You are on page 1of 32

วิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 1

แผนการพยาบาลมารดาและทารก ฉบับสมบูรณ์

ชื่อนักศึกษา นางสาว รมิตา โพธิ์ทอง เลขที่ 89 ชั้นปี 3


วันที่รับผู้ป่วยไว้ในความดูแล 7 มิ.ย. 64 หอผู้ป่วย - เตียง -
การประเมินสภาพผู้ป่วย
1.ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยอายุ 24 ปี G3P1A1L1 อายุครรภ์ 38 สัปดาห์ by date เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส คู่ อาชีพ พนังงานฝึกงานบริษัทเอกชน
รายได้ครอบครัว 23,000 บาท/เดือน
การวินิจฉัยโรคแรกรับ G3P1A1L1 GA 38 wk. with labor pain
การวินิจฉัยโรคปัจจุบัน G3P1A1L1 with Normal labor with RML episiotomy
ชนิดการคลอด Normal labour ข้อบ่งชี้ -
2.ประวัติการเจ็บป่วย
2.1 อาการสาคัญ เจ็บครรภ์คลอดพร้อมกับมีมูกเลือดก่อนมาโรงพยาบาล 4 ชั่วโมง
2.2 ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน เจ็บครรภ์พร้อมกับมีมูกเลือดก่อนมาโรงพยาบาล 4 ชั่วโมง ไม่มีน้าเดิน เจ็บครรภ์ถี่
สม่าเสมอ ไม่มีอาการตาพร่ามัว น้าหนัก 60 kgs. ส่วนสูง 155 cms. V/S T 37.0 องศาเซลเซียส P 80 ครั้งต่อนาที
RR 20 ครั้งต่อนาที BP 110/ 60 mmHg
2.3 ประวัติการเจ็บป่วยของครอบครัว มารดาเป็นเบาหวาน
2.4 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ปฏิเสธการเจ็บป่วยในอดีต อุบัติเหตุ การแพ้ยา และแพ้อาหาร
3.ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
3.1 ประวัติการวางแผนครอบครัว คุมกาเนิดด้วยการรับประทานยาคุมกาเนิดมาตลอดตั้งแต่อยู่กบั สามี
3.2 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต

ข้อมูลทารกแรกเกิด
วัน เดือน ปี ชนิดการคลอด ข้อบ่งชี้
น้้าหนักแรกเกิด ภาวะสุขภาพ
2562 G1 abortion GA 13 wk ขูดมดลูก - -
2563 G2 Normal labour 4000 แข็งแรงดี
2563 G3 มีประวัติกินยาขับเลือด GA 12 wk

3.3 ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
- ประวัติประจาเดือน การคาดคะเนอายุครรภ์ และการคะเนกาหนดคลอด
(ระบุ ข้อมูลประจาเดือน LMP EDC)
LMP : 14 กันยายน 2563
EDC : 21 มิถุนายน 2564 by date
GA : 38 wks.
- ประวัติการได้รับภูมิคมุ้ กันโรค

BCN,Bangkok 1 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


ขณะตั้งครรภ์ได้รับวัคซีน TT 2 เข็ม
การฝากครรภ์ อาการเปลี่ยนแปลงขณะตั้งครรภ์และการรักษาที่ได้รับ -
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 1
Blood group A Rh Positive Hct 28% Hb 9.2 mg/dL DCIP Positive MCV 90.3 %
VDRL / RPR Non-reactive Anti-HIV Non-reactive HBsAg Negative HBeAg Negative
Urine albumin Negative Urine sugar Negative
อื่นๆ (ถ้ามี)......................................................................................................................................................................
ครั้งที่ 2 วันที่ 2
Hct 30.4% Hb 10.4 mg/dL VDRL / RPR Non-reactive HIV Non-reactive
Urine albumin Negative Urine sugar +1
อื่นๆ (ถ้ามี)......................................................................................................................................................................

การตรวจพิเศษอื่นๆ และการแปลผล การ


ชื่อยา/ขนาด/วิธีการให้/เวลา กลุ่มยา /สรรพคุณ/ อาการข้างเคียง
1. Syntocinon 10 ml nits IV drip start 3 ml/hr กลุ่มยา Nonpeptide hormone
และเพิม่ จ้านวนทุก 3 ml/hr จน uterine สรรพคุณ กระตุ้นการคลอดหรือเพิ่มการบีบตัวของมดู
ลูกในระหว่างการคลอดบุตร รวมทั้งใช้รกั ษาอาการตก
เลือดหลังคลอด
อาการข้างเคียง ผิวหนังบริเวณที่ฉีดยาแดงหรือระคาย
เคือง คลื่นไส้อาเจียน มีอาการปวดบีบที่ท้อง
มดลูกบีบตัวรุนแรงและบ่อยครั้งขึ้น

2. Pethidine 50 mg IM กลุ่มยา Opioid analgesics


สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเฉียบพลันระดับปานกลาง
ถึงรุนแรง ( pain score ระดับปานกลาง 4-6 ระดับ
รุนแรง 7-10)
อาการข้างเคียง
1. ระบบหัวใจและหลอดเลือด : หัวใจเต้นช้าหรือเร็วกว่า
ปกติความดันโลหิตต่า
2. ระบบประสาทส่วนกลาง : ใจสั่น มึนงงสับสน เพ้อคลั่ง
3. ระบบผิวหนัง: คัน ผื่น
4. ระบบทางเดินอาหาร : คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ปากแห้ง
5. ระบบสืบพันธุ์ : ปัสสาวะคั่ง
6. ระบบกล้ามเนื้อ : สั่น กล้ามเนือ้ อ่อนแรง
7. ระบบหายใจ : หายใจลาบาก กดการหายใจ

BCN,Bangkok 2 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


การประเมินสภาพมารดาทารกในระยะหลังคลอด (ในกรณีผู้รับบริการเป็นมารดาหลังคลอด)
1. การประเมินสภาพและการพยาบาลมารดาแรกรับ (13B)
Background
มารดาหลังคลอด 24 ปี อาชีพพนังงานฝึกงานบริษัทเอกชน สภานภาพคู่ คลอด Normal labor น้าหนักทารก
แรกเกิด 4000 กรัม ปริมาณเสียเลือด 400 cc
Belief
ไม่มีความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดและการเจ็บป่วย
Body condition
มารดาหลังคลอด รูส้ ึกอ่อนเพลียมาก ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่มีไข้ บ่นปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ perineum บวม
ใส ไม่มีเลือดซึม
Body temperature and Blood pressure
หลังคลอดวันที่ 7 มิ..ย. 2564 เวลา 15.30 น.
17.10 น. T 37.4 องศาเซลเซียส P 92 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 124/ 65 mmHs
17.25 น. P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 118/ 60 mmHg
17.40 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 114/ 65 mmHg
17.55 น. P 84 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
18.25 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 124/ 65 mmHg
18.55 น. P 78 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 118/ 65 mmHg
Breast and Lactation -
Belly and uterus
มดลูกหดรัดตัวดี ระดับยอดมดลูกอยู่บริเวณสะดือเล็กน้อย
Bladder -
Bleeding and Lochia
หลังคลอด 24 ชั่วโมงแรก มี Bleeding per vagina ผ้าอนามัย 1 ผืน 50 cc
Bottom
ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDAP :
R : Redness ไม่มีอาการบวมแดงบริเวณแผลฝีเย็บ
E : Edema ไม่มีอาการบวมบริเวณแผลฝีเย็บ
E : Ecchymosis ไม่มีอาการช้าเลือด
D : Discharge ไม่มี discharge ซึม
A : Approximate ขอบแผลชิดติดกัน
P : Pain มีอาการปวดบริเวณแผลฝีเย็บ
Bowel movement -
Blues -
Bonding and attachment
ทารกเพศชาย ทารกคลอดมีชีวิต วันที่ 7 มิถุนายน 2564 เวลา 15.30 น. Normal delivery น้าหนัก 4000
กรัม T 36.8 องศาเซลเซียส HR 122 bpm RR 48 bpm ไม่มีสายสะดือพันคอ APGAR Score 1 นาที = 6, 5 นาที =10
และ 10 นาที =10

BCN,Bangkok 3 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


BCN,Bangkok 4 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57
พยาธิสรีรวิทยา (สรุปเป็นผังความคิด)
กระตุ้น Pressure receptor
ผู้คลอด อายุ 24 ปี ส่วนนาของทารกเคลื่อนต่ากด อายุครรภ์ 38 wks.
G3P1A0L1 GA 38 wks ต่อมหมวกไตทารก บริเวณมดลูกส่วนล่าง
ซักประวัติ
EDC by date 21 มิ.ย.64
หลั่งสารกระตุ้นชั้นรก
ได้รับ TT 2 เข็ม
Posterior pituitary gland
โรคประจาตัว Thalassemia
Anterior pituitary gland Prostaglandin
หรือ ATCH Vital signs T 37.0 องศาเซลเซียส
หลั่ง Oxytocin ตรวจร่างกาย P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที
BP 110/ 60 mmHg.
Estrogen Alpha-receptor
Progesterone
ตรวจ Albumin/ sugar negative
ไม่มีอาการปวดศีรษะตาพร่ามัว
ขาไม่บวม ไม่กดบุ๋ม
Beta-receptor มดลูกหดรัดตัว
Uterine contraction ตรวจครรภ์
อาการแรกรับ : วันที่ 7 มิถุนายน 64
เวลา 0800 น. แรกรับผู้คลอด เจ็บ
มดลูกส่วนล่างถูกดึงรั้ง Retraction ครรภ์ Interval 5' Duration 35"
S+1
เจ็บครรภ์คลอด รับใหม่ 08.00 น.
Admit 7 มิ.ย. 64
Cervical dilatation ตรวจครรภ์ High of Fundus ได้ 3/4 > สะดือ
(08.00น.) ได้แผ่นเรียบด้านซ้ายมือค่อนมาด้านข้างลาตัวแม่
และ Effacement CC : เจ็บครรภ์ก่อนมา บริเวณหน้าท้องใต้ระดับสะดือเล็กน้อย ทารกอยู่
โรงพยาบาล 4 ชั่วโมง ตรวจภายในพบ Cervix dilated 2 ในท่า LOA ส่วนนาโยกไม่ได้
Interval 5’ Duration cm. Effacement 25% MI ตรวจภายใน
Engagement 35” station -1 S+1

กด Cervical ganglion

BCN,Bangkok 7 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


-จับ Contraction ทุก 1 hr Latent phase ระยะที่ 1 ใช้เวลา 8 ชม.
-ตรวจ PV ทุก 4 hr
เกิด Protraction of dilatation คือ มีการเปิดเพิ่มของปากมดลูกพียง 1 cm ใน
2 ชั่วโมง โดยปกติครรภ์หลังควรมีอัตราการเปิดของปากมดลูก 1.5 cm/hr
09.00 น. เจ็บครรภ์ห่างๆ Interval 5' Duration 35" S+1
แพทย์ให้ 5%D/N2 500 ml vein drip rate 120 cc/hr.
และNPO เจาะ Lab ตรวจ CBC group mate
มีภาวะขาดน้า
NPO 10.00 น. Interval 4'30" Duration 40" S+1 FHR 138 bpm
5%D/W 1000 ml + Syntocinon 10 units IV drip Cervix dilated 3 cm. Effacement 50% station 0
start 3 ml/hr และเพิ่มจานวนทุก 3 ml/hr มีการหดรักตัวของมดลูกไม่ดี พบ sagittal suture อยู่ในแนวขวาง ท่า LOT

1.ฟัง FSH ทุก 15-30 นาที เพื่อ


ประเมินความเสี่ยงจ่อการเกิด จับ contraction ทุก 15 นาที่ก่อนเพิ่ม เกิดการก้มของศีรษะทารก จนคางชิดอก
Fetal distress โดย on เครื่อง เฝ้าระวังภาวะ Fetal distress แพทย์ทา ARM พบน้าคร่า clear rate Syntocinon และ on EFM Flexion จาก OF เป็น SOF
EFM เนื่องจากการหดรัดตัวมดลูกไม่ดี
2.ประเมินการหดรัดตัวของ
มดลูกทุก 15 นาที
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีน้าเดิน 10.15 น. Interval 4'20" Duration 35" S+1 FHR 140 ครั้งต่อนาที
ปรับ 5%D/W 1000 ml +Syntocinon 10 units IV drip start 6 ml/hr

10.30 น. Interval 3'50" Duration 35"5 S+1 FHR 136 ครั้งต่อนาที


11.15 น. Interval 3' Duration 50" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที ปรับ 5%D/W 1000 ml +Syntocinon 10 units IV drip start 9 ml/hr
1. ดูแลและทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ผู้ ปรับ 5%D/W 1000 ml +Syntocinon 10 units IV drip start
คลอดทุกครั้งหลังถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ 18 ml/hr ผู้คลอดมีสีหน้าหน้านิ่วคิ้วขมวด 10.45 น. Interval 3'40" Duration 40" S+1 FHR 138 ครั้งต่อนาที
โดยการ Flushing เพื่อลดการอับชื้นเพื่อให้ผู้
ปรับ 5%D/W 1000 ml +Syntocinon 10 units IV drip start 12 ml/hr
คลอดเกิดความสุขสบาย
2. ดูแลอานวยความสุขสบายโดยการเปลี่ยน 11.30 น. Interval 3' Duration 55" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที
ผ้าอนามัยทุก 2 ชม.หรือเมื่อจาเป็น ด้านขวามือ ผู้คลอดมีสีหน้าหน้านิ่วคิ้วขมวด 11.00 น. Interval 3'20" Duration 45" S+1 FHR 132 ครั้งต่อนาที
3. ดูแลพักผ่อนบนเตียง ปรับ 5%D/W 1000 ml +Syntocinon 10 units IV drip start 15 ml/hr

BCN,Bangkok 8 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


Active phase ใช้เวลา 3 ชม. Cx.Dilated 4-7 cm

12.00 น. Inteval 3' Duration 55" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที ด้านซ้ายมือ มีก้อนนิ่มบริเวณเหนือ
Cervix dilated 5 cm.Effacement 80% MR-clear station 0 หัวหน่าวผู้คลอดมีสีหน้าหน้านิ่วคิ้วขมวด
sagittal suture อยู่ในแนวเฉียงขวา on พบ Early deceleration
1.จัดท่านอนให้สุขสบาย
2.เบี่ยงเบนความสนใจ
3.ลูบบริเวณหน้าท้อง - กระตุ้นผู้คลอดปัสสาวะทุก ๆ 2 ชั่วโมง
4.แนะนาการหายใจ Shallow chest 12.30 น. Interval 2'45" Duration 55" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที - Flushing vaginal
breathing : ทาใน Active phase หายใจเร็ว ผู้คลอดบ่นปวดท้อง
กว่าปกติ 2 เท่าประมาณ 40 ครั้ง/นาที คือ
การหายใจตื้น เบา 13.00 น.Interval 3' Duration 50" S+2 FHR 142 ครั้งต่อนาที
Cervix dilated 6 cm Effacement 100% station +1 sagittal suture พบ MR- mild meconium
อยู่ในแนว A-Pdiameter

13.30 น. Interval 2'30" Duration 55" S+2 FHR 138 ครั้งต่อนาที เสี่ยงต่อทารกภาวะ Fetal distress
ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP
120/ 65 mmHg

ผู้คลอดบ่นปวดท้อง 1.ฟัง FSH ทุก 15-30 นาที เพื่อประเมินความเสี่ยงจ่อการเกิด


13.45 น. 13.45 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที Fetal distress โดย on เครื่อง EFM
BP 120/ 60 mmHg 2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที
3. ดูแลงดการได้รับยา Off Syntocinon
13.00 น.แพทย์ให้ ฉีด Pethidine 4. ดูแลจัดท่านอนตะแคงซ้ายเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไป
50 mg IM เพื่อบรรเทาปวด เลี้ยงรกและช่วยนาออกซิเจนไปเลี้ยงทารก
14.00 น. Interval 2'20" Duration 50" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที 5. สอนและสาธิตเทคนิคการหายใจอย่างถูกวิธี คือ สูดหายใจเข้า
ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 78 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อ ช้าๆลึกทางจมูก และผ่อนลมหายใจออกทางปาก เพื่อให้ทารกได้รับ
นาที BP 120/ 60 mmHg ออกซิเจนอย่างเต็มที่

BCN,Bangkok 9 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


14.30 น. . Interval 2' 15" Duration 60" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที
Convention ป้องกันการสูญเสีย ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที
ความร้อนจากการพาความร้อน BP 120/ 60 mmHg
ปิดแอร์เมื่อเห็นศีรษะทารก

สูดลมหายใจเข้ากลั้น 15.00 น. Cervix fully dilated MR station +1 Interval 2'20"


เบ่งลงก้น คางชิดอก Duration 60" S+3 FHR 128 ครั้งต่อนาที

Transitional phase ผู้คลอดอยากถ่ายอุจจาระ ระยะที่ 2


มารดาเบ่งคลอดจนเกิด Head crown

ตัดฝีเย็บแบบ Right mediolateral episiotomy ฝีเย็บโป่งตึงใสมันวาว ใช้วิธี Modified ritgen’s maneuver

เมื่อศีรษะผ่านพ้นช่องคลอดจะเกิดการ หมุนศีรษะทารกทวนเข็มนาฬิกา 90
สะบัดกลับโดยตามเข็มนาฬิกา 90 องศา องศา เพื่อให้ไหล่อยู่ในแนว Transverse (External rotation) Check cord
ฉีด Syntocinon ไหล่แม่
(Restitution)

ช่วยคลอดไหล่บนโดยการโน้มศีรษะลงมา 45 องศา
หมุนศีรษะทารกตามเข็มนาฬิกา 90 จนเห็นซอกรักแร้บน
ทารกเงยศีรษะเมื่อส่วนหน้าผ่านทางช่องคลอด
(Extension) SOB SOF SOM ตามลาดับ องศาเพื่อเช็ดตาและ Suction ในปากและจมูก

ทาคลอดไหล่ล่างโดยโน้มศีรษะขึ้น 45 องศา
จนเห็นซอกรักแร้ล่าง

BCN,Bangkok 10 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


Clamp cord ตัวแรก (ที่มียางรัด ช่วยทาคลอดลาตัวและแขนขา (Expulsion)
cord) ห่างจากทารกประมาณ 3 cm.
ตัวอ่อนปวกปียก แพทย์พิจารณาให้
รูดสายสะดือไปทางมารดาและ Clamp ตัว Narcan 0.1 mg/Kg. และ PPV ทารกเพศชายคลอดเวลา 15.30 น.
ที่ 2 ห่างจากตัวแรกประมาณ 2-3 cm. (positive pressure ventilator) น้าหนัก 4000 กรัม

ตัดสายสะดือห่างจาก Clamp เช็ดสายสะดือด้วยน้ายา Povidone-iodine วางทารกหันหลังออกจากช่องคลอดแม่


ตัวแรกประมาณ 1 cm. จากโคนสะดือออกมาประมาณ 6 cms. Suction clear air way และเช็ดตัวทารก

ประเมินอาการของรกลอกตัว ประเมิน APGAR Score


1.Uterine sign : มดลูกกลมแข็งเอียงไปทางขวา
รัดสายสะดือด้วยยางที่อยู่บน Clamp ตัวแรก 2.Vulva sign : ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด
นาทีที่ 1 ได้ 6 คะแนน
3.Cord sign : Cord เหี่ยว เกลียวคลาย คลาชีพจรไม่พบ
ทารกร้องเบา หายใจไม่สม่าเสมอ ปลายมือ
ระยะที่ 3 ปลายเท้าซีด ยกแขนขาในแนวระนาบ
ปลด Clamp ออกและสังเกต Bleed ที่สายสะดือ
แสยะขณะดูดเสมหะ HR 100 ครั้ง/นาที
อุ้มทารกให้มารดาดูเพศและนาทารก Cord test นาทีที่ 5 ได้ 10 คะแนน
ไปวางไว้ได้ Radiant Warmer เพื่อ นาทีที่ 10 ได้ 10 คะแนน
ให้ทารกได้รับความอบอุ่น
โดยใช้มือกดบริเวณกระดูกหัวหน่าว พบ bladder full
เวลา 16.55น. รกคลอด พบว่าสายสะดือไม่เคลื่อนตาม

ตรวจรกน้าหนักรก 800 กรัม Total blood loss


ทาคลอดรกแบบ Modified crede 250 cc. สวนปัสสาวะชั่วคราว
สายสะดือเกาะแบบ Central insertion maneuver
ไม่พบ True knot และ False knot ระยะที่ 4

BCN,Bangkok 11 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


ส่งเสริม Bonding & Attachment on IV 1,000 ml + Syntocinon 20 units rate 120 mUhr
1.การสัมผัส (Touch)
2.การประสานตา (Eye to eye contact) มารดาหลังคลอดอ่อนเพลียมาก
3.การใช้เสียงแหลมสูง (Highpitched voice) 1. เช็ดหน้าและร่างกายให้ผู้คลอดด้วยผ้าชุบน้าบิดให้หมาดๆเพื่อให้ผู้
คลอดรู้สึกสบายขึ้น
4.การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด (Entrainment) 2.ดูแลให้ผู้คลอดได้ดื่มน้าเพื่อชดเชยน้าที่เสียไปกับการเบ่งคลอด
5.การให้เวลาและความมั่นคง (Time giver) 3.ดูแลให้ผู้คลอดรับประทานอาหารเพื่อให้ได้รับพลังงานทดแทนจาก
6.การรับกลิ่น (Oder) มารดา เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด 2 ชั่วโมง พลังงานที่เสียไป
7.การให้ความอบอุ่น (Heat) 4.ดูแลให้ผู้คลอดนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอเพื่อลดการใช้พลังงาน
8.การให้ภูมิคุ้มกันทางน้านม (T and B lymphocyte) 5.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ

มีเลือดออกจากโพรงมดลูก เปื้อน pad 1 ผืน


1. ประเมิน vital Sign ตาม Routine Post-op
การประเมินสภาพมารดา 2. สังเกต และประเมินอาการภาวะตกเลือดหลังคลอด
3 ประเมินสาเหตุของการตกเลือดโดยใช้หลัก 4 T
1) Tone ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก มดลูกแข็งหดรัดตัวดี ระดับมดลูก 5 นิ้ว > SP
17.10 น. T 37.4 องศาเซลเซียส P 92 ครั้งต่อ 2) Trauma ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDAP
- Redness ประเมินแผลฝีเย็บว่าแดงหรือไม่
นาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 124/ 65 mmHs
- Edema ประเมินแผลฝีเย็บว่าบวมหรือไม่
17.25 น. P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที - Echymosis ไม่มีข้อมูลประเมินแผลฝีเย็บมีช้าเลือดหนองหรือไม่
BP 118/ 60 mmHg - Discharge ประเมินแผลฝีเย็บมีสารคัดหลั่งหรือไม่
17.40 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที - Approximation ประเมินแผลฝีเย็บขอบแผลสนิทเรียบติดกันหรือไม่
BP 114/ 65 mmHg - Pain ประเมินความเจ็บปวดโดยใช้ Pain scale
17.55 น. P 84 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที 3)Tissue ประเมินเศษรกค้าง , Active Bleeding โดยสังเกตเลือดออก 1.ประเมินอาการปวดสังเกตแผลฝีเย็บว่าบวมแดงหรือไม่
บริเวณมดลูกจากผ้าอนามัยไม่ควรเกิน 100 ซีซีต่อชั่วโมง 2. แนะนาให้มารดานอนให้ท่าที่สุขสบายบรรเทาอาการเจ็บปวด ให้นั่ง
BP 120/ 60 mmHg
4)Thrombin ติดตามผลแลป การแข็งตัวของเลือด หรือนอนตะแคงซ้ายหรือนอนคว่าใช้หมองรองบริเวณท้องน้อยจะช่วย
18.25 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที ให้ขับน้าคาวปลาออกได้สะดวกช่วยลดอาการปวดมดลูก
BP 124/ 65 mmHg 3. แนะนาให้ทาท่าบริหารบริเวณอุ้งเชิงกราน Kegel exercise
18.55 น. P 78 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของอุ้งเชิงกรานกระตุ้นการไหลเวียนเลือด
BP 118/ 65 mmHg 4. เบี่ยงเบนความสนใจจากอาการปวดแนะนาวิธีผ่อนคลาย เช่น การ
มารดาไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ ลูบหน้าท้องเวลาปวดตามทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control
ปวดมดลูกและแผล perineum มาก Pain score 6 คะแนน theory) หรือแนะนาให้พูดคุยกับสามีหรือญาติและการฟังเพลง

BCN,Bangkok 12 – 14 Nu.1424-FM-03 issue 1 17/11/57


อาการปัจจุบัน วันที่ 7 มิถุนายน 2564
มารดาหลังคลอด
มารดาหลังคลอดเหนื่อยอ่อนเพลียมาก on IV 1,000 ml + Syntocinon 20units rate 120 mUhr
มดลูกแข็งหดรัดตัวดี ระดับมดลูก 5 นิ้ว > SP แผล perineum บวมใส ไม่มี hematoma ไม่มี bleeding ซึมจากแผลผี
เย็บ มีเลือดออกจากโพรงมดลูก เปื้อน pad 1 ผืน Vital signs
ปวดมดลูกและแผล perineum มาก Pain score 6 คะแนน
17.10 น. T 37.4 องศาเซลเซียส P 92 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 124/ 65 mmHs
17.25 น. P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 118/ 60 mmHg
17.40 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 114/ 65 mmHg
17.55 น. P 84 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
18.25 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 124/ 65 mmHg
18.55 น. P 78 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 118/ 65 mmHg
ทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดตัวแดงดี หน้าไม่แฉะ สะดือไม่มี bleeding T 36.8 องศาเซลเซียส P 122 ครั้งต่อ
นาที RR 48 ครั้งต่อนาที ยังไม่ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ

สรุปข้อวินิจฉัยการพยาบาลเรียงล้าดับความส้าคัญ
ระยะที่ 1 ของการคลอด
1. เตรียมความรู้และความพร้อมของผู้คลอดเพื่อเข้าสูร่ ะยะที่ 1 ของการคลอด
2. เสี่ยงต่อการคลอดล่าช้าในระยะที่หนึง่ ของการคลอด (Prolonged first stage of labor)
เนื่องจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
3. เฝ้าระวังการติดเชื้อในโพรงมดลูกและทารกในครรภ์เนื่องจากมีน้าเดินจากการเจาะถุงน้าคร่า
4. ไม่สุขสบายเนื่องจากมีน้าเดินจากการเจาะถุงน้าคร่า
5. เสี่ยงทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจน (Fetal distress)
6. ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอด
1. ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดในระยะที่ 2 ดาเนินไปอย่างเหมาะสม
2. ทารกมีภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอดและหลอดเลือดลดลง (Birth asphyxia)
ระยะที่ 3 ของการคลอด
1. ส่งเสริมการคลอดในระยะที่ 3 ให้ดาเนินไปตามปกติ
ระยะที่ 4 ของการคลอด
1. มีอาการอ่อนเพลียเนื่องจากสูญเสียพลังงานในการคลอด
2. มารดาไม่สุขสบายเนือ่ งจากมีอาการปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ
3. เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด 2 ชั่วโมง
4. ส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด

BCN,Bangkok 13 – 16 Nu.1424-
FM-04 issue 1 17/11/57
การวางแผนการพยาบาล
วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
ระยะที่ 1 ของการคลอด เพื่อให้ผู้คลอดมีความรู้และ 1. แนะนาตัวและสร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีเป็นมิตร สีหน้ายิ้มแย้ม ผู้คลอดมีความรู้และการปฏิบัติตัว
1. เตรียมความรู้และความพร้อม ความพร้อมสาหรับการคลอด เพื่อสร้างความไว้วางใจแก่ผู้คลอด สาหรับการคลอดได้ถูกต้อง
ของผู้คลอดเพื่อเข้าสูร่ ะยะที่ 1 2. สอบถามถึงสมุดฝากครรภ์ เพื่อดูข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
ของการคลอด ได้แก่ อายุครรภ์ ประวัติการตัง้ ครรภ์ และผลตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล 3. ประเมินความรู้และความคาดหวังเกี่ยวกับการคลอดของ
S : ผู้คลอดบอกว่า“เจ็บครรภ์กบั -ผู้คลอดมีความรู้และการปฏิบัติ ผู้คลอด รวมถึงสังเกตท่าที การแสดงออก และความกลัว
มีมูกเลือดก่อนมาโรงพยาบาล” ตัวสาหรับการคลอดได้อย่าง เพื่อเป็นแนวทางในการให้การพยาบาลทีเ่ หมาะสม
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 ถูกต้อง 4. ดูแลให้ผู้คลอดชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง รวมทัง้ สอบถามน้าหนักก่อน
GA 38 wks. by date ตั้งครรภ์เพื่อประเมิน Body weight gain
O : ตรวจร่างกายแรกรับพบ 6. ประเมินสภาพผู้คลอดและทารกในครรภ์โดย
Interval 5’ Duration 35” S+1 การตรวจร่างกาย ดังนี้
FHR 120 ครั้งต่อนาที Eff 25% - ตรวจร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
Ml station -1 Cervix dilated - วัดสัญญาณชีพ
2 cm. - ฟัง fetal heart sound
- วัดระดับยอดมดลูกด้วยวิธี Leopold’s maneuver
ท่าที่ 1 Fundal grip : ตรวจหาระดับยอดมดลูก
ท่าที่ 2 Umbilical grip : ตรวจหาแผ่นหลังของทารกเพื่อฟัง FSH
ท่าที่ 3 Pawlik grip : ตรวจหาส่วนนาและ Attitude ของรก
ท่าที่ 4 Bilateral inguinal grip : ตรวจหาส่วนนาของทารกและดู
ว่าส่วนนามีการ Engagement หรือไม่
7. ดูแลให้เซ็นใบยินยอมการรักษาและเปลี่ยนเสื้อผ้า ถอดชุดชั้นใน
เก็บเครื่องประดับของมีค่าฝากไว้ที่ญาติให้เรียบร้อย

BCN,Bangkok 14 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


8. แนะนาสถานที่ในห้องคลอดและอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนในการให้
การพยาบาล เพื่อให้ผู้คลอดเกิดความดันเคยกับสถานที่และเข้าใจใน
แนวทางการรักษา
9. ให้ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการคลอดเพื่อให้ผู้คลอดปฏิบัตติ ัวได้
อย่างเหมาะสม
10. แจ้งแผนการรักษาให้ผู้คลอดเป็นระยะ เพื่อคลายความวิตก
กังวลของผู้คลอด

BCN,Bangkok 15 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
2. เสี่ยงต่อการคลอดล่าช้าใน เพื่อป้องกันการเกิดการคลอด 1. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อดูโอกาสในคลอด โดย -มดลูกหดรัดตัวตามระยะการคลอด
ระยะทีห่ นึ่งของการคลอด ล่าช้าและส่งเสริมการคลอดให้ ระยะ Latent phase ประเมินทุก 1 ชั่วโมง ค่าปกติ Interval 5- 10.15 น. Interval 4'20"
(Prolonged first stage of เป็นไปตามระยะของการคลอด 10’ Duration 20-40” Duration 35"
labor) เนื่องจากการหดรัดตัว ระยะ Active phase ประเมินทุก 30 ชั่วโมง ค่าปกติ Interval 3-5’ 10.30 น. Interval 3'50 "
ของมดลูกไม่ดี Duration 40-60” หากไม่ได้อยู่ในช่วง Interval 2-3’ Duration Duration 35"
40-60” รีบรายงานแพทย์ทราบ 10.45 น. Interval 3'40"
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล 2. ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษาของ Duration 40"
O : 8:00 น. Cx. Dilated 2 cm -มดลูกหดรัดตัวอยู่ในเกณฑ์ แพทย์เพื่อเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูกและลดโอกาสการคลอดล่าช้า 11.00 น. Interval 3'20 "
Eff 25 % MI station -1 ปกติตามระยะของการคลอด คือ 5%D/W 1000 ml + Syntocinon 10 units IV drip start 3 Duration 45"
Interval 5’ Duration 35” S+1 -กราฟ Partograph อยู่เหนือ ml/hr และเพิ่มจานวนทุก 3 ml/hr โดยประเมิน contraction ทุก 11.15 น. Interval 3'
FHR 120 bpm เส้น Alert line 15 นาทีก่อนเพิ่ม rate Syntocinon และ on EFM Duration 50"
10:00 น. Cx. Dilated 3 cm สังเกตผลข้างเคียงของยา oxytocin ได้แก่ ผลต่อระบบไหลเวียน 11.30 น. Interval 3'
Eff 50 % MR clear station 0 ความดันโลหิตต่า คลื่นไส้อาเจียน ใบหน้าแดง Duration 55"
Interval 4’30” Duration 40” 3. อธิบายถึงภาวะที่เกิดขึ้นและแผนการรักษาให้ผู้คลอดเข้าใจเพื่อ 12:00 น. Interval 3’
S+1 FHR 138 bpm ลดความวิตกกังวล และความเครียด เนื่องจากความเครียดจะ Duration 55”
O : High of fundus ¾ >ระดับ กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง cathecolamine , cortisol และ -กราฟ Partograph อยู่เหนือเส้น
สะดือ วัดยอดมดลูกสูง 40 cm. adrenaline ซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกทางานลดลง และทาให้เกิด Alert line
(ประเมินทารกใน 4000 g ) การคลอดล่าช้า
O : 12.00 น. คลาพบก้อนนิ่ม 4. ดูแลกระตุ้นให้ผู้คลอดปัสสาวะ เพือ่ ไม่ให้ Bladder full หากเกิด
บริเวณเหนือหัวหน่าว จะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกทาให้เกิดการคลอดล่าช้าได้
5. ดูแลจัดท่านอนให้ผู้คลอดในท่า semi-fowler’s position
เพื่อส่งเสริมให้ส่วนนาเคลือ่ นเข้าสู่ช่องเชิงกรานได้ดี

BCN,Bangkok 16 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
3. เฝ้าระวังการติดเชื้อในโพรง เพื่อป้องกันการติดเชื้อในโพรง 1. อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจสภาวะของโรคและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง -ไม่เกิดอาการและอาการแสดงของ
มดลูกและทารกในครรภ์ มดลูกในระยะที่ 1 ของการ เพื่อขอความร่วมมือจากผู้คลอดและให้การรักษาเป็นไปตามแผนการ การติดเชื้อไม่มีไข้
เนื่องจากมีน้าเดินจากการเจาะ คลอด รักษาของแพทย์ T 36.8 องศาเซลเซียส
ถุงน้าคร่า 2. ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ลุกเดินโดยไม่จาเป็น เพื่อลด Pulse 82 bpm
การไหลของน้าคร่า FHS 138 bpm
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล 3. สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิและ -น้าคร่ามีลักษณะใส ไม่มกี ลิ่นเหม็น
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 -ไม่เกิดอาการและอาการแสดง ชีพจร ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังติดตามอาการติดเชื้อ
GA 38 wks. by date ของการติดเชื้อ ได้แก่ 4. บันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 2-4 ชั่วโมง หากพบว่ามี
O : แพทย์ ทา ARM (Artificial มีไข้ T > 38 องศาเซลเซียส อัตราเร็วกว่าปกติคือ > 160 bpm. อาจเกิดการติดเชื้อให้รบี
rupture of membrane) พบ กดเจ็บที่มดลูก รายงานแพทย์
น้าคร่า clear -Pulse ผู้คลอด อยู่ระหว่าง 5. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก หากมีความผิดปกติ เช่น มีการ
O : ตรวจร่างกายแรกรับพบ 60-100 bpm หดรัดตัวที่แรงและถีม่ ากเกินไป Interval < 2’ Duration > 60”
Interval 5’ Duration 35” S+1 -FHS อยู่ระหว่าง 110-160 อาจเกิดการติดเชื้อให้รบี รายงานแพทย์
FHR 120 ครั้งต่อนาที Eff 25% bpm 6. ดูแลให้ผู้คลอดใส่ผ้าอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากภายนอก
Ml station -1 Cervix dilated -น้าคร่ามีลักษณะใส ไม่มกี ลิ่น และประเมินน้าคร่า
2 cm. เหม็น 7. บันทึกลักษณะ สี กลิ่นและจานวนน้าคร่าที่ออกมาเพื่อประเมิน
ความรุนแรงจากของการติดเชื้อ
8. ดูแลทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และเปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่
เปียกชุ่ม
9. หลีกเลี่ยงการตรวจภายในโดยไม่จาเป็น เพือ่ ลดโอกาสติดเชื้อ
หากจาเป็นต้องตรวจภายในควรยึดหนักปราศจากเชื้ออย่างเคร่งครัด

BCN,Bangkok 17 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
4. ไม่สุขสบายเนื่องจากมีน้าเดิน เพื่อให้ผู้คลอดเกิดความสุข 1. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะถุงน้าคร่าแตกเพื่อให้ - ผู้คลอดมีสหี น้าสดชื่น
จากการเจาะถุงน้าคร่า สบายเมื่อมีน้าเดิน การพยาบาลอย่างเหมาะสม - อวัยวะเพศสะอาดไม่อับชื้น
2. ดูแลและทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ผู้คลอดทุกครัง้ หลังถ่าย
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล ปัสสาวะและอุจจาระโดยการเช็ดทาความสะอาดเพื่อลดการอับชื้น
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 -ผู้คลอดมีสีหน้าสดชื่น เพื่อให้ผู้คลอดเกิดความสุขสบายและลดการสะสมของเชื้อโรค
GA 38 wks. by date -อวัยวะเพศสะอาดไม่อับชื้น 3. ดูแลอานวยความสุขสบายโดยการเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2 ชม.
O : แพทย์ ทา ARM (Artificial หรือเมื่อจาเป็น
rupture of membrane) พบ 4. หลีกเลียงหรืองดการตรวจทางช่องคลอดถ้าจาเป็นต้องตรวจทาง
น้าคร่า clear ช่องคลอดให้ตรวจด้วยด้วยเทคนิคสะอาดปราศจากเชื้อโรคมากที่สุด
O : ตรวจร่างกายแรกรับพบ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
Interval 5’ Duration 35” S+1 5. ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ลุกเดินโดยไม่จาเป็น เพื่อลด
FHR 120 ครั้งต่อนาที Eff 25% การไหลของน้าคร่า
Ml station -1 Cervix
dilated 2 cm.

BCN,Bangkok 18 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
5.เสี่ยงทารกในครรภ์เกิดภาวะ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะทารก 1.ฟัง FSH ทุก 15-30 นาที เพื่อประเมินความเสี่ยงจ่อการเกิด Fetal - FSH 142 bpm.
ขาดออกซิเจน (Fetal distress) ขาดออกซิเจน distress โดย on เครื่อง EFM (Electronic Fetal Monitorimg ) - มดลูกหดรัดตัวในช่วง
(Fetal distress) หากพบว่า < 110 bpm. หรือ > 160 bpm. รีบรายงานแพทย์ Interval 3’Duration50”
2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที หากพบInterval < 2
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล นาที Duration > 60 วินาที มีการหดรัดตัวที่ถี่หรือแรงมากเกินไป
O : ผู้คลอดมีสหี น้านิ่วคิ้วขมวด - FSH อยู่ระหว่าง 110-160 อาจส่งผลให้เกิดภาวะ Utero Placental Insufficiency (UPI)
O : ตรวจภายใน 13.00 น. พบ bpm. เลือดไปเลีย้ งทารกได้ไม่ดี ส่งผลให้เกิดทารกขาดออกซิเจนได้
Cx.dilated 6 cm. Eff 100% - มดลูกหดรัดตัวในช่วง 3. ดูแลงดการได้รบั ยา Off Syntocinon
MR mild meconium Interval 2’-3’ 4. อธิบายให้ผู้คลอดทราบและเข้าใจถึงภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ
station -1 Duration 10”-60” ขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์
O : 13.00 น. Interval 3’ 5. ดูแลจัดท่านอนตะแคงซ้ายเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยง
Duration 50” S+2 รกและช่วยนาออกซิเจนไปเลี้ยงทารก
6. สอนและสาธิตเทคนิคการหายใจอย่างถูกวิธี คือ สูดหายใจเข้า
ช้าๆลึกทางจมูก และผ่อนลมหายใจออกทางปาก เพื่อให้ทารกได้รับ
ออกซิเจนอย่างเต็มที่

BCN,Bangkok 19 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
6.ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์ เพื่อให้ผู้คลอดสามารถเผชิญ 1.ประเมินความเจ็บปวดด้วย numeric rating scale เพื่อให้การ - ผู้คลอดเผชิญกับความเจ็บปวดได้
คลอด ความเจ็บปวดในระยะคลอดได้ พยาบาลได้อย่างเหมาะสม คือ อย่างเหมาะสม
อย่างเหมาะสม - ปวดในระดับน้อย (mild pain : pain score 1-3) ไม่ร้องเอะอะ โวยวาย
- ปวดในระดับปานกลาง (moderate pain : pain score 4-6) - ผู้คลอดให้ความร่วมมือในการ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล - ปวดในระดับรุนแรง (severe pain : pain score 7-10) รักษาพยาบาล
O : ผู้คลอดให้ประวัติเจ็บครรภ์ -ขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัว 2. ทฤษฎีของ Dick read อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงสาเหตุของการ - ผู้คลอดสามารถบรรเทาความเจ็บ
ก่อนมาโรงพยาบาล สามารถเผชิญกับความเจ็บปวด เจ็บครรภ์ ว่าเป็นกลไกปกติทจี่ ะเกิดขึ้นในระยะคลอดเกิดจากการหด ได้ด้วยตัวเองอย่างเหมาะสม
4 ชั่วโมง 08.00 น. ได้อย่างเหมาะสม รัดตัวของมดลูกและการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนต่างๆในร่างกาย
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 ไม่ร้องเอะอะ โวยวาย เพื่อให้ผู้คลอดคลายความกังวลและตัดวงจร Fear-tension-pain
GA 38 wks. by date -ผู้คลอดให้ความร่วมมือในการ 3. ทฤษฎีของ Gate control theory แนะนาให้ผู้คลอดลูบหน้าท้อง
O : ผู้คลอดบ่นปวดท้องมาก รักษาพยาบาล เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกหรือเมือ่ รูส้ ึกปวด โดยวางมือทั้ง 2 ข้าง
13.00 น. -ผู้คลอดสามารถบรรเทาความ เหนือหัวหน่าว ลูบออกด้านข้างไล่ขึ้นมาขนถึงระดับยอดมดลูกแล้ว
O : ตรวจภายใน 13.00 น. พบ เจ็บได้ด้วยตัวเองอย่าง วนมือเข้าด้านในกลางหน้าท้องไล่ลงมาจนถึงหัวหน่าวโดยให้ลูบวน
Cx.dilated 6 cm. Eff 100% เหมาะสม ซ้าไปเรื่อยๆและขณะลูบให้สัมพันธ์กบั การหายใจโดยลูบหน้าท้อง
MR mild meconium ประมาณ 10 ครั้ง ต่อการหดรัดตัวของมดลูก 1 ครั้ง หรือถ้าหากผู้
station -1 คลอดมีการเปิดเส้นให้สารน้าทางหลอดเลือดดาอยู่ สามารถลูบโดย
ใช้มือข้างที่ไม่มี IV ลูบเป็นวงกลมบริเวณหน้าท้อง
4. ทฤษฎีของ Lamaze แนะนาเทคนิคการหายใจ เพือ่ บรรเทา
อาการปวดเมื่อมดลูกมีการหดรัดตัว โดยแนะนา
- การหายใจล้างปอด (Cleansing breathing) หายใจเข้าช้าลึกทาง
จมูกและหายใจออกทางปากยาวๆ จะเริ่มทุกครัง้ ก่อนที่จะเริม่ ใช้
เทคนิคหายใจดังต่อไปนี้

BCN,Bangkok 20 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


- Slow chest deep breathing : ทาใน Latent phase คือการ
หายใจเข้าทางจมูกช้าๆ ลึกๆ นับ 1-4 แล้วผ่อนลมออกทางปากช้าๆ
นับ 1-5 เป็นการหายใจช้ากว่าปกติ 2 เท่า
- Shallow chest breathing : ทาใน Active phase หายใจเร็ว
กว่าปกติ 2 เท่าประมาณ 40 ครั้ง/นาที คือการหายใจตื้น เบา
- Plant-blow breathing : ทาใน Transitional phase หรือ
หายใจแบบเป่าเทียน คือการหายใจแบบเร็วตื้นโดยหายใจเข้า-ออก
ตื้นๆ เร็วๆ 3-4 ครั้ง แล้วเป่าลมออกทางปาก 1 ครั้ง
- Breathing for pushing : ทาให้ระยะเบ่งคลอดโดยการหายใจเข้า
ทางจมูกให้ลึกทีส่ ุดกลั้นหายใจปิดปากแน่นก้มคางชิดอกเบ่งลงก้น
เบ่งนาน 6-8 วินาที แล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆ
5. ทฤษฎีของ Bradley แนะนาให้นอนในท่าทีส่ ุขสบายผ่อนคลายจัด
สิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบเหมาะสมแก่การพักผ่อนและให้สามีคอยให้
กาลังใจ เป็นการบรรเทาอาการปวดตาม
6. ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ petheidine 50
mg IM (เพื่อบรรเทาอาการปวด) และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
คือ ปวดศีรษะ ท้องผูก มีผื่นคัน ปัสสาวะลาบาก รูส้ ึกหน้าร้อนแดง
7. เปิดโอกาสให้ผู้คลอดซักถามข้อสงสัย สิ่งที่กังวลใจเพื่อลดสิ่ง
กระตุ้นความเครียดของผู้คลอดซึง่ จะทาให้เกิดความเจ็บปวดมากขึ้น

BCN,Bangkok 21 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
ระยะที่ 2 ของการคลอด เพื่อช่วยเหลือส่งเสริมให้ผู้คลอด
1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการคลอดและแผนการรักษา - ทารกคลอดใช้เวลา 30 นาที
1. ส่งเสริมความก้าวหน้าของการ และทารกปลอดภัยขณะคลอด ของแพทย์แนวทางการเบ่งที่ถกู วิธี เพื่อให้ผู้คลอดเข้าใจและให้ความ หลัง Fully dilated
คลอดในระยะที่ 2 ดาเนินไป ปกติ ร่วมมือในการดูแลรักษา - FHS อยู่ในช่วง 128 bpm.
อย่างเหมาะสม 2. เตรียมอุปกรณ์สถานที่และย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอดเพือ่ ให้พร้อม - การหดรัดตัวอยู่ในช่วง Interval
สาหรับการคลอด 2’20” Duration 60”
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน 3. เตรียมร่างกายผู้คลอดโดยดูแลทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และ - Apgar score มากกว่า 6 คะแนน
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 - ทารกคลอด ภายใน 15.30 น ฝีเย็บ (Flushing Perineum) ด้วยสาลีชุบ normal saline (กรณี - ขณะเบ่งส่วนนาต้องเคลื่อน
GA 38 wks. by date ครรภ์หลังใช้เวลาไม่เกิน 1 สวมใส่ชุด Sterilize แล้ว) ต่าลงมาเพิ่มขึ้น
O : Cervix fully dilated MR ชั่วโมงหลัง Fully dilated - สาลีก้อนที่ 1 : เช็ด mons pubis - ผู้คลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน
station +1 Interval 2’20” - FHS อยู่ในช่วง 110-160 - สาลีก้อนที่ 2 : เช็ดขาหนีบไกลตัว เช่น ตกเลือด
Duration 65” S+3 FHR 128 bpm. - สาลีก้อนที่ 3 : เช็ดขาหนีบใกล้ตัว - ผู้คลอดและทารกคลอดได้เองตาม
ครั้งต่อนาที - การหดรัดตัวอยู่ในช่วง - สาลีก้อนที่ 4 : เช็ด Labia majora และ Labia minora ไกลตัว ธรรมชาติ
O: ผู้คลอดอยากถ่ายอุจาระ Interval 2-3’ Duration - สาลีก้อนที่ 5 : เช็ด Labia majora และ Labia minora ใกล้ตัว
45-60’’ - สาลีก้อนที่ 6 : เช็ดแนว midline ตั้งแต่ clitoris จนถึง anus
- Apgar score มากกว่า 8 4. ดูแลจัดท่านอนให้ผู้คลอดนอนหงายแยกขาชันเข่า (Dorsal
คะแนน recumbent) เพื่อให้ทารกในครรภ์เคลื่อนต่าลงมาตามแรงโน้มถ่วง
- ขณะเบ่งส่วนนาต้องเคลื่อน ของโลกได้ง่ายและช่วยส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
ต่าลงมาเพิ่มขึ้น 5. ประเมิน FHS ของทารกในครรภ์ทุก 5 นาทีเพื่อตรวจสอบว่า
- ผู้คลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทารกมีภาวะพร่อง O2 หรือไม่
เช่นตกเลือด 6. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุกๆ ครั้งทีม่ ดลูกมีการหดรัดตัว
- ผู้คลอดและทารกคลอดได้เอง โดยใช้วิธีการคลาหน้าท้องวางมือเบาๆ บริเวณยอดมดลูก
ตามธรรมชาติ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
7. สอนวิธีการหายใจเพื่อเบ่งคลอด Breathing for pushing โดย
การหายใจเข้าทางจมูกให้ลึกทีส่ ุดกลั้นหายใจปิดปากแน่น ก้มคางชิด

BCN,Bangkok 22 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


อก เบ่งลงกัน เบ่งนาน 6-8 วินาทีแล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจออกทาง
ปากช้าๆ เพื่อป้องกันภาวะ Valsalva's maneuver และกระตุ้นให้ผู้
คลอดเบ่งขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัว และให้พักเมื่อมดลูกคลาย
ตัวการเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัวเป็นการเสริมแรงทาให้ส่วนนาทารก
เคลื่อนต่าได้ง่ายช่วยส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
8. ดูแลผู้คลอดให้สุขสบายขณะเบ่งคลอดใช้พลังงานมากเกิดการเผา
ผลาญเพิม่ ขึ้นทาให้รู้สึกร้อนและมีเหงื่อออกใช้ผ้าชุบน้าเช็ดใบหน้า
ลาคอขณะพักเพื่อให้ผู้คลอดรู้สกึ สบายตัวและสดชื่น
9. ดูแลตัดฝีเย็บแบบ mediolateral episiotomy โดยจะตัดเมื่อ
เห็นศีรษะของทารกโผล่ทางปากช่องคลอด 3-4 cm และฝีเย็บมี
ลักษณะตึงบางใสเป็นมันวาวเพื่อป้องกันการฉีดขาดของช่องทาง
คลอดและช่วยลดเวลาในการคลอดของระยะที่ 2
10. ดูแลประคองผีเย็บและช่วยทาคลอดศีรษะโดยวิธี modified
regent's maneuver ใช้มือข้างถนัดประคองและดับบริเวณฝีเย็บไว้
และมืออีกข้างหนึง่ กดเบาๆบริเวณท้ายทอยของศีรษะทารกให้ก้มลง
ทาให้ศีรษะทารกจะค่อยๆยืดถ่างขยายช่องคลอดและฝีเย็บออกมา
เป็นการป้องกันการฉีดขาดของช่องทางคลอด
11. เมื่อศีรษะทารกคลอดบอกให้ผู้คลอดหยุดเบ่งจากนั้นช่วยหมุน
ศีรษะทารกตามเข็มนาฬิกา 135 องศาจากท่า LOA เพื่อเช็ดตาและ
suction ในปากและจมูกจากนั้นหมุนทวนเข็มนาฬิกาขึ้นมา 90
องศาเพื่อให้ไหล่หน้าและไหล่หลังอยู่ในแนว AP diameter ของ
ช่องทางคลอดเพื่อทาคลอดไหล่และลาตัว
12. ก่อนทาคลอดสอดนิ้วมือไปบริเวณท้ายทอยของทารกเพือ่
ตรวจสอบว่ามีสายสะดือพันคอทารกอยู่หรือไม่ถ้าพัน 1 รอบหลวมๆ
ให้คล้องสายสะดือออกผ่านท้ายทอยจากนั้นทาคลอดไหล่และลาตัว
โดยใช้มือทั้ง 2 ข้างจับบริเวณขมับและค่อยๆโน้มศีรษะทารกลง 45

BCN,Bangkok 23 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


องศาเมื่อเห็นไหล่หน้าคลอดบอกให้ผู้ช่วยฉีด Oxytocin ให้กับผู้
คลอดจากนั้นโน้มศีรษะทารกขึ้นด้านบน 45 องศาแล้วค่อยๆช่วยทา
คลอด ลาตัวออกมาใช้มือประคองบริเวณท้ายทอยและลาตัวทารก
13. เมื่อทารกคลอดทั้งตัวจับทารกนอนตะแคงหน้าหันหลังให้กับ
perineum ของแม่รบี suction ในปากและจมูกเพื่อดูแลทางเดิน
หายใจให้โล่งจากนั้นเช็ดตัวทารกให้แห้งเพื่อป้องกันการสูญเสียความ
ร้อนและกระตุ้นให้ทารกร้องพร้อมทั้งประเมิน
APGAR SCORE ในนาทีที่ 1,5 และ 10 นาที หลังคลอด
เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารก
14. ทาการตัดสายสะดือโดย clamp cord ตัวที่ 1 ห่างจากทารก
2-3 cm แล้วรีดเลือดไปทางรกด้านแม่แล้ว clamp cord ตัวที่ 2
ห่างจากตัวแรก 2-3 cm ใช้สาลีชุบ povidine เช็ดบริเวณสายสะดือ
ที่จะตัดเพื่อป้องกันการติดเชื้อโดยจับสายสะดือและปลายกรรไกรให้
อยู่ในอุ้งมือ
15. อุ้มทารกให้ผู้คลอดดูเพศแล้วให้ผู้คลอดขานเพศออกมา จากนั้น
นาทารกให้ผู้คลอดกอดเพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างแม่และลูก
จากนั้นนาทารกไปทาความสะอาดร่างกายและชั่งน้าหนัก

BCN,Bangkok 24 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
2. ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน เพื่อให้ทารกปลอดภัยจากภาวะ 1. ประเมินภาวะขาดออกซิเจน สังเกตอาการและอาการแสดงของ - ทารกปลอดภัยจากภาวะขาด
เนื่องจากการแลกเปลี่ยนแก๊ส ขาดออกซิเจน ภาวะขาดออกซิเจนเพื่อให้การพยาบาลอย่างเหมาะสม ออกซิเจน
ระหว่างปอดและหลอดเลือด 2. ดูแลให้ 100% oxygen with bag PPV (positive pressure - Apgar score นาทีที่ 5 และ 10
ลดลง (Birth asphyxia) ventilator) ให้ความดันเพียงพอ ช่วยหายใจจนกว่า HR >100 ได้ 10 คะแนน
bpm ตามแผนการรักษาของแพทย์
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล 3. จัดท่านอนของทารกให้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนอย่าง
O : ทารกแรกเกิดตัวอ่อน -ทารกไม่มีอาการปลายมือ เหมาะสมและเต็มที่ โดยจัดท่านอนหงายแนวศีรษะตรงเงยหน้า
ปวกเปียก ปลายเท้าซีดเพิ่มขึ้น เล็กน้อยและใช้ผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวม้วนรองใต้ไหล่สงู ขึ้น 2-3 ซม
O : ประเมิน Apgar score -ชีพจรของทารก >100 bpm เพื่อให้ทางเดินหายใจตรงอากาศผ่านเข้าออกได้สะดวก
นาทีที่ 1 ได้ 6 คะแนน -ทารกร้องเสียงดัง 4. ดูแลให้ได้รับยา Narcan 0.1 mg/Kg. ได้รับ 0.4 ml ตาม
(Moderate asphyxia) -ทารกสามารถเคลื่อนไหวได้ดี แผนการรักษาของแพทย์เพื่อล้างฤทธิ์ยาแก้ปวดให้กบั ทารก
ทารกร้องเบา หายใจไม่สม่าเสมอ -อัตราการหายใจทารก 5. การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ อุณหภูมิ
ปลายมือปลายเท้าซีด ยกแขนขา สม่าเสมอ ร่างกาย 36.8-37.2 องศาเซลเซียส จัดให้ทารกนอนอยู่ในตูอ้ บ
แนวราบ แสยะยิ้มขณะดูดนม เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนจากผิวกายของทารก
6.บันทึกสัญญาณชีพการหายใจ และการเต้นของหัวใจทารกและ
ประเมิน Apgar score นาทีที่ 5 และ 10

BCN,Bangkok 25 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
ระยะที่ 3 ของการคลอด เพื่อทาการคลอดรกได้อย่าง 1. ดูแลสวนปัสสาวะให้กับผู้คลอดเนื่องจากพบมี full bladder - รกคลอดเวลา 16.55 น.
1.ส่งเสริมการคลอดในระยะที่ 3 ปลอดภัยไม่มรี ก ระดับยอดมดลูกอยู่เหนือระดับสะดือเล็กน้อย ใช้เวลา
ให้ดาเนินไปตามปกติ ตกค้าง 2. ประเมินการลอกตัวของรกด้วย 3 sign เพื่อทาการคลอดรก - มดลูกกลมแข็งดี
- cord sign : ดูว่ามี cord เหี่ยวเกลียวคลายคลาชีพจรไม่ได้ โดยใช้ - ไม่มีเศษรกและเยื่อหุม้ รกค้างใน
นิ้วชี้นิ้วกลางคลาชีพจร โพรงมดลูก
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล - vulva sign ดูว่ามีเลือดสีดาคล้าออกมาครั้งเดียว ประมาณ - Total estimated blood
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 - รกคลอดภายในเวลา 5-30 30-50 cc หรือไม่ Loss 400 cc
GA 38 wks. by date - มดลูกกลมแข็งดี - Uterine sign สังเกตหน้าท้องจะเห็นมดลูกกลมแข็งทีบ่ ริเวณหน้า
O : ทารกคลอด Normal labor - ไม่มีเศษรกและเยื่อหุม้ รกค้าง ท้องด้านขวาเนื่องจากด้านซ้ายมี sigmoid colon อยู่จึงเห็นมดลูก
เวลา 15.30 น. น้าหนัก ในโพรงมดลูก กลมบริเวณด้านขวา
4000 กรัม - Total estimated blood จากนั้นทา cord test ใช้มือกดบริเวณเหนือหัวหน่าวและสังเกตดูว่า
O : พบมี full bladder los s น้อยกว่า 500 cc สายสะดือเคลือ่ นตามหรือไม่
(ระดับยอดมดลูกอยู่เหนือระดับ 3. เมื่อเกิดรกลอกตัวทาการคลอดรกด้วยวิธี Modified Greda’s
สะดือเล็กน้อย) maneuver คือใช้มือข้างที่ถนัดคลึงมดลูกให้แข็งแรงดันมดลูกให้อยู่
ตรงกลางจากนั้นใช้อุ้งมือดันมดลูกส่วนบนลงมาหาปุ่มกระดูก
Promontary of sacrum โดยทามุมกับแนวดิ่ง 30 องศา เมื่อรก
ผ่านช่องคลอดมาแล้ว 2/3 ของรก ใช้มือซ้ายรองรับรกไว้หมุนไปทาง
เดียวกันเพื่อให้เยื่อหุ้มรกลอกตัวได้ดี ส่วนมือขวาที่ดันยอดมดลูกให้
เปลี่ยนมากดทีห่ ัวหน่าวดันมดลูกขึ้นไปเพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มทารกคลอด
ออกมาและป้องกันภาวะมดลูกปลิ้น
4. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของรกและชั่งน้าหนักโดยปกติรกหนัก
ประมาณ 500 กรัม เมื่อเปรียบเทียบความเหมาะสมกับน้าหนักตัว

BCN,Bangkok 26 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


ทารกโดยปกติต้องหนัก 1/5 ถึง 1/6 ของน้าหนักทารก เพื่อประเมิน
ว่ามีเศษรกค้างอยู่ในโพรงมดลูกหรือไม่ โดยตรวจดูดงั นี้
- เส้นเลือดมาเลี้ยงสายสะดือ 3 เส้น คือ Umbilical Vein 1 เส้น
Umbilical Artery 2 เส้น
- ดูปม knot ที่สายสะดือ
- ตรวจดูการเกาะของสายสะดือว่าอยู่ตาแหน่งใด
- ตรวจดูความกว้างของรก plate ปกติ 15-20 cm.
- ดูเส้นเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณรกว่ามีระยะห่างจากขอบรก 1-2 cm
- ตรวจดูเยื่อหุ้มรกและบริเวณภายในรกสังเกตว่ามีรกน้อยหรือไม่
5. ตรวจดูการฉีกขาดของแผลฝีเย็บจากการทาคลอดทารกและ
ดูระดับการฉีกขาดของแผลฝีเย็บว่าอยู่ในระดับใด
แบ่งระดับการฉีกขาดดังนี้
- First degree tear ฉีกขาดระดับskins
- Second degree tear ฉีกขาดระดับชั้นกล้ามเนื้อ Bulbo
cavernosus muscle
- Third degree tear ฉีกขาดระดับชั้นกล้ามเนือ้ หูรูดทวารหนัก
- Fourth degree tear ฉีกขาดระดับชั้นของลาไส้ส่วนหน้า
6. ตรวจวัดสัญญาณชีพ Vital Sign หลังคลอดรกทุก 15 นาที 4 ครั้ง
30 นาที 2 ครั้งและหลังจากนั้นทุกๆ 1 ชั่วโมงจนกว่าอาการจะคงที่
เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้คลอดหลังทาคลอดรก

BCN,Bangkok 27 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
ระยะที่ 4 ของการคลอด พลังงานเพื่อบรรเทาความ 1. เช็ดหน้าและร่างกายให้ผู้คลอดด้วยผ้าชุบน้าบิดให้หมาดๆเพื่อให้ผู้ - ผู้คลอดมีสหี น้าอ่อนเพลียลดลง
1.มีอาการอ่อนเพลียเนือ่ งจาก อ่อนเพลีย คลอดรูส้ ึกสบายขึ้น - ริมฝีปากไม่แห้ง
สูญเสียพลังงานในการคลอด 2. ดูแลให้ผู้คลอดได้ดื่มน้าเพื่อชดเชยน้าที่เสียไปกับการเบ่งคลอด
3. ดูแลให้ผู้คลอดรับประทานอาหารเพื่อให้ได้รับพลังงานทดแทน
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน จากพลังงานที่เสียไป
O : ทารกคลอด Normal labor - ผู้คลอดมีสหี น้าอ่อนเพลีย 4. ดูแลให้ผู้คลอดนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอเพือ่ ลดการใช้พลังงาน
O : มารดาหลังคลอดเหนื่อย ลดลง 5. ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
อ่อนเพลียมาก - ริมฝีปากไม่แห้ง

BCN,Bangkok 28 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
2. มารดาไม่สุขสบายเนือ่ งจากมี เพื่อบรรเทาอาการปวดมดลูก 1.อธิบายสาเหตุของอาการปวดมดลูกให้มารดาหลัง - มารดารู้สึกปวดมดลูกลดลง
อาการปวดมดลูกและแผลฝีเย็บ และแผลฝีเย็บ คลอดทราบคือเป็นอาการปกติที่สามารถเกิดขึ้นได้กับมารดาหลัง - มารดาหลังคลอดสามารถทา
คลอดได้ถึงร้อยละ 70 เนื่องจากในระยะหลังคลอดจะมีการหลัง่ ของ Kegel exercise ได้อย่างถูกต้อง
Hormone Oxytocin ทาให้มกี ารหดรัดตัวของมดลูกอย่างต่อเนื่อง - มารดาหลังคลอดสามารถลูบ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมินผล จึงทาให้รสู้ ึกปวดตึงบริเวณมดลูกได้อาการปวดจะค่อยๆทุเลาความ หน้าท้องเวลาปวดตาม
S : มารดาบอกว่า "รู้สึกปวด - มารดารู้สึกปวดมดลูกลดลง รุนแรงลงจนวันที่วันหลังคลอด คาแนะนาได้อย่างถูกต้อง
มดลูกและแผลฝีเย็บ" - มารดาหลังคลอดสามารถทา 2. แนะนาให้มารดานอนให้ท่าทีส่ ุขสบายบรรเทาอาการเจ็บปวด ให้ - มารดาหลังคลอดสามารถ
O : pain score 6 คะแนน Kegel exercise ได้อย่าง นั่งหรือนอนตะแคงซ้ายหรือนอนคว่าใช้หมองรองบริเวณท้องน้อยจะ รับประทานอาหารตาม
O : มารดาหลังคลอด G3P1A0L1 ถูกต้อง ช่วยให้ขับน้าคาวปลาออกได้สะดวกช่วยลดอาการปวดมดลูก คาแนะนาได้ถูกต้อง
O : แผล perineum 3 - มารดาหลังคลอดสามารถลูบ 3. แนะนาให้ทาท่าบริหารบริเวณอุ้งเชิงกราน Kegel exercise คือ
degree tear หน้าท้องเวลาปวดตาม การขมิบก้นและช่องคลอด โดยขมิบแล้วค้างไว้ 5 วินาที แล้วคลาย
O : มีเลือดออกจากโพรงมดลูก คาแนะนาได้อย่างถูกต้อง ทาอย่างน้อย 40-50 ครั้ง/วัน เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของอุ้งเชิงกราน
เปื้อนผ้าอนามัย 1 ฝืน - มารดาหลังคลอดสามารถ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด
รับประทานอาหารตาม 4. เบี่ยงเบนความสนใจจากอาการปวดแนะนาวิธีผ่อนคลาย เช่น
คาแนะนาได้ถูกต้อง การลูบหน้าท้องเวลาปวดตามทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control
theory)
หรือแนะนาให้พูดคุยกับสามีหรือญาติและการฟังเพลง
5. แนะนาอาหารที่ช่วยส่งเสริมการหายของแผลเน้นอาหารประเภท
โปรตีนสูง เช่นเนือ้ สัตว์ ไข่ นม และอาหารที่มี Vitamin C สูง เช่น
ส้ม แอปเปิลเขียว ฝรัง่ สัปปะรด

BCN,Bangkok 29 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
3. เฝ้าระวังการตกเลือดหลัง เพื่อป้องกันภาวะตกเลือดหลัง 1.ประเมิน vital Sign ทุก 15 นาที 4 ครั้ง 30 นาที 2 ครั้ง และทุก - vital Sign T 37.4 องซาเซลเซียส
คลอด 2 ชั่วโมง คลอด ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด P 92 bpm RR 20 bpm
2.สังเกต และประเมินอาการภาวะตกเลือดหลังคลอด เช่น หน้ามืด BP 124/65 mmHg
วิงเวียนศีรษะใจสั่น มือเท้าเย็น เหงื่อออกซึม ความรู้สึกตัวลดลง - blood loss 400 CC
ข้อผู้สนับสนุน เกณฑ์การประเมิน หากมีอาการให้รายงานพีพ่ ยาบาลทันที - แผลฝีเย็บไม่พบ hematoma
O : G3P1A0L1 - vital Sign อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3 ประเมินสาเหตุของการตกเลือดโดยใช้หลัก 4 T
O : ทารกคลอด Normal labor ความดันโลหิต systolic ไม่ควร 1.) Tone ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกแนะนาให้มารดาคือมดลูก
O : ผู้คลอดมีแผลฝีเย็บ Rt. ต่ากว่า base line 30 mmHg บ่อยๆทุก 15 นาที ตรวจเช็คbladder full หรือไม่หากพบว่า full
Medio episiotomy diastolicไม่ควรต่ากว่าbase ต้องกระตุ้นให้ผู้คลอดปัสสาวะใน 4 ชั่วโมงหากไม่สามารถปัสสาวะ
O : blood loss 400 cc. line 15 มิลลิเมตรปรอท เองได้ ให้ intermittent catheter เพื่อลดการขัดขวางการหดรัดตัว
O : มดลูกยังไม่กลมแข็งดี ชีพจรไม่ควรเกิน 100 ครั้งต่อ ของมดลูก
O : Pain score 6 คะแนน นาที การหายใจไม่ควรเกิน 24 2.) Trauma ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDAP
O : แผล perineum 3 degree ครั้งต่อนาที - Redness ประเมินแผลฝีเย็บว่าแดงหรือไม่
tear - blood loss น้อยกว่า 500 - Edema ประเมินแผลฝีเย็บว่าบวมหรือไม่
O : มีเลือดออกจากโพรงมดลูก CC หรือ 100 CC ใน 2 ชั่วโมง - Echymosis ไม่มีข้อมูลประเมินแผลฝีเย็บมีช้าเลือดหนองหรือไม่
เปื้อนผ้าอนามัย 1 ฝืน - แผลฝีเย็บไม่พบ hematoma - Discharge ประเมินแผลฝีเย็บมีสารคัดหลั่งหรือไม่
- ผู้คลอดรูส้ ึกตัวดีไม่มีอาการ - Approximation ประเมินแผลฝีเย็บขอบแผลสนิทเรียบติดกัน
ของภาวะตกเลือดเช่น หน้ามืด หรือไม่
วิงเวียนศีรษะ - Pain ประเมินความเจ็บปวดโดยใช้ Pain scale
3.)Tissue ประเมินเศษรกค้าง , Active Bleeding โดยสังเกต
เลือดออกบริเวณมดลูกจากผ้าอนามัยไม่ควรเกิน 100 ซีซีต่อชั่วโมง
4.)Thrombin ติดตามผลแลป การแข็งตัวของเลือด

BCN,Bangkok 30 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


วินิจฉัยการพยาบาล เป้าหมายการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลและเหตุผล การประเมินผล
และข้อมูลสนับสนุน และเกณฑ์การประเมินผล
4. ส่งเสริมสุขภาพมารดาหลัง เพื่อให้ผู้คลอดมีความรู้และสุข 1. แนะนาการคลึงมดลูกทุก 15 นาทีเพื่อให้มดลูกกลมแข็ง หดรัดตัว - ผู้คลอดมีการสีหน้าแจ่มใส
คลอด สบายหลังคลอดปฏิบัติตัวได้ ได้ดีเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด - ผู้คลอดมีพูดคุยปกติ
อย่างเหมาะสม 2. แนะนาการออกกาลังกายบริเวณกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน Kegel - ผู้คลอดบอกคาแนะนาได้ถูกต้อง
Exercise เป็นการขมิบกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานค้างไว้ 10 วินาที ทา ดูแลตนเองได้ถูกต้อง
ข้อผู้สนับสนุน เกณฑ์การประเมิน 10 ครั้งต่อ 1 เซท เพื่อให้กล้ามเนื้ออุง้ เชิงกรานกระชับและส่งเสริม
O : ผู้คลอด G3P1A0L1 - ผู้คลอดมีการสีหน้าแจ่มใส ให้แผลติดกันเร็ว
O : ทารกคลอด Normal labor - ผู้คลอดมีพูดคุยปกติ 3. แนะนาอาหารเสริมน้านม เช่น หัวปลี ขิง มะละกอ เพื่อส่งเสริม
O : ผู้คลอดมีแผลฝีเย็บ Rt. - ผู้คลอดบอกคาแนะนาได้ ให้มารดาสร้างน้านมได้มากขึ้น
Medio episiotomy ถูกต้องดูแลตนเองได้ถูกต้อง 4. ให้พักผ่อนบนเตียงหลังคลอดเนื่องจากหลังคลอดแม่เสียพลังงาน
O : blood loss 400 cc. และแรงจากการคลอดไปอาจทาให้เกิดอุบัตเิ หตุพลัดตกหกล้มได้
O : มดลูกยังไม่กลมแข็งดี 5. แนะนาการดูแลความสะอาดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
O : Pain score 6 คะแนน -อาบน้าวันละ 2 ครั้งเพื่อให้ร่างกายสะอาด ลดการสะสมของเชื้อโรค
O : แผล perineum 3 degree -เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3 ชั่วโมงหรือเมื่อเต็ม ป้องกันการอับชื้น
tear 6. แนะนาให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนเพื่อให้
O : มีเลือดออกจากโพรงมดลูก ทารกมีภูมิคมุ้ กันที่แข็งแรง
เปื้อนผ้าอนามัย 1 ฝืน

BCN,Bangkok 31 – 16 Nu.1424-FM-04 issue 1 17/11/57


สรุปผลการดูแลผู้รับบริการตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งสิ้นสุดการดูแล
ผู้คลอดอายุ 24 ปี G3P1A0L1 LMP 14 ก.ย.64 EDC 21 มิ.ย.64 by Date มาด้วยอาการเจ็บครรภ์คลอดพร้อม
กับมีมกู เลือดก่อนมาโรงพยาบาล 4 ชั่วโมง วันที่ 7 มิ.ย.64 08.00 น.แรกรับผู้คลอด เจ็บครรภ์ Interval 5' Duration
35" S+1FHR 120 ครั้งต่อนาที ตรวจครรภ์ High of Fundus ได้ 3/4 > สะดือ 40 ซม. ได้แผ่นเรียบด้านซ้ายมือค่อนมา
ด้านข้างลาตัวแม่ บริเวณหน้าท้องใต้ระดับสะดือเล็กน้อยส่วนนาโยกไม่ได้ ตรวจภายในพบ Cervix dilated 2 cm.
Effacement 25% MI station -1 Vital signs T 37.0 องศาเซลเซียส P 80 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที
BP 110/ 60 mmHg ตรวจ Albumin/sugar negative EFM แรกรับ Reactive ไม่มีอาการปวดศีรษะตาพร่ามัวขาไม่
บวม ไม่กดบุ๋ม
ระยะที่ 1 ของการคลอด :
09.00 น. เจ็บครรภ์ห่างๆ Interval 5' Duration 35" S+1 FHR 124 ครั้งต่อนาที
10.00 น. Cervix dilated 3 cm. Effacement 50% MR (แพทย์ มา ARM พบน้าคร่า clear) station 0 พบ
sagittal suture อยู่ในแนวขวาง Interval 4'30" Duration 40" S+1 FHR 138 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ vital
signs T 36.8 องศาเซลเซียส P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 65 mmHg แพทย์ให้ 5% D/N2
500 ml vein drip rate 120 cc/hr. และNPO เจาะ Lab ตรวจ CBC group mate และ Augmentation ด้วย
5%D/W 1000 ml + Syntocinon 10 units IV drip start 3 m/hr และเพิ่มจานวนทุก 3 ml/hr จน uterine
good contractionจับ contraction ทุก 15 นาทีก่อนเพิ่ม rate Syntocinon และ on EFM
10.15 น. Interval 4'20" Duration 35" S+1 FHR 140 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ปรับ 5%D/W 1000 ml +
Syntocinon 10 units IV drip start 6 m/hr
10.30 น. Interval 3'50" Duration 35" S+1 FHR 136 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ปรับ 5%D/W 1000 ml +
Syntocinon 10 units IV drip start 9 m/hr
10.45 น. Interval 3'40" Duration 40 " S+1 FHR 138 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ปรับ 5%D/W 1000 ml +
Syntocinon 10 units IV drip start 12 m/hr
11.00 น. Interval 3'20" Duration 45" S+1 FHR 132 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ปรับ 5%D/W 1000 ml +
Syntocinon 10 units INV drip start 15 m/hr
11.15 น. Interval 3' Duration 50" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ปรับ 5%D/W 1000 ml +
Syntocinon 10 units N drip start 18 mV/hr ผู้คลอดมีสีหน้าหน้านิ่วคิ้วขมวด
11.30 น. Interval 3' Duration 55" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดมีสีหน้าหน้านิ่วคิ้วขมวด
12.00 น. Interval 3' Duration 55" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที ด้านซ้ายมือ มีก้อนนิม่ บริเวณเหนือหัวหน่าว ผู้
คลอดมีสหี น้าหน้านิ่วคิ้วขมวด ตรวจภายในพ Cervix dilated 5 cm. Effacement 80% MR-clear station
0 sagittal suture อยู่ในแนวเฉียงขวา oท wบ Early deceleration
12.30 น. Interval 2'45" Duration 55" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวด
13.00 น. Interval 3' Duration 50" S+2 FHR 142 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้องมาก Cervix
dilated 6 cm. Effacement 100% MR- mild meconium station +1 sagittal suture อยู่ในแนว A-P
diameter แพทย์ให้ ฉีด Pethidine 50 mg IM เพื่อบรรเทาปวด T 36.8 องศาเซลเซียส P 82 ครั้งต่อนาที RR 20
ครั้งต่อนาที BP 120/ 65 mmHg
13.15 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
13.30 น. Interval 2'30" Duration 55" S+2 FHR 138 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 82
ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 65 mmHg
13.45 น. P 82 ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
14.00 น. Interval 2'20" Duration 50" S+2 FHR 136 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 78
BCN,Bangkok 32 – 16 Nu.1424-
FM-04 issue 1 17/11/57
ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
14.30 น. Interval 2' 15" Duration 60" S+2 FHR 140 ครั้งต่อนาที ด้านขวามือ ผู้คลอดบ่นปวดท้อง P 80
ครั้งต่อนาที RR 20 ครั้งต่อนาที BP 120/ 60 mmHg
15.00 น. Cervix fully dilated MR station +1 Interval 2'20" Duration 60" S+3 FHR 128 ครั้งต่อนาที
ผู้คลอดอยากถ่ายอุจจาระ
ระยะที่ 2 ของการคลอด :
ย้ายเข้าห้องคลอด เตรียมคลอด เชียร์คลอด Interval 2'20" Duration 65" FHR 130 ครั้งต่อนาที แผลฝีเย็บ RML
episiotomy คลอดศีรษะท่า LOA แผลฝีเย็บ RML episiotomy ทารกเพศ ชายคลอดปกติเวลา 15.30 น.
ตัวอ่อนปวกปียก แพทย์พจิ ารณาให้ Narcan 0.1 mg/Kg. และ PPV (positive pressure ventilator) Apgar score
นาทีที่ 1 ได้ 6 คะแนน ทารกร้องเบา หายใจไม่สม่าเสมอ ปลายมือปลายเท้าซีด ยกแขนขาในแนวระนาบ แสยะขณะดูด
เสมหะ HR 100 ครั้ง/นาที stat นาที่ 5 ได้ 10 คะแนน และนาทีที่ 10 ได้ 10 คะแนน น้าหนัก 4,000 กรัม
ระยะที่ 3 ของการคลอด :
พบมี full bladder (ระดับยอดมดลูกอยู่เหนือระดับสะดือเล็กน้อย) พบสายสะดือ
คลายเกลียว มีเลือดออกทางช่องคลอดให้เห็น 30 ml. รกคลอดเวลา 16.55 น. รกหนัก 800 กรัม รกและเยื่อหุ้ม
รกครบและปกติ แผลฉีกขาดระดับ 3rddegree tear blood loss 400 ml

BCN,Bangkok 33 – 16 Nu.1424-
FM-04 issue 1 17/11/57
การวางแผนจ้าหน่ายกลับบ้าน (D-METHOD)
D-Diagnosis : อธิบายให้มารดาทราบว่าการคลอดที่ 2 เป็นการคลอดแบบธรรมชาติ GA 38 by. Date ทารกเพศชาย
น้าหนักแรกเกิด 4000 กรัม ทารกแข็งแรงดีแผลฝีเย็บฉีกขาดระดับ 3 ด้านขวาไม่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดแผลแห้งดี
ไม่มีขอบแดงไม่บวม ไม่มีรอยจ้าเลือด ไม่มี discharge ซึมรอบแผลชิดติดกัน
M-Medication : แนะนาเกี่ยวกับวิธีการใช้ยา ควรรับประทานยาบางอย่างต่อเนื่องตามแผนการรักษาของแพทย์
จนหมด ไม่หยุดยาเอง และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
E-Environment : แนะนามารดาเรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบอากาศถ่ายเทสะดวก แสงสว่างเพียงพอ
ปลอดภัยไม่เกิดอันตรายติมารดาและทารก
T-Treatment : ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมือ่ กลับบ้าน
1. แนะนาการคลึงมดลูกสังเกตการเคลื่อนต่าของมดลูก 10 วัน จะคลาไม่พบโดยระดับของมดลูกจะลดลงวันละ ½ นิ้ว
2. แนะนามารดาสังเกตสีน้าคาวปลา 1-3 วันหลังคลอดจะมีสีแดงเข้มไม่มีก้อนเลือดปน 4-6 วัน จะมีสีแดงจาง ชมพูจน
ค่อยๆ เป็นสีน้าตาลและ 10-14 วัน จะมีสีเหลืองจนเป็นสีขาวใส
3. แนะนามารดาเรือ่ งการดูแลแผลฝีเย็บสังเกตแผลว่ามีอาการบวมแดงมีจ้าเลือดมีสารคัดหลัง่ ซึมออกจากแผล แผลฉีก
ขาดหรือปวดรุนแรงให้รบี มาพบแพทย์โดยเร็ว
4. แนะนาการมีเพศสัมพันธ์ ควรงดการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 4-6 สัปดาห์แรกเนื่องจากอาจติดเชื้อในโพรงมดลูกได้ และ
อาจทาให้แผลฝีเย็บฉีกขาดได้
H-Health : แนะนาการดูแลสุขภาพ เช่น
- การออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที แนะนามารดาทา Kegel's Exercise และงดการยก
ของหนักในช่วง 4-6 สัปดาห์หลังคลอด
- แนะนามารดาให้ดูแลเต้านมใส่ยกทรงที่พอดีและไม่ควรใส่ยกทรงแบบที่มีโครงเหล็ก
- การคุมกาเนิดแนะนาให้คุมกาเนิดโดยการใช้ยาฉีดคุมกาเนิด (Injectable contraceptive) เป็นการคุมกาเนิดแบบ
ชั่วคราวแบบหนึ่งโดยจะเป็นการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อของสตรีในระยะเวลาตามที่แพทย์กาหนด อธิบายเกี่ ยวกับข้อดีและ
ข้อเสียของการคุมกาเนิดโดยการใช้ยาฉีด
O-Out Patient : แนะนาการมาตรวจหลังคลอด 1 เดือนตามนัดการติดต่อรับคาปรึกษาทีห่ อผูป้ ่วยสูติกรรมหรือคลินิก
นมแม่การมาพบแพทย์เมือ่ มีอาการผิดปกติทันทีโดยไม่ต้องรอถึงเวลานัด เช่น
- มีไข้สูงติดต่อกันเกิน 2 วัน
- มีเลือดสดๆ ออกทางช่องคลอด
- น้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น สีกลับมาแดงมากขึ้น
- บริเวณแผลฝีเย็บมีอาการปวดและบวม
- เต้านมบวมช้า มีการอักเสบ เป็นฝี
- ตัวบวม มือเท้าบวม มีอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
D-Diet : แนะนาการรับประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์โปรตีนและ Vitamin C สูง จาพวกเนื้อ นม ไข่เสริมสร้างน้านม
และส่งเสริมการหายของแผลและมารดาหลังคลอดควรรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเพื่อฟื้นฟูร่างกายและ
ช่วยเสริมสร้างให้มีน้านมเพียงพอต่อการเลี้ยงดูบุตร เช่น แกงเลียง ไก่ผัดขิง กุยช่ายผัดตับ แกงฟักทอง น้าขิงอุ่นๆ น้า
ผลไม้ หัวปลี เป็นต้น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัดของหมักดอง งดเครื่องดืม่ ที่มีแอลกอฮอล์และคาเฟอีน
เนื่องจากสามารถผ่านทางน้านมไปถึงทารกได้ควรดื่มน้าวันละ 2,000 -3,000 cc/day

BCN,Bangkok 34 – 16 Nu.1424-
FM-04 issue 1 17/11/57

You might also like