brain พบเลือดออกซ้า ขนาด 2.7 ซม.
7. ดูแลและติดตามการทางานของท่อระบาย แพทย์ผ่าตัด Craniotomy ครั้งที่ 2
ทรวงอกให้มีการระบายอย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา 3. Oxygen saturation 94% แพทย์ให้ใส่ท่อช่วย
7.1 ประเมินการสูญเสียเลือดที่ออกทาง หายใจ
ท่ อ ระบาย โดยสั ง เกตจ านวนสี ปริ ม าณ หากพบว่ า มี วัตถุประสงค์
เลือดออกมากกว่า 1,200 - 1,500 มิลลิลิตร ในระยะเวลา ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนเลือดออกซ้าใต้
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

เยื่อหุ้มสมอง 6. จัดท่านอนนอนศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา


เกณฑ์การประเมิน เพื่อให้ ความดันในกะโหลกศีรษะลดลงโดยแรงดัน กาซาบ
1. ระดับความรู้สึกตัวไม่ลดลงจากเดิม ประเมิน สมองไม่เปลี่ยนแปลง
GCS ไม่ลดลงมากกว่า 2 คะแนน 7. ดูแลให้สารน้าถูกต้องครบถ้วนตามแผนการ
2. ตรวจวัดสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ชีพจร รักษา บันทึกจานวนสารน้าที่ได้รับและขับออกจากร่างกาย
60 - 90 ครั้ ง/นาที อั ต ราการหายใจ 16 – 20 ครั้ ง/นาที อย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง เพื่อดูความสมดุล ของสารน้าและ
ความดันโลหิต 90/60 – 140/90 มิลลิลิตรปรอท เกลือแร่
3. ทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีเสมหะอุดตันทางเดิน ประเมินผลการพยาบาล
หายใจผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน เช่น ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนเลือดออกซ้า
ริมฝีปากเขียวคล้า ปลายมือปลายเท้าเขียว เหงื่อออก ใต้ เยื่ อ หุ้ ม สมอง หลั ง ผ่ า ตั ด รอบที่ 2 ผู้ ป่ ว ยตื่ น รู้ สึ ก ตั ว ดี
ตัวเย็น กระสับกระส่าย ความรู้สึกตัวลดลง ชีพจรเบาเร็ว ประเมิ น ระดั บ ความรู้ สึ ก ตั ว ได้ 14 - 15 คะแนน Motor
4. Oxygen saturation มากกว่า 95% power แขนขา 5 คะแนน Pupil size ขนาด 2 - 3 มม.
กิจกรรมการพยาบาล มีปฏิกิริยาต่อแสงเท่ากันทั้งสองข้าง Oxygen saturation
1. เตรียมช่วยแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจ 100% อัตราการหายใจ 20-22 ครั้ง/นาที ชีพจร 68 - 78
(Endotracheal Tube) ดู แ ลให้ ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ เครื่ อ งช่ ว ย ครั้ ง /นาที ความดั น โลหิ ต 120/70 - 130/80 มิ ล ลิ ลิ ต ร
หายใจอย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพ และเหมาะสมกับ การหายใจ ปรอท สามารถถอดท่อช่วยหายใจออกได้ 3 วันหลังผ่าตัด
ของผู้ป่วย วินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก
2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ภาวะซีดและเกล็ดเลือดต่า
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะเมื่อมี ข้อบ่งชี้ ข้อมูลสนับสนุน
2.1 ก่อนและหลังดูดเสมหะควรให้ 1. แรกรับมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิด
ออกซิเจน 100% นาน 30 - 60 วินาที เฉียบพลันขนาด 1.6 เซนติเมตร มี estimate blood loss
2.2 ระยะเวลาการดูดเสมหะ ในแต่ละครั้ง 100 มิ ล ลิ ลิ ต ร มี ภ าวะแทรกซ้อ นเลื อ ดออกซ้ าขนาด 2.7
ให้ อ ยู่ ร ะหว่ า ง 10 - 15 วิ น าที ใช้ แ รงดู ด 100 - 120 เซนติ เมตร ผ่ าตั ด ครั้งที่ 2 มี estimate blood loss 200
มิลลิเมตรปรอท และดูดไม่เกิน 2 ครั้งต่อรอบ มิลลิลิตร
3. ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน อย่างน้อยทุก 2. มีเลือดออกช่องเยื่อหุ้มปอดด้านขวา ใส่ท่อ
2 - 4 ชั่วโมง ระบายทรวงอกได้เลือด 160 มิลลิลิตร
3.1 ติดตาม Oxygen saturation ให้ 3. ผล Hematocrit 29.5% Platelet count ต่า
มากกว่า 95% 125,000 - 140,000 /mm3
4. ประเมิ น การหายใจผู้ ป่ ว ยทุ ก 15 นาที – 1 วัตถุประสงค์
ชั่วโมง สังเกตลักษณะ และอัตราการหายใจ ฟังเสียงเสมหะ ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีด และ
ในปอดเป็นระยะเพื่อประเมินการอุดตันของเสมหะ เกล็ดเลือดต่า
5. ประเมินระดับความรู้สึกตัว และตรวจวัดและ เกณฑ์การประเมิน
บันทึกสัญญาณชีพ 15 นาที 2 - 3 ชั่วโมงแรกของการหมด 1. ไม่มีอาการแสดงของภาวะเกล็ดเลือดต่า
สติในระยะต่อไปความถี่ในการประเมินให้ทาตามสภาพของ Platelet count มีค่าปกติ 150,000 - 400,000/mm3
ผู้ป่วย 2. ไม่มีอาการแสดงของภาวะซีด
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ผล Hematocrit 35 - 46% รับ Platelet Concentrate รวม 12 ยูนิต ได้ PRC รวม 4
กิจกรรมการพยาบาล ยู นิ ต ก่ อ น ก ลั บ บ้ าน Platelet count เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น
1. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับเกล็ดเลือด และ Packed 150,000/mm3 และ Hematocrit เพิ่มขึ้นเป็น 36.7%
Red Cells ตามแผนการรักษาของแพทย์ การพยาบาลในระยะต่อเนื่องและการฟื้นฟูสภาพ
2. ดูแลให้ยาห้ามเลือดตามแผนการรักษา และ วินิ จ ฉั ย การพยาบาลที่ 5 ไม่ สุ ข สบายจากการปวดแผล
เฝ้าระวังประเมินผลข้างเคียง/การแพ้ยา ผ่าตัดสมองและใส่ท่อระบายทรวงอก
2.1 Tranexamic acid 250 มิลลิกรัม/5 ข้อมูลสนับสนุน
มิลลิลิตร ทางหลอดเลือดดา วันละ 1 ครั้ง X 3 วัน มีฤทธิ์ 1. ผู้ป่วยนอนไม่หลับ บอกปวดศีรษะและแผล
ในการห้ามเลือดใช้ป้องกันการตกเลือดหรือเลือดออกมาก บริเวณเจาะปอดมาก
ในระหว่างการผ่าตัดโดยออกฤทธิ์ต้านการทาลายลิ่มเลือด 2. ประเมินระดับการปวด Pain Score
2.2 Vitamin K 10 มิลลิกรัม ทางหลอดเลือด ได้ระดับ 7 คะแนน
ด า วั น ละ 1 ครั้ ง X 3 วั น Vitamin K มี ค วามจ าเป็ น ต่ อ วัตถุประสงค์
ขบวนการสร้างโปรตีน ของตับ ที่เกี่ย วข้องกับ การแข็งตั ว ผู้ป่วยมีความสุขสบาย อาการปวดทุเลาลง
ของเลือด ได้แก่ factor II, VII, IX และ X เกณฑ์การประเมิน
3. ดูแลให้ยายับยั้งการหลั่งกรดเพื่อป้องกันกรด 1. ผู้ป่วยสามารถนอนหลับ พักผ่อนได้
ไหลย้ อ น และเกิ ด stress ulcer ในกระเพาะอาหาร 2. อาการปวดลดลง Pain Score น้อยกว่า 3
เนื่องจากผู้ป่วยอยู่ระหว่างงดน้างดอาหาร คะแนน
3.1 Losec 40 มิลลิกรัมทางหลอดเลือด กิจกรรมการพยาบาล
ด า วั น ละ 1ครั้ ง X 3 วั น ต่ อ ด้ ว ย Losec 20 มิ ล ลิ ก รั ม 1 1. สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความ
เม็ด 2 เวลาก่อนอาหาร กลไกการออกฤทธิ์ของยาคือยับยั้ง ไว้วางใจ แสดงความจริงใจที่จะช่วยเหลือพูดคุยเบี่ยงเบน
การหลั่งกรด ความสนใจเพื่ อ บรรเทาอาการปวด แนะน าให้ ข อความ
4. ประเมินอาการแสดงของเกล็ดเลือดต่า เช่น ช่วยเหลือเมื่อไม่สุขสบาย
รอยช้ า เป็ น จ้ า หรื อจุ ด แดงใต้ผิ ว หนั ง แนะน าผู้ ป่ ว ยและ 2. ทากิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน ให้
ญาติในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุซ้า เช่น เอาไม้กั้นเตียง การพยาบาลโดยรบกวนผู้ป่วยให้น้อยที่สุด ลดการรบกวน
ขึ้ น ทุ ก ครั้ ง ป้ อ งกั น การตกเตี ย ง การเคลื่ อ นไหวอย่ า ง ผู้ ป่ ว ยจากสิ่ ง แวดล้ อ ม ดู แ ลจั ด ท่ า ให้ อยู่ ใ น ท่ า ที่ สุ ข
ระมัดระวัง การแปรงฟันอย่างนิ่มนวล สบาย หลีกเลี่ยงการนอนทับบริเวณที่ทาการผ่าตัด เพราะ
5. ประเมินอาการแสดงของภาวะซีด เช่น อาการ จะมีแรงกดทับทาให้เกิดการปวดแผลได้
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่าย อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ 3. ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา และ
เป็นต้น ประเมินอาการของผู้ป่วยหลังได้รับยาแก้ปวด ได้แก่
6. ติดตามผล Platelet count, Hematocrit, 3.1 Morphine 3 มิลลิกรัม เวลาปวดทุก
Hemoglobin เพื่อประเมินผลการเปลี่ยนแปลงหลังการให้ 4 ชั่ ว โมง ทางหลอดเลื อ ดด าเป็ น ยาในกลุ่ ม opioid
เลือดและเกล็ดเลือด agonist ก่อนฉีดยาให้ผู้ป่วยควรมีการประเมิน Pain Score
ประเมินผลการพยาบาล มากกว่า 5 โดยที่ Sedation Score =0 หรือ 1 อัตราการ
ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีด หายใจมากกว่า 10 ครั้ง/นาทีขึ้นไป ไม่มีภาวะความดันเลือด
และไม่ มี อ าการแสดงของภาวะเกล็ ด เลื อ ดต่ าหลั ง ได้
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ต่าและไม่มีอาการสับสน หาก Sedation Score = 3 งดให้ หลอดเลือดดา ฉีดขนาด 0.4 - 2 มิลลิกรัม (0.4 มิลลิกรัม/1
ยา มิ ล ลิ ลิ ต ร) ทางหลอดเลื อ ดด าและซ้ าทุ ก 2 - 3 นาที ถ้ า
3.1.1 ติดตามสั ญ ญาณชีพหลั งการให้ ยา ผู้ป่วยยังไม่รู้สึกตัวหลังให้ยาไปแล้วรวม 10 มิลลิกรัม แสดง
ทุ ก 5 นาที รวม 4 ครั้ ง และทุ ก 30 นาที รวม 2 ครั้ ง ว่าอาจไม่ใช่ภาวะเป็นพิษจาก opioid
ประเมิ น ภาวะแทรกซ้ อ นหลั งให้ ย าได้ แ ก่ กดการหายใจ 3.2 Tramol 50 มิ ล ลิ ก รัม 1 เม็ ด 4 เวลา หลั ง
ความดันเลือดลดลง ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน แจ้งแพทย์เมื่อ อาหาร เป็นยาแก้ปวด opioid ผลข้างเคียงที่พบบ่อยที่สุด
ชีพจร น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจน้อยกว่า 10 จากได้ แ ก่ อาการวิ ง เวี ย นศี ร ษะ, ปวดศี ร ษะ, ง่ ว งนอน,
ครั้ง/นาที ความดันโลหิตน้อยกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท ท้องผูก, คลื่นไส้
3.1.2 เตรียมยาแก้การกดการหายใจจาก 4. ประเมินอาการปวดทุก 4 ชั่วโมง โดยประเมิน
การได้รับยาเกินขนาดให้พร้อม ได้แก่ Naloxone ฉีดทาง อาการผู้ป่วยทุกครั้งก่อนและหลังให้ยาแก้ปวดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงผลการพยาบาลโดยการประเมินอาการผู้ป่วยก่อน และ หลังการให้ยาแก้ปวด


Pain score : PS คะแนนระดับ 0-10 Sedation score : SS คะแนนระดับ 0-3 และ S
ระดับ 0 = no pain ระดับ 0 = Non ไม่ง่วง ตื่นดี
ระดับ 1-3 = mild pain ระดับ 1 = Mild ง่วงเล็กน้อย หลับๆ ตื่นๆ ปลุกตื่นง่าย
ระดับ 2 = Moderate ง่วงพอควร ปลุกตื่นง่าย พูดคุยสักครู่อาจอยาก
ระดับ 4-6 = moderate pain
หลับมากกว่าคุย
ระดับ 7-10 = severe pain
ระดับ 3 = Severe ง่วงมาก ปลุกตื่นยาก
S = Sleep กาลังนอนหลับ ปลุกตื่นได้

ประเมินผลการพยาบาล วัตถุประสงค์
ห ลั ง ได้ ย าแก้ ป วด Morphine 1 dose ผู้ ป่ วย ญาติ ไม่ มี สี ห น้ าวิ ต กกั งวล และการปฏิ บั ติ ต นได้
สามารถนอนหลั บ พั ก ผ่ อ นได้ Pain Score ลดลงจาก 7 ถูกต้อง
เหลื อ 2 - 3 คะแนน และสามารถควบคุ ม อาการปวด เกณฑ์การประเมิน
ได้ จ ากยาแก้ ป วด Tramol ช นิ ดรั บ ป ระท าน ไม่ เ กิ ด ญาติคลายความวิตกกังวลและตอบคาถามเกี่ยวกับ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาทั้ง 2 ชนิด ดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง
วินิจฉัยการพยาบาลที่ 6 ญาติมีความวิตกกังวลเนื่องจาก กิจกรรมการพยาบาล
และขาดความรู้เกี่ยวกับ โรคและการดูแลผู้ป่ วย หลังกลั บ 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดี พูดคุยกับญาติผู้ป่วยด้วย
บ้าน ท่าทางอ่อนโยน ให้กาลังใจ ตั้งใจรับฟังปัญหาและช่วยเหลือ
ข้อมูลสนับสนุน ประคับประคองด้านจิตใจแก่ครอบครัวผู้ป่วย เพื่อให้ เกิด
1. ญาติผู้ป่วยคอยสอบถามอาการผู้ป่วย และ ความคุ้นเคยและไว้วางใจ
ความก้าวหน้าของการรักษาบ่อยครั้ง 2. ช่วยประสานให้พบแพทย์เพื่อรับฟังการดาเนิน
2. ญาติแสดงสีหน้าความวิตกกังวล ขอเฝ้าผู้ป่วย ของโรค อธิบายให้ญาติทราบ เข้าใจข้อมูล เกี่ยวกับแผนการ
เนื่องจากกลัวผู้ป่วยเสียชีวิต รักษาของแพทย์ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ญาติซักถามอาการ
หรือปัญหาข้อข้องใจต่างๆ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ในทุกระยะของการเจ็บ ป่ วย อธิบ ายให้ ญาติทราบทุกครั้ง ภายใน 4 วั น และประสาทศั ล ยแพทย์ ไ ด้ รั ก ษาภาวะ


ก่อนให้การพยาบาล เลื อ ด อ อ ก ใต้ เยื่ อ หุ้ ม ส ม อ ง ชั้ น ดู ราด้ ว ย ก าร ผ่ าตั ด
3. วางแผนจาหน่ายผู้ป่วยโดยให้คาแนะนา และ Craniotomy with remove clot หลั งผ่ าตั ด สมอง 2 วั น
ทบทวนการปฏิ บั ติ ตั ว ของผู้ ป่ ว ยหลั งกลั บ บ้ านและ การ ผู้ ป่ ว ยมี ภ าวะแทรกซ้ อ นมี เ ลื อ ดออกใต้ เ ยื่ อ หุ้ ม สมอง
สั งเกตสิ่ งผิ ด ปกติ ที่ ต้ อ งกลั บ มาตรวจซ้ า เช่ น ปวดศี ร ษะ ชั้นดูราซ้า ขนาด 2.7 เซนติเมตร (Re - bleeding Acute
รุนแรง อาเจียน ซึมลง ชัก มีไข้สูง การรับประทานยา การ Subdual Hemorrhage) แพ ทย์ จึ ง ผ่ า ตั ด Craniotomy
มาตรวจตามนัด ส่งปรึกษากายภาพบาบัดและโภชนาการ with remove clot รอบที่ 2 ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ การใส่ ท่ อ ช่ ว ย
ประเมินผลการพยาบาล หายใจ และเครื่องช่วยหายใจเป็นเวลา 3 วัน จึงสามารถ
หลังจากญาติได้รับ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับ โรค แผน ถอดท่อช่วยหายใจออกได้ แพทย์และพยาบาลได้เฝ้าระวัง
การรักษาของแพทย์ และอาการของผู้ป่วยแล้ว สีหน้าคลาย ผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ทาให้ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มเติม
ความวิตกกังวล ยอมรับกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยที่เป็นอยู่ และสามารถจาหน่ายทุเลากลับบ้านได้ จากกรณีศึกษาเป็น
และให้ความร่วมมือในการดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นอย่างดี ผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ซับซ้อนในการดูแล พยาบาลประจา
สรุปกรณีศึกษา หอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุมีบทบาทสาคัญต่อการประเมิน
ผู้ป่ วยชายไทยอายุ 42 ปี มีป ระวัติ 2 วัน ก่อนมา ผู้ ป่ ว ยบาดเจ็ บ หลายระบบให้ ค รอบคลุ ม ตั้ ง แต่ แ รกรั บ
โรงพยาบาล ผู้ ป่ ว ยถู ก ท าร้ า ยร่ า งกาย และถู ก ตี ด้ ว ยไม้ ปัญหาการพยาบาลที่ พบในระหว่างที่ศึกษาได้แก่ เสี่ยงต่อ
หมดสติ จ าเหตุ ก ารณ์ ไม่ ได้ ปวดศี ร ษะเล็ ก น้ อ ย ผล CT การกาซาบเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง เนื่องจากมีเลือดออก
Brain พบว่ า มี เ ลื อ ดออกใต้ เ ยื่ อ หุ้ ม สมองชั้ น ดู ร าชนิ ด ในสมอง การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลงเนื่องจากมีเลือด
เฉี ย บ พ ลั น (Acute Subdual Hemorrhage) ขน าด 1 ในช่องเยื่อหุ้ มปอด มีภ าวะแทรกซ้อนเลือดออกใต้เยื่อหุ้ ม
เซนติ เมตร นอนสั งเกตอาการ 9 ชั่ว โมง แพทย์ จ าหน่ าย สมองซ้า (Re - bleeding) หลั งผ่ าตั ด สมอง มี โอกาสเกิ ด
ทุ เลากลั บ บ้ า น พบปั ญ หาไม่ มี ผ ลการบั น ทึ ก การตรวจ ภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีดและเกล็ดเลือดต่า ไม่สุขสบาย
ร่ า งกาย การส่ ง ตรวจ CXR และการปรึ ก ษาประสาท จากการปวดแผลผ่าตัดสมองและใส่ท่อระบายทรวงอก และ
ศัลยแพทย์ก่อนจาหน่าย 6 ชั่วโมงต่อมาผู้ป่วยกลับมาตรวจ ญาติมีความวิตกกังวลเนื่องจากและขาดความรู้เกี่ยวกับโรค
ซ้า ด้วยอาการปวดศีรษะมากขึ้น แน่นหน้าอกเล็กน้อย แรก และการดูแลผู้ป่วยหลังกลับบ้า น บทบาทของพยาบาลใน
รับที่ห้องอุบัติเหตุ และฉุกเฉิน ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ส่งตรวจ CT ระยะวิกฤติ คือ การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอย่างใกล้ชิด
Brain ซ้ า พบมี เลื อ ดออกใต้ เยื่ อ หุ้ ม สมองชั้ น ดู ร าเพิ่ ม ขึ้ น ต่อเนื่อง และรายงานแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง
จากขนาด 1 เซนติเมตร เป็น 1.6 เซนติเมตร แพทย์ตรวจ ส่ งผลให้ ผู้ ป่ วยพ้ น จากภาวะคุกคามต่ อชีวิต และในระยะ
ร่างกาย พบรอยช้าที่หน้าอกด้านขวา ผลเอกซเรย์ทรวงอก ฟื้ น ฟู พยาบาลมี บ ทบาทในการค้ น หาปั ญ หาของผู้ ป่ ว ย
แพทย์อ่าน CXR ไม่พบความผิดปกติ แพทย์จึงรับไว้รักษาที่ และญาติ ด้วยการประเมินผลกระทบที่เกิดจากการบาดเจ็บ
โรงพยาบาล เมื่ อ มาถึ ง หอผู้ ป่ ว ยศั ล ยกรรมอุ บั ติ เ หตุ ที่ รุ น แรง ประเมิ น ความพร้ อ มของผู้ ป่ ว ยและญาติ ใ น
พยาบาลได้ทาการประเมินซ้า พบหน้าอกด้านขวามีรอยช้า การดู แ ลตนเองได้ อ ย่ า งเหมาะสมเมื่ อ จ าหน่ ายกลั บ บ้ า น
ขนาด 3 x 5 เซนติ เมตร และผู้ ป่ ว ยเหนื่ อ ยแน่ น หน้ าอก โดยวางแผนจาหน่ายตั้งแต่แรกรับ รวมระยะเวลาที่ รับไว้
มากขึ้น จึงรายงานแพทย์ แพทย์ศัลยกรรมมาตรวจร่างกาย ในความดูแ ล 13 วัน สภาพผู้ ป่ ว ยก่อ นจาหน่ า ยรู้สึ ก ตัว ดี
และประเมิ น CXR ซ้ า พบมี เ ลื อ ดออกในเยื่ อ หุ้ ม ปอด ไม่ มีภ าวะแทรกซ้อน ผลการติ ดตามอาการหลั งออกจาก
ด้านขวา ใส่ท่อระบายทรวงอกระบายเลือดออกได้ทันเวลา โรงพยาบาล 1 เดือน ผู้ป่วยกลับมาตรวจ OPD ยังมีอาการ
ผู้ ป่ ว ยปลอดภั ย และสามารถถอดท่ อ ระบายทรวงอกได้ ปวดศี ร ษะบางครั้ ง สามารถเดิ น ได้ ป กติ ไ ม่ มี ก ล้ า มเนื้ อ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

อ่ อ นแรง ผล CT Brain ไม่ มี เลื อ ดออกเพิ่ ม ผลการตรวจ นิเทศงานกรณีปกติ กระทรวงสาธารณสุข


เอกซเรย์ทรวงอก ปอดขยายตัวดีเท่ากันทั้งสองข้าง แพทย์ จังหวัดสมุทรปราการ รอบที่ 1 ประจาปี
นัดประเมินซ้าอีก 3 เดือน งบประมาณ; 2561.
ข้อเสนอแนะ 4. กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ โรงพยาบาล
1. ควรมีแผนพัฒนาสมรรถนะแพทย์และ สมุทรปราการ.รายงานสถิติประจาปี; 2561.
พยาบาลด้ า นศั ล ยกรรมอุ บั ติ เ หตุ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น 5. Butcher NE, Balogh ZJ. Update on the definition
สมรรถนะด้านการประเมิน ผู้บ าดเจ็บ ตามแนวปฏิบั ติการ of polytrauma. EJTES 2014; 40(2): 107–11.
ช่วยชีวิตผู้ได้รับบาดเจ็บขั้นสูง (Advanced Trauma Life 6. ปรีชา ศิริทองถาวร, เรวัต ชุณหสุวรรณ,
Support; ATLS)(13) กฤษณ์ แก้วโรจน์, อนันต์ ตัณมุขยกุล.
2. ควรจั ด ท าแนวปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลผู้ ป่ ว ย ศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ 13. กรุงเทพมหานคร :
บาดเจ็ บ หลายระบบให้ เป็ น มาตรฐานทุ ก โรงพยาบาล เรือนแก้วการพิมพ์ว; 2547.
เครื อ ข่ า ยในจั ง หวั ด เพื่ อ เป็ น คู่ มื อ ให้ บุ ค ลากรพยาบาล 7. วิจิตรา กุสุมภ์ และคณะ. การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
ตั้ ง แต่ ห้ อ งอุ บั ติ เ หตุ แ ละฉุ ก เฉิ น และทุ ก หน่ ว ยงานที่ แบบองค์รวม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:
เกี่ ยวข้ องสามารถดูแ ลผู้ ป่ ว ยให้ ป ลอดภั ย จากการศึ กษา ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลสหประชาพาณิชย์;
การนาแนวปฏิบัติการพยาบาล Multiple Injury Nursing 2556.
Management Guideline มาใช้ ในการดู แ ลผู้ ป่ ว ย ได้ รั บ 8. สุนิดา อรรถนุชิต, วิภา แซ่เซี้ย และ ประณีต ส่งวัฒนา.
บาดเจ็บหลายระบบเพื่อส่งเสริมการแก้ไข ภาวะคุกคามต่อ การพัฒนาและประเมินแนวปฏิบัติ ทางคลินิก
ชี วิ ต พบว่า สามารถช่ ว ยให้ ก ารดู แ ลผู้ ป่ ว ยมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ในการประเมินสภาพแรกรับผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
เพิ่มขึ้น และช่ว ยให้ ผู้ ป ฏิบั ติงานสามารถทางานได้อย่ างมี หลายระบบที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ.
ระบบ(14) ว.มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2553;2 2:
3. ควรมี ก ารท าการประเมิ น คุ ณ ภาพการดู แ ล 16-28.
ผู้ บ าดเจ็ บ (trauma audit) โดยตรวจสอบความถู ก ต้ อ ง 9. Fan JY. Effect of backrest position on
แม่นยาของการวินิจ ฉัย การรักษา หรือผลการรักษา โดย intracranial pressure and cerebral
ความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ เช่น การอ่านผล CXR ระหว่าง perfusion pressure in individuals with
แพทย์ใช้ทุนและรังสีแพทย์ เพื่อป้องกันการวินิจฉัยผิดพลาด brain injury: a systemic review. JNN 2004;
ล่าช้า เป็นต้น 36(5): 278-88.
บรรณานุกรม 10. สวิง ปันจัยสีห,์ นครชัย เผื่อนปฐม, กุลพัฒน์ วีรสาร.
1. สถิติอุบัติเหตุบนท้องถนนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แนวทางเวชปฏิบัติกรณีสมองบาดเจ็บ.นนทบุรี:
[อินเทอร์เน็ต]. BBC NEWS; 2561. ธนาเพลส; 2556.
[วันที่อ้างถึง 22 ธ.ค.2561]. ที่มา : 11. สถาบันประสาทวิทยา.แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรค
https://www.bbc.com/thai/international หลอดเลือดสมองสาหรับพยาบาลทั่วไป. กรุงเทพฯ:
2. กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ. สานักงาน สถาบันประสาทวิทยา; 2554.
เขตสุขภาพที่ 6. รายงานประจาปี; 2561. 12. Sadoughi A, Rybinnik I & Cohen R.
3. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ.
เอกสารประกอบการตรวจราชการและ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

Measurement and management of 14. นวลทิพย์ ธีระเดชากุล, นุชศรา พรมชัย และ


increased intracranial pressure. BMJ Open นงลักษณ์ พลแสน. ประสิทธิผลการพัฒนาการดูแล
2013; 6: 56-65. ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บหลายระบบด้วย Multiple
13. American College of Surgeons[Internet]. 2018. Injury Nursing Management Guideline. ว.
[cited 2018 JUNE 1]. Available การแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์.
from:http://bulletin.facs.org/2018/06/atls- 2561;33: 165-77.
10th-edition-offers-new-insights-into-
managing-trauma-patients/

You might also like