You are on page 1of 49

1

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
รายงานการวางแผนการพยาบาลฉบับสมบูรณ์ (Case Complete)
รายวิชา พผญ 335 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2

ชื่อ - สกุลนิสิต นางสาว สุธาสินี อิศรางกูร ณ อยุธยา กลุม่ B02 ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2560 วันที่ 23 และ 26 กุมภาพันธ์ 2561
สถานที่ฝึกปฏิบัติ หอผูป้ ่วยศัลยกรรมกระดูก 14/2
โรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร. สิรินุช บูรณเรืองโรจน์

ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อผู้รับบริการ นายสมชาย ตรีเนตร H.N. 00160X-XX A.N. A0240X-XX
อายุ 36 ปี เพศ ชาย เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
สถานภาพ สมรส ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 3 อาชีพ รับจ้าง (ช่างกลึงอะไหล่)
ที่อยู่ปัจจุบัน ตาบลดอนเกาะกา อาเภอบางน้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
บุคคลที่รับผิดชอบผู้รับบริการ นางชรินรัตน์ เกี่ยวข้องเป็น ภรรยา
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
วันที่นิสิตรับผู้รับบริการไว้ในความดูแล 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ข้อมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพของผู้รับบริการ
1. ประวัติความเจ็บป่วย
การวินิจฉัยโรคครั้งแรก
1. Closed fracture left acetabulum with right shaft of humerus with radial nerve injury
2. Closed fracture left superior and inferior pelvic remi
3. Microscopic hematuria suspected bladder injury
การวินิจฉัยโรคครั้งสุดท้าย
Chronic Osteomyelitis left leg S/P Intramedullary nail
การผ่าตัดที่ได้รับ Open Reduction Internal Fixation with plate and screw fixation left
acetabulum with ORIF with PAD fixation right humerus วันที่ 12 มกราคม 2561
อาการสาคัญ มาติดตามการรักษา มีหนองไหลจากแผลผ่าตัด 2 day ก่อนมาโรงพยาบาล
2

อาการแรกรับไว้ในหอผู้ป่วย
ผู้รับบริการตื่นดี พูดคุยได้ ถามตอบรู้เรื่อง สัญญาณชีพแรกรับ BT 37.7 ๐C, PR 92 bpm,
RR 20 bpm, BP 120/80 mmHg, SpO2 98% On U-slab right arm with arm sling with wrist drop
tenderness at left hip, Abrasion wound at 1. Head size 10x15 cm. with suture 7 stitch
2. Multiple at left arm 3. Left buttock size 4x5 cm. มีอาการปวด Pain score 5/10 คะแนน

อาการ อาการแสดง และการรักษาการพยาบาลตั้งแต่เข้าโรงพยาบาลจนถึงก่อนรับไว้ในความดูแล


ผู้ป่วยชายไทย อายุ 67 ปี รับ Refer จากโรงพยาบาลบางสะพานด้วย car accident 2 day ก่อนมา
โรงพยาบาล ผู้ป่วยนั่งรถทัวร์พลิกคว่าข้างทาง มีศรี ษะและหน้าอกกระแทก แขนขวาโดนรถทับ มีแผลถลอก
ตามตัวและหน้าผาก ได้ Admit รักษาทีโ่ รงพยาบาลบางสะพาน พบว่ามีกระดูกเชิงกรานและต้นแขนขวาหัก มี
อาการปวดที่แขนขวาและสะโพกซ้ายมาก On U-slab right arm จึงขอ Refer มาโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก 14/2 ได้รับการรักษาคือ on
0.9% NSS 1000 ml ⓥ rate 8o ml/hr., On Skeletal traction Left 8 kg., x-ray พบ left
acetabulum with right shaft of humerus fracture จึงได้เข้ารับการผ่าตัด Open Reduction Internal
Fixation plate and screw fixation left acetabulum with ORIF PAD fixation right humerus,
Under GA, Blood loos 1,700 ml BP 90/60 mmHg Hb 16% Hct 20% แพทย์จึงมีคาสั่งการักษาคือ ให้
PRC 2 u หลังให้เลือด ผู้ป่วยมี Hematocrit=38 % และ on cannula วันที่ 12 มกราคม 2561 หลังทา
ผู้ป่วยไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ได้รับการักษา Morphine (1:10) 3 mg. ⓥprn for pain เพื่อรักษาอาการ
ปวด และ CBC, BUN, Cr, Electrolyte พบว่ามี Hemoglobin = 9.9 g/dl (ต่า) Hematocrit=29 %(ต่า)
แพทย์จึงมีคาสั่งการักษาคือ ให้ PRC 1 u drip in 3 hr. หลังให้เลือด ผู้ป่วยมี Hematocrit=30 % มีค่า
neutrophil 82.8% สูงแพทย์จึงมีคาสั่งการรักษาคือ Cefazolin 1 g ⓥ q 6 hr, เพื่อแก้ไขภาวะติดเชื้อ วันที่
13/01/61 ผู้ป่วยมีไข้ 38-39 องศาเซลเซียส แพทย์มีคาสั่งการรักษาคือ ให้ observe ไข้ต่อ และพบ UA WBC
(5-10) สูง แพทย์มีคาสั่งการรักษา off foley catheter ให้ antibiotic เป็น ciprofloxacin 400 mg. ⓥ q
12 hr. ผู้ป่วยไข้ลดลงจน อุณหภูมิร่างกายเป็นปกติ
ก่อนรับไว้ในความดูแลผูป้ ่วยมีปัญหาพบผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผิดปกติ ได้แก่ CBC พบ Hb
ต่า 9.4 g/dL, Hct. ต่า 28.3% WBC 14.2x103 N 82.8% แพทย์มีแผนการรักษาโดยให้ Vitamin B12 1 x 3
p.o. p.c. Cefazolin 1 g ⓥ q 6 hr. ciprofloxacin 400 mg. ⓥ q 12 hr. และเรื่องปวดแผล pain
score = 6 คะแนน จะปวดมากเฉพาะเวลาขยับแขนขวาและขาซ้าย
3

ประวัติความเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล (31/12/61) นั่งรถทัวร์ รถพลิกคว่าลงข้างทาง กระเด็นออกจากรถ รถทับ
แขนข้างขวา มีประวัติ loss of conscious ไป admit ที่โรงพยาบาลบางสะพาน On U-slab right arm with
arm sling แล้ว refer มา MSMC

ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
-ประวัติ subdural hematoma S/P: Craniotomy with clot removal เมื่อปี พ.ศ. 2556 ปัจจุบัน
ไม่ได้รักษาแล้ว

ประวัติความเจ็บป่วยในอดีตอื่น ๆ ได้แก่
1. ผู้รับบริการให้ประวัตสิ ูบบุหรี่นานประมาณ 1 ปี วันละประมาณ 4 มวน ปัจจุบันเลิกสูบแล้ว
2. ผู้รับบริการปฏิเสธการแพ้ยา และแพ้อาหารใด ๆ
3. ผู้รับบริการฏิเสธประวัติการเสพสารเสพติด
4. ผู้รับบริการปฏิเสธประวัติการใช้สมุนไพร

ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัว
ผู้รับบริการ อายุ 36 ปี บุคคลในครอบครัวมีประวัติเสียชีวิตจากอุบัติเหตุและมะเร็งท่อนซิล บุคคลใน
ครอบครัวมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง ซึ่งสามารถเขียนแผนผังได้ดังนี้
4

2. ผลการประเมินสภาพร่างกายของผู้ป่วย
ลักษณะทั่วไป
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 36 ปี รูปร่างอ้วน ผิวเหลือง ความรู้สึกตัวดีและมีสติ พูดคุยรู้เรื่องไม่สับสน บริเวณ
ศีรษะแขนและขา มีรอยแผลตกสะเก็ด แขนขวามีแผลผ่าตัด ORIF with PAD fixation right humerus
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย บริเวณสะโพกข้างซ้าย มีการผ่าตัด Open Reduction Internal Fixation with plate
and screw fixation left acetabulum เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย ขยับเท้าทั้งสองได้
สัญญาณชีพแรกรับ
อุณหภูมริ ่างกาย 37.3 องศาเซลเซียส อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 120/70 มิลลิเมตร
ปรอท อัตราการเต้นของหัวใจ 80 ครั้งต่อนาที
ผิวหนัง : การกระจายของขนสม่าเสมอ ผิวแห้ง ผิวซีด มีแผลที่ต้นแขนขวาปิดก๊อตไว้ สะโพกซ้ายมีแผลเป็น
แนวยาว มีแผลตกสะเก็ดที่แขนทั้งสองข้าง อุณหภูมิร่างกายอุ่นจากการสัมผัส ไ-ม่มีผื่นคัน ไม่มีอาการบวมกด
บุ๋มที่ผิว เล็บมือเล็บเท้ามีลักษณะรูปร่างปกติไม่ผดิ รูปไม่มีเล็บปุ้ม เล็บทามุม 160 องศา ไม่มีแผล Capillary
refill 3

ศีรษะ ใบหน้าและลาคอ
-ศีรษะกะโหลกศีรษะมีลักษณะสมมาตรเท่ากันทั้งสองข้าง ไม่มีกะโหลกศีรษะผิดรูป คลาไม่มกี ้อน ไม่มีกด
เจ็บ ผมหงอก การกระจายของผมสม่าเสมอ มีอาการผมร่วงกลางศีรษะ กระหม่อมหน้าศีรษะมีแผลตก
สะเก็ด ไม่มีรังแค
-ใบหน้า ลักษณะใบหน้ารูปไข่ รูปร่างสมมาตรเท่ากันทั้งสองข้าง ไม่มผี ิดรูป ไม่มีใบหน้าบิดเบี้ยว ผิวขาว
เหลือง คลาไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ ไม่มีแผล ไม่มีรอยแผลเป็น
-หู ลักษะใบหูทั้งสองข้างปกติมีขนาดเท่ากัน มีติ่งหู ไม่มีรอยเจาะรู ไม่มีแผล ผู้ป่วยมีการได้ยินปกติเมื่อทา
การทดสอบ
-ตา ตามีลกั ษณะเท่ากันสมมาตรทั้งสองข้าง เป็นตาสองชั้น ไม่มีอาการหนังตาตก ไม่มีตาแดง ไม่มีตาเข ไม่
มีตากุ้งยิง การกระจายตัวของขนตาสม่าเสมอ คลาลูกตานุ่ม ไม่มีขี้ตาไม่มีสารคัดหลั่งออกมาจากตา ไม่มีอาการ
ตาเหลือง ไม่มีอาการหนังตาบวม เยื่อบุตาซีด ไม่มีแผล รูม่านตาปกติขนาดเท่ากันทั้งสองข้าง มีการตอบสนอง
ต่อแสง ไม่มีอาการสายตาสั้น ไม่มีอาการสายตา ทาการทดสอบสามารถอ่านหนังสือได้
-จมูก ลักษณะของจมูกเท่ากันทั้งสองข้าง ไม่มีจมูกผิดรูป ไม่มีแผล ไม่มีสารคัดหลั่ง เยื่อบุจมูกสีชมพูซีด
ไม่บวม ภายในโพรงจมูกมีผนังกั้นปกติไม่มีรูทะลุผ่าน ไม่มีอาการกดเจ็บบริเวณโพรงไซนัส ทาการทดสอบการ
รับรู้ของกลิ่นสามารถรับรู้กลิ่นได้ปกติ
5

-ปาก ริมฝีปากสีชมพู ริมฝีปากแห้งแห้ง ไม่มีปากนกกระจอก ในช่องปากไม่มีแผลพุพองร้อนใน เหงือกสี


ชมพู ไม่บวม ไม่มกี ารอักเสบ ใส่ฟันปลอมทั้งปาก ลิ้นมีสีชมพู มีตุ่มรับรส แลบลิ้นได้ ตวัดลิ้นไปมาได้ ลิ้นมีการ
รับรสปกติ สามารถระบุรสชาติได้ ลิ้นไก่อยู่ในแนวกึ่งกลางไม่เบ้ ต่อมทอลซิลปกติ ไม่โต ไม่มีหนอง
-คอ ผิวสีขาวเหลือง คอมีลักษณะรูปร่างสมมาตรทั้งสองข้าง ไม่มีลักษณะผิดรูป ไม่มีแผลที่คอ คลาไม่พบ
ก้อน กดไม่เจ็บ หลอดลมอยู่ในแนวกึ่งกลาง
ทรวงอกและระบบหายใจ และเต้านม
ลักษณะของทรวงอกปกติสมมาตรเท่ากันทั้งสองข้าง ไม่ผิดรูป การหายใจปกติ ไม่มีอาการหายใจหอบ
เหนื่อย ไม่มีเสียงหายใจครืดคราด อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที ฟังปอดทั้งสองข้างไม่พบเสียงผิดปกติ การ
เคลื่อนที่ของทรวงอกทั้งสอบข้างเท่ากัน
เต้านม: ผิวสีขาวเหลือง เต้านมมีลักษณะสมมาตรเท่ากันทั้งสองข้าง ไม่มแี ผล คลาไม่พบก้อน กดไม่เจ็บ ไม่มี
สารคัดหลั่งไหลออกจากหัวนม ต่อมน้าเหลืองบริเวณรักแร้ไม่โต
ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ไม่มีอาการเหนื่อยง่าย ไม่มีอาการอ่อนเพลีย ฟังเสียงหัวใจไม่มีเสียงผิดปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจปกติ 80 ครั้ง/นาที คลา pulse ที่เท้าทั้งสองข้างได้แต่ข้างซ้ายเต้นเบากว่าจากการ
บาดเจ็บ
หน้าท้องและทางเดินอาหาร: ผิวหนังบริเวณหน้าท้องขาวเหลือง ไม่มีรอยแผลเป็น ฟัง bowel sound ได้ 3
ครั้ง/นาที สามารถขับถ่ายปัสสาวะและขับถ่ายอุจจาระได้ ไม่มีอาการท้องเสีย มีอาการท้องผูก มีอาการ
ท้องอืด
ระบบประสาท: ผู้ป่วยมีสติและมีความรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่องได้ชดั เจน ไม่มีอาการสับสน มีอาการชาตาม
ปลายมือปลายเท้าข้างที่ผ่าตัด ระบบประสาทรับความรู้สึกดี มีอาการปวดและชาบริเวณแขนข้างขวาและ
ขาข้างซ้ายเป็นบางครั้ง ส่วนมากจะปวดเฉพาเวลาขยับขา
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก: ไม่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่มีอาการอ่อนเพลีย เคลื่อนไหวขยับร่างกายได้
ปกติ ยกเว้นแขนขวาและขาซ้ายทีผ่าตัด ซึ่งเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย ขยับเท้าทั้งสองได้
ระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์: ผู้ป่วยสามารถขับถ่ายปัสสาวะได้ปกติ ไม่มีอาการปัสสาวะขัด
ปัสสาวะเป็นเลือด

3 การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณของผู้ป่วย


1) อัตมโนทัศน์
- ผู้ป่วยสามารถยอมรับการเจ็บป่วยและภาพลักษณ์ของตนเองได้
2) สภาวะทางอารมณ์
- ผู้ป่วยมีความกังวลในเรื่องการเจ็บป่วยของตนเองที่ส่งผลกระทบต่อภรรยาและบุตรชายทีต่ อ้ งเสียเวลา
มาดูแล
3) ความจา
- ผู้ป่วยสามารถจาสิ่งต่างๆได้ดี
6

4) การรับรู้เวลา สถานที่ และบุคคล


- ผู้ป่วยสามารถรับรูเ้ วลา สามารถบอกเวลาได้
- ผู้ป่วยสามารถรับรูไ้ ด้ว่าตนเองกาลังรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- ผู้ป่วยสามารถจาบุคคลในครอบครัว ญาติ หรือนิสิตพยาบาลที่ให้การพยาบาลได้
5) ความรู้สกึ ตัว
- ผู้ป่วยมีความรู้สึกตัวดี มีสติ พูดคุยถามตอบได้ ไม่มีอาการสับสน
6) การรับรู้
- ผู้ป่วยสามารถรับรูไ้ ด้ ทั้งในเรื่องของ บุคคล สถานที่ เวลา สามารถรับรู้ได้ทั้ง รูป รส กลิ่น (จากการ
สอบถาม)
7) กระบวนการคิด
- ผู้ป่วยมีกระบวนการคิดมีสติ ไม่มีอาการเพ้อ มีการสื่อสารกับบุคคลรอบข้างอย่างสมเหตุสมผล
8) ความเข้าใจ
- ผู้ป่วยเข้าใจในเรื่องการเจ็บป่วยของตนเองที่ต้องใช้เวลาในการรักษาที่ค่อนข้างนานกว่าจะสามารถเดินได้
ตามปกติ
9) การตัดสินใจ
-ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจในการทากิจกรรมต่างๆ หรือ กิจวัตรประจาวันตัวเองได้ เช่น การรับประทาน
อาหารเอง
10) แบบแผนในการเผชิญปัญหาทั้งก่อนและขณะเจ็บป่วย
-ผู้ป่วยมีแบบแผนในการเผชิญกับปัญหาขณะเจ็บป่วย ในการควบคุมความเจ็บปวดของแผล การบริหาร
ส่วนต่างๆของร่างกาย เมื่อตนเองต้องนอนบนเตียงนานๆ (จากการสังเกต)
11) เชาว์ปัญญา
-ผู้ป่วยมีเชาว์ปัญญาปกติ สามารถเล่าเหตุการณ์อุบัติเหตุก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุได้
12) ความตั้งใจและสมาธิ
-ผู้ป่วยให้ความสนใจในการสนทนากับบุคคลที่เขามาสนทนา
13) แบบแผนการติดต่อสื่อสาร
-ผู้ป่วยสื่อสารโดยการใช้คาพูด ได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่ายโดยไม่ต้องมีท่าทางประกอบ
14) แบบแผนการมีปฏิกิริยาสัมพันธ์
-ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ดีกับบุคคลอื่น พูดคุยอัธยาศัยดีกับบุคลากรในโรงพยาบาล และให้ความร่วมมือเป็น
อย่างดีมนการให้การพยาบาล
15) สัมพันธภาพทางสังคม
-ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลากรทางการแพทย์
-ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลเป็นอย่างดี
7

16) การปรับตัวต่อการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
-ผู้ป่วยสามารถปรับตัวขณะอยู่ในโรงพยาบาลได้
17) การรับรู้และความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัวต่อปัญหาและความเจ็บป่วย
-ผู้ป่วยคาดหวังในการรักษาของทีมสุขภาพและมีความหวังว่าตนเองจะสามารถหาย เดินได้เหมือนเดิม
18) ความเชื่อและความศรัทธาทางศาสนา
-ผู้ป่วยบวชเป็นพระภิกษุ ได้ 4 ปี

4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจอื่นๆ

วันเดือนปี ชนิดการตรวจ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจ การแปลผล


พบ
16/02/61 C-Reactive C-Reactive <5.00 mg/L 58.57 mg/L ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
protein protein (CHP) จากการอักเสบ
Erythrocyte Erythrocyte 0-15 43 mm/hr ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
Sedimentation Sedimentation mm/hr จากการอักเสบ
Rate Rate (ESR)
Complete Hemoglobin 13.0-18.0 13.4 g/dl ปกติ
Blood Count (Hb) g/dl
Hematocrit 39.0-52.0 % 42.3 % ปกติ
(Hct)
Red Cell Count 4.20-5.50 x 4.97 x 106 ปกติ
106 cells/uL
cells/uL
MCV 80.6-98.8 fL 85.1 fL ปกติ
MCH 25.8-33.1 27.0 pg ปกติ
pg
MCHC 30.8-34.6 31.7 g/dL ปกติ
g/dL
RDW 11.9-14.5 % 13.2 % ปกติ
White Cell 4.5-11.3 x 9.2 3 x 103 ปกติ
Count 103 cell/uL cell/uL
NRBC 0.0/100 ปกติ
8

วันเดือนปี ชนิดการตรวจ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจ การแปลผล


พบ
WBC
Platelet 140-400 526 x 103 อาจเกิด
x103 cell/mm3 ภาวะโลหิตจาง
cell/mm3
MPV 7.4-10 fL 9.6 fL ปกติ
Platelet Smear Increase
Differential Total % (diff) 100 %
White Cell Neutrophil 40.0-70.3 % 69.5 % ปกติ
Lymphocyte 18.7-48.3 % 20.9 % ปกติ
Monocyte 3.9-12.3 % 6.1 % ปกติ
Eosinophil 0.8-9.2 % 3.0 % ปกติ
Basophil 0.1-1.4 % 0.5 % ปกติ
Red Cell RBC Normal
Morphology Normochromic

RBC Normal
Normocytosis
Blood Urea Blood Urea 8.9-20.6 12.3 mg/dL ปกติ
Nitrogen (BUN) Nitrogen mg/dL
Creatinine Creatinine 0.73-1.18 0.82 mg/dL ปกติ
(Enzymatic) (Enzymatic) mg/dL
eGFR (MDRD) 113
mL/min per
1.73 m2
eGFR (CKD-EPI) 113.8
mL/min per
1.73 m2
Electrolyte Na 136.0-145.6 137.5 ปกติ
Clotted Blood mmol/L mmol/L
K 3.5-5.1 4.1 mmol/L ปกติ
9

วันเดือนปี ชนิดการตรวจ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจ การแปลผล


พบ
mmol/L
Cl 98-107 102 ปกติ
mmol/L mmol/L
HCO3- 22.0-29.0 24.1 ปกติ
mmol/L mmol/L
Anion Gap 8.00-20.00 16 ปกติ
C-Reactive C-Reactive <5.00 mg/L 58.57 mg/L ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
protein (CRP) protein จากการอักเสบ
19/02/2561 Complete Hemoglobin 13.0-18.0 12.3 g/dl อาจเกิดภาวะ
Blood Count (Hb) g/dl โลหิตจาง
Hematocrit 39.0-52.0 % 39.0 % ปกติ
(Hct)
Red Cell Count 4.20-5.50 x 4.58 x 106 ปกติ
106 cells/uL
cells/uL
MCV 80.6-98.8 fL 85.2 fL ปกติ
MCH 25.8-33.1 26.9 pg ปกติ
pg
MCHC 30.8-34.6 31.5 g/dL ปกติ
g/dL
RDW 11.9-14.5 % 13.0 % ปกติ
White Cell 4.5-11.3 x 6.6 x 103 ปกติ
Count 103 cell/uL cell/uL
NRBC 0.0/100
WBC
Platelet 140-400 504 x 103 อาจเกิด
x103 cell/mm3 ภาวะโลหิตจาง
cell/mm3
MPV 7.4-10 fL 9.5 fL ปกติ
Platelet Smear Increase
10

วันเดือนปี ชนิดการตรวจ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจ การแปลผล


พบ
Differential Total % (diff) 100 %
White Cell Neutrophil 40.0-70.3 % 60.3 % ปกติ
Lymphocyte 18.7-48.3 % 24.5 % ปกติ
Monocyte 3.9-12.3 % 8.3 % ปกติ
Eosinophil 0.8-9.2 % 6.3 % ปกติ
Basophil 0.1-1.4 % 0.6 % ปกติ
Red Cell RBC Normal
Morphology Normochromic
RBC Normal
Normocytosis
Erythrocyte ESR 0-15 65 mm/hr ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
Sedimentataion mm/hr จากการอักเสบ
Rate (ESR)
C-Reactive C-Reactive <5.00 mg/L 26.24 mg/L ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
protein (CRP) protein จากการอักเสบ
24/02/61 Complete Hemoglobin 13.0-18.0 11.8 g/dl อาจเกิด
Blood Count (Hb) g/dl ภาวะโลหิตจาง
Hematocrit 39.0-52.0 % 37.5 % อาจเกิด
(Hct) ภาวะโลหิตจาง
Red Cell Count 4.20-5.50 x 4.42 x 106 ปกติ
106 cells/uL
cells/uL
MCV 80.6-98.8 fL 84.8 fL ปกติ
MCH 25.8-33.1 26.7 pg ปกติ
pg
MCHC 30.8-34.6 31.5 g/dL ปกติ
g/dL
RDW 11.9-14.5 % 12.8 % ปกติ
White Cell 4.5-11.3 x 5.3 x 103 ปกติ
Count 103 cell/uL cell/uL
11

วันเดือนปี ชนิดการตรวจ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจ การแปลผล


พบ
NRBC 0.2/100 ปกติ
WBC
Platelet 140-400 502 x 103 อาจเกิด
x103 cell/mm3 ภาวะโลหิตจาง
cell/mm3
MPV 7.4-10 fL 9.3 fL ปกติ
Platelet Smear Increase
Differential Total % (diff) 100 %
White Cell
Neutrophil 40.0-70.3 % 52.8 % ปกติ
Lymphocyte 18.7-48.3 % 29.4 % ปกติ
Monocyte 3.9-12.3 % 8.2 % ปกติ
Eosinophil 0.8-9.2 % 8.7 % ปกติ
Basophil 0.1-1.4 % 0.9 % ปกติ
Erythrocyte ESR 0-15 65 mm/hr ค่าที่สูงอาจเกิดขึ้น
Sedimentataion mm/hr จากการอักเสบ
Rate (ESR)
Creatinine Creatinine 0.73-1.18 0.92 mg/dL ปกติ
(Enzymatic) (Enzymatic) mg/dL
eGFR (MDRD) 98.9mL/min
per 1.73
m2
eGFR (CKD-EPI) 106.6
mL/min per
1.73 m2
หมายเหตุ: ค่าปกติอา้ งอิงจากงานพยาธิวิทยาคลินิกโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ
12

การตรวจพิเศษ
16/02/61
Gram’s stain
PUS (wound)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : Numerous White Blood Cell
No organism found
PUS C/S PUS (wound)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : No growth after 3 day
Tissue C/S
tissue from (specify site)
Specimen : Bone (tissue) : No growth after 3 day
Swab (wound)
Specimen : leg (swab) –ซ้าย : No growth after 3 day
Hemoculture blood
Specimen : blood hemoculture ขวดที่ 1,2 : No growth after 3 day
(ขวด Hemoculture ถูกบ่มเพาะเชื้อต่อจนครบ 5 วันแล้วและไม่มีเชื้อขึ้น)

20/02/61
PUS C/S
PUS (wound)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : No growth after 3 day
Gram’s stain
PUS (wound)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : Few White Blood Cell
No organism found
Tissue C/S
tissue from (specify site)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : No growth after 3 day
Gram’s stain
tissue from (specify site)
Specimen : leg (PUS) –ซ้าย : Few White Blood Cell
No organism found
13

5. พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพทางทฤษฎี พยาธิสภาพของผู้รับบริการ
Osteomyelitis
กระดูกอักเสบ หรือกระดูกอักเสบเป็นหนอง หรือกระดูกอักเสบ
ติดเชื้อ (Osteomyelitis) คือโรคที่เกิดจากกระดูกติดเชื้อโรค ทั่วไปมักเป็น
จากเชื้อแบคทีเรีย แต่อาจพบเป็นจากติดเชื้อราได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยง
ของผู้ป่วยแต่ละคน แบคทีเรียที่พบเป็นสาเหตุกระดูกอักเสบมีได้ -ผู้ป่วยมีแผล ที่นิ้วโป้งเท้าด้านขวา
หลากหลายชนิด แต่ที่พบได้บ่อยคือ จากชนิด Staphylococcus aureus ทาให้เกิดการติดเชื้อที่เนื้อเยื่อและ
(แต่อาจพบเกิดจากแบคทีเรียหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กันได้บ่อยพอควร กระดูกซึ่ง เชื้อทีต่ ิดเป็นเชื้อแบคทีเรีย
โดยเฉพาะกรณีเป็นกระดูกอักเสบเรื้อรัง) ส่วนเชื้อราทีพ่ บเป็นสาเหตุได้บ่อย
คือ ชนิด Candida กระดูกอักเสบเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นของร่างกาย
ที่พบบ่อย คือ กระดูกขา กระดูกเท้าและ กระดูกสันหลัง โดยทั่วไปมักพบ
กระดูกอักเสบเกิดเพียงตาแหน่งเดียว แต่อาจพบเกิดหลายตาแหน่งพร้อม
กันได้ ทั้งนี้ขึ้นกับสาเหตุและสุขภาพพื้นฐานของผู้ป่วย

อาการของกระดูกอักเสบ ถ้าเกิดในช่วงเวลารวดเร็วประมาณ 7 - 10 วัน -ผู้ป่วยมีอาการแผลที่นิ้วโป้งเท้า


เรียกว่า “กระดูกอักเสบเฉียบพลัน (Acute osteomyelitis)” แต่ถ้าอาการ ด้านขวา มีอาการบวม มีหนองซึม
ค่อยเป็นค่อยไป เป็นสัปดาห์ หลายสัปดาห์ หรือเป็นเดือน หรือเป็นๆหายๆ ออกมา เป็นเวลา 1 ปี
หรือมีหนองไหลออกจากกระดูกเรื้อรัง จะเรียกว่า “กระดูก อักเสบ แพทย์วินิจฉัยเป็น กระดูกอักเสบ
เรื้อรัง (Chronic osteomyelitis)” ซึ่งอาการของทั้งกระดูกอักเสบ เรื้อรังที่เท้าขวา (Chronic
เฉียบพลันและของกระดูกอักเสบเรื้อรังจะคล้ายกัน Osteomyelitis at Right foot)
อาการและอาการแสดง - อาการผู้ป่วยก่อนมาโรงพยาบาล มี
1. มีไข้ อาจหนาวสั่นร่วมกับปวดกระดูกส่วนที่เกิดอักเสบ อาการเท้าบวม มีแผลบริเวณนิ้วโป้ง
(มักพบในกระดูกอักเสบเฉียบพลัน) เท้าด้านขวาและมีหนองซึมออกมา มี
2. บวม เจ็บ กระดูกส่วนที่อกั เสบ ถ้าเป็นการอักเสบเฉียบพลัน อาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ผิวบริเวณกระดูกอักเสบอาจมีสีแดง สัมผัสอุ่นหรือร้อนขึ้น
3. เคลื่อนไหวกระดูกส่วนทีอ่ ักเสบได้น้อยหรือไม่ได้ ร่วมกับอาการเจ็บ
เมื่อเคลื่อนไหว
4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร โดยกรณีการอักเสบเฉียบพลัน อาจมีคลื่นไส้
อาเจียนร่วมด้วย
5. ในกระดูกอักเสบเรื้อรังมักมีแผลและมีหนองไหล อาจมีเศษกระดูก
ที่ตายหลุดออกมาด้วย
6. ต่อมน้าเหลืองบริเวณใกล้เคียงกับกระดูกอักเสบ เจ็บ โต คลาได้
14

เช่น กระดูกขาอักเสบ อาจคลาพบต่อมน้าเหลืองขาหนีบด้านเดียวกับ


กระดูกขาทีอ่ ักเสบ

การตรวจพิเศษ
ผลการตรวจ CBC พบว่ามีเพียง 35% ที่มีปริมาณเม็ดเลือดขาวสูง -แพทย์ได้ตัด Tissue ของผู้ป่วยส่ง
นอกนั้นจะพบว่าปกติ ยกเว้นในรายที่มี acute exacerbation ส่วนผลการ ตรวจ ผลตรวจออกมา มีค่า
ตรวจ ESR และ CRP จะมีค่าสูง ESR = 92 (มีค่าสูง)
การตรวจ bone scan จะให้ผลบวกแต่ไม่ค่อยจาเป็นเท่าไรนัก CRP =12.36 (มีค่าสูง)
เพราะสามารถวินิจฉัยได้อยู่แล้ว ส่วน MRI จะเห็นส่วนที่มีการติดเชื้อได้ ส่งตรวจ (8/02/60)
ชัดเจน โดยเฉพาะตาแหน่งของกระดูกที่ตาย (sequestrum) แต่มีข้อเสีย
คือราคาแพงสาหรับ CT scan จะช่วยให้เห็น dead bone ได้ชัดเจน การ
ตรวจ sinography จะช่วยในการวางแผนการผ่าตัดได้ดีขึ้น (การฉีดสีไปใน
sinus tract)

การรักษา -1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วย
1. การให้ยาฆ่าเชื้อ : แพทย์จะให้ยาฆ่าเชื้อ (เช่น ยาปฏิชีวนะเมื่อสาเหตุ ได้รับยา Antibiotic ที่โรงพยาบาล
จากแบคทีเรีย หรือยาฆ่าเชื้อราเมื่อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา) ที่มีคุณสมบัติ พุทธโสธร เป็นเวลา 1 เดือน
ตรงกับเชื้อที่ตรวจพบหรือที่เพาะเชื้อพบที่เป็นสาเหตุให้เกิดกระดูก อาการไม่ดีขึ้นจึงได้ส่งตัวมาที่
อักเสบ มักเป็นการรักษาโดยให้ยาทางหลอดเลือดดา และอาจต้องร่วมกับ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯเพื่อทา
การรับประทานยาฆ่าเชือ้ ร่วมไปด้วย ทั้งนี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์ที่ การผ่าตัด และหลังการผ่าตัดยังให้
ประเมินจากชนิดของเชื้อ, ความรุนแรงของการอักเสบ, กลไกการเกิดการ Sulcef q 6 hr.
อักเสบ, อวัยวะที่เกิดการอักเสบ และสุขภาพทั่วไปของผู้ป่วย -แพทย์ทาการผ่าตัด 4 ครั้ง
ครั้งแรกผ่าตัดเอานิว้ โป้งเท้าด้านขวา
ออก เมื่อวันที่ (8 / 02 / 60) ได้
2. การผ่าตัด : โดยแพทย์จะประเมินจากพยาธิสภาพของโรค รวมถึงเชื้อโรค ผ่าตัดแบบ Irrigation and
ตอบสนองต่อยาฆ่าเชื้อหรือไม่ ซึ่งการผ่าตัดมีได้ตงั้ แต่การเจาะหนองออก Debridement with 1 Right toe
หรือการเปิดทางเดินให้หนองไหลออกจากกระดูกได้สะดวก หรือการผ่าตัด ampulation
เอาเศษกระดูก/กระดูกตาย เนื้อเยื่อที่ตาย และ/หรือ สิ่งแปลกปลอม/ ครั้งที่สองแพทย์ได้ผ่าตัด Irrigation
Foreign object (เช่น เหล็กดามกระดูกกรณีสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ and Debridement Right foot
หลังใส่เหล็กดามกระดูกหัก) ที่อยู่ในแผลออก เพือ่ เร่ง/เพิ่มการฟื้นตัวของ วันที่ (11/02/60)
เนื้อเยื่อเพื่อให้เนื้อเยื่อที่ติดเชื้อได้รับเลือด/ออกซิเจนมากขึ้นที่เรียกว่า ครั้งที่สามแพทย์ได้ผ่าตัด Irrigation
การทา Debridement หรือการผ่าตัดเพื่อปลูกกระดูกใหม่ (Bone graft) and Debridement Right foot
15

หรือถ้าโรครุนแรงมาก การผ่าตัดอาจต้องตัดกระดูกที่ตดิ เชื้อออกทั้งท่อน


เมื่อวันที่ (14/02/60)
(Amputation) เช่น การตัดขา กรณีเกิดกระดูกขาอักเสบรุนแรงมาก ครั้งที่สี่แพทย์ได้ผ่าตัด Irrigation
และเรื้อรัง ซึ่งการผ่าตัดทุกรูปแบบจะรักษาร่วมกับการให้ยาฆ่าเชื้อเสมอ
and Debridement Right foot
เมื่อวันที่ (8/03/60) และปิดแผล
นอกจากนั้นคือ การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น ยาลดไข้ เมื่อมีไข้ ด้วยวิธี Vacuum dressing เมื่อวันที่
หรือยาแก้ปวดกรณีมีอาการปวด เป็นต้น ( 21/02/60) ที่บริเวณเท้าขวาด้านที่
ตัดนิ้วโป้งออก เพือ่ ที่จะไม่ต้องเปิด
อ้างอิงข้อมูล : ผู้แต่ง วรวิทย์ เลาห์เรณู 2549 แผลบ่อยครั้ง ป้องกันไม่ให้เกิด
อาการติดเชื้อและอักเสบเพิ่มขึ้นได้

-หลังจากการผ่าตัดผู้ป่วยมีไข้ ปวด
บริเวณผ่าตัดและได้ยาลดไข้และ
บรรเทาอาการปวด
16

ยาที่ใช้ในการรักษา
Tramol
ชื่อสามัญ Tramol
ชื่อทางการค้า Tramadol - ratiopharm 100, Tramadol - ratiopharm 50, Tramal, Tramazac
(injection), Tramal (50), Analab injection, Tradonol (injection), Tramadol stada,
Tamolan-100 injection, Mabron inj., Tramadon, Pharmadol, Tramoda-100
Millidol, Tramache, Madolic injection, Amanda inj., Trosic, Tradol injection,
Tramoda-50, Tramadol Tragesic, Tramadol - ratiopharm 50 Rofy, Tramal 100,
Tramal 50, Tramadil injection
ประเภท ยาแก้ปวด
ข้อบ่งใช้ ระงับปวดระดับปานกลางถึงรุนแรง
การออกฤทธิ์ เป็นสารสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ระงับปวดได้ค่อนข้างดี แต่มีผลกดการหายใจและระบบไหลเวียน
เลือดน้อยมาก มีผลในการออกฤทธิ์ และมีระยะเวลาในการออกฤทธิ์และมีระยะเวลาในการ
ออกฤทธิ์นานใกล้เคียงกับมอร์ฟีน
ผลข้างเคียง ยานี้อาจทาให้ง่วง ซึม เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาจทาให้เกิดอาการชักได้
การพยาบาล 1. ติดตามผลข้างเคียง เช่น มึนงง ง่วงนอน การมองเห็นไม่ชัด (หลีกเลี่ยงการขับรถ) คลื่นไส้
(รับประทานยาพร้อมอาหาร รับประทานอาหารทีละน้อย บ่อยครั้ง ) เป็นต้น
2. รายงานให้แพทย์ทราบหากผู้ป่วยมีอาการคลืน่ ไส้ มึนงง ท้องผูกอย่างรุนแรง

Plasil
ชื่อสามัญ Metoclopramide
ประเภท ยาระงับอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่นิยมใช้มากเพราะได้ผลดี และมีฤทธิ์ข้างเคียงที่ไม่เป็น
อันตราย
ข้อบ่งใช้ ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน ในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัด และหลังผ่าตัด
การออกฤทธิ์ จับกับ Chemoreceptor trigger zone (CTZ) และออกฤทธิ์ต้านการหลั่ง Dopamine
ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทสาคัญของ CTZ ทาให้ Threshold ของ CTZ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยัง
ลดสัญญาณประสาทของระบบทางเดินอาหารไปยังศูนย์อาเจียน และการหดตัวของ
กล้ามเนื้อหูรูดในหลอดอาหาร ทาให้อาการคลื่นไส้อาเจียนลดลง
ผลข้างเคียง ง่วงนอน อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้
ปากแห้ง มีผื่นขึ้นตามร่างกาย อาการบวม เต้านมโตในผู้ชายและหมดสมรรถนะทางเพศ
ในผู้หญิงมีน้านมไหลและขาดประจาเดือน
17

การพยาบาล 1. ให้หลีกเลี่ยงการทางานที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลและการขับรถขณะรับประทานยา
2. หากต้องการป้องกันการอาเจียนขณะรับประทานอาหาร ต้องให้รับประทานยาก่อนอาหาร
ประมาณ 30 นาที
3. ควรเก็บยาไว้ในขวดสีชา เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกแสง สาหรับยาฉีดหากใช้ไม่หมด ให้ทิ้งไป
ห้ามเก็บไว้ใช้อีก
4. สังเกตอาการแพ้ยาและ อาการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับการกดสมองของยาในคนอายุน้อย
เด็ก หรือผู้ป่วยที่ได้รับยาในขนาดสูงๆ
5. สังเกตภาวะโซเดียมในเลือดสูงและโปแตสเซียมต่า โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ เพราะ
อาจทาให้เกิดอันตรายได้
6. อาการต่างๆที่เกิดขึ้นจากระดับโปรแลกตินเพิม่ ขึ้นในเลือด เช่น เต้านมโต มีน้านมไหล
เป็นต้น โดยปกติจะหายไปภายในเวลา 2-3 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน หลังหยุดยา ควรอธิบายให้
ผู้ป่วยเข้าใจ
7. ดูแลความสะอาดปากและฟัน หากมีอาการปากคอแห้ง ให้ดื่มน้ามากขึ้น

Morphine
ชื่อสามัญ Morphine sulfate
ชื่อการค้า Kapanol (oral), MST continut, Morphine, Oramorph
ประเภท ยาระงับปวดชนิดเสพติด สกัดได้จากฝิ่นตามธรรมชาติ มีประสิทธิภาพสูงสุดในการระงับ
อาการปวด
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดระดับปานกลางถึงรุนแรง อาการปวดรุนแรงจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ใช้ก่อนผ่าตัด เพื่อลดขนาดยาสลบ ควบคุมอาการหลังผ่าตัด บรรเทาความวิตกกังวล
ลดอาการเหนื่อยเนื่องจาก Acute left ventricular failure และ Pulmonary edema
ใช้เป็นยาสลบเพื่อผ่าตัด Open-heart ระงับปวดจากโรคมะเร็ง
การออกฤทธิ์ กระตุ้น Opioid receptor ได้ดี ในไขสันหลังและที่สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บปวด
ทาให้การนาความรู้สกึ และการแปลผลเกี่ยวกับความเจ็บปวดลดลง
ผลข้างเคียง ที่สาคัญ คือ กดการหายใจ คลื่นไส้ อาเจียน ความดันในกะโหลกศีรษะเพิม่ ขึ้น เวียนศีรษะ
ท้องผูก ม่านตาเล็กลง ปัสสาวะไม่ออก อาการพิษจะเกิดจากการใช้ยาเกินขนาด เช่น
ไม่รู้สึกตัว ม่านตาเท่ารู้เข็ม หายใจช้ามาก ในที่สดุ เป็น Cheyne-Stokes เกิดอาการตัวเขียว
ผิวหนังเย็น ความดันโลหิตต่า หมดสติ เป็นต้น บางรายมีอาการติดยาเมื่อใช้ยาทุกวัน
เป็นเวลา 3 สัปดาห์ คือ เมื่อติดยาแล้วหยุดยาจะทาให้เกิดอาการผิดปกติ เรียกว่า
อาการลงแดง มีอาการเหงื่อแตก น้าตาไหล ความดันโลหิตสูง ปวดท้อง อาเจียน ท้องเดิน
หงุดหงิด กังวล
18

การพยาบาล ให้การดูแลและแนะนาผู้ป่วย ดังนี้


1. การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดา ควรฉีดช้าๆ ให้ช่วงเวลาฉีดแต่ละครั้งมากกว่า 5 นาที
และต้องสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชดิ
2. สังเกตและตรวจสอบสัญญาณชีพก่อนและหลังให้ยา ถ้าพบอัตราการหายใจน้อยกว่า
12 ครั้งต่อนาที ควรรายงานแพทย์ทราบเพื่อพิจารณางดยา
3. บันทึกปริมาณสารน้าเข้าและออก เพื่อดูการทางานของไต
4. สังเกตอาการข้างเคียงของยา อาการติดยา ถ้ายาระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ให้รับประทานยาร่วมกับนมหรืออาหาร หลีกเลี่ยงการดื่มสุราและยากดประสาท
5. สังเกตระดับความรู้สกึ ตัว ภาวะทางจิตใจในผูท้ ี่ได้รับยานานๆ
6. แนะนาผู้ป่วยให้เปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันความดันโลหิตต่า
7. แนะนาผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการขับขี่ยวดยานพาหนะ หรือทางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล
สอนให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และเปลี่ยนอิริยาบถเท่าที่จาเป็น เพื่อให้หายเจ็บปวดเร็วขึ้น
8. เตรียมออกซิเจน เครือ่ งช่วยหายใจให้พร้อม
9. จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เพื่อให้ผู้ป่วยบรรเทาความเจ็บปวด

Paracetamol
ชื่อสามัญ Paracetamol/Acetaminophen
ประเภท ระงับปวด ปวดศีรษะ ปวดฟัน ปวดกล้ามเนื้อ (ลดไข้) ไข้จากการติดเชื้อไวรัส โดยเฉพาะ
ในเด็ก(เป็นยาชนิดไม่เสพติดที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เพราะมีฤทธิ์ข้างเคียง ต่อระบบ
ทางเดินอาหารน้อยกว่ายาในกลุ่ม NSAIDs และแอสไพริน และให้ผลระงับปวดลดไข้ได้ดี
ข้อบ่งใช้ ความคุมอาการปวดศีรษะ ปวดหู ปวดประจาเดือน ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดฟัน ลด
ไข้จากการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ใช้ในผู้ป่วยที่แพ้แอสไพริน มีปัญหาเลือดออก
ได้รับยาการต้านการแข็งตัวของเลือด โรคเกาต์
การออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์ Prostaglandins ในระบบประสาทส่วนกลางได้ดี แต่ยับยั้งการ
สร้างสารนี้ที่บริเวณนอกสมองได้น้อยโดยเฉพาะในบริเวณที่เกิดอาการอักเสบ
ซึ่ง Prostaglandins เป็นตัวทาให้เกิดความเจ็บปวด และทาให้เกิดไข้ที่มผี ลต่อศูนย์
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายที่ไฮโปทาลามัส ยานีไ้ ม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเคลื่อนตัวของ
Neutrophil จึงมีฤทธิ์ต้านการอักเสบต่ามาก ไม่ทาให้เกิดแผลในทางเดินอาหารและไม่มี
ผลต่อการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ยาจะออกฤทธิ์สูงสุดในเวลา 60-30นาทีหลังได้รับยา
หากได้รับยาเกินขนาดจะมีพิษต่อตับและไต จึงไม่ควรใช้ยานี้ตดิ ต่อกันเกิน 7 วัน
19

ผลข้างเคียง ง่วงซึม แพ้ยา เช่น มีผื่น บวม เป็นแผลที่เยื่อบุช่องปาก มีไข้ เป็นต้น ในขนาดที่มาก
เกินไป อาจทาให้เกิดตับวายและถึงแก่ความตายได้ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย อาการดี
ซ่าน ระดับน้าตาลในเลือดต่า อาจมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ

Gentamicin
ชื่อสามัญ Gentamicin
ชื่อการค้า Beprogent, Beprogenta, Betagen, Dermaheu, Dertec, Garamycin
Cream, Gentaderm, Gental Cream, Gentamicin Injection Meiji, Gentamicin
Sulfate GPO, Gentamicin Vesco, Grammixin, Quadriderm
ประเภท เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ (Aminogly coside) ที่สังเคราะห์ได้จากแบคทีเรีย
แกรมบวกที่มีชื่อว่า Micromonospora ซึ่งพบมากในน้าและดิน
ข้อบ่งใช้ ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียระหว่างการผ่าตัด รักษาอาการติดเชื้อแบคทีเรียเช่น การติดเชื้อ
ในระบบทางเดินน้าดี, โรคติดเชื้อจากสัตว์ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Brucella (โรค
Brucellosis), โรคเยื่อบุมดลูกอักเสบ, ลาไส้อักเสบ, โรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชื่อ Klebsiella
granulomatis (โรค Granuloma inguinale), เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, หูติดเชื้อ, เยื่อบุช่อง
ท้องอักเสบ, การติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน, กาฬโรค, ปอดบวม, ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ, การติดเชื้อ
แบคทีเรียที่ผิวหนัง, โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การออกฤทธิ์ โดยตัวยาจะเข้าจับกับสารพันธุกรรมของแบคทีเรียที่เรียกว่า ไรโบโซม )Ribosome) และ
รบกวนการสร้างโปรตีนของตัวแบคทีเรีย ด้วยกลไกเหล่านี้จึงทาให้แบคทีเรียหยุดการแพร่
พันธุ์และตายลงในที่สดุ
ผลข้างเคียง วิงเวียน ไตล้มเหลวเฉียบพลัน ไตอักเสบ เกลือแร่/อิเล็กโทรไลต์) Electrolyte) ในร่างกาย
ขาดสมดุล คลื่นไส้ อาเจียน อาจเกิดอาการชัก ซึมเศร้า ประสาทหลอน และเป็นพิษกับ
เส้นประสาทหู/การได้ยินลดลง/หูตึง

Cefazolin
ชื่อสามัญ Cefazolin sodium
ชื่อการค้า Cefacidel, Cefalin, Cefamezin, Cefazillin, Cefazol, Cefazolin, Cefazolin Meiji,
Cefazolin , Sandoz , Cefzolin “Biochemie” , Fazolin , Zefa MH , Zepilen ,
Zolicef , Zolimed
ประเภท ยาปฏิชีวนะ กลุ่ม Cephalosporins เป็น First generation
ข้อบ่งใช้ รักษาการติดเชื้อทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ผิวหนัง ทางเดินท่อน้าดี กระดูก ข้อ ติดเชื้อ
ในกระแสเลือดและเยื่อหุ้มหัวใจ ใช้ป้องกันการติดเชื้อภายหลังการผ่าตัด
20

การออกฤทธิ์ มีฤทธิต์ ้านแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ Staphylococcus aureus , E. Coli ,


Proteus mirabilis , Hemophilus influenza ใช้รักษาการติดเชื้อทางเดินหายใจ ช่องหู
ส่วนกลาง ผิวหนัง กระดูก และทางเดินปัสสาวะ ป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัดเปิดหัวใจ
เส้นเลือดแดงในช่องท้อง ข้อตะโพก ช่องปาก สูติ-นรีเวช เนื้อเยื่ออ่อน ติดเชื้อท่อน้าดี ไข
กระดูกอักเสบ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ผลข้างเคียง มีพิษต่อไต พิษต่อระบบประสาท โดยเฉพาะในรายที่ได้รับยาติดต่อกันเป็นเวลานานหรือ
ขนาดสูง แพ้ยาชนิด Anaphylaxis ผื่นคันมีจุดเลือดออก ไข้ หนาวสั่น ปวดข้อ บวม
การแข็งตัวของเลือดช้า มี Neutropenia , Leukopenia
การพยาบาล ให้การดูแลและแนะนาผู้ป่วย ดังนี้
1. ซักประวัติเกี่ยวกับการใช้ยา ในกรณีที่มีประวัติแพ้ยาเพนิซิลลิน มีโอกาสเกิดการแพ้ยา
Cephalosporins
2. ให้รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนม ป้องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
3. ไม่ให้รับประทานยาร่วมกับการดื่มสุรา
4. หากฉีดเข้ากล้ามเนื้อ จะเจ็บปวดมากและปวดนาน หากจาเป็นต้องฉีก ผสม 1 กรัม
ในน้ากลั่น 2.5 มิลลิลิตร ควนฉีดที่ลึกที่กล้ามเนื้อใหญ่ เช่น กล้ามเนื้อสะโพก เป็นต้น และ
เปลี่ยนที่ฉีดบ่อยๆ
5. การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาแต่ละครั้ง หากฉีดเข้าหลอดเลือดดา ผสม 1 กรัม ในน้า
กลั่น 10 มิลลิลติ ร IV push ให้นานมากกว่า 30-40 นาที ให้ได้ 2-4 ครั้งต่อวัน ระวังยารั่ว
ออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้เกิดการอักเสบบริเวณที่ฉีดยา
6. หลังฉีดยาควรสังเกตอาการอย่างน้อย 30 นาที เพือ่ ป้องการแพ้ยาและภาวะภูมิไวเกิน
7. ไม่ให้ร่วมกับยาปฏิชีวนะอื่นในกระบอกฉีดยาหรือขวดผสมยาเดียวกัน
8. สังเกตอาการไข้ ควรลดลงและปริมาณปัสสาวะที่ออกมาควรมีจานวนปกติ
9. สังเกตภาวะติดเชื้อแทรกซ้อน ได้แก่ เชื้อราในปาก และอวัยวะสืบพันธุ์
21
5. พยาธิสภาพ
22

6. การรักษา

Orders for one day Orders for continuous


16/02/61 16/02/61
- Admit ortho - NPO
- Blood for CBC, E’lyte, BUN/Cr, - record V/S , I/O
ESR, CRP
- set OR for Med
irrigation and debridement none
- NPO
- 0.9 % NaCl 1000 ml ⓥ 80 ml/hr
- เตรียม Cefazolin 2 g ⓥ to OR
- void ก่อนไป OR

Post – op order for irrigation and debridement

- Hct. At ward 38 % - Regular diet


- 0.9 % Nacl 1000 ml IV rate 80 ml/hr - record V/S , I/O
- routine post-op care - dressing wound
- record V/S q̅ 15 min x IV then
q̅ 30 min x II then MED
q̅ 1 hr until stable then as - Cefazolin 1 g IV q̅ 6 hr
usual - Paracetamol (500) 1 tab po prn q̅ 4 hr
- IV หมด off ได้
- MO 3 mg IV q̅ 6 hr for pain
- Plasil 10 mg IV prn q̅ 8 hr
- film Lt. leg AP , lat
- pus swab C/S , Bone C/S
pus G/S , C/S
- เปลี่ยนขวด drain
17/02/61 17/02/61
- Morphine 3 mg prn q̅ 6 hr - record RD เป็น ml
- Plasil 10 mg prn q̅ 8 hr - Tramol ( 50 ) 1x2 po prn
- เปลี่ยนขวด drain
23

Orders for one day Orders for continuous


18/02/61
- Morphine 3 mg ⓥ prn q̅ 6 hr hold if
SS ≥ 2 or RR < 10
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- CBC , ESR , CRP พรุ่งนี้เช้า

19/02/61
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- tramol 50 mg ⓥ po prn q̅ 8 hr
- เปลี่ยนขวด RD
20/02/61
- NSS 1000 ml ⓥ rate 80 mg/hr
- set OR for irrigation and debridement
- Tramol 50 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- NPO

Post – op order for irrigation and debridement of left leg


20/02/61
- record V/S q̅ 15 min x IV
- Regular diet
q̅ 30 min x II
- Record V/S, I/O, drain(ml)
q̅ 1 hr until stable then
- On Redivac’s drain
record as usual
- NSS 1000 ml ⓥ rate 80 ml/hr
Med
- Morphine 3 mg ⓥ q̅ 4 hr
- Cefazolin 1 g ⓥ q̅ 6 hr
(hold if RR ≤ 12 . SS ≥ 2)
- Tramol (50) 1x3 po pc
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- Paracetamol (500) 1 tab po prn q̅ 6 hr
- Swab Pus G/S, C/S (left leg)
- Gentamicin 240 mg ⓥ OD
- film left leg AP, lat
- Hct stat at ward
24

Orders for one day Orders for continuous


21/02/61
- Morphine 3 mg ⓥ prn q̅ 6hr
hold if SS ≥ 2 : RR < 10
- Plasil 10 mg 1 ⓥ prn q̅ 8 hr
- เปลี่ยนขวด drain
22/02/61
- Tramol 50 mg ⓥ prn q̅ 6 hr
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
23/02/61
- Tramol 50 mg ⓥ prn q̅ 6 hr
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
- พรุ่งนี้ CBC, BUN, Cr, ESR, CRP
24/02/61
- tramol 50 mg ⓥ prn q̅ 6 hr
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
25/02/61 CBC, ESR, CRP q̅ วันอาทิตย์
- tramol 50 mg ⓥ prn q̅ 6 hr (เริ่มอาทิตย์หน้า)
- Plasil 10 mg ⓥ prn q̅ 8 hr
25

7. แผนการพยาบาล

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


1. ไม่สุขสบายเนื่องจากปวด -ผู้ป่วยสุขสบายมากขึ้น 1. ผู้ป่วยมีระดับ Pain 1. สอนผู้ป่วยถึงวิธีการประเมินอาการเจ็บปวดโดยใช้ 1. ผู้ป่วยมีระดับ Pain score
แผล ระดับความเจ็บปวด score ≤ 3 คะแนน Pain score 1-10 คะแนน ดังนี้ 2 คะแนน
ข้อมูลสนับสนุน ลดลง 2. ผู้ป่วยแจ่มใสดีไม่บ่น 0 = no pain 2. ผู้ป่วยแจ่มใสพูดคุยด้วย
Subjective data ปวดแผลผ่าตัด 1-3 = mild pain น้าเสียงนุ่มนวล
-จากการสอบถาม 3. ผู้ป่วยสามารถ 4-6 = moderate pain 3. ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหว
: ผู้ป่วยบอกว่า “ได้รับอุบัติเหตุ เคลื่อนไหว พักผ่อนและ 7-10 = severe pain พักผ่อนและนอนหลับได้ 8
จากรถบัสคว่ากระดูกต้นแขนและ นอนหลับได้ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อนว่า O หมายถึง ไม่มีอาการ ชั่วโมงต่อวัน
สะโพกหักจึงได้รับการผ่าตัด” 4. ผู้ป่วยไม่ขอยาแก้ปวด ปวดและ 10 คือ ปวดมากที่สุดและมากกว่า 7 คะแนนขึ้น 4. ผู้ป่วยไม่ขอยาแก้ปวดเพิ่ม
: ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บแผลเวลา หรือปริมาณการใช้ยาแก้ ไป ถือว่าควรได้รับการบาบัดรักษาอาจใช้ยาแก้ปวดร่วม 5. ผู้ป่วยไม่มีไข้ สัญญาณชีพ
ขยับแขนและขา" ปวดลดลง ด้วยซึ่งไม่ควรรอให้ถึง 10 คะแนนหรือจนผู้ป่วยบอกว่าทน ปกติ
: Pain score = 6/10 คะแนน 5. ผู้ป่วยไม่มีไข้ ไม่ไหวเพราะการรักษาความปวดแต่เนิ่นๆเป็นวิธีการที่ BT = 37.3 ๐C
Objective data สัญญาณชีพปกติ ถูกต้องและให้ผลดี ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และ PR = 80 bpm
- ผลจากการตรวจร่างกาย พบว่า BT = 36.5 - 37.5 ๐C และสังเกต จากสีหน้า ท่าทางคาบอกเล่าของผู้ป่วยที่บ่งชี้ RR = 20 bpm
: ผู้ป่วยมีแผลบริเวณศีรษะ PR = 60 - 100 bpm ว่ามีความทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวดและบันทึกระดับ BP = 110/70 mmHg
ลักษณะของแผลตัดไหมและตก RR = 16 - 24 bpm pain score ลงในแบบบันทึก (monitoring nursing (เวลา 10.00 น.)
สะเก็ด SBP = 90 - 140 record) BT = 37.5 ๐C
: ผู้ป่วยมีแผลบริเวณถลอกตาม mmHg 2. ดูแลช่วยจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายราบในท่าที่สขุ สบาย PR = 78 bpm
แขนขา ลักษณะของแผลแห้งตก DBP = 60 - 90 mmHg เพื่อลดอาการปวด และให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล RR = 20 bpm
26

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


สะเก็ด เบามือเพื่อลดแรงกระทบกระเทือนบริเวณแผลผ่าตัดและ BP = 120/80 mmHg
: ผู้ป่วยมีแผลบริเวณต้นแขนและ หมั่นกระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายทุก 2 ชั่วโมง (เวลา 14.00 น.)
สะโพกจากการผ่าตัด ลักษณะ 3. เบี่ยงเบนความสนใจ ลดความกลัวและความกังวลของ
ของแผลเป็นแผลสดและมีไหมอยู่ ผู้ป่วย (ซึ่งมีผลให้อาการปวดเพิ่มขึ้น) โดยการพูดคุยหา
-จากการสังเกต สาเหตุและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความคับข้องใจ
: ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สุขสบาย ได้แก่ และซักถาม ปัญหาต่างๆ พร้อมอธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึง
หน้านิ่วคิ้วขมวด สาเหตุของอาการปวดแผลผ่าตัด และให้เหตุผลว่าอาการ
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย ปวดนี้จะค่อยๆ บรรเทาลงในวันต่อๆ มา เนื่องจาก
: ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Open กระบวนการหายของแผลผ่าตัดและแนะนาให้ ผูป้ ่วยขอ
Reduction Internal Fixation ยาแก้ปวดได้เมื่อเริ่มรู้สกึ ไม่สุขสบายปวดแผลผ่าตัดหรือให้
plate and screw fixation left คะแนนระดับความปวด มากกว่า 7 คะแนน
acetabulum with ORIF PAD 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาและ
fixation right humerus ติดตามผลข้างเคียงจากยา ได้แก่
วันที่12/01/61 หลังผ่าตัด Day 5 Morphine (3 mg) vein p.r.n. q 6 hr. ผลข้างเคียงคือ
กดการหายใจ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ เป็นต้น หลัง
(ข้อมูลวันที่ 15/01/61) ให้ยา 5-15 นาที ควรประเมินระดับความง่วงซึม
(sedation score) ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ คือ
0 หมายถึง ตื่นรู้สกึ ตัวดี
1 หมายถึง ง่วงเล็กน้อย หลับแต่ปลุกง่าย ตอบคาถามได้
อย่างรวดเร็ว
27

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


2 หมายถึง ง่วงปานกลาง หลับแต่ปลุกง่าย ตอบคาถามได้
ช้าหรือไม่ชา้ ก็ได้ มีอาการสัปหงกให้เห็น
3 หมายถึง ง่วงมากปลุกตื่นยากหรือไม่ตื่น ไม่โต้ตอบ
และควรหลีกเลี่ยงยามอร์ฟีนหากพบว่าผู้ป่วยมี sedation
score ≥ 2 หากผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนควรได้รับ
ยาลดอาการคลื่นไส้ อาเจียนตามแผนการรักษา ได้แก่
Plasil (10 mg) vein p.r.n. q 6 hr.
5. ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมภายในห้องให้สะอาด อากาศถ่ายเท
สะดวก ไม่มีเสียงรบกวน แนะนาให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน
อย่างเพียงพอเพื่อลดความเมื่อยล้า ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้
ทนต่อความเจ็บปวดลดลง และยังช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ฟื้นตัวเร็ว

2. ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ -ผู้ป่วยไม่เกิดการติด 1. สัญญาณชีพอยู่ใน 1. วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชัว่ โมง เพื่อวาง 1. ผู้ป่วยไม่มีไข้ สัญญาณชีพ


เนื่องจากผิวหนังสูญเสียหน้าที่ เชื้อที่แผล เกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะ แผนการพยาบาลให้เหมาะสม หากผู้ป่วยมีไข้สูงอุณหภูมิ ปกติ
ข้อมูลสนับสนุน อุณหภูมิร่างกาย ได้แก่ ≥ 38.5 oC ต้องช่วยเช็ดตัวลดไข้ให้กับผู้ป่วยเพื่อระบาย BT = 37.5 ๐C
Subjective data BT = 36.5 - 37.4 °C ความร้อนที่เพิ่มขึ้นและดูแลให้ยา Paracetamol 500 PR = 80 bpm
: ผู้ป่วยบอกว่า “ได้รับอุบัติเหตุ PR = 60 - 100 bpm mg. 1 tab po prn q 4-6 hr และวัดซ้าอีก 30 นาที RR = 20 bpm
จากรถบัสคว่ามีแผลตามตัวและ RR = 16 - 24 bpm หากไข้ยังไม่ลดและเพิ่มขึ้นควรรายงานให้แพทย์ทราบ BP = 118/70 mmHg
ได้รับการผ่าตัดเพื่อรักษา BP = Systolic 90 - ในทันที กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ อย่างน้อยวันละ (เวลา 10.00 น.)
28

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


กระดูกหักที่แขนและขา” 140/Diastolic 60 - 90 2,000-3,000 ml. BT = 37.3 ๐C
: ผู้ป่วยบอกว่า "เวลาหมอล้าง mmHg 2. สังเกต ประเมินและบันทึกการติดเชื้อทีต่ าแหน่งแผล PR = 80 bpm
แผลมีเลือดซึมตาม Gauze" 2. แผลไม่มีการอักเสบ เช่น บริเวณแผลมี ปวด บวม แดง ร้อน หรือมีสิ่งคัดหลั่ง RR = 20 bpm
Objective data ปวด บวม แดง ร้อน คล้ายหนองหรือมีกลิ่นเหม็น หากพบความผิดปกติ BP = 120/80 mmHg
-จากการตรวจร่างกาย 3. แผลแห้งดี ไม่มีมีเลือด รายงานอาการให้แพทย์ทราบเพื่อวางแผนการรักษา (เวลา 14.00 น.)
: มีแผลถลอกตามข้อศอกและ น้าเหลืองซึมออกมานอก 3. ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของผู้ป่วย เช็ดตัวให้ 2. แผลไม่มีการอักเสบ ปวด
แขนมีเลือดซึมตามแผล ผ้าปิดแผล สะอาด เปลี่ยนใส่เสื้อผ้าที่สะอาดและแนะนาผู้ป่วยและ บวม แดง ร้อน
: มีแผลผ่าตัดที่ต้นแขน ขนาด 4. ผลการตรวจทาง ญาติเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของมือเมื่อจับต้อง 3. แผลแห้งดี ไม่มมี เี ลือด
5x3 cm. , แผลผ่าตัดที่สะโพก ห้องปฏิบัติการปกติ บริเวณที่อยู่ใกล้เคียงกับแผล เพื่อป้องกันการติดเชื้อและ น้าเหลืองซึมออกมานอกผ้า
ขนาด 10x5 cm. WBC = 4.0-11.0 การแพร่กระจายเชื้อ ปิดแผล
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย x10x3 /ul 4. แนะนาไม่ให้ผู้ป่วยแกะเกาหรือเปิดแผลเอง และไม่ให้
: T = 37.7 °C (10.00 น.) Neutrophil = 40 – แผลเปียกน้า ถ้าแผลเปียกน้าต้องรีบซับให้แห้งด้วยผ้า 4. ผลการตรวจทาง
: WBC 14.2x10 x3 /ul 75% สะอาดและรีบแจ้งให้พยาบาล ทราบทันทีเพื่อดูแลทา ห้องปฏิบัติการ
: N = 82.8% Lymphocyte = 20 – แผลให้ใหม่ WBC 14.2x10 x3 /ul
50% 5. แนะนาญาติเกี่ยวกับสารอาหารที่มีประโยชน์ตอ่ การฟื้น N = 82.8%
(ข้อมูลวันที่16/01/61) Monocyte = 2 – 10% ตัวหลังผ่าตัดและการหายของแผล เช่น อาหารจาพวก ไข่ 15/01/61
นม เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงๆ เช่น ส้ม เพื่อ
ช่วยในการหายของแผล รวมทั้งดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวัน
ละ 2,000 - 3,000 cc. เพื่อขับของเสียต่างๆ ออกจาก
ร่างกายทางปัสสาวะ
29

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


6. ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ได้แก่
Cefazolin 1 g vein q 6 hr. และสังเกตอาการข้างเคียง
คือ ลมพิษ ผื่น คัน บวม แดง เป็นต้น หากมีอาการควร
หยุดยาและแจ้งแพทย์ทนั ที
7. ดูแลให้ได้รับการเจาะ CBC ตามแผนการรักษา

3. ผู้ป่วยมีภาวะท้องผูก 1. ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะ 1. ผู้ป่วยสามารถถ่าย 1. สอบถามแบบแผนการขับถ่ายอุจาระตามปกติของ 1. ผู้ป่วยบอกว่า “ยังถ่ายไม่


เนื่องจากเคลื่อนไหวน้อย ท้องผูก อุจจาระได้ตามปกติ ผู้ป่วยเพื่อเปรียบเทียบกับปัจจุบันและฟังเสียงการ ออกแต่แจ้งแพทย์แล้ว”
ข้อมูลสนับสนุน เคลื่อนไหวของลาไส้ (bowel sound) ค่าปกติ 4-5 ครั้ง/ 16/01/61
Subjective data วินาที
: ผู้ป่วยบอกว่า “ไม่ถ่ายมา 6 วัน 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกต้องโดย
แล้ว ปกติจะถ่ายวันละ 2-3 ครั้ง” แนะนาและดูแลให้ผู้ป่วย รับประทานอาหารย่อยง่าย
30

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


: ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บแผลเวลา อาหารที่มกี ากใย เช่น ผัก ผลไม้ และน้าผลไม้ และแนะนา
ขยับแขนและขาเลยไม่อยาก ให้ดื่มน้า อย่างน้อย 2,000-3,000 ซีซี/วัน
เคลื่อนไหว" 3. กระตุ้นผู้ป่วยทากิจวัตรประจาวันในส่วนที่ไม่
: ผู้ป่วยบอกว่า “ผู้ป่วยไม่ค่อย กระทบกระเทือนต่อบริเวณแผลผ่าตัด เพื่อให้มีการ
ถ่ายอุจจาระ” เคลื่อนไหวของร่างกาย และส่งผลให้ลาไส้เคลื่อนไหวทาให้
: ผู้ป่วยบอกว่า “เปลี่ยนสถานที่ ระบบย่อยอาหารและการขับถ่ายทางานได้ดีขึ้น พร้อม
ในการขับถ่ายและต้องขับถ่ายบน อธิบายเหตุผลว่าการปฏิบัติจะส่งผลดีต่อการป้องกันภาวะ
เตียง” ท้องผูก
Objective data 4. จัดสถานทีใ่ ห้มิดชิด กัน้ ม่านให้เรียบร้อยให้เป็นส่วนตัว
-จากการตรวจร่างกาย เมื่อผู้ป่วยต้องการขับถ่ายบนเตียง รวมทั้งทาความสะอาด
: bowel sound 3 bpm หม้อถ่ายอุจจาระให้สะอาดก่อนนามาใช้ เพื่อช่วยให้
: คลาได้บริเวณท้องแข็ง ขับถ่ายได้สะดวก
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย 5. ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระได้ ท้องผูก
: ผู้ป่วยได้รับยา senokot 3 tab มาก ควรรายงานแพทย์เพื่อแพทย์จะได้สั่งยาระบายและ
po hs ดาเนินการให้ยาตามแผนการรักษา และประเมินผลการ
: ผู้รับบริการได้รับการผ่าตัด ขับถ่ายอุจจาระ หลังได้รบั ยาระบาย
Open Reduction Internal 7. ดูแลให้ได้รับยาระบายตามแผนการรักษา ได้แก่
Fixation plate and screw Senokot 2 tab pc hs และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
fixation left acetabulum คือ มีอาการปวดท้องหรือถ่ายท้องรุนแรงจนเกิดภาวะขาด
with ORIF PAD fixation right น้าและเกลือแร่ เป็นต้น
31

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


humerus

(ข้อมูล 16/01/61)

4. วิตกกังวลเกีย่ วกับความ -ผู้ป่วยคลายวิตกกังวล 1. ผู้ป่วยมีสีหน้าคลาย 1. ประเมินความวิตกกังวลและท่าทีตา่ งๆ ที่แสดงออกของ 1. ผู้ป่วยมีสีหน้าแจ่มใสขึ้น


เจ็บปวดของตนเอง ความวิตกกังวล ผู้ป่วยต่อความเจ็บป่วยทีต่ ้องอยู่โรงพยาบาล 2. ผู้ป่วยบอกว่า “เข้าใจถึง
ข้อมูลสนับสนุน 2. ผู้ป่วยเข้าใจถึงอาการ ระดับของความวิตกกังวลแบ่งได้เป็น 4 ระดับ คือ อาการที่ตนเองเป็นอยู่และ
S : ผู้ป่วยบอกว่า “อยากรีบๆ ที่ตนเองเป็นอยู่และ 1) ความวิตกกังวลระดับต่า (Mild anxiety) เป็นความ เข้าใจว่าจะต้องใช้ระยะเวลา
หาย เพราะตอนนี้ลาบากภรรยา เข้าใจว่าจะต้องใช้ วิตกกังวลระดับน้อยๆ เป็นปกติในบุคคลทั่วไป ถ้าเกิดขึ้น ในการฟื้นฟูรา่ งกาย”
และลูกๆมาดูแล” ระยะเวลาในการฟื้นฟู เป็นสิ่งดี เพราะจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลแก้ปัญหา และทา 16/01/61
: ผู้ป่วยบอกว่า “กลัวจะเดินไม่ได้ ร่างกาย กิจกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้น และกระตุ้นให้บุคคลตื่นตัวในการ
เหมือนเดิม” แก้ปัญหาการเจ็บป่วย หรือทาให้บุคคลพยายามทางาน
O : ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล อย่างใดอย่างหนึ่งให้สาเร็จ
2) ความวิตกกังวลระดับกลาง (Moderate anxiety) ใน
ระดับนี้ บุคคลจะเกิดการรับรู้เรื่องต่างๆ แคบลง บุคคลจะ
สนใจเฉพาะปัญหาที่จะทาให้ตนไม่สบายใจ พยายาม
ควบคุมตนเองมากขึ้น พยายามแก้ปัญหาสูงขึ้น
3) ความวิตกกังวลระดับสูง (Severe anxiety) บุคคลจะมี
วิตกกังวลสูง การรับรู้แคบลง สมาธิในการรับฟังปัญหา
และข้อมูลต่างๆ ลดลงเพราะครุ่นคิดหมกมุ่นใน
32

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


รายละเอียดมากไป จนไม่สามารถติดตามเนื้อหาของ
เรื่องราว อย่างกว้างขวาง มีอาการมึนงง กระสับกระส่าย
ไม่อยู่กับที่ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
4) ความวิตกกังวลระดับสูงสุด (Panic anxiety) บุคคลมี
ความวิตกกังวลสูงสุดจนทาให้การรับรู้น้อย บุคคลจะอยู่ใน
ภาวะตื่นตระหนก สับสน วุ่นวาย หวาดกลัวสุดขีด มึนงง
ควบคุมตนเองไม่ได้ ไม่มแี รง อาจมีอาการประสาทหลอน
แขนขาขยับไม่ได้ เป็นลม
2. สร้างสัมพันธภาพทีด่ กี ับผู้รับบริการเพื่อทีจ่ ะทาให้
ผู้ป่วยสามารถไว้วางใจแล้วกล้าทีจ่ ะสอบถามพูดคุยถึง
เรื่องที่วิตกกังวลอยู่
-เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยสอบถามถึงเรื่องที่ตนเองวิตก
กังวลอยู่ พร้อมทั้งสังเกตท่าทางสีหน้า และการแสดงออก
ของผู้ป่วยขณะทาการพูดคุย
-อธิบายถึงอาการทีผ่ ปู้ ่วยที่เป็นอยู่และวิธีการฟื้นฟู
ร่างกาย รวมถึงระยะเวลาที่จะต้องดาเนินอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป ซึ่งทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กาลังใจของผู้ป่วยเองเช่นกันด้วย
ภาษาที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ซึ่งขณะอธิบายควรสังเกตสี
หน้าของผู้ป่วยด้วยว่ามีการคลายความวิตกกังวลบ้าง
หรือไม่ เป็นต้น
33

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


-สอบถามผู้ป่วยว่าตอนนี้เข้าใจถึงอาการทีต่ นเอง
เป็นอยู่และวิธีการฟื้นฟูรา่ งกาย หรือไม่ ถ้าหากยังไม่เข้าใจ
หรือมีข้อสงสัยก็ควรทีจ่ ะอธิบายซ้าอีกครั้งด้วยภาษาที่
เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
-ให้กาลังใจผู้ป่วยในการทากายภาพบาบัด รวมถึง
แนะนาให้ผู้ป่วยอดทนและสร้างกาลังใจให้ตนเอง เพื่อลด
ความท้อในการทากายภาพบาบัดในอนาคต
3. ให้ญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ด
ตัวลดไข การ passive exercise เป็นต้น

วันที่ดูแล 17/01/61
ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน
1. ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล -ผู้ป่วยสุข 1. ผู้ป่วยมีระดับ 1. สอนผู้ป่วยถึงวิธีการประเมินอาการเจ็บปวดโดยใช้ 1. ผู้ป่วยมีระดับ Pain
ข้อมูลสนับสนุน สบายมาก Pain score ≤ 3 Pain score 1-10 คะแนน ดังนี้ score 2 คะแนน บอก
34

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


Subjective data ขึ้นระดับ คะแนน 0 = no pain ว่าตึงๆบริเวณแผล
-จากการสอบถาม ความ 2. ผู้ป่วยแจ่มใสดี 1-3 = mild pain 2. ผู้ป่วยแจ่มใสยิ้มแย้ม
: ผู้ป่วยบอกว่า “ได้รับอุบัติเหตุจาก เจ็บปวด ไม่บ่นปวดแผล 4-6 = moderate pain เวลาพูด
รถบัสคว่ากระดูกต้นแขนและ ลดลง ผ่าตัด 7-10 = severe pain 3. ผู้ป่วยสามารถ
สะโพกหักจึงได้รับการผ่าตัด” 3. ผู้ป่วยสามารถ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อนว่า O หมายถึง ไม่มีอาการ เคลื่อนไหว ช่วยเหลือ
: ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บแผลเวลาขยับ เคลื่อนไหว ปวดและ 10 คือ ปวดมากที่สุดและมากกว่า 7 คะแนนขึ้น ตัวเองได้
แขนและขา" พักผ่อนและนอน ไป ถือว่าควรได้รับการบาบัดรักษาอาจใช้ยาแก้ปวดร่วม 4. ผู้ป่วยไม่ขอยาแก้ปวด
: Pain score = 6/10 คะแนน หลับได้ ด้วยซึ่งไม่ควรรอให้ถึง 10 คะแนนหรือจนผู้ป่วยบอกว่าทน เพิ่ม
Objective data 4. ผู้ป่วยไม่ขอยา ไม่ไหวเพราะการรักษาความปวดแต่เนิ่นๆเป็นวิธีการที่ 5. ผู้ป่วยไม่มีไข้ สัญญาณ
- ผลจากการตรวจร่างกาย พบว่า : แก้ปวดหรือ ถูกต้องและให้ผลดี ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และ ชีพปกติ
ผู้ป่วยมีแผลบริเวณศีรษะลักษณะ ปริมาณการใช้ยา และสังเกต จากสีหน้า ท่าทางคาบอกเล่าของผู้ป่วยที่บ่งชี้ BT = 37.4 ๐C
ของแผลตัดไหมและตกสะเก็ด แก้ปวดลดลง ว่ามีความทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวดและบันทึกระดับ PR = 80 bpm
: ผู้ป่วยมีแผลบริเวณถลอกตาม 5. ผู้ป่วยไม่มีไข้ pain score ลงในแบบบันทึก (monitoring nursing RR = 20 bpm
แขนขา ลักษณะของแผลแห้งตก สัญญาณชีพปกติ record) BP = 110/80 mmHg
สะเก็ด BT = 36.5 - 2. ดูแลช่วยจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายราบในท่าที่สขุ สบาย (เวลา 10.00 น.)
: ผู้ป่วยมีแผลบริเวณต้นแขนและ 37.5 ๐C เพื่อลดอาการปวด และให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล BT = 37.3 ๐C
สะโพกจากการผ่าตัด ลักษณะของ PR = 60 - 100 เบามือเพื่อลดแรงกระทบกระเทือนบริเวณแผลผ่าตัดและ PR = 78 bpm
แผลเป็นแผลสดและมีไหมอยู่ bpm หมั่นกระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายทุก 2 ชั่วโมง RR = 20 bpm
-จากการสังเกต RR = 16 - 24 3. เบี่ยงเบนความสนใจ ลดความกลัวและความกังวลของ BP = 120/70 mmHg
: ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สุขสบาย ได้แก่ bpm ผู้ป่วย (ซึ่งมีผลให้อาการปวดเพิ่มขึ้น) โดยการพูดคุยหา (เวลา 14.00 น.)
35

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


หน้านิ่วคิ้วขมวด SBP = 90 - 140 สาเหตุและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความคับข้องใจ 17/01/61
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย mmHg และซักถาม ปัญหาต่างๆ พร้อมอธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึง
: ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Open DBP = 60 - 90 สาเหตุของอาการปวดแผลผ่าตัด และให้เหตุผลว่าอาการ
Reduction Internal Fixation mmHg ปวดนี้จะค่อยๆ บรรเทาลงในวันต่อๆ มา เนื่องจาก
plate and screw fixation left กระบวนการหายของแผลผ่าตัดและแนะนาให้ ผูป้ ่วยขอ
acetabulum with ORIF PAD ยาแก้ปวดได้เมื่อเริ่มรู้สกึ ไม่สุขสบายปวดแผลผ่าตัดหรือให้
fixation right humerus คะแนนระดับความปวด มากกว่า 7 คะแนน
วันที่12/01/61 หลังผ่าตัด Day 5 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาและ
ติดตามผลข้างเคียงจากยา ได้แก่
(ข้อมูลวันที่ 15/01/61) Morphine (3 mg) vein p.r.n. q 6 hr. ผลข้างเคียงคือ
กดการหายใจ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ เป็นต้น หลัง
ให้ยา 5-15 นาที ควรประเมินระดับความง่วงซึม
(sedation score) ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ คือ
0 หมายถึง ตื่นรู้สกึ ตัวดี
1 หมายถึง ง่วงเล็กน้อย หลับแต่ปลุกง่าย ตอบคาถามได้
อย่างรวดเร็ว
2 หมายถึง ง่วงปานกลาง หลับแต่ปลุกง่าย ตอบคาถามได้
ช้าหรือไม่ชา้ ก็ได้ มีอาการสัปหงกให้เห็น
3 หมายถึง ง่วงมากปลุกตื่นยากหรือไม่ตื่น ไม่โต้ตอบ
และควรหลีกเลี่ยงยามอร์ฟีนหากพบว่าผู้ป่วยมี sedation
36

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


score ≥ 2 หากผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนควรได้รับ
ยาลดอาการคลื่นไส้ อาเจียนตามแผนการรักษา ได้แก่
Plasil (10 mg) vein p.r.n. q 6 hr.
5. ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมภายในห้องให้สะอาด อากาศถ่ายเท
สะดวก ไม่มีเสียงรบกวน แนะนาให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน
อย่างเพียงพอเพื่อลดความเมื่อยล้า ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้
ทนต่อความเจ็บปวดลดลง และยังช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ฟื้นตัวเร็ว

2. ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ -ผู้ป่วยไม่ 1. สัญญาณชีพอยู่ 1. วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชัว่ โมง เพื่อวาง 1. ผู้ป่วยไม่มีไข้ สัญญาณ


เนื่องจากผิวหนังสูญเสียหน้าที่ เกิดการติด ในเกณฑ์ปกติ แผนการพยาบาลให้เหมาะสม หากผู้ป่วยมีไข้สูงอุณหภูมิ ชีพปกติ
ข้อมูลสนับสนุน เชื้อที่แผล โดยเฉพาะ ≥ 38.5 oC ต้องช่วยเช็ดตัวลดไข้ให้กับผู้ป่วยเพื่อระบาย BT = 37.5 ๐C
Subjective data อุณหภูมิร่างกาย ความร้อนที่เพิ่มขึ้นและดูแลให้ยา Paracetamol 500 PR = 78 bpm
: ผู้ป่วยบอกว่า “ได้รับอุบัติเหตุจาก ได้แก่ mg. 1 tab po prn q 4-6 hr และวัดซ้าอีก 30 นาที RR = 20 bpm
รถบัสคว่ามีแผลตามตัวและได้รับ BT = 36.5 - หากไข้ยังไม่ลดและเพิ่มขึ้นควรรายงานให้แพทย์ทราบ BP = 120/80 mmHg
การผ่าตัดเพื่อรักษากระดูกหักที่ 37.4 °C ในทันที กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ อย่างน้อยวันละ (เวลา 10.00 น.)
แขนและขา” PR = 60 - 100 2,000-3,000 ml. BT = 37.4 ๐C
: ผู้ป่วยบอกว่า "เวลาหมอล้างแผล bpm 2. สังเกต ประเมินและบันทึกการติดเชื้อทีต่ าแหน่งแผล PR = 80 bpm
มีเลือดซึมตาม Gauze" RR = 16 - 24 เช่น บริเวณแผลมี ปวด บวม แดง ร้อน หรือมีสิ่งคัดหลั่ง RR = 20 bpm
Objective data bpm คล้ายหนองหรือมีกลิ่นเหม็น หากพบความผิดปกติ BP = 110/80 mmHg
37

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


-จากการตรวจร่างกาย BP = Systolic รายงานอาการให้แพทย์ทราบเพื่อวางแผนการรักษา (เวลา 14.00 น.)
: มีแผลถลอกตามข้อศอกและแขน 90 - 3. ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของผู้ป่วย เช็ดตัวให้ 2. แผลไม่มีการอักเสบ
มีเลือดซึมตามแผล 140/Diastolic สะอาด เปลี่ยนใส่เสื้อผ้าที่สะอาดและแนะนาผู้ป่วยและ ปวด บวม แดง ร้อน
: มีแผลผ่าตัดที่ต้นแขน ขนาด 5x3 60 - 90 mmHg ญาติเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของมือเมื่อจับต้อง 3. แผลแห้งดี ไม่มีมีเลือด
cm. , แผลผ่าตัดที่สะโพก ขนาด 2. แผลไม่มีการ บริเวณที่อยู่ใกล้เคียงกับแผล เพื่อป้องกันการติดเชื้อและ น้าเหลืองซึมออกมานอก
10x5 cm. อักเสบ ปวด บวม การแพร่กระจายเชื้อ ผ้าปิดแผล
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย แดง ร้อน 4. แนะนาไม่ให้ผู้ป่วยแกะเกาหรือเปิดแผลเอง และไม่ให้ 4. ผลการตรวจทาง
: T = 37.7 °C (10.00 น.) 3. แผลแห้งดี ไม่มี แผลเปียกน้า ถ้าแผลเปียกน้าต้องรีบซับให้แห้งด้วยผ้า ห้องปฏิบัติการ
: WBC 14.2x10 x3 /ul มีเลือด น้าหลือง สะอาดและรีบแจ้งให้พยาบาล ทราบทันทีเพื่อดูแลทา WBC 14.2x10 x3 /ul
: N = 82.8% ซึมออกมานอกผ้า แผลให้ใหม่ N = 82.8%
ปิดแผล 5. แนะนาญาติเกี่ยวกับสารอาหารที่มีประโยชน์ตอ่ การฟื้น 17/01/61
(ข้อมูลวันที่16/01/61) 4. ผลการตรวจ ตัวหลังผ่าตัดและการหายของแผล เช่น อาหารจาพวก ไข่
ทาง นม เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงๆ เช่น ส้ม เพื่อ
ห้องปฏิบัติการ ช่วยในการหายของแผล รวมทั้งดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวัน
ปกติ WBC = ละ 2,000 - 3,000 cc. เพื่อขับของเสียต่างๆ ออกจาก
4.0-11.0 x10x3 ร่างกายทางปัสสาวะ
/ul 6. ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ได้แก่
Neutrophil = Cefazolin 1 g vein q 6 hr. และสังเกตอาการข้างเคียง
40 – 75% คือ ลมพิษ ผื่น คัน บวม แดง เป็นต้น หากมีอาการควร
Lymphocyte = หยุดยาและแจ้งแพทย์ทนั ที
38

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


20 – 50% 7. ดูแลให้ได้รับการเจาะ CBC ตามแผนการรักษา
Monocyte = 2
– 10%

3. ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน -ผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยไม่มี 1. ประเมินการทางานของระบบไหลเวียนและระบบ 1. ผู้ป่วยมีอาการปวดชา


จากการบาดเจ็บของเส้นประสาท ปลอดภัย ไม่ อาการปวดชา ซีด ประสาทของอวัยวะส่วนปลาย (neurovascular status บริเวณแขนข้างขวา
(nerve injury) เกิด เย็น อ่อนแรงของ และ capillary refilling test) เป็นการประเมินการ เล็กน้อย
ข้อมูลสนับสนุน ภาวะแทรก กล้ามเนื้อ ไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายและการไหล 17/01/61
Subjective data ซ้อนจากการ กลับของเลือดเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน การประเมิน
: ผู้ป่วยบอกว่า “มีอาการปวด ชา บาดเจ็บของ neurovascular status ประกอบด้วย การประเมิน 6 P
เย็น อ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ข้อมือ เส้นเลือด คือ
และขา” เส้นประสาท Pain คือ อาการปวด โดยการสังเกตหรือโดยการ
: ผู้ป่วยบอกว่า “ไม่สามารถกระดก สอบถาม
มือข้างขวาขึ้น-ลงได้” Pallor คือ อาการซีด โดยการดูสีผวิ ริมฝีปากเปลือกตา
Objective data และเล็บ เป็นต้น
-จากการตรวจร่างกาย Polar คือ อาการเย็น โดยการสัมผัส
: ตรวจ Motor Power ที่แขนข้าง Paralysis คือ อาการอ่อนแรง โดยการให้เคลื่อนไหวหรือ
ขวา พบว่า Grade 1 ขยับนิ้ว
: ตรวจ Motor Power ที่ขาข้าง Paresthesia คือ อาการชา โดยการทาให้เจ็บ ให้
39

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


ซ้าย พบว่า Grade 1 เคลื่อนไหวหรือขยับนิ้ว
: ตรวจ capillary refilling time Pulse คือ การประเมินชีพจร โดยการคลาชีพจรส่วน
ที่เล็บมือข้างขวา = 3 วินาที ปลายของส่วนที่ผิดปกติ
: ตรวจ capillary refilling time นอกจากนี้การประเมินการไหลเวียนของเลือดบริเวณ
ที่เล็บเท้าข้างซ้าย = 3 วินาที อวัยวะส่วนปลาย (นิ้วมือหรือนิ้วเท้า) โดยการทา
: คลาชีพจร Right radial pulse capillary refilling test วิธีทา คือ ใช้นวิ้ หัวแม่มือของ
เต้นเบา ไม่สม่าเสมอ ผู้ตรวจกดลงบนเล็บที่ใหญ่ที่สุดของอวัยวะ ส่วนปลายที่
: คลาชีพจร left Dorsalis pedis ต้องการทดสอบ ขณะกดเล็บจะซีดขาวพอปล่อยนิ้วมือที่
pule เต้นเบา ไม่สม่าเสมอ กดออกบริเวณเล็บที่ถูกกดจะเป็นสีชมพูหรือสีแดง แสดง
-จากการดูข้อมูลประวัตผิ ู้ป่วย ว่าการไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะส่วนปลายและสามารถ
:Dx. Closed fracture left ไหลกลับ ได้ตามปกติของการไหลเวียนไปและกลับ
acetabulum with right shaft ประมาณ 2-3 วินาที ถือว่าค่า capillary refilling test
of humerus with radial injury positive
: On splint บริเวณแขนข้างขวา 2. ประเมินกาลังของกล้ามเนื้อโดยการงอ เหยียด กาง
ออก หุบเข้าและกา-แบมือ ข้อศอก
(ข้อมูลวันที่16/01/61) 2.1 การตรวจกาลังของกล้ามเนื้อ
2.1.1 การประเมินกาลังของกล้ามเนื้อ (muscle
power) เป็นการตรวจความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อโดย
การงอ (flexor) การเหยียด (extensor) การกางออก
(abductor) การหุบเข้า (adductor) และการหมุน
40

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


(rotator) ซึ่งการตรวจเหล่านี้จะใช้ในการตรวจแขน-ขา
ของผู้ป่วย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (motor power)
แบ่งออกเป็น 6 เกรด
เกรด 0 = เคลื่อนไหวไม่ได้และไม่มีการหดตัวของ
กล้ามเนื้อ
เกรด 1 = เคลื่อนไหวไม่ได้ แต่ยังตรวจพบการหดตัวของ
กล้ามเนื้อ
เกรด 2 = เคลื่อนไหวตามแนวราบได้เต็มที่ แต่ต้านแรง
โน้มถ่วงไม่ได้
เกรด 3 = เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงได้ แต่สู้แรงต้าน
ไม่ได้เลย
เกรด 4 = เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงได้ และสู้แรงต้านได้
บ้าง
เกรด 5 = เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงได้ และสู้แรงต้านได้
เต็มที่
3. ประเมินอาการชาของแขน-ขาที่อาจเกิดขึ้นใหม่หรือ
ชามากกว่าเดิมซึ่งเกิดจากการดึงรั้ง ของเส้นประสาทที่ถูก
กดทับ การประเมินการรับความรู้สึก ( sensation )
แบ่งเป็นระดับดังนี้
ระดับ 0 คือ ไม่มีความรูส้ ึก (absent)
41

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


ระดับ 1 คือ รับความรู้สกึ ได้เล็กน้อย (Impaire)
ระดับ 2 คือ รับความรู้สกึ ได้ปกติ (Normal)
ระดับ NT คือ ไม่สามารถตรวจได้ (Not testable

5. บันทึกผลการตรวจกาลังกล้ามเนื้อ (motor power)


และการรับความรู้สึก (sensory) ลงใน บันทึกทางการ
พยาบาล
6. แนะนาการบริหารแขนและมือโดยยกแขนขึ้น
งอ-เหยียดแขน และยกลง กาและแบมือบ่อยๆ เพื่อเพิ่ม
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขนและมือ
4. ผู้ป่วยมีภาวะท้องผูก 1. ผู้ป่วยไม่ 1. ผู้ป่วยสามารถ 1. สอบถามแบบแผนการขับถ่ายอุจาระตามปกติของ 1. ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระได้
เนื่องจากเคลื่อนไหวน้อย เกิดภาวะ ถ่ายอุจจาระได้ ผู้ป่วยเพื่อเปรียบเทียบกับปัจจุบันและฟังเสียงการ เวลา 07.00 น.
ข้อมูลสนับสนุน ท้องผูก ตามปกติ เคลื่อนไหวของลาไส้ (bowel sound) ค่าปกติ 4-5 ครั้ง/ bowel sound 8 ครั้ง/
Subjective data วินาที นาที
: ผู้ป่วยบอกว่า “ไม่ถ่ายมา 6 วัน 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกต้องโดย 17/01/61
แล้ว ปกติจะถ่ายวันละ 2-3 ครั้ง” แนะนาและดูแลให้ผู้ป่วย รับประทานอาหารย่อยง่าย
: ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บแผลเวลาขยับ อาหารที่มกี ากใย เช่น ผัก ผลไม้ และน้าผลไม้ และแนะนา
แขนและขาเลยไม่อยากเคลื่อนไหว" ให้ดื่มน้า อย่างน้อย 2,000-3,000 ซีซี/วัน
: ผู้ป่วยบอกว่า “ผู้ป่วยไม่ค่อยถ่าย 3. กระตุ้นผู้ป่วยทากิจวัตรประจาวันในส่วนที่ไม่
อุจจาระ” กระทบกระเทือนต่อบริเวณแผลผ่าตัด เพื่อให้มีการ
42

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


: ผู้ป่วยบอกว่า “เปลี่ยนสถานที่ใน เคลื่อนไหวของร่างกาย และส่งผลให้ลาไส้เคลื่อนไหวทาให้
การขับถ่ายและต้องขับถ่ายบน ระบบย่อยอาหารและการขับถ่ายทางานได้ดีขึ้น พร้อม
เตียง” อธิบายเหตุผลว่าการปฏิบัติจะส่งผลดีต่อการป้องกันภาวะ
Objective data ท้องผูก
-จากการตรวจร่างกาย 4. จัดสถานทีใ่ ห้มิดชิด กัน้ ม่านให้เรียบร้อยให้เป็นส่วนตัว
: bowel sound 3 bpm เมื่อผู้ป่วยต้องการขับถ่ายบนเตียง รวมทั้งทาความสะอาด
: คลาได้บริเวณท้องแข็ง หม้อถ่ายอุจจาระให้สะอาดก่อนนามาใช้ เพื่อช่วยให้
-จากการดูข้อมูลประวัติผู้ป่วย ขับถ่ายได้สะดวก
: ผู้ป่วยได้รับยา senokot 3 tab 5. ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระได้ ท้องผูก
po hs มาก ควรรายงานแพทย์เพื่อแพทย์จะได้สั่งยาระบายและ
: ผู้รับบริการได้รับการผ่าตัด Open ดาเนินการให้ยาตามแผนการรักษา และประเมินผลการ
Reduction Internal Fixation ขับถ่ายอุจจาระ หลังได้รบั ยาระบาย
plate and screw fixation left 7. ดูแลให้ได้รับยาระบายตามแผนการรักษา ได้แก่
acetabulum with ORIF PAD Senokot 2 tab pc hs และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
fixation right humerus คือ มีอาการปวดท้องหรือถ่ายท้องรุนแรงจนเกิดภาวะขาด
(ข้อมูล 16/01/61) น้าและเกลือแร่ เป็นต้น

5. วิตกกังวลเกีย่ วกับความ -ผู้ป่วยคลาย 1. ผู้ป่วยมีสีหน้า 1. ประเมินความวิตกกังวลและท่าทีตา่ งๆ ที่แสดงออกของ 1. ผู้ป่วยมีสีหน้าสดใสขึ้น


เจ็บปวดของตนเอง วิตกกังวล คลายความวิตก ผู้ป่วยต่อความเจ็บป่วยทีต่ ้องอยู่โรงพยาบาล 2. ผู้ป่วยเข้าใจถึงอาการ
ข้อมูลสนับสนุน กังวล ระดับของความวิตกกังวลแบ่งได้เป็น 4 ระดับ คือ ที่ตนเองว่าต้องในเวลาใน
43

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


S : ผู้ป่วยบอกว่า “อยากรีบๆหาย 2. ผู้ป่วยเข้าใจถึง 1) ความวิตกกังวลระดับต่า (Mild anxiety) เป็นความ การรักษาและฟื้นฟู
เพราะตอนนี้ลาบากภรรยาและ อาการที่ตนเอง วิตกกังวลระดับน้อยๆ เป็นปกติในบุคคลทั่วไป ถ้าเกิดขึ้น 17/01/61
ลูกๆมาดูแล” เป็นอยู่และเข้าใจ เป็นสิ่งดี เพราะจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลแก้ปัญหา และทา
: ผู้ป่วยบอกว่า “กลัวจะเดินไม่ได้ ว่าจะต้องใช้ กิจกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้น และกระตุ้นให้บุคคลตื่นตัวในการ
เหมือนเดิม” ระยะเวลาในการ แก้ปัญหาการเจ็บป่วย หรือทาให้บุคคลพยายามทางาน
O : ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล ฟื้นฟูรา่ งกาย อย่างใดอย่างหนึ่งให้สาเร็จ
2) ความวิตกกังวลระดับกลาง (Moderate anxiety) ใน
ระดับนี้ บุคคลจะเกิดการรับรู้เรื่องต่างๆ แคบลง บุคคลจะ
สนใจเฉพาะปัญหาที่จะทาให้ตนไม่สบายใจ พยายาม
ควบคุมตนเองมากขึ้น พยายามแก้ปัญหาสูงขึ้น
3) ความวิตกกังวลระดับสูง (Severe anxiety) บุคคลจะมี
วิตกกังวลสูง การรับรู้แคบลง สมาธิในการรับฟังปัญหา
และข้อมูลต่างๆ ลดลงเพราะครุ่นคิดหมกมุ่นใน
รายละเอียดมากไป จนไม่สามารถติดตามเนื้อหาของ
เรื่องราว อย่างกว้างขวาง มีอาการมึนงง กระสับกระส่าย
ไม่อยู่กับที่ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
4) ความวิตกกังวลระดับสูงสุด (Panic anxiety) บุคคลมี
ความวิตกกังวลสูงสุดจนทาให้การรับรู้น้อย บุคคลจะอยู่
ในภาวะตื่นตระหนก สับสน วุ่นวาย หวาดกลัวสุดขีด มึน
งง ควบคุมตนเองไม่ได้ ไม่มีแรง อาจมีอาการประสาท
44

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


หลอน แขนขาขยับไม่ได้ เป็นลม
2. สร้างสัมพันธภาพทีด่ กี ับผู้รับบริการเพื่อทีจ่ ะทาให้
ผู้ป่วยสามารถไว้วางใจแล้วกล้าทีจ่ ะสอบถามพูดคุยถึง
เรื่องที่วิตกกังวลอยู่
-เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยสอบถามถึงเรื่องที่ตนเองวิตก
กังวลอยู่ พร้อมทั้งสังเกตท่าทางสีหน้า และการแสดงออก
ของผู้ป่วยขณะทาการพูดคุย
-อธิบายถึงอาการทีผ่ ปู้ ่วยที่เป็นอยู่และวิธีการฟื้นฟู
ร่างกาย รวมถึงระยะเวลาที่จะต้องดาเนินอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป ซึ่งทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กาลังใจของผู้ป่วยเองเช่นกันด้วย
ภาษาที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ซึ่งขณะอธิบายควรสังเกตสี
หน้าของผู้ป่วยด้วยว่ามีการคลายความวิตกกังวลบ้าง
หรือไม่ เป็นต้น
-สอบถามผู้ป่วยว่าตอนนี้เข้าใจถึงอาการทีต่ นเอง
เป็นอยู่และวิธีการฟื้นฟูรา่ งกาย หรือไม่ ถ้าหากยังไม่เข้าใจ
หรือมีข้อสงสัยก็ควรทีจ่ ะอธิบายซ้าอีกครั้งด้วยภาษาที่
เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
-ให้กาลังใจผู้ป่วยในการทากายภาพบาบัด รวมถึง
แนะนาให้ผู้ป่วยอดทนและสร้างกาลังใจให้ตนเอง เพื่อลด
ความท้อในการทากายภาพบาบัดในอนาคต
45

ลาดับ การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน กิจกรรมพยาบาลและเหตุผล ผลการประเมิน


3. ให้ญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ด
ตัวลดไข การ passive exercise เป็นต้น
46

8. สรุปและเสนอแนะ
สรุป
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 67 ปี รับ Refer จากโรงพยาบาลบางสะพานด้วย car accident 2 day ก่อนมา
โรงพยาบาล ผู้ป่วยนั่งรถทัวร์พลิกคว่าข้างทาง มีศรี ษะและหน้าอกกระแทก แขนขวาโดนรถทับ มีแผลถลอก
ตามตัวและหน้าผาก ได้ Admit รักษาทีโ่ รงพยาบาลบางสะพาน พบว่ามีกระดูกเชิงกรานและต้นแขนขวาหัก มี
อาการปวดที่แขนขวาและสะโพกซ้ายมาก On U-slab right arm จึงขอ Refer มาโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก 14/2 ได้รับการรักษาคือ on
0.9% NSS 1000 ml ⓥ rate 8o ml/hr., On Skeletal traction Left 8 kg., x-ray พบ left
acetabulum with right shaft of humerus fracture จึงได้เข้ารับการผ่าตัด Open Reduction Internal
Fixation plate and screw fixation left acetabulum with ORIF PAD fixation right humerus,
Under GA, Blood loos 1,700 ml BP 90/60 mmHg Hb 16% Hct 20% แพทย์จึงมีคาสั่งการักษาคือ ให้
PRC 2 u หลังให้เลือด ผู้ป่วยมี Hematocrit=38 % และ on cannula วันที่ 12 มกราคม 2561 หลังทา
ผู้ป่วยไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ได้รับการักษา Morphine (1:10) 3 mg. ⓥprn for pain เพื่อรักษาอาการ
ปวด และ CBC, BUN, Cr, Electrolyte พบว่ามี Hemoglobin = 9.9 g/dl (ต่า) Hematocrit=29 %(ต่า)
แพทย์จึงมีคาสั่งการักษาคือ ให้ PRC 1 u drip in 3 hr. หลังให้เลือด ผู้ป่วยมี Hematocrit=30 % มีค่า
neutrophil 82.8% สูงแพทย์จึงมีคาสั่งการรักษาคือ Cefazolin 1 g ⓥ q 6 hr, เพื่อแก้ไขภาวะติดเชื้อ วันที่
13/01/61 ผู้ป่วยมีไข้ 38-39 องศาเซลเซียส แพทย์มีคาสั่งการรักษาคือ ให้ observe ไข้ต่อ และพบ UA WBC
(5-10) สูง แพทย์มีคาสั่งการรักษา off foley catheter ให้ antibiotic เป็น ciprofloxacin 400 mg. ⓥ q
12 hr. ผู้ป่วยไข้ลดลงจน อุณหภูมิร่างกายเป็นปกติ
ก่อนรับไว้ในความดูแลผูป้ ่วยมีปัญหาพบผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผิดปกติ ได้แก่ CBC พบ Hb
ต่า 9.4 g/dL, Hct. ต่า 28.3% WBC 14.2x103 N 82.8% แพทย์มีแผนการรักษาโดยให้ Vitamin B12 1 x 3
p.o. p.c. Cefazolin 1 g ⓥ q 6 hr. ciprofloxacin 400 mg. ⓥ q 12 hr. และเรื่องปวดแผล pain
score = 6 คะแนน จะปวดมากเฉพาะเวลาขยับแขนขวาและขาซ้าย
ก่อนรับไว้ในความดูแลผูร้ ับบริการมีปัญหาเรื่องการปวดแผล ในระหว่างรับไว้ในความดูแลผูร้ ับบริการ
มีข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ดังนี้
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากผิวหนังสูญเสียหน้าที่
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 ผู้ป่วยมีภาวะท้องผูกเนื่องจากการเคลื่อนไหวน้อย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 วิตกกังวลเกี่ยวกับความเจ็บปวดของตนเอง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการบาดเจ็บของเส้นประสาท
(nerve injury)
47

สรุปการพยาบาล
ปัญหาที่ 1 ได้รับการแก้ไขบางส่วนและต้องติดตามต่อไป
ปัญหาที่ 2 ได้รับการแก้ไขบางส่วนและต้องติดตามต่อไป
ปัญหาที่ 3 ได้รับการแก้ไขบางส่วนและต้องติดตามต่อไป
ปัญหาที่ 4 ได้รับการแก้ไขบางส่วนและต้องติดตามต่อไป
ปัญหาที่ 5 ได้รับการแก้ไขบางส่วนและต้องติดตามต่อไป
ข้อเสนอแนะ
-บุคลาการทางการแพทย์ควรให้ความสาคัญกับผู้ป่วยในเรื่องด้านจิตใจ เนือ่ งจากผู้ป่วยเข้ามารับการ
รักษา การผ่าตัด ถูกจากัดกิจกรรม ทั้งในเรื่องของภาพลักษณ์ ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลในเรื่องค่าใช้จ่ายใน
ครอบครัวเพราะตนเอง ดังนั้นควรจัดกิจกรรมส่งเสริม พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อเป็นการจัดกิจกรรม
ให้บรรเทาความวิตกกังวล
-ควรส่งเสริมแนะนาให้ญาติผู้ป่วยมามีสว่ นร่วมในการดูแลและพูดคุยเพื่อให้ผู้ป่วยมีกาลังใจในการต่อสู้
กับการการเจ็บป่วย
-สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเห็นความสาคัญของการเคลื่อนไหวตัวเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ที่อาจจะตามมา เช่น ข้อติด ท้องผูก เป็นต้น
-แนะนาให้ผู้รับบริการมาพบแพทย์ตามนัด และแนะนาให้สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์
ก่อนวันนัด ได้แก่ ปวดบวมมาก ซีด เขียวคล้า มีอาการชา หรือเคลื่อนไหวไม่ได้ เป็นต้น ในกรณีแพทย์ให้กลับ
บ้านได้

9. บรรณานุกรม
วรรณี สัตยวิวัฒน์. (2551). การพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด เอ็นพีเพรส.
ภานุพันธ์ ทรงเจริญ. (2554). ตาราออร์โธปิดิคส์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: หจก. มีเดีย เพรส.
ประสาร เปรมะสกุล. (2554). คู่มือแปลผลตรวจเลือดเล่มสอง. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: อรุนการพิมพ์.
คณาจารย์ภาควิชาสรีรวิทยา. (2557). พยาธิสรีรวิทยาสาหรับพยาบาล. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ.
48

.
49

ภาคผนวก

You might also like