You are on page 1of 10

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด

แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน

ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 42 ปี สถานภาพสมรส: สมรส ศาสนา : พุทธ
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี อาชีพ: ข้าราชการทหาร
รายได้: 27,400 บาท/เดือน ที่อยู่: คลองถนน สายไหม กรุงเทพฯ 10220
ประวัติโรคประจำตัว: ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง และเก๊าต์ รับประทานยา
และรักษาต่อเนื่อง
ประวัติการรักษาที่ผ่านมา: โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
ประวัติการใช้สารเสพติด: ปฏิเสธ
ประวัติการแพ้ยา แพ้อาหารและสารเคมี: Voltaren , Mydocalm

ประเมินข้อมูลโดยใช้กรอบแนวคิด 11 แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
1. การรับรู้ภาวะสุขภาพทัง้ ทางด้านร่างกายและจิตใจ
- สุขภาพทั่วไปก่อนการเจ็บป่ วย (ร่างกาย/จิตใจ): ผู้ป่วยมีความคิดว่าสุขภาพ
ชองตนเองอยู่ในระดับปานกลาง รับรู้ถึง
อาการเจ็บป่ วยในปั จจุบันว่ามีโรคประจำตัว ดังนี ้ ความดันโลหิตสูง, ไขมันใน
เลือดสูง และเก๊าต์
- ความเข้าใจ และการรับรู้เกี่ยวกับโรคและความเจ็บป่ วยทางร่างกายและจิตใจ
เป็ นอย่างไร: ผู้ป่วยรับประทานยาและ
รักษาต่อเนื่อง ไปตามแพทย์นัดทุกครัง้ แต่ยังมีการดื่มแอลกอฮอล์ และดื่ม
กาแฟอยู่เป็ นประจำ ทัง้ ที่ร้ว
ู ่ามีผลต่อโรค
ประจำตัวที่เป็ นอยู่

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 1


2. ประวัติการตรวจสุขภาพ
- ลักษณะทั่วไปทางด้านร่างกาย: ผู้ป่วยแต่งกายด้วยชุดผู้ป่วยอย่างเรียบร้อย มี
สีหน้าสดชื่น ยิม
้ แย้มแจ้มใส ขณะสนทนา
สบตากับผู้สนทนาด้วย ให้ความร่วมมือในการสนทนาได้ดี เล็บมือสัน
้ ร่างกาย
ดูสะอาด
- การตรวจร่างกาย: ตรวจสุขภาพประจำปี
- สูบบุหรี่/สุรา/ใช้สารเสพติดหรือไม่: ดื่มเบียร์ วันละ 1 ขวด ทุกวัน
- การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล: ผู้ป่วยอาบน้ำวันละ 2 ครัง้ (เช้า – เย็น)
- การดูแลตนเองเมื่อมีปัญหาสุขภาพเมื่อเจ็บป่ วย: เมื่อไม่สบายจะไปหาหมอที่
โรงพยาบาล
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 1
การรับรู้สภาวะความเจ็บป่ วยของตนเองอยู่ในระดับกลาง มีการดื่ม
แอลกอฮอล์ และกาแฟอยู่เป็ นประจำทัง้ ที่ร้ว
ู ่ามีผลต่อโรคประจำตัวที่เป็ นอยู่

แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
1. ชนิด และปริมาณอาหารที่รับประทานเป็ นประจำ
- อาหารที่ชอบ และอาหารที่ไม่ชอบ: ชอบทานอาหารรสชาติอาหารเดิม ไม่
ปรุวรสเพิ่ม ไม่ชอบทานอาหารประเภท
เครื่องในสัตว์ เนื้อไก่ และเนื้อวัว
- มื้ออาหาร และเวลาที่รับประทาน: รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อต่อวัน

- ปริมาณอาหารที่รับประทานในบางมื้อ: รับประทานอาหารปริมาณมาก ใน
แต่ละมื้อ โดยทานอาหารมื้อละ 2 จาน

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 2


- อาหารเสริม/อาหารบำรุง/อาหารระหว่างมื้อ: ชอบรับประทานขนมและน้ำ
อัดลมเป็ นบางครัง้ ดื่มชา กาแฟเป็ น
ประจำทุกวัน
- ความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร: ไม่มีความผิดปกติในระบบทางเดิน
อาหาร
- ปั ญหาในการรับประทานอาหาร และวิธีการแก้ปัญหา: ความอยากอาหาร
ปกติ
- พฤติกรรมการรับประทานอาหาร: รับประทานปกติ ไม่มุมมาม ไม่หก
เลอะเทอะ
2. ปริมาณการดื่มน้ำในแต่ละวัน: ดื่มน้ำเปล่าประมาณ 4.5 ลิตรต่อวัน
3. ลักษณะของผิวหนัง ผม เล็บ ตา ความชุ่มชื้นของริมฝี ปาก: ผิวหนังชุ่มชื้น ผมสัน

เกรียน เล็บสัน
้ ริมฝี ปากสีแดงคล้ำ
4. การใช้สารเสพติดต่างๆ หรือสุรา: ดื่มเบียร์ วันละ 1 ขวด ทุกวัน
2
5. น้ำหนัก ส่วนสูง ค่า BMI: น้ำหนัก 102 kg. ส่วนสูง 168 cm. BMI=36.1 kg/m
แปลผล ดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วน
6. ยาที่ได้รับ ตามแผนการรักษาของแพทย์
- Allporinol 300 mg. 1 tab ๏ pc ช
- simvas 40 mg. 1 tab ๏ pc ช
- enaril 20 1 tab ๏ pc ช
สรุปข้อมูลปั ญหาที่ได้จากแบบแผนที่ 2
2
ผู้ป่วยดื่มเบียร์ วันละ 1 ขวด ทุกวัน BMI=36.1 kg/m แปลผล ดัชนีมวลกาย
อยู่ในภาวะอ้วน โดยมีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์

แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
1. ปั สสาวะ

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 3


- จำนวนครัง้ และปริมาณของการปั สสาวะในเวลากลางวัน และกลางคืน:
ถ่ายปั สสาวะเวลากลางวัน 7 ครัง้
เวลากลางคืน ก่อนนอน 1 ครัง้
- ลักษณะอาการผิดปกติขณะขับถ่ายปั สสาวะ: ไม่พบลักษณะอาการผิดปกติ
ขณะขับถ่ายปั สสาวะ
- พฤติกรรมการขับถ่าย และการควบคุมการขับถ่าย : เมื่อรู้สึกปวดก็จะเข้า
ห้องน้ำ และควบคุมการขับถ่ายได้
- ปั ญหาการกลัน
้ ปั สสาวะไม่ได้ : ไม่พบปั ญหาการกลัน
้ ปั สสาวะไม่ได้

2. อุจจาระ
- จำนวนครัง้ ของการอุจจาระในแต่ละวัน: วันละ 2 ครัง้ ต่อวัน
- อาการผิดปกติที่เกิดขึน
้ : ไม่พบปั ญหา
- พฤติกรรมการขับถ่าย: ถ่ายอุจจาระทุกวัน
สรุปข้อมูลปั ญหาที่ได้จากแบบแผนที่ 3
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
1. ความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวัน: สามารถช่วยเหลือ
ตนเองได้ อาบน้ำแต่งตัว และรับประทาน
อาหารได้เอง
2. การเคลื่อนไหว: การเคลื่อนไหวร่างกางกาย เคลื่อนไหวได้ตามปกติ

3. การออกกำลังกาย: ออกกำลังกายที่สวนสาธารณะตอนเย็น เล่นบาสเก็ตบอล


เดินเล่น ปั่ นจักรยานบ้าง สัปดาห์ละ 1 ครัง้

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 4


4. งานอดิเรก/นันทนาการ: ช่วงเวลาว่างอยู่บ้านจะนั่งเล่นเกมส์มือถือ ล้างรถ เช็ดรถ
ทำงานบ้านทั่วไป ปลุกต้นไม้ เล่นดนตรี
และนอนพักผ่อน บางครัง้ ก็พาครอบครัวออกไปกินข้าวนอกบ้าน
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 4
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
1. เวลาเข้านอนตื่นนอน: เข้านอน 23.00 น. ตื่นนอน 06.00 น.
2. ระยะเวลาที่ใช้ตงั ้ แต่เริ่มเข้านอนกระทั่งหลับ: 1-2 ชั่วโมง
3. ปั จจัยเกี่ยวกับการนอนหลับ: บางครัง้ มีความเครียดเรื่องงาน หรือสอบ จะนอน
หลับประมาณ 03.00 -04.00 น.
4. ปั ญหาการนอนหลับ : นอนหลับยาก บางครัง้ มีต่ น
ื กลางดึก และจะใช้เวลานอน
หลับอีกครัง้ นานมาก
5. อาการทางจิตที่รบกวนการนอน: ปฏิเสธ
6. การนอนกลางวัน: ไม่ได้นอนกลางวัน
7. วิธีการแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับการนอน : ดื่มเบียร์เพื่อให้เกิดอาการเมาหลับ ถ้าไม่
หลับก็จะพยายามข่มตานอนจนหลับไปเอง
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 5
ผู้ป่วยมีปัญหาในการนอนหลับ นอนหลับยากบางครัง้ มีต่ น
ื กลางดึก และจะใช้
เวลานอนหลับอีกครัง้ นานมาก โดยมี
วิธีการแก้ไขปั ญหาในการนอนหลับคือ ดื่มเบียร์เพื่อให้เกิดอาการเมาหลับ ถ้าไม่หลับ
ก็จะพยายามข่มตานอนจนหลับไปเอง

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 5


แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
1. การรับรู้ประสาทสัมผัส: การมองเห็นปกติ รับรสได้ตามปกติ การได้กลิ่นปกติ
การสัมผัสได้ปกติ
2. การรับรู้กาลเวลาสถานที่ และบุคคล (orientation): ผู้ป่วยสามารถรับรู้วันเวลา
สถานที่และบุคคล โดยตอบว่า วันเวลา
และสถานที่ได้ปกติ
3. สติปัญญา และเชาว์ปัญญา : ถามคำถามว่า “ใครคือนายกคนปั จจุบันของ
ประเทศไทย?” ผู้ป่วยตอบได้ถูกต้อง คือ
“พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา”
4. ความจำ: จากการประเมิน Mini – Mental State Examination : Thai
version (MMSE – Thai 2002) ผู้ป่วยสามารถพูดทวน และจำชื่อสิ่งของ 3 อย่างได้
ครบ คือ แตงโม น้ำตก รถม้า จากแบบทดสอบ MMSE
5. ความตัง้ ใจและสมาธิ: มีความตัง้ ใจ และมีสมาธิดี
6. การตัดสินใจ: การตัดสินใจตามสถานการณ์ ได้ยกตัวอย่างว่า “ถ้าผู้ป่วยกำลังชม
ภาพยนตร์อยู่ในโรงภาพยนตร์แล้วเกิดไฟไหม้ ซึ่งมีเพียงแค่ผู้ป่วยเพียงคนเดียวที่เห็น
ในขณะที่คนอื่นกำลังชมภาพยนตร์อยู่ ผู้ป่วยจะทำอย่างไร?” ผู้ป่วยตอบว่า “แจ้ง
เจ้าหน้าที่” ซึ่งแสดงว่าผู้ป่วยมีการตัดสินใจตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
7. การแสดงออกด้วยอารมณ์: ปกติ ยิม
้ แย้มแจ่มใส ปฏิสัมพันธ์ดี
8. การพูด: พูดเป็ นประโยคได้ใจความ ตอบคำถามตรงประเด็น ในการพูด น้ำเสียง
ปกติ เสียงดังฟั งชัด

9. ความคิด: มีการพูดโต้ตอบสนทนาได้ปกติ
10. ประเมิน Mini – Mental State Examination : Thai version (MMSE –
Thai 2002) : ได้ 29 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน แปลผล ปกติ

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 6


สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 6
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
1. อัตมโนทัศน์: ผู้ป่วยมีความรู้สึกกับตนเองด้านบวก มีความรู้สึกการมีคุณค่าใน
ตนเอง มีความพอใจในหน้าที่การงานปั จจุบัน สามารถหาเลีย
้ งตนเอง ครอบครัวได้
2. พฤติกรรมอากัปกริยา: มีสีหน้าสดชื่น ยิม
้ แย้มแจ่มใส
3. ความคิดทำร้ายตนเอง: ไม่มีความคิดทำร้ายตนเอง
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 7
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
1. บทบาท และสัมพันธภาพในครอบครัว
- จำนวนสมาชิกในครอบครัว: มีทงั ้ หมด 2 คน คือ ตนเอง และภรรยา
- หน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัว: เป็ นหัวหน้าครอบครัว
- สัมพันธภาพกับคนในครอบครัว: ครอบครัวรักใคร่กันดี ไม่มีปัญหากับคนใน
ครอบครัว
- บุคคลที่มีอำนาจตัดสินใจ หรือแก้ไขปั ญหาในครอบครัว: ตนเอง และภรรยา
- เมื่อผู้ป่วยเกิดการเจ็บป่ วยมีการเปลี่ยนแปลงของบทบาทหน้าที่ และ
สัมพันธภาพหรือไม่: ไม่มีผลต่อสัมพันธภาพ
- สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย: บ้านเป็ นลักษณะทาวน์โฮม 2 ชัน
้ สภาพแวดล้อมเป็ น
ชุมชนไม่แออัดคับแคบ มีการคมนาคมที่ดี
และมีสาธารณูปโภคที่ครบครัน
2. บทบาท และสัมพันธภาพในหน้าที่การงาน และคนในชุมชน

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 7


- ขณะเจ็บป่ วยมีผลกระทบต่อการเรียน/งาน อาชีพ/ชุมชนบ้างหรือไม่อย่างไร:
ไม่มีผลกระทบต่อการทำงาน
- การติดต่อ และสัมพันธภาพกับเพื่อน/ผู้ร่วมงาน/เพื่อนในชุมชนเป็ นอย่างไร
เพื่อนหรือคนในชุมชนมาเยี่ยมหรือไม่:
เพื่อนดีมีความเคารพ และให้เกียรติกันดี
3. การสนับสนุนทางสังคม
- บุคคลที่เป็ นที่ปรึกษา และให้การช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา หรือไม่สบาย: ภรรยา พ่อ แม่
น้อง และเพื่อน โดยการโทรศัพท์พูดคุย
- แหล่งให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา: บิดา มารดา และภรรยา
4. ภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว
- ความพอเพียงของรายได้ต่อการดำรงชีพ : เพียงพอต่อการดำรงชีพ
- การเจ็บป่ วยมีผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของครอบครัวหรือไม่: ไม่มีผลกระ
ทบ
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 8
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธ์
1. ภาวะเจริญพันธุ์
- ปั ญหาเกี่ยวอวัยวะสืบพันธุ์ และวิธีการแก้ปัญหา: ไม่พบปั ญหา
- ปั จจัยเสี่ยงต่อการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ และวิธีการป้ องกันโรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์: ไม่มีปัจจัยเสี่ยง
2. การเลือกคู่ และการมีคู่ครอง
- สถานภาพ: สมรส
- ทัศนคติ และความคาดหวังต่อการมีคู่ครอง: มีความคิดตรงกัน มีความเคารพ
และให้เกียรติซึ่งกันและกัน

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 8


- ความพึงพอใจกับชีวิตสมรส: มีความพึงพอใจกับชีวิตสมรส
3. ความรู้สึกทางเพศ
- ความต้องการทางเพศและวิธีการแก้ไขปั ญหา: ปกติ
- การแสดงความพึงพอใจและการควบคุมอารมณ์ทางเพศ: ปกติ
- ความเหมาะสมของการแสดงบทบาททางเพศ: ปกติ
- ปั ญหาทางเพศสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับยา หรือสารเสพติด: ไม่พบปั ญหา
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 9
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและการเผชิญความเครียด
1. อุปนิสัย และอารมณ์: เป็ นคนโกรธง่าย หายเร็ว ไม่ชอบโดนบ่น ถ้าบอกว่ารู้แล้ว
คือต้องหยุด ไม่งน
ั ้ จะมีอารมณ์ฉุนเฉียวและหงุดหงิดมากทันที
2. ปั จจัยต่างๆ หรือสิ่งที่ทำให้ไม่สบายใจ/วิตกกังวล/กลัว: เวลามีคนมาแหย่ มักจะ
หงุดหงิด และโมโหง่าย
3. วิธีการแก้ไขเมื่อเกิดความไม่สบายใจ/วิตกกังวล/กลัว: ไปนั่งฟั งเพลง เล่นกีต้าร์
4. การแสวงหาแหล่งช่วยเหลือ: จะพูดคุยกับแม่ เพื่อน
5. ภาวะวิกฤติที่เกิดขึน
้ ในช่วงวัยต่างๆ: เคยสอบนักเรียนเตรียมตอน อายุ17 ปี แต่
ผิดหวัง แต่ร้ข
ู ้อบกพร่องตัวเอง จึงขยันและตัง้ ใจมากขึน
้ แล้วมาสอบ นจอ.นายสิบ
ทหารบก จ่าทหารเรือ ประสบความเร็จดีมากติดทุกที่ ทำให้เกิดความภาคภูมิใจใน
ครอบครัวเป็ นอย่างมาก ในตอนอายุ 20 ปี เรียนพยาบาลต่อเนื่องจนจบ พยาบาล
วิชาชีพ อายุ 38 ปี สอบเลื่อนฐานะ ประกาศชื่อได้เป็ นตัวจริง แต่อีกครึ่งชั่วโมงแจ้ง
เพื่อให้รับทราบว่าไม่ได้ ทำให้เกิดความผิดหวัง อย่างรุนแรง แต่ผ่านพ้นมาได้ด้วย
ครอบครัว และเพื่อนๆ ทำให้ผ่านพ้นวิกฤตนัน
้ มาได้
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 10
ผู้ป่วยเป็ นคนโกรธง่าย หายเร็ว เวลามีคนมาแหย่ มักจะหงุดหงิด และโมโห
ง่าย

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 9


แบบแผนที่ 11 คุณค่าความเชื่อและค่านิยม
1. คุณค่าและสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
- สิ่งที่มีคุณค่า มีความสำคัญในชีวิต และสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ความรู้สึกที่
เปลี่ยนไปเกี่ยวกับคุณค่าของชีวิต เป้ าหมาย:
ผู้ป่วยนับถือศาสนาพุทธ บวชตอนอายุ 25 ปี ตื่นเช้าถ้าว่างมักไปตักทำบุญ
ตักบาตร ชอบทำบุญทำทาน ชอบอ่านหนังสือพุทธประวัติ และคำสอนที่บ้านก็
จะมีพระเครื่องเก็บไว้บนหัวนอน ตอนอยู่บ้านไม่ได้สวดมนต์แต่ซ้ือพวงมาลัยมา
ถวายพระตอนวันพระ ผู้ป่วยอยากตอนแทนบุญคุณบิดามารดา
2. ความเชื่อด้านสุขภาพ
- ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง ความเชื่อเกี่ยวกับโรค: ปฎิเสธ
- ความต้องการด้านจิตวิญญาณที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ: มีชีวิตที่ดี มี
ครอบครัวอบอุ่นและมีความสุข
- ความขัดแย้งระหว่างความเชื่อเกี่ยวกับโรค: ปฏิเสธ
สรุปข้อมูลปั ญหาที่พบจากแบบแผนที่ 11
ไม่พบปั ญหาในแบบแผนนี ้

การประเมินภาวะสุขภาพตามกรอบแนวคิด แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน กลุ่มที่ 1 10

You might also like