You are on page 1of 37

1

ขอสอบวิชาการผดุงครรภ ชุดที่ 1

1. ขอใดคือบทบาทพยาบาลผดุงครรภที่ถูกตองตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
พ.ศ.2540
1. ฉีด Methergin เขากลามเนื้อหลังรกคลอด
2. ให Syntocinon แกผูรับบริการในระยะคลอด
3. เจาะถุงน้ําทูนหัวชวยเรงคลอดเมื่อปากมดลูกเปด 7 ซม.
4. ฉีด MgSo4 เขาทางหลอดเลือดดําใหผูคลอดทันทีที่มีอาการชัก

2. ทานจะนํามาตรฐานการผดุงครรภขององคการอนามัยโลกมาใชในการดูแลมารดาและทารกตาม
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาลในประเทศไทยอยางไร
1. ทําคลอดใหโดยตัดฝเย็บใหผูคลอดครรภแรกทุกราย
2. รณรงคใหหญิงตั้งครรภมาฝากครรภอยางนอย 4 ครัง้
3. ทําการลวงรกใหในรายทีม่ ีภาวะรกคางและไมมแี พทย
4. สงตอการดูแลทารกแรกเกิดใหกับพยาบาลเฉพาะทางการพยาบาลเด็ก

3. ขอใดคือความหมายของการคลอดปกติ
1. G3P2 อายุครรภ 39 สัปดาห ทารกคลอดทางชองคลอดโดยใชศีรษะเปนสวนนํา แพทยชวย
ลวงรกออก
2. G1P0 อายุครรภ 41 สัปดาห ตรวจภายในพบ Saggital suture อยูในแนวหนา – หลัง และ Occiput
อยูชิดกระดูกหัวเหนา เบงคลอด 50 นาที
3. G2P1 อายุครรภ 38 สัปดาห เจ็บครรภและมีน้ําคร่ําไหลออกทางชองคลอดนาน 22 ชั่วโมง คลอด
ทารกทางชองคลอด
4. G3P2 อายุครรภ 36 สัปดาห ทารกคลอดทางชองคลอดโดยใชศีรษะเปนสวนนํา Saggital suture
อยูในแนวหนา – หลัง และ Anterior fontanel อยูชิดกระดูกหัวเหนา
2

4. ขอใดกลาวถึงความเชื่อเกีย่ วกับสาเหตุของการเจ็บครรภไดอยางถูกตอง
1. Cortisol เพิ่ม, Oxytocin เพิ่ม, Progesterone ลด
2. Oxytocin เพิ่ม, Cortisol ลด, Progesterone เพิ่ม
3. Prostaglandins ลด, Cortisol เพิ่ม, Progesterone ลด
4. Prostaglandins เพิ่ม, Cortisol ลด, Progesterone เพิ่ม

5. ผูคลอดครรภแรก สวนสูง 155 เซนติเมตร น้ําหนัก 48 กิโลกรัม ทารกใชศีรษะเปนสวนนํา คะเนน้ําหนัก


ทารกในครรภประมาณ 4,100 กรัม ผูคลอดรายนี้มีโอกาสเกิดความผิดปกติของการคลอดจากปจจัยใด
1. Power
2. Passage
3. Passenger
4. Psychological

6. ทารกทา LOA เมื่อสะบัดหนาตามกลไกการคลอดแลว ผูท ําคลอดจะหมุนศีรษะอยางไร เพื่อใหเกิดกลไก


External Rotation
1. หมุนตามเข็มนาฬิกา 45o
2. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 45o
3. หมุนตามเข็มนาฬิกา 90o
4. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90o

7. หญิงตั้งครรภ อายุครรภ 40 สัปดาห มา รพ.ดวยอาการเจ็บครรภนานๆ ครั้ง แรกรับปากมดลูกยังไมเปด


การพยาบาลสําหรับ หญิงตั้งครรภรายนี้คือขอใด
1. แนะนําใหกลับบานได เนื่องจากเจ็บครรภเตือน
2. รับไวในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมมารดาเพื่อคลอด
3. รับไวในโรงพยาบาล เพื่อประเมินการเจ็บครรภคลอด
4. เตรียมมารดาเพื่อคลอดและใหกลับไปนอนที่บาน 1 คืน
3

8. ผูคลอด G2P1 มีประวัติ Previous C/S มา รพ.ดวยอาการเจ็บครรภถี่ มีมูกเลือด ผลการตรวจภายใน


Cx. dilate 3 เซนติเมตร Effacement 80% Station 0 การพยาบาลแรกรับที่สําคัญ คือขอใด
1. ใหนอนพักบนเตียง
2. ใหสารน้ําและงดอาหารทางปาก
3. ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ
4. ใหอธิบายแนวทางการรักษาพยาบาล

9. ผูคลอด Cx. dilate 9 เซนติเมตร Effacement 100% Station +1 ควรมีลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกเปน


อยางไร
1. I = 3 นาที D = 40 วินาที severity = ++
2. I = 3 นาที D = 40 วินาที severity = +++
3. I = 2 นาที D = 50 วินาที severity = ++
4. I = 2 นาที 30 วินาที D = 50 วินาที severity = +++

10. ผูคลอด ครรภแรก อายุครรภ 39 สัปดาห ขณะรอคลอด มีอาการเจ็บครรภถี่ D = 40 วินาที I = 2 นาที


50 วินาที ตรวจภายใน พบ dilate 4 cm. Effacement 50% Station -1 ML กิจกรรมพยาบาลขอใด
สงเสริมความกาวหนาของการคลอดของผูคลอดรายนี้
1. รายงานแพทยเพื่อใหยาเรงคลอด
2. ดูแลใหถายปสสาวะ เพื่อใหมดลูกหดรัดตัวดีขึ้น
3. กระตุนใหผูคลอดลุกเดิน เพื่อสงเสริมการเคลื่อนต่ําของสวนนํา
4. เปลี่ยนทานอนบอยๆเพื่อทารกปรับศีรษะเขาสูชองเชิงกรานไดงาย

11. ผูคลอด อายุครรภ 41 สัปดาห ทารกในครรภขณะรอคลอดปกติ ขณะเบงคลอด FHS = 110 ครั้ง/นาที


การชวยเหลืออันดับแรกคือขอใด
1. ใหออกซิเจน
2. รายงานกุมารแพทยทันที
3. ใหผูคลอดนอนตะแคงซาย
4. ตรวจภายในและประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
4

12. เมื่อศีรษะทารกโผลพนฝเย็บ ผูทําคลอดพบวามีสายสะดือพันคอทารก การชวยเหลือขอใดสําคัญทีส่ ุด


1. รีบตัดสายสะดือทันที
2. รีบชวยคลอดไหลโดยเร็ว
3. ดูดน้ําคร่ําในปากและจมูก
4. ตรวจใหแนใจวาสายสะดือพันคอแนนหรือไม

13. ผูคลอด G2P0A1 ปากมดลูกเปดหมด เวลา 11.30 น. I = 2 นาที D = 50 วินาที severity = +++ เบงคลอด
เมื่อมดลูกหดรัดตัว ขณะเบงหนาทองโปงตึง เวลา 12.15 น. ระดับสวนนําเทาเดิม ควรดูแลผูคลอดใหมี
ความกาวหนาของการคลอดอยางไร
1. รายงานแพทยเพื่อพิจารณาผาตัดคลอดทางหนาทอง
2. รายงานแพทยเพื่อใหยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก
3. สวนปสสาวะเพื่อลดการขัดขวางการเคลื่อนต่ําของสวนนํา
4. แนะนําและควบคุมการเบงคลอดเพื่อใหมารดาเบงอยางถูกวิธี

14. การปองกันภาวะมดลูกปลิ้นจากการทําคลอดรกแบบ Modified Crede’ Maneuver คือขอใด


1. ดันยอดมดลูกลง 30 องศากับแนวดิ่ง
2. ไมควรใชมอื บีบผนังหนาและหลังของมดลูก
3. ผลักมดลูกใหมาอยูต รงกลางของชองทองกอนดันยอดมดลูก
4. ใชมือรองรับรกที่คลอดผานชองคลอดออกมา โดยใชมือขางที่ถนัดจับมดลูกไว

15. วิธีตัดฝเย็บที่ถกู ตองคือขอใด


1. ตัดฝเย็บขณะที่มารดาหยุดเบง
2. ตัดในผูคลอดครรภที่ 1 และ 2 ทุกราย
3. ฉีดยาชาขณะฝเย็บโปงตึง บาง ตามแนวการตัด
4. ตัดโดยใหจุดหมุนของกรรไกรอยูตําแหนง Fourchett

16. มารดาหลังคลอด 2 ชั่วโมง มีเลือดออกทางชองคลอดมาก มองเห็นทองนอยปอง คลําไดลักษณะหยุน


นุมเหนือหัวเหนา ระดับยอดมดลูกสูงกวาสะดือเล็กนอย มดลูกนุม การพยาบาลอันดับแรกคือขอใด
1. คลึงมดลูกให
2. กระตุนใหถายปสสาวะ
3. ตรวจรอยฉีกขาดในชองคลอด
4. ใหยากระตุน การหดรัดตัวของมดลูก
5

17. ทารกแรกเกิดหายใจชาไมสม่ําเสมอ งอแขนขาไดบาง ตัวแดง ปลายมือปลายเทาเขียว เมื่อดูดเสมหะ


สีหนาแสยะ อัตราการเตนของหัวใจ 126 ครั้ง/นาที APGAR score เทาไร
1. 4 คะแนน
2. 5 คะแนน
3. 6 คะแนน
4. 7 คะแนน
18. ทารกแรกเกิดรองเสียงดัง ขยับแขนขาได ไอและรองเวลาดูดเสมหะ ลําตัวและใบหนาแดง ปลายมือ
ปลายเทาเขียวคล้ํา ทานจะใหการพยาบาลอยางไร
1. ดูแลใหความอบอุน
2. วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชัว่ โมง
3. ชวยดูดเสมหะทางปากและจมูก
4. ยายทารกไปแผนกทารกแรกเกิด
19. ทารกแรกเกิด 30 นาที น้ําหนัก 2,500 กรัม พบ Caput succedaneum อัตราการหายใจ 72 ครั้ง /นาที
อุณหภูมิ 36.8oC การพยาบาลที่เหมาะสมคือขอใด
1. ดูดเสมหะ ใหความอบอุน ใหดูดนมมารดา
2. ใหออกซิเจน ใหความอบอุน รายงานแพทย
3. ใหออกซิเจน ใหความอบอุน ตรวจหาน้ําตาลในเลือด
4. ตรวจหาน้าํ ตาลในเลือด ใหดดู นมมารดา รายงานแพทย
20. สามี ภรรยา เปนคูเสี่ยง อัลฟาธาลัสซีเมีย อายุครรภ 12 สัปดาห มาขอรับการตรวจวิเคราะหสขุ ภาพ
ทารกในครรภ ทานจะแนะนําวิธีการตรวจแบบใด
1. Cordocentesis
2. Amniocentesis
3. Chorionic Villi Sampling
4. Fetal Blood Scalp Sampling
21. การเตรียมหญิงตั้งครรภอายุ 10 สัปดาห เพือ่ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางหนาทอง ควรปฏิบัติอยางไร
1. งดน้ํา งดอาหาร 8 ชั่วโมงกอนตรวจ
2. ใหดื่มน้ํามากๆ และกลั้นปสสาวะไว
3. สวนอุจจาระใหลําไสวาง ทําใหผลการตรวจแมนยํา
4. อธิบายใหทราบวา หลังการตรวจอาจทําใหเกิดการแทงบุตรได
6

22. ขณะทํา CST พบวามี Late Deceleration ควรปฏิบัติอยางไร


1. แนะนําใหมารดาสังเกตเด็กดิ้น
2. ไมตองทําอะไร เพราะถือเปนภาวะปกติ
3. หยุดให Oxytocin จัดใหมารดานอนตะแคงซาย
4. กระตุนหัวนมและเพิ่มจํานวนหยดของ Oxytocin

23. การดูแลมารดา ที่ไดรับ Oxytocin ขอใดสําคัญที่สุด


1. ให Oxytocin นาน 6 ชั่วโมงตอวัน
2. ปรับจํานวนหยดไดสูงสุด 40 หยดตอนาที
3. เริ่มใหยา 8 – 10 หยด ตอนาที นาน 15 นาที
4. จับการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15 นาที หลังใหยา

24. ผูคลอดกอนคลอด 2 ชั่วโมง ไดรับ Pethidine 25 mg IM ควรใหการพยาบาลที่เหมาะสมอยางไร


1. ดูแลเชนเดียวกับมารดารายอื่น
2. ให Oxygen Cannular 3 lit/min แกมารดา
3. ให Oxytocin กระตุนการหดรัดตัวของมดลูกในระยะคลอด
4. รายงานกุมารแพทยและเตรียม Oxygen สําหรับทารกแรกเกิด

25. หญิงตั้งครรภถูกตรวจพบทารกในครรภมคี วามพิการ (Fetal Anormalies) จะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอ


การสูญเสีย อันดับแรก คือขอใด
1. โกรธ
2. ปฏิเสธ
3. ซึมเศรา
4. ตอรอง

26. มารดาครรภแรกอายุครรภ 40 สัปดาห 3 วัน ใหประวัติเด็กดิน้ นอยลง มีน้ําเดินสีนา้ํ ลางเนื้อ ผลตรวจ


Ultrasound ไมพบ Fetal Heart Sound ขณะแพทยแจงใหมารดาทราบผลการตรวจ มารดาพูดวา “ไมจริง
เปนไปไมได ลูกฉันยังดิน้ อยูเลย” การพยาบาลที่เหมาะสมคือขอใด
1. ชวนมารดาพูดคุยใหระบายความรูสึก
2. นั่งเปนเพื่อนเงียบๆ รับฟงมารดาระบายความรูสึก
3. ชี้แจงใหมารดาตระหนักถึงความจริง เกี่ยวกับการเสียชีวิตของบุตร
4. แนะนําใหครอบครัวและญาติไมกลาวโทษมารดาเกีย่ วกับการเสียชีวิตของบุตร
7

27. หญิงตั้งครรภ อายุ 16 ป ประวัติถูกขมขืน ปจจุบนั อยูในความดูแลของบิดา มารดา และไมไดไป


โรงเรียน แนวทางการดูแลทีเ่ หมาะสมที่สุดคือขอใด
1. เนนการมาฝากครรภตามนัดทุกครั้ง
2. แนะนําการเจาะเลือดตรวจหาโรคติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ
3. ปองกันการทําแทง โดยเนนบิดา มารดาดูแลอยางใกลชิด
4. ใหคําปรึกษาแกบดิ า มารดา ชวยสงเสริมสุขภาพครรภและปรับบทบาท

28. หญิงตั้งครรภ G4P3 Last 5 ป อายุ 38 ป ฝากครรภครั้งแรก ใหประวัติคลอดบุตรสุขภาพแข็งแรงดีทกุ คน


คําแนะนําที่เหมาะสมในระยะตั้งครรภ คือขอใด
1. การคุมกําเนิด
2. การรับประทานอาหารที่มโี ฟลิคสูง
3. การตรวจวิเคราะหสุขภาพทารกในครรภ
4. การออกกําลังกายทําใหกลามเนื้อหนาทองแข็งแรง

29. ขั้นตอนสําคัญในการใหการพยาบาลมารดาที่ไดรับการกระทํารุนแรงในครอบครัวคือขอใด
1. การสงตอ
2. การปกปองสิทธิสตรี
3. การติดตามชวยเหลือ
4. การประเมินคนหาปญหา

30. หญิงตั้งครรภ G1P0 อายุครรภ 16 สัปดาห มาโรงพยาบาลดวยอาการคลื่นไสอาเจียน 7 – 8 ครั้งตอวัน


ออนเพลีย ริมฝปากแตกเปนแผล ผิวหนังแหง ปสสาวะออกนอย น้ําหนักตัวลด 2 กิโลกรัมใน 1 สัปดาห
การพยาบาลทีส่ ําคัญที่สุดคือขอใด
1. ใหสารน้ําอยางเพียงพอ
2. รักษาความสะอาดปากและฟน
3. ดูแลใหนอนหลับพักผอนอยางนอยวันละ 8 – 10 ชั่วโมง
4. สนับสนุนสามีและญาติใหกําลังใจและมีสวนรวมในการดูแล
8

31. ขณะใหยา MgSO4 พบวา มารดามีอาการกระสับกระสาย แนนหนาอก หายใจชาลง ควรใหการพยาบาล


อยางไรเปนอันดับแรก
1. หยุดยาทันที
2. ใหนอนตะแคงซาย ใหออกซิเจน
3. รายงานแพทย เพื่อให Calcium gluconate
4. สังเกตอาการตอ เนื่องจากเปนผลของการใชยา

32. หญิงตั้งครรภ G1P0 อายุครรภ 28 สัปดาหมอี าการแนนอึดอัด หายใจลําบาก รับประทานอาหารไดนอ ยลง


เบื่ออาหาร ตรวจครรภพบ HF ¾ > สะดือ คลําทาทารกไมได พบลักษณะการเคลื่อนตัวของน้ํามา
กระทบมือ การพยาบาลที่เหมาะสม คือขอใด
1. นอนพักผอนบนเตียง
2. สังเกตการดิ้นของทารกในครรภ
3. เตรียมชวยแพทยเจาะเอาน้ําคร่ําออก
4. ใหรับประทานอาหารโปรตีนสูง งดมัน

33. หญิงตั้งครรภ G3P2 อายุครรภ 34 สัปดาห ตั้งครรภ แฝด ทารกทากน-ทากัน เด็กดิน้ ดี FHS =128 และ
136 /min การพยาบาลที่สําคัญที่สุดคือขอใด
1. ใหนอนพักบนเตียง
2. งดเดินทางไกลและงดมีเพศสัมพันธ
3. รายงานแพทยเพื่อพิจารณายุติการตั้งครรภ
4. เตรียมรางกายและจิตใจเพือ่ รับการผาตัดทารกออกทางหนาทอง

34. การประเมินสภาพหญิงตั้งครรภ ที่ปวยเปนโรคหัวใจ ที่สําคัญที่สุดในการจําแนกระดับความรุนแรง


ของโรคคือขอใด
1. อาการเจ็บหนาอก
2. อัตราการเตนของหัวใจ
3. ความสามารถในการทํากิจกรรม
4. อาการหายใจลําบากขณะนอนหลับ
9

35. หญิงตั้งครรภ อายุ 35 ป เปนASD อายุครรภ 8 สัปดาห มาโรงพยาบาลดวยอาการออนเพลีย คลื่นไส


หลอดโลหิตดําที่คอโปง หายใจเหนื่อยหอบ ใจสั่น บวม 3+ การพยาบาลที่สําคัญที่สุดคือขอใด
1. ใหนอนพักบนเตียง
2. ใหออกซิเจนและรายงานแพทย
3. ใหคําปรึกษาเกีย่ วกับการยุติการตั้งครรภ
4. ใหนอนพักที่โรงพยาบาลตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ

36. หญิงตั้งครรภ อายุ 30 ป อายุครรภ 28 สัปดาห เปนเบาหวานเมื่ออายุ 18 ป ตรวจ OGTT ได Glucose ใน
Plasma = 125, 205, 165, 145 mg/100 ml การดูแลที่เหมาะสม คือขอใด
1. สอนการนับเด็กดิน้ และทํา Ultrasound ทุกเดือน
2. แนะนําใหผาตัดคลอดเมื่ออายุครรภ 37 สัปดาหขึ้นไป
3. แนะนําใหควบคุมอาหารและการฉีดอินสุลินดวยตนเอง
4. แนะนําการออกกําลังกายและการรับประทานยารักษาเบาหวาน

37. หญิงตั้งครรภ อายุ 30 ป เปนเบาหวาน ในขณะตั้งครรภ มาฝากครรภตามนัดและบอกวา “ไมอยากฉีดยา


อินสุลินเพราะเจ็บและกลัว ขอเปลี่ยนเปนยากิน” ทานจะแนะนําอยางไร
1. เปลี่ยนเปนยากินได แตตอ งออกกําลังกาย และควบคุมอาหาร
2. เปลี่ยนเปนยากินได แตตอ งมาโรงพยาบาลทันทีที่รูสกึ วามีอาการผิดปกติ
3. เปลี่ยนเปนยากินไมได เนือ่ งจากฤทธิ์ยาไมเพียงพอกับการควบคุมระดับน้ําตาล
4. เปลี่ยนเปนยากินไมได เนือ่ งจากยาทําใหน้ําตาลในเลือดต่ําและผานไปยังทารกได

38. หญิงตั้งครรภ ครรภแรก อายุครรภ 10 สัปดาห สุขภาพแข็งแรง ผลการตรวจเลือดพบ Hct. 30 % MCV


76 fl OF +ve DCIP –ve ทานจะใหการพยาบาลอยางไร
1. ใหสามีมาตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย
2. ใหรับประทานยาธาตุเหล็กพรอมดื่มนมมากๆ
3. อธิบายวาเปนภาวะที่ไมมีผลกระทบตอทารกในครรภ
4. ใหพักผอนมากๆ เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซอน ตกเลือดหลังคลอดได
10

39. หญิงตั้งครรภ G2P1 ไข ปวดหัวเหนา ถายปสสาวะบอย แสบขัดตอนถายปสสาวะสุด แพทยให


Norfloxacin 200 mg 1 เม็ด เชา – เย็น การพยาบาลที่สําคัญนอยที่สุด คือขอใด
1. ดื่มน้ํามากกวา 3000 ซีซี/วัน เพื่อเจือจางเชื้อโรค
2. ถายปสสาวะทุกครั้งที่ปวด เพื่อไมใหปส สาวะคาง
3. ใหนอนตะแคงขางใดขางหนึ่ง เพื่อทําใหปสสาวะไหลสะดวก
4. ดูแลใหไดรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย เพื่อฆาเชื้อ

40. หญิงตั้งครรภ มาฝากครรภใหประวัตวิ าหิวบอย รับประทานจุ น้ําหนักลด คลื่นไสอาเจียนและทองเสีย


บอย ๆ นอนไมคอยหลับ หญิงตั้งครรภรายนี้เกิดภาวะใด
1. มีความเครียดอยางมาก
2. เปนอาการแพทองรุนแรง
3. เปนอาการของโรคเบาหวาน
4. มีความผิดปกติของตอมไทรอยด

41. หญิงตั้งครรภ ครรภแรก อายุ 20 สัปดาหมีเลือดออกทางชองคลอด 1 ชั่วโมงกอนมาโรงพยาบาล ปวด


หลังบริเวณกนกบ และทองนอยรวมดวย ทานจะปฏิบัตอิ ยางไร
1. ตรวจครรภ ตรวจภายใน สงตอแพทยเพื่อรักษา
2. ตรวจรางกายทั่วไป ตรวจครรภ สงตอแพทยเพื่อรักษา
3. ตรวจครรภ ใหคําแนะนําเรื่องการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการแทง
4. ตรวจรางกายทั่วไป ตรวจครรภ ใหคําแนะนําการสังเกตลูกดิน้

42. หญิงตั้งครรภแรก แพทยวนิ จิ ฉัยวาเปนครรภไขปลาอุก รักษาดวยการขูดมดลูก ดวยเครื่องดูดสุญญากาศ


หากตองการมีบุตรอีก จะใหคําแนะนําอยางไร
1. ใสหว งอนามัย 6 เดือนจึงปลอยใหตั้งครรภ
2. งดมีเพศสัมพันธ 6 สัปดาห จึงปลอยใหตั้งครรภ
3. ไมควรมีบตุ รอีก เพราะมีโอกาสตั้งครรภไขปลาอุกซ้ํา
4. เวนระยะการมีบุตรอยางนอย 1 ป โดยใชยาเม็ดคุมกําเนิด
11

43. หญิงตั้งครรภ G3P2 อายุครรภ 32 สัปดาห มีเลือดออกทางชองคลอดและปวดทองมาก มดลูกแข็งตัว


ตลอดเวลา ตรวจครรภพบมดลูกสูง ¾ > สะดือ คลําหาสวนของทารก และฟง FHS ไมได BP =100/60
mmHg ชีพจรเบาเร็วหายใจกระสับกระสาย การพยาบาลอันดับแรกคือขอใด
1. ฟง FHS ทุก 15 นาที
2. ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
3. ใหยาระงับปวดตามแผนการรักษา
4. เตรียมผูคลอดเพื่อผาตัดเอาทารกออกทางหนาทอง
44. หญิงตั้งครรภรายใด อยูในภาวะ Placenta Previa
1. มีเลือดสดๆ ออกทางชองคลอด ไมมีการหดรัดตัวของมดลูก ทารกอยูในภาวะปกติ
2. มีเลือดสีคล้ําๆ ออกทางชองคลอด ไมมีการหดรัดตัวของมดลูก ทารกอยูในภาวะปกติ
3. มีเลือดสดๆ ออกทางชองคลอด มีการหดรัดตัวของมดลูก ทารกอยูในภาวะ Fetal Distress
4. มีเลือดสีคล้ําๆ ออกทางชองคลอด มีการหดรัดตัวของมดลูก ทารกอยูในภาวะ Fetal Distress
45. หญิงตั้งครรภแรก ตรวจพบ HBsAg+ve, HBeAg –ve, Anti HBsAg +ve ขอใดกลาวถูกตอง
1. เริ่มเปนตับอับเสบ มีโอกาสแพรเชื้อสูง
2. เปนโรคตับอับเสบมานาน มีโอกาสแพรเชื้อต่ํา
3. เคยเปนโรคตับอับเสบเฉียบพลัน แตปจ จุบันหายแลว
4. เคยเปนพาหะของโรคตับอักเสบ แตหายจากการเปนตับอับเสบอยางสมบูรณ
46. หญิงตั้งครรภ ใหประวัตวิ า ไปสัมผัสผูมีไขออกผื่นมา จากการตรวจ HAI Titer ครั้งที่ 1 ผลการตรวจ
นอยกวา 1 : 8 ครั้งที่ 2 ผลเทาเดิม ทานจะอธิบายผลการตรวจอยางไร
1. เปนหัดเยอรมัน
2. ยังไมแนใจใหตรวจหา IgM
3. ไมใชหดั เยอรมันและมีภมู ิคุมกัน
4. ไมใชหดั เยอรมันและยังไมมีภูมิคุมกัน
47. หญิงตั้งครรภอายุครรภ 10 สัปดาห VDRL reactive 1 : 8 และ TPHA +ve หญิงตั้งครรภไมยอมรับการ
รักษา บอกวาตนเองไมมีอะไรผิดปกติ ทานจะใหคําอธิบายอยางไร
1. เปนการติดเชื้อซิฟลิสในระยะแรก แตอาจทําใหทารกพิการ
2. เปนการติดเชื้อซิฟลิส ที่ไมมีอาการแสดง แตอาจทําใหทารกตาบอด
3. เปนการติดเชื้อซิฟลิสในระยะแรก การรักษาชวยปองกันความผิดปกติทารก
4. เปนการติดเชื้อซิฟลิส ที่ไมมีอาการแสดง แตเชื้อจะทําใหทารกตายในครรภ
12

48. หญิงตั้งครรภ อายุครรภ 38 สัปดาห มีการติดเชื้อ HIV ไดรับประทานยา Zidovudine มาตั้งแตอายุครรภ


30 สัปดาห รับประทานยาอยางสม่ําเสมอ เจ็บครรภกอ นมาโรงพยาบาล 2 ชั่วโมง ไมมีน้ําเดิน ควร
ประเมินสภาพเพิ่มเติมในเรื่องใด
1. การติดเชื้อในสามี
2. การตรวจเลือดหา CD4
3. การเกิดอาการขางเคียงของยา
4. การรับประทานยาเมื่อเริ่มเจ็บครรภ

49. ผูคลอดครรภแรก ในระยะที่ 2 ของการคลอด ทารกทา LOA Interval = 2นาที 20 วินาที Duration = 40
วินาที สีหนาออนเพลียเวลาผานไป 30 นาที Station +1 ไมพบ Bladder full Saggital suture อยูในแนว
เฉียง ควรใหการดูแลเชนไร
1. เชียรเบงใหถูกวิธี
2. ฟง FHS ทุก 5 นาที
3. ดูแลเช็ดตัวดวยผาชุบน้ําเย็น
4. รายงานแพทยใหยากระตุน มดลูก

50. การที่ผูคลอดมีภาวะชองออกของเชิงกรานแคบ จะมีผลอยางไรตอการคลอด


1. ไมมีภาวะ Engagement
2. มีการฉีกขาดของฝเย็บมาก
3. ศีรษะทารกไมหมุนตามกลไก
4. ไมมีการตะแคงของศีรษะทารก

51. ผูคลอดครรภหลัง รายใดทีค่ วรรายงานแพทยเพื่อชวยเหลือโดยการผาตัดคลอดทางหนาทอง


1. ทารกทา Brow
2. ทารกทา Breech
3. ทารกทา Mento Posterior
4. ทารกทา Mento Anterior
13

52. มารดาวัยรุน ขณะรอคลอดมีพฤติกรรมรองครวญคราง เอะอะโวยวาย เมื่อเขาสูระยะที่สองของการ


คลอด นอนบิดตัวไปมาไมยอมเบง ทานควรดูแลอยางไร
1. รายงานแพทยเพื่อชวยคลอดดวยเครื่องดูดสุญญากาศ
2. ปลอบโยนและอธิบายวากําลังเปนแมคนแลวตองอดทน
3. ปลอบโยนและอธิบายวาการรองโวยวายจะทําใหการคลอดลาชา
4. พยายามกระตุนใหผูคลอดเบงถูกวิธีและใหสารน้ํากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก

53. ผูคลอดรองครวญครางทุกครั้งเมื่อมีอาการเจ็บครรภ บอกวากลัวและขอใหมารดาอยูเปนเพื่อน ทานจะ


ใหการพยาบาลอยางไร
1. อนุญาตใหมารดาอยูเปนเพื่อน
2. อนุญาตใหออกไปพบญาติ 5 นาทีแลวใหกลับมานอนที่เตียง
3. เปดโอกาสใหผูคลอดไดระบายความรูสึกที่อึดอัดภายในจิตใจ
4. ใชมือสัมผัสผูคลอดและบอกวาจะไดพบญาติหลังคลอดเสร็จแลว

54. การพยาบาลผูคลอดที่มีภาวะ PPROM ขอใดสําคัญที่สุด


1. ปองกันการติดเชื้อ
2. ดูแลใหพักผอนบนเตียง
3. ประเมินอายุครรภที่แนนอน
4. ทดสอบยืนยันวาถุงน้ําคร่ําแตกจริง

55. หญิงตั้งครรภ G1P0 อายุครรภ 32 สัปดาห นอกพักในหองรอคลอดดวยอาการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด


มีอาการเครียดตองการกลับบาน ไมอยากนอนพักบนเตียง ทานจะอธิบายเหตุผลในการนอนพักบนเตียง
แกหญิงตั้งครรภอยางไร
1. ชวยลดแรงกดของทารกทีป่ ากมดลูก
2. ทําใหกลามเนื้อมดลูกคลายตัวไมเจ็บครรภ
3. ชวยใหเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงทารกไดดขี ึ้น
4. ทําใหระดับของฮอรโมนที่ทําใหเครียดลดลง
14

56. มารดาครรภแรกเบงคลอดนาน 1 ชั่วโมง และเบงทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว ขณะเบงคลอดศีรษะทารก


ผลุบโผล ตรวจภายในพบทารกทา OPP คลําไมพบปากมดลูก คาดคะเนทารกในครรภ 3,500 กรัม
สาเหตุของการคลอดยาวนานคือขอใด
1. ทารกทาผิดปกติ
2. ทารกขนาดใหญ
3. เบงคลอดไมถูกวิธี
4. การหดรัดตัวของมดลูกไมดี

57. กิจกรรมการพยาบาลมารดาเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนหลังไดรับการผาตัดรักษาภาวะมดลูกแตก คือขอใด


1. ดูแลใหยาแกปวด
2. ดูแลใหยาปฏิชีวนะ
3. ดูแลใหพักผอนบนเตียง
4. ดูแลใหงดน้ําและอาหารทางปาก

58. หลังจากเจาะถุงน้ํา มารดามีอาการหนาวสั่น หายใจลําบาก เขียว พยาบาลควรชวยเหลืออยางไรเปน


อันดับแรก
1. วัดสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะช็อค
2. จัดทานอนศีรษะสูงและใหออกซิเจน
3. เตรียมมารดาเพื่อผาตัดทารกออกทางหนาทอง
4. ประเมินความรูสึกตัวและฟงอัตราการเตนของหัวใจทารก

59. มารดาครรภแรก ขณะนอนรอคลอด ถุงน้ําแตก มีเลือดสดปนออกมา การพยาบาลทีส่ ําคัญอันดับแรกคือ


ขอใด
1. เตรียมมารดาเพื่อผาตัดคลอด
2. ฟงอัตราการเตนของหัวใจทารก
3. แนะนําใหมารดานอกพักบนเตียง
4. ดูแลใหสารน้ําเพื่อปองกันภาวะช็อค
15

60. หญิงตั้งครรภ อายุครรภ 37 สัปดาห ขณะรอคลอดถุงน้ําแตกและมีสายสะดือโผลพนชองคลอด พยาบาล


ควรปฏิบัติอยางไร
1. จัดใหนอนยกกนสูง
2. ใชนิ้วดันศีรษะทารกไว
3. ดันสายสะดือกลับและจัดใหนอนยกกนสูง
4. จัดใหนอนยกกนสูงและดันศีรษะทารกไว

61. ผูคลอด ขณะรอคลอด ถุงน้าํ แตก พบน้ําคร่าํ สีเขียวเขม แพทยพิจารณาใหทํา Electronic fetal monitoring
พบวาชวงหลังของการหดรัดของมดลูก มีอัตราการเตนของหัวใจทารกชาลงเปนเวลานาน การพยาบาล
อันดับแรก คือขอใด
1. ดูแลใหยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก
2. ดูแลใหออกซิเจนและงดอาหารและน้ําทางปาก
3. เตรียมมารดาเพื่อผาตัดทารกคลอดทางหนาทอง
4. เตรียมดานรางกายจิตใจ และการยินยอมรับการรักษา

62. มารดารายหนึ่ง ภายหลังคลอดรก พบกอนเนื้อสีแดงคาอยูภายในชองคลอด ผูคลอดมีอาการปวดมาก คลํา


ยอดมดลูกไมได และมีเลือดออกทางชองคลอดจํานวนมาก กิจกรรมการพยาบาลที่เหมาะสม คือขอใด
1. ใหยาระงับปวด
2. คลึงมดลูกใหแข็งตัว
3. ดันกอนเนือ้ เขาไปในชองทอง
4. ดูแลใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา

63. มารดาครรภที่ 3 หลังคลอด 1 ชั่วโมง มีเลือดออกทางชองคลอดประมาณ 500 ซีซี ควรใหการพยาบาล


อันดับแรกอยางไร
1. วัดสัญญาณชีพ และสังเกตอาการอยางใกลชิด
2. ตรวจการฉีกขาดของชองทางคลอดและปากมดลูก
3. ยกปลายเทาใหสูงและใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
4. คลึงมดลูกใหแข็งและไลกอนเลือดออกจากโพรงมดลูก
16

64. การพยาบาลผูที่ไดรับ Prostaglandins คือขอใด


1. วัดสัญญาณชีพ ทุก 30 นาที นาน 2 ชัว่ โมง
2. สอนเทคนิคการหายใจเพือ่ ลดความเจ็บปวด
3. ใหผูคลอดนอนพักบนเตียงหลังเหน็บยา 30 นาที
4. ตรวจภายในเพื่อประเมินความกาวหนาของการคลอดเปนระยะ

65. หญิงตั้งครรภ อายุ 32 ป เปนโรคหัวใจ Class II ขณะเจ็บครรภคลอด ปากมดลูกเปดหมด I = 2 นาที


D = 50 วินาที เริ่มมีอาการเหนื่อย FHS 144 ครั้ง/นาที ควรชวยเหลืออยางไร
1. เชียรเบงคลอด ใหคลอดตามปกติ
2. เตรียมผิวหนังหนาทองเพือ่ สงเขารับการผาตัด
3. ฟงเสียงหัวใจทารก ขณะแพทยล็อคคีมทําคลอด
4. เชียรเบงขณะมดลูกหดรัดตัวและแพทยดึงศีรษะทารกดวยเครื่องดูดสุญญากาศ

66. มารดาหลัง C/S 4 ชั่วโมง ทองอืด เพลีย ปวดแผลมาก มีเลือดออกทางชองคลอด ติดผาซับเลือดเล็กนอย


ตรวจสัญญาณชีพ P = 100 ครั้ง/นาที BP = 80/50 mmHg, T = 37.8 องศาเซลเซียส, R = 28 ครั้ง/นาที
ทานจะใหการชวยเหลืออยางไรเปนอันดับแรก
1. เพิ่มอัตราการไหลของสารน้ํา
2. ใหออกซิเจนและจัดPosition
3. ใหยาระงับปวดและใหพกั ผอน
4. ตรวจสัญญาณชีพ ซ้ําและบันทึก Urine Output

67. พยาบาลไดรับแจงวามีมารดาคลอดบุตรในรถ เมื่อไปถึงพบวา ทารกคลอดออกมาแลว รองเสียงดัง โดย


รกยังไมคลอด ทานจะใหการชวยเหลืออยางไรเปนอันดับแรก
1. ใชกรรไกรตัดสายสะดือ
2. ดูดเสมหะในปากและจมูก
3. ปูผาปราศจากเชื้อรองรับเด็ก
4. ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ
17

68. ขณะทีแ่ พทยชว ยทําคลอดทากน แพทยใสคีมเพื่อชวยทําคลอดศีรษะทารก พยาบาลควรใหการชวยเหลือ


อยางไร
1. ชวยเอานิ้วใสปากทารก
2. ชวยกดบริเวณเหนือหัวเหนา
3. ชวยยกลําตัวและจับขอเทาทารก
4. ชวยจับเวลาใหการคลอดสิ้นสุดใน 10 นาที

69. มารดาหลังคลอด 8 ชั่วโมง มีอาการปวดแผล แผลมีลักษณะบวมเลือด ฝเย็บบวมเปนจ้ําสีมวง พยาบาล


จะใหการดูแลอยางไร
1. ประคบเย็นบริเวณที่มีอาการบวมเลือด
2. กดหามเลือด บริเวณที่มีอาการบวมเลือด
3. ใชเข็มเจาะบริเวณที่มกี อนเลือดเพื่อใหเลือดไหลออก
4. รายงานแพทยเพื่อตัดไหมบริเวณแผลเย็บเพื่อระบายกอนออก

70. มารดาหลังคลอด 2 วัน น้ําคาวปลาสีแดงจาง กลิ่นปกติ ยอดมดลูกอยูร ะดับสะดือ ทานจะใหคําแนะนํา


อยางไร
1. เลี้ยงบุตรดวยนมมารดา
2. ใชกระเปาน้ํารอนวางบริเวณทองนอย
3. นอนพลิกตะแคงไปมา ใหน้ําคาวปลาไหลสะดวก
4. ขมิบชองคลอดวันละ 50 – 100 ครั้ง ใหเลือดไหลเวียนดี

71. มารดาหลังคลอดวันที่ 4 มีไขสูงหนาวสัน่ ปวดมดลูกมากวัดระดับยอดมดลูกได 5 นิ้ว เจ็บตึงฝเย็บ


น้ําคาวปลามีกลิ่นเหม็น สีน้ําตาลเขม มารดารายนี้มภี าวะใด
1. Endometriosis
2. Perineal infection
3. Puerperal peritonitis
4. Perineal infection รวมกับ Endometriosis
18

72. มารดาหลังคลอดวันที่ 5 ขาซายบวม รอนผิวหนังตึงเปนมัน ขณะยืดขาจะปวดมาก T = 38.2oC


กิจกรรมการพยาบาลใดเหมาะสม
1. กระตุนใหลุกเดิน ขณะนอนใหยกเทาสูง
2. แนะนําไมใหยืนนาน ๆ ประคบดวยความเย็น
3. ใหนอนพักผอนอยางเพียงพอ ไมนั่งไขวหาง
4. ใหดื่มน้ํามากๆ ไมควรเคลื่อนไหวขาขางที่เปน

73. มารดาหลังคลอด 2 วัน ไดรับการรักษาโรคจิตเภทมา 3 ป ญาติแจงวา มารดารายนี้อุมกอดทารกอยู


ตลอดเวลา กลางคืนไมยอมนอน ทานจะใหการดูแลอยางไร
1. นําทารกมาดูแล และรายงานแพทย
2. สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอยางใกลชิด
3. แนะนําใหญาติชวยดูแลทารก เพื่อใหมารดาพักผอนอยางเพียงพอ
4. จัดสิ่งแวดลอมที่สงบ และแนะนําใหมารดานอนหลับตอนที่ทารกหลับ

74. ทารกแรกเกิดรองเสียงเบา หายใจเบาตื้น แขนขาออนปวกเปยก ทําหนาแสยะเมื่อดูดสิ่งคัดหลั่ง ตัวซีด


ขาว ฟงเสียงหัวใจได 110 ครัง้ /นาที การพยาบาลขอใดเหมาะสมที่สุด
1. ใหความอบอุนและถูนวดหนาอก กระตุนใหรอง
2. ใหออกซิเจน จอหางจากจมูก 1 นิ้ว และดีดฝาเทาใหรอง
3. ใสทอหลอดลมคอ ใหออกซิเจน สลับกับการนวดหัวใจเปนระยะ
4. ดูดสิ่งคัดหลั่ง สลับกับการชวยหายใจดวย Ambu bag with Oxygen

75. ทารกที่มีภาวะ Myelomenigocele จะใหการดูแลอยางไร


1. จัดทานอนหงายศีรษะสูง
2. เจาะถุงน้ําเพื่อระบายน้ําไขสันหลัง
3. ใชผากอซปราศจากเชื้อชุบ NSS ปดไว
4. ลดความดันในถุงน้ําโดยการลดการกระตุนทารก
1

ขอสอบการผดุงครรภ ชุดที่ 2

1. บทบาทของผดุงครรภขอใดไมสอดคลองกับพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
พ.ศ. 2540
1. สอนมารดาครรภแรกใหอาบน้ําบุตร
2. ฉีดยาปองกันบาดทะยักใหกับหญิงตั้งครรภ
3. ชวยแพทยในการทํา Vaccuum Extraction
4. ฉีดยา Methergin เขาหลอดเลือดดําหลังรกคลอด

2. ขอใดคือบทบาทของผดุงครรภในชุมชนตามมาตรฐานองคการอนามัยโลกที่เหมาะสมที่สุด
1. คนหาหญิงวัยเจริญพันธุเพื่อแนะนําการคุมกําเนิด
2. คนหาหญิงวัยเจริญพันธุเพื่อแนะนําการตรวจรางกายกอนสมรส
3. คนหาหญิงตั้งครรภเพื่อแนะนําการฝากครรภและการตรวจครรภ
4. คนหาหญิงตั้งครรภเพื่อเตรียมรางกายและสถานที่สําหรับคลอดที่บาน

3. ผูคลอดรายใดมีลักษณะของการคลอดปกติ
1. G1P0 อายุครรภ 38 สัปดาห Vertex presentation คลอดเอง ระยะเวลาคลอดทั้งหมด
22 ชม.
2. G2P1 อายุครรภ 39 สัปดาห Longitudinal lie คลอดเอง ระยะที่ 2 ของการคลอด
ใชเวลา 1 ชม. 30 นาที
3. G2P1 อายุครรภ 40 สัปดาห Breech presentation คลอดทางชองคลอด ระยะเวลาคลอด
ทั้งหมด 12 ชม.
4. G2P1 อายุครรภ 38 สัปดาห Vertex presentation คลอดทางชองคลอด ระยะที่ 3
ของการคลอดใชเวลา 40 นาที

4. ทฤษฎีการเริ่มตนเจ็บครรภคลอด ทฤษฎีใดไดรับการเชื่อถือมากที่สุด
1. Oxytocin theory
2. Prostaglandins theory
3. Estrogen stimulation theory
4. Progesterone withdrawal theory
2

5. ผูคลอดครรภแรก อายุ 16 ป คาดคะเนน้ําหนักทารก 3,000 gms. ทารกใชศีรษะเปนสวนนํา


ผูคลอดรายนี้มีโอกาสเกิดความผิดปกติของปจจัยการคลอดใด
1. Power
2. Passage
3. Passenger
4. Psychological

6. ทารกทา LOA เมื่อศีรษะคลอดผานชองคลอด จะเกิดกลไก Restitution อยางไร


1. หมุนตามเข็มนาฬิกา 45 องศา
2. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 45 องศา
3. หมุนตามเข็มนาฬิกา 90 องศา
4. หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา

7. แรกรับมารดา G3P2 อายุครรภ 38 สัปดาห ใหประวัติมีน้ําเดินกอนมาโรงพยาบาลประมาณ 1 ชม.


การพยาบาลใดที่ควรปฏิบัติเปนอันดับแรก
1. ใสผาปราศจากเชื้อเพื่อสังเกตน้ําคร่ํา
2. ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปดขยายของปากมดลูก
3. ซักถามลักษณะสีและปริมาณของน้ําคร่ํา จนแนใจวาเปนน้ําเดินจริง
4. ประเมินอัตราการเตนของหัวใจทารกและการดิ้นของทารกในครรภ

8. การรับใหมผูคลอดที่ตองรายงานแพทยโดยเรงดวนคือขอใด
1. G1P0 ปากมดลูกเปดหมด มี Bloody show
2. G3P2 ปากมดลูกเปด 8 ซม. ถุงน้ําแตกกอนมาโรงพยาบาล 6 ชม.
3. G3P2 ปากมดลูกเปด 3 ซม. มีประวัติผาทองคลอดในครรภแรก
4. G2P1 ปากมดลูกเปด 4 ชม. มีประวัติแทงและขูดมดลูกในครรภแรก

9. การประเมินความกาวหนาของการคลอดระยะที่ 1 ขอมูลใดสําคัญที่สุด
1. ผลการตรวจครรภ
2. ผลการตรวจภายใน
3. ผลการตรวจหาตําแหนงการฟง FHS
4. ผลการตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
3

10. ผูคลอด G1P0 ตรวจภายใน Cx. Dilated 7 ซม. Effacement 100% Station 0 MI มดลูกหดรัดตัว
I = 2 นาที 30 วินาที D = 45 วินาที อัตราการเตนของหัวใจทารก 146 ครั้ง/นาที กิจกรรมการ
พยาบาลใดสงเสริมความกาวหนาของการคลอดไดดีที่สุด
1. กระตุนใหถายปสสาวะ
2. กระตุนใหลุกเดินขางเตียง
3. แนะนําใหนอนตะแคงซาย
4. จัดทาใหนอนในทา Upright position

11. ผูคลอด G1P0 เบงคลอดนาน 30 นาที สังเกตเห็นใบหนาแดง หอบเหนื่อย ตรวจภายในศีรษะทารก


อยูที่ระดับ +1 Sagittal suture เฉียงซาย ควรใหการพยาบาลอยางไร
1. รายงานแพทย
2. เชียรเบงและใหกําลังใจ
3. แนะนําการเบงที่ถูกตอง
4. ใหออกซิเจน Cannular 3 lit/min

12. ผูคลอด G1P0 เขาสูระยะที่สองของการคลอดเบงนาน 45 นาที ตรวจภายในพบ Sagittal suture อยู


ในแนว A – P และคลําพบสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนอยูใตกระดูกหัวเหนา พยาบาลควรปฏิบัติอยางไร
1. แนะนําใหมารดาเบงใหถูกวิธี
2. ปรึกษาแพทยเพื่อใหการชวยเหลือ
3. ใหมารดานอนศีรษะสูง 30 องศา
4. สวนปสสาวะใหเพื่อใหมดลูกหดรัดตัวดี

13. ผูคลอด G3P2 อายุครรภ 40 สัปดาห เบงคลอดจนมองเห็น Parietal bone ทั้ง 2 ขาง กําลังผานออก
จากชองคลอด ทานจะใหการชวยเหลือในการทําคลอดผูคลอดรายนี้อยางไร
1. ตัดฝเย็บ
2. โกยศีรษะทารกใหเงย
3. รีบบอกใหผูคลอดหยุดเบง
4. กดศีรษะทารกบริเวณทายทอยใหกม

14. การทําคลอดรกโดย Modified Crede’ maneuver จะตองคลึงมดลูกกอนเพราะอะไร


1. ปองกันเศษรกคาง
2. ปองกันมดลูกแตก
3. ปองกันมดลูกปลิ้น
4. ปองกันการตกเลือดขณะทําคลอด
4

15. ขอใดไมใชหลักสําคัญในการซอมแซมแผลฝเย็บ
1. การหามเลือดไดดี
2. เย็บขอบแผลเชื่อมกัน ไมยน
3. เย็บเนื้อขางในสุดออกมาขางนอก
4. การเย็บแตละเข็มหางกัน 0.3 ซม.

16. มารดา G3P2A1 หลังคลอด 1 ชม. เลือดออกเปอนผาอนามัย 1 ชิ้นชุม บริเวณเหนือหัวเหนาคลําได


กอนโปงตึง และบนปวดแผลฝเย็บ ทานควรปฏิบัติการพยาบาลชวยเหลือมารดารายนี้อยางไร
1. คลึงมดลูกเนื่องจากมดลูกหดตัวไมดี
2. กระตุนใหถายปสสาวะเนื่องจากกระเพาะปสสาวะเต็ม
3. ดูแลใหนอนพักและใหยาบรรเทาปวดเนื่องจากบนปวดแผลฝเย็บ
4. ประเมินสัญญาณชีพเนื่องจากหลังคลอด 1 ชม. มีเลือดออกจํานวนมากกวาปกติ

17. ทารกแรกเกิด 1 นาที พบวา ยกแขนขาไดเล็กนอย ปลายมือปลายเทาเขียว หายใจสม่ําเสมอ ทําสี


หนาแสยะขณะดูดเสมหะ ฟงเสียงการเตนของหัวใจเทากับ 110 ครั้ง/นาที APGAR Score กี่
คะแนน
1. 4 คะแนน
2. 5 คะแนน
3. 6 คะแนน
4. 7 คะแนน

18. ทารกแรกเกิดรองเสียงดังดี ดิ้นไปมา ผิวสีชมพู แตปลายมือปลายเทาเขียว ควรใหการพยาบาล


อยางไรเหมาะสมที่สุด
1. หอผาใหรางกายอบอุน
2. รีบดูดเสมหะใหทางเดินหายใจโลง
3. ใหดมออกซิเจนโดยใชสายออกซิเจนจอใกลจมูก
4. ใหออกซิเจนโดยใชกลองออกซิเจนครอบศีรษะไว

19. ทารกแรกเกิดรองเสียงดัง ตัวแดง ปลายมือและปลายเทาเขียว หายใจสม่ําเสมอไมมีเสียงครืดคราดใน


ลําคอ BT = 36.6oC พยาบาลที่เหมาะสม คือขอใด
1. ใหดมออกซิเจน
2. กระตุนใหรอง
3. หอตัวทารกใหความอบอุน
4. ดูดเมือกและน้ําคร่ําออกจากปากและจมูก
5

20. วัตถุประสงคของการทํา Foam test (Shake test) คือขอใด


1. ตรวจดูการทําหนาที่ของรก
2. ตรวจหาปริมาณ Lecithin ในน้ําคร่ํา
3. ตรวจสอบความสมบูรณของปอดทารก
4. ตรวจสอบคุณสมบัติการเพิ่มความตึงตัวของน้ําคร่ํา

21. การประเมินอายุครรภจากผลการตรวจ Ultrasound ในหญิงตั้งครรภที่มีระดับยอดมดลูกที่ระดับสะดือ


ควรเลือกใชคาใด
1. Occipital Diameter
2. Biparietal Diameter
3. Crown Rump Length
4. Abdominal Circumference

22. หญิงตั้งครรภ อายุครรภ 32 สัปดาห ผลการตรวจ NST พบวา ในขณะที่ทารกดิ้นอัตราการเตนของ


หัวใจทารกเปลี่ยนจาก 140 ครั้ง/นาที เปน 160 ครั้ง/นาที และคอยลดลงสูระดับเดิมใชเวลาประมาณ
15 วินาที โดยมีการดิ้นของทารกประมาณ 3 ครั้ง ใน 10 นาที ใหคําแนะนําแกมารดาอยางไร
1. ทารกมีสุขภาพดี ควรนับลูกดิ้นทุกวัน
2. ทารกมีสุขภาพดี ควรมาตรวจตามนัด
3. ทารกขาดออกซิเจน ควรไดรับการผาตัดคลอด
4. ทารกขาดออกซิเจน ควรนอนพักในโรงพยาบาล

23. ผูคลอด Cx. Dilate 4 cm. eff. 60% MI Station 0 หลังไดรับสารน้ํา ผสม Syntocinon 10 unit ทางหลอด
เลือดดํา 15 นาที พบวา Interval 2 นาที 20 วินาที Duration 50 วินาที FHS 140/min ควรปฏิบัติอยางไร
1. คงอัตราการไหลเทาเดิม
2. ลดอัตราการไหลของสารน้ํา
3. เพิ่มอัตราการไหลของสารน้ํา
4. หยุดใหสารน้ําและรายงานแพทย

24. ผูคลอด ครรภแรก ปากมดลูกเปด 5 เซนติเมตร มีอาการเจ็บครรภมาก แพทยใหยา Pethidine 50 mg


IM การพยาบาลที่ถูกตองคือขอใด
1. ดูแลใหไดรับออกซิเจน เพราะยามีฤทธิ์ขางเคียงกดการหายใจ
2. ใหขอมูลวา “อาการเจ็บปวดจะหายไปและหลับได” เพราะยาออกฤทธิ์ลดปวด
3. อธิบายเหตุผลที่ผูคลอดตองนอนพักบนเตียงตลอดเวลา เพราะยาทําใหมีอาการมึนงง
4. ใหขอมูลวาอาจตองไดรับยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก เพราะยา Pethidine ทําให
มดลูกหดรัดตัวนอยลง
6

25. ภาวะแทรกซอนที่อันตรายและรายแรงมากที่สุดของภาวะทารกตายในครรภคือขอใด
1. รกลอกตัวกอนกําหนด
2. การติดเชื้อเขาสูโพรงมดลูก
3. ภาวะเศราโศกจากการสูญเสีย
4. ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
26. มารดา G4P2A2L0 หลังคลอด 2 ชั่วโมง แพทยแจงวาบุตรเสียชีวิต มารดานิ่งเงียบ ไมพูดและนอน
บนเตียง ไมทํากิจกรรมใด ๆ การดูแลดานจิตใจแกมารดาหลังคลอดรายนี้ คือขอใด
1. คุณรูสึกอยางไรบางคะ เลาใหพยาบาลฟงไดนะคะ
2. ไมเปนไรนะคะ เคาทําบุญมาแคนี้ แลวคอยมีลูกใหม
3. แพทยไดพยายามสุดความสามารถแลวที่จะชวยเหลือลูกของคุณ
4. สัมผัสมือมารดา และบอกวา พยาบาลจะอยูเปนเพื่อนคอยดูแลคุณอยางใกลชิด
27. หญิงตั้งครรภ G1P0 อายุ 15 ป มารดาของหญิงตั้งครรภพามาฝากครรภครั้งแรกเมื่ออายุครรภ 32
สัปดาห จากการซักประวัติพบวา หญิงตั้งครรภและมารดาของหญิงตั้งครรภไมตองการบุตรในครรภ
ขอใดเปนการพยาบาลที่เหมาะสมสําหรับหญิงตั้งครรภรายนี้
1. คนหาสาเหตุของการตั้งครรภไมพึงประสงค
2. ประเมินการยอมรับการตั้งครรภของหญิงตั้งครรภ
3. แนะนําใหมารดาของหญิงตั้งครรภชวยเลี้ยงดูหลานในระยะหลังคลอด
4. กระตุนใหหญิงตั้งครรภมีปฏิสัมพันธกับทารกในครรภ โดยการพดูหรือลูบหนาทอง
28. ผูคลอดครรภที่ 4 อายุ 41 ป มาโรงพยาบาลดวยเจ็บครรภถี่ มีมูกเลือด มีน้ําเดิน ตรวจครรภ พบ
มดลู ก หดรั ด ตั ว ทุ ก 2 นาที 30 วิ น าที นาน 50 วิ น าที คาดคะเนทารกในครรภ 3,000 กรั ม
มารดารายนี้นาจะมีภาวะใดในระยะคลอด
1. การคลอดปกติ เนื่องจากตั้งครรภครั้งที่ 4
2. การคลอดรวดเร็ว เนื่องจากทารกตัวเล็ก
3. การคลอดลําบาก เนื่องจากแรงเบงไมเพียงพอ
4. การคลอดยาวนาน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไมดี
29. หญิงตั้งครรภ มาฝากครรภ พบวา ตามตัวมีรอยฟกช้ํา สีหนาเศราและเงียบขรึม ทานควรใหการดูแล
อยางไรเปนอันดับแรก
1. สรางความไววางใจและรับฟงปญหา
2. แนะนําใหหาแหลงสนับสนุนทางสังคม
3. พยายามซักถามสาเหตุของรอยฟกช้ําตามตัว
4. ตรวจรางกายอยางละเอียดและบันทึกไวเปนขอมูลพื้นฐาน
7

30. หญิงไทยคู อายุ 28 ป อาชีพรับจาง G1P0 อายุครรภ 16 สัปดาห มีอาการคลื่นไสอาเจียน


ติดตอกันมาประมาณ 1 เดือน รับประทานอาหารไดนอยมาก น้ําหนักลด 3 กก. ออนเพลียมาก จาก
การซักประวัติพบวา สามีทํางานอยูตางจังหวัด หญิงตั้งครรภอาศัยอยูตามลําพัง การพยาบาลที่ควรให
อยางเรงดวนคือขอใด
1. รับฟงและใหคําปรึกษา
2. ประเมินสัญญาณชีพเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลง
3. ประเมินภาวะขาดสมดุลของสารน้ําและอิเลคโตรไลท
4. ดูแลใหสารน้ําทางหลอดเลือดดําเพื่อทดแทนสารน้ําทางปาก

31. หญิงตั้งครรภ G1P0 อายุครรภ 24 สัปดาห มาฝากครรภครั้งที่ 2 ตรวจพบ BP = 140/100 mm.Hg


มีอาการบวม +1 โปรตีนในปสสาวะ +1 ขอใดเปนคําแนะนําที่เหมาะสม
1. ใหพักผอนบนเตียงตลอดเวลา
2. งดทํางานหนัก และยกเทาสูง
3. ชั่งน้ําหนัก หากน้ําหนักเพิ่มขึ้น 0.5 กก./สัปดาห ใหรีบมาพบแพทย
4. สังเกตอาการปวดศีรษะ ตาพรา จุกแนนยอดอกใหมาโรงพยาบาลทันที

32. มารดารายหนึ่ง จากประวัติในระยะตั้งครรภ มารดารายนี้มีขนาดมดลูกใหญกวาอายุครรภ คลําสวน


ของทารกไดลําบาก แนนอึดอัด หายใจไมสะดวก บวมบริเวณอวัยวะสืบพันธุและขาทั้ง 2 ขาง ทาน
ควรชวยเหลือมารดารายนี้ในระยะคลอดอยางไรเพื่อใหการคลอดเปนไปตามปกติ
1. รายงานแพทยผาตัดคลอด
2. กระตุนมดลูกใหหดรัดตัวดี
3. รายงานแพทยใหยาเรงคลอด
4. ดูแลใหกระเพาะปสสาวะวาง

33. หญิงตั้งครรภ G4P2A1 อายุครรภ 38 สัปดาห ตั้งครรภแฝดมาโรงพยาบาลดวยอาการเจ็บครรภ


มีมูกเลือดออกทางชองคลอด แพทย Ultrasound พบทารกทาศีรษะทั้งสองคน เปนการพยาบาลที่
เหมาะสมคือขอใด
1. ดูแลใหไดรับยาเรงคลอด เพื่อใหทารกคลอดออกมาโดยเร็ว
2. เตรียมคลอดโดยการผาตัดเอาทารกออกทางหนาทอง เพื่อความปลอดภัยของทารก
3. ประเมินอันตราการเตนของหัวใจทารก เพื่อประเมินภาวะสายสะดือพันกันเปนเกลียว
4. เตรียมคลอดปกติ ขณะทารกคนที่หนึ่งคลอดตองรีบผูกสายสะดือเพื่อปองกันทารกคนที่ 2
เสียเลือด
8

34. อาหารชนิดใดควรแนะนําใหมารดาที่มีภาวะโรคหัวใจ
1. เตาเจี้ยวหลน คะนาปลาเค็ม
2. ตมจืดมะระเตาหูออน ปลาเผา
3. ทอดมันกุง ผัดผักรวมน้ํามันหอย
4. ปูผัดผงกะหรี่ หมูแดดเดียวทอดกระเทียมพริกไทย

35. หญิงตั้งครรภ ครรภแรก อายุครรภ 30 สัปดาห มีประวัติเปนโรคหัวใจรูหมาติค สามารถทํางานได


ตามปกติ มาฝากครรภ บอกวามีอาการหายใจเหนื่อย และใจสั่น เวลาออกแรงมาก ๆ การพยาบาล
ขอใดเหมาะสม
1. ใหออกซิเจนและนอนพักสังเกตอาการ
2. แนะนําใหงดรับประทานอาหารเค็มและมัน
3. แนะนําใหนอนพักรักษาในโรงพยาบาลจนกวาจะคลอด
4. ใหกลับบานและแนะนําใหงดทํากิจกรรมที่ออกแรงมาก ๆ

36. หญิงตั้งครรภ G2P1 อายุ 28 ป อายุครรภ 8 สัปดาห มีประวัติเปนโรคเบาหวานมา 5 ป รักษาดวย


การรับประทานยาอินซูลิน มาโรงพยาบาลดวยอาการคลื่นไส อาเจียน ทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร
ขอใดเปนการพยาบาลที่เหมาะสม
1. ใหออกกําลังกาย เพื่อควบคุมน้ําหนักตัว
2. แนะนําวิธีการฉีดยาอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด
3. ใหรับประทานอาหารครั้งละนอย ๆ บอยครั้ง เพื่อปองกันภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา
4. ใหรับประทานอาหารวันละ 30 – 35 แคลอรี่/กิโลกรัม เพื่อปองกันภาวะน้ําตาลในเลือดสูง

37. หญิงครรภที่ 2 ครรภแรกคลอดดวยวิธี V/E เปน GDM ชนิด class A อายุครรภครบกําหนดมาดวย


อาการเจ็บครรภ มีน้ําเดิน กอนมาโรงพยาบาล 2 ชม. คะเนน้ําหนักทารกในครรภได 3,800 กรัม
การพยาบาลขอใดถูกตอง
1. รายงานแพทยเพื่อรักษาดวย Insulin
2. รายงานแพทยเพื่อทํา Ultrasound กอนคลอด
3. เตรียมรางกายและจิตใจเพื่อคลอดบุตรโดยวิธี C/S
4. ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา
9

38. หญิงตั้งครรภ ครรภที่ 2 อายุครรภที่ 14 สัปดาห ตรวจเลือดพบวา เปนพาหะเบตาธาลัสซีเมีย สามี


ตรวจเลือดพบวาปกติ ขอใดเปนคําแนะนําที่เหมาะสมสําหรับหญิงตั้งครรภรายนี้
1. ใหคําปรึกษาเพื่อยุติการตั้งครรภ เพราะบุตรมีโอกาสเปนโรค
2. แนะนําใหตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ เพื่อดูวาทารกเปนโรคหรือไม
3. ใหความรูเกี่ยวกับโรค ผลกระทบของโรคที่มีตอทารกในครรภเพื่อลดความวิตกกังวล
4. แนะนําการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ เนนเรื่องการรับประทานยา Folic acid เพื่อชวย
สรางเซลลเม็ดเลือดแดง
39. หญิงตั้งครรภ อายุครรภ 32 สัปดาห มีอาการปสสาวะแสบขัด ปวดหลังบริเวณบั้นเอวขางซาย T =
38.7 องศาเซลเซียส พบเม็ดเลือดขาวในปสสาวะ ควรดูแลหญิงตั้งครรภรายนี้อยางไร
1. แนะนําใหนอนตะแคงซาย
2. ใหยา Ampicillin 1 gm IV
3. Retained Foley’s Catheter
4. ดูแลใหดื่มน้ําวันละมากกวา 3,000 ซีซี
40. การดูแลมารดาตั้งครรภที่ไดรับยา PTU ขนาด 15 มก./วัน ที่เหมาะสมคือขอใด
1. เฝาระวังภาวะโลหิตจาง
2. เฝาระวังภาวะ Hyperthyroid
3. เฝาระวังภาวะ Thyroid storm
4. เฝาระวังการติดเชื้อในรางกาย
41. หญิงตั้งครรภรายหนึ่งอายุครรภ 12 สัปดาห มีอาการปวดถวง เลือดออกทางชองคลอด ตรวจภายใน
ปากมดลูกปด สงทํา Ultrasound ไมพบ Fetal heart rate ควรใหการพยาบาลหญิงตั้งครรภรายนี้
อยางไร
1. ชักนําใหเกิดการคลอด
2. เตรียมหญิงตั้งครรภเพื่อขูดมดลูก
3. เตรียมหญิงตั้งครรภเพื่อเย็บผูกปากมดลูก
4. ใหนอนพักจนกวาไมมีเลือดออกทางชองคลอด
42. หญิงรายหนึ่งหลังทําการขูดมดลูกเนื่องจากตั้งครรภไขปลาอุก ถามวา “ไมทราบวาเพราะเหตุใด
แพทยจึงแนะนําวาควรคุมกําเนิดอยางนอย 2 ป กอนจะมีการตั้งครรภครั้งตอไป” ทานจะตอบหญิง
รายนี้อยางไร
1. “ดิฉันก็ไมทราบวาแพทยคิดอยางไร แตดิฉันจะถามแพทยใหนะคะ”
2. “ถาจะใหไดเหตุผลที่ชัดเจน ดิฉันคิดวาควรจะตองถามจากแพทยโดยตรง”
3. “ดิฉันคิดวาแพทยตองการตรวจสอบใหมั่นใจวาปริมาณฮอรโมน HCG หมดแลวจริง ๆ”
4. “ดิฉันคิดวาแพทยคงตองการใหมดลูกมีความแข็งแรงมากพอกอนที่จะตั้งครรภครั้งตอไป”
10

43. หญิงตั้งครรภอายุครรภ 34 สัปดาห มีอาการเจ็บครรภมาก มดลูกแข็งตัว กดเจ็บมีเลือดออกทางชอง


คลอดเล็กนอย FHS = 110 ครั้ง/นาที หนามืด ใจสั่น BP = 100/62 mmHg ชีพจร = 90 ครั้ง/นาที
ควรใหการพยาบาลใดเปนอันดับแรก
1. ยับยั้งอาการเจ็บครรภ
2. แกไขภาวะ Fetal distress
3. แกไขภาวะ Hypovolemic shock
4. กระตุนการสราง Lung surfactant
44. การเกาะของรกที่ขอบของรกปกคลุมบริเวณขอบของ Internal os เปนรกเกาะต่ําชนิดใด
1. Total placenta previa
2. Partial placenta previa
3. Marginal placenta previa
4. Low lying placenta previa
45. หญิงตั้งครรภ G2P1 อายุครรภ 12 สัปดาห ใหประวัติวาครรภแรกเปนพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบี
ขอใดเปนคําแนะนําที่เหมาะสมสําหรับหญิงตั้งครรภรายนี้
1. แนะนําการปฏิบัติตนในขณะตั้งครรภ
2. แนะนําใหพาบุคคลในครอบครัวมาตรวจเลือด
3. แนะนําการปองกันการแพรกระจายเชื้อสูบุคคลใกลชิด
4. แนะนําใหรับประทานอาหารไขมันนอยและดื่มน้ําหวาน
46. หญิงตั้งครรภ 10 สัปดาห ใหประวัติวาไปสัมผัสกับคนเปนหัดเยอรมันเมื่อ 2 วันกอน เจาะเลือด
พบวา HAI titer = 1 : 8 พยาบาลจะใหคําแนะนําอยางไร
1. เปนหัดเยอรมัน บอกผลที่เกิดกับทารก
2. ไมเปนหัดเยอรมัน สามารถตั้งครรภไดตอไป
3. เปนหัดเยอรมัน ควรพบแพทยเพื่อยุติการตั้งครรภ
4. ยังไมแนใจวาเปนหัดเยอรมันหรือไม ตองมาตรวจซ้ําอีก 2 สัปดาห
47. หญิงตั้งครรภ G4P2A1 อายุครรภ 26 สัปดาห มาฝากครรภครั้งที่ 2 ผลการตรวจ VDRL พบ 1 : 8
ใหประวัติวาการตั้งครรภครั้งกอนเปนโรคซิฟลิส และไมไดรับการรักษาตอเนื่อง การพยาบาลที่
เหมาะสมคือขอใด
1. แนะนําใหสามีมารับการตรวจรักษาพรอมกัน
2. แนะนําใหรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ
3. แนะนําใหตรวจ VDRL อีกครั้งเมื่ออายุครรภ 34 สัปดาห
4. ใหใสถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธจนกวาจะรักษาใหหายขาด
11

48. การพยาบาลหญิงตั้งครรภที่ติดเชื้อ HIV ในระยะคลอดขอใดไมเหมาะสม


1. ทําคลอดโดยใชหลัก Sterile technic
2. ใหมารดาโอบกอดบุตรทันทีหลังคลอด
3. ตรวจภายในโดยใชหลัก Universal precaution
4. เจาะถุงน้ําคร่ําในระยะ Active phase เพื่อเรงการคลอด

49. หญิงตั้งครรภ G1P0 ตรวจภายใน Cx. Dilated 7 cms. Eff 100% MR Station 0 คาดคะเนน้ําหนัก
ทารกในครรภ 3,000 กรัม อาการเจ็บครรภมาก เบงทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว มารดารายนี้มีโอกาส
คลอดยากจากขอมูลใด
1. สวนนําอยูระดับ 0
2. มารดาตั้งครรภแรก
3. ทารกน้ําหนัก 3,000 กรัม
4. เบงทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว

50. สาเหตุที่ทําใหปากมดลูกดานหนาบวม คือขอใด


1. ทารกอยูในทาผิดปกติ
2. ถุงน้ําคร่ําแตกกอนเวลา
3. ระยะปากมดลูกเปดใชเวลานาน
4. สวนนํากดปากมดลูกเปนเวลานาน

51. ขอใดไมใชสาเหตุที่ทําใหทารกในครรภอยูในทากน
1. ครรภแฝด
2. รกเกาะต่ํา
3. น้ําหลอเด็กมากกวาปกติ
4. สายสะดือเกาะที่เยื่อหุมทารก

52. มารดาครรภแรก อายุ 19 ป Cx. Dilated 7 cms. ดิ้นกระสับกระสายรองครางเสียงดังตลอดเวลา


บนวาทนเจ็บครรภไมไหวแลว ตองการขอผาตัดคลอด การดูแลที่เหมาะสมคือขอใด
1. ควบคุมพฤติกรรมดวยทาที่ที่มั่นคง และน้ําเสียงที่ดังขึ้น
2. ยอมรับในพฤติกรรมที่แสดงออก ใหการดูแลดวยทาที่สงบ
3. อธิบายใหญาติเปนผูดูแลและอยูเปนเพื่อนผูคลอดตลอดเวลา
4. รายงานแพทย เพื่อผาตัดคลอดตามความตองการของผูคลอด
12

53. ทาใดชวยสงเสริมใหการคลอดระยะที่ 2 มีประสิทธิภาพมากที่สุด


1. Lateral
2. Lithotomy
3. Knee chest
4. Semi – sitting position
54. การใหสเตียรอยดใน PPROM ใหไดผลดีขอใดกลาวถูกตอง
1. เมื่ออายุครรภ 34 – 37 สัปดาห และพบภาวะ Fetal distress
2. เมื่ออายุครรภ 30 – 32 สัปดาห และพบอาการ Chorio - amnionitis
3. เมื่อมีการคลอดภายหลังเริ่มใหยาไปแลว 24 ชั่วโมง เพื่อลดอุบัติการณ RDS
4. เมื่อมีการคลอดภายหลังเริ่มใหยาไปแลว 24 ชั่วโมง เพื่อลดอุบัติการณ Infection
55. หญิงครรภแรก อายุครรภ 34 สัปดาห เจ็บครรภและมีน้ําเดิน แรกรับสัญญาณชีพปกติ แพทยตรวจ
ภายใน Cx. 3 cms. Eff 80% MR. Station - 2 ควรใหการดูแลหญิงตั้งครรภรายนี้อยางไร
1. ดูแลใหยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกเนื่องจากเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด
2. ประเมินสภาพทารกในครรภและรายงานแพทยเนื่องจากมีอาการเจ็บครรภและมีน้ําเดิน
3. ประเมินความกาวหนาการคลอดอยางใกลชิดเนื่องจากถุงน้ําแตกและเจ็บครรภคลอด
กอนกําหนด
4. ติดตามประเมินความกาวหนาของการคลอดปกติเนื่องจากมีอาการเจ็บครรภและน้ําเดิน
ตามลักษณะของการคลอดปกติ
56. ผูคลอด G3P2 เบงคลอดนาน 30 นาที ไมพบการเคลื่อนต่ําของสวนนํา ทานควรชวยเหลือผูคลอด
รายนี้อยางไรเปนอันดับแรก
1. รายงานแพทย
2. สอนการเบงที่ถูกตอง
3. ใหยากระตุนการหดรัดตัวของมดลูก
4. ตรวจสอบกระเพาะปสสาวะวาเต็มหรือไม
57. ขณะดูแลผูคลอดที่ไดรับสารน้ํา 5%D/N2 1000 cc + Synto 10 u IV 30 หยด/นาที ตรวจทาง
หนาทองพบวา I = 2’ 30” D = 70” ผูคลอดบนปวดบริเวณเหนือหัวเหนา ไมยอมใหแตะสวนลาง
ของมดลูก มีอาการกระสับกระสาย อาจเกิดภาวะใดขึ้นกับผูคลอดรายนี้
1. เครียด
2. มดลูกแตก
3. การคลอดยาก
4. กระเพาะปสสาวะเต็ม
13

58. หญิงตั้งครรภ G2P1 ไมมีโรคและภาวะแทรกซอนระหวางตั้งครรภ ภายหลังแพทยเจาะถุงน้ําคร่ํา มี


อาการเจ็บหนาอก หายใจไมสะดวก เขียว ชีพจร 110 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 80/50 mmHg ควร
ใหการชวยเหลืออันดับแรกอยางไร
1. รายงานแพทยเพื่อพิจารณาผาตัดคลอดทางหนาทอง
2. จัดใหนอนศีรษะสูงและใหออกซิเจน เพื่อแกไขภาวะหายใจลําบาก
3. ใหยามอรฟนตามแผนการรักษา เพื่อชวยลดการคั่งของหลอดเลือดดําในปอด
4. ฟงอัตราการเตนของหัวใจทารกในครรภ เพื่อประเมินสภาวะการขาดออกซิเจนของทารก

59. มารดา อายุครรภ 37 wks ไมเจ็บครรภ 30 นาทีกอนมา มีน้ําเดิน น้ําคร่ํามีเลือดปนสีแดงสด


ไหลออกทางชองคลอด พยาบาลควรปฏิบัติอยางไร
1. ใหพักบนเตียง เพื่อปองกันสายสะดือพลัดต่ํา
2.. ตรวจภายใน ใสผาซับน้ําคร่ํา นอนพักรอคลอด
3. ประเมิน FHS ใหออกซิเจน เพื่อปองกัน Fetal distress
4. ใสผา Observe เลือด เพื่อปองกันการตกเลือดกอนคลอด

60. ผูคลอดครรภหลัง ทารกทากน มีอาการเจ็บครรภถี่ I = 2 นาที D = 50 วินาที ตรวจภายในพบ


ปากมดลูกเปด 4 ซม. ความบาง 80% สวนนําระดับ 0 และพบสายสะดืออยูขางสวนนํา ทานควร
ชวยเหลืออยางไรเปนอันดับแรก
1. ใหผูคลอดนอนตะแคงซาย
2. ใหออกซิเจนแกผูคลอด 5 ลิตร/นาที
3. ใชมือที่ตรวจภายในดันสวนนําไวกอน
4. รายงานแพทย เตรียมผาตัดคลอดทางหนาทอง

61. มารดา G2P1 On 5%D/N/2 1000 cc + Syntocinon IV drip 30 หยด/นาที เจ็บครรภ I = 1 นาที
30 วินาที D = 60 วินาที ตรวจภายใน Cx. Dilated 7 เซนติเมตร Cx. Effacement 80% station 0
MI FHS 110 - 118 ครั้ง/นาที กิจกรรมการพยาบาลที่เหมาะสม คือขอใด
1. Off Syntocinon ใหออกซิเจน
2. ใหออกซิเจน นอนตะแคงซาย
3. Off Syntocinon, เตรียมผาตัดคลอด
4. ปรับหยด Syntocinon ลดลง นอนตะแคงซาย
14

62. หลั ง รกคลอด มารดามีอ าการปวดท อ งอย างรุ น แรง มีเ ลือ ดไหลออกทางชองคลอดปริม าณมาก
คลํายอดมดลูกเปนรอยบุม ต่ํากวาระดับสะดือเล็กนอยความดันโลหิตลดลง ควรใหการชวยเหลือ
อยางไร
1. เตรียมขูดมดลูกเนื่องจากเศษรกคาง
2. คลึงมดลูกใหแข็ง เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไมดี
3. ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดําปองกันภาวะช็อคเนื่องจากความดันโลหิตลดลง
4. จัดใหนอนศีรษะต่ําปลายเทาสูง เตรียมรางกายในการดันมดลูกกลับเนื่องจากมีภาวะมดลูกปลิ้น

63. มารดา อายุ 36 ป G5P5 On 5 %/D/N/2 1000 cc + Syntocinon 10 unit หลังรกคลอด 5 นาที
พบวามารดามีเลือดไหลออกทางชองคลอดเรื่อย ๆ คลํามดลูกพบมดลูกนุม มารดามีอาการหาว บนงวง
นอน พยาบาลควรปฏิบัติอยางไร
1. ใหออกซิเจนและใหสารน้ํา
2. วัดความดันโลหิตและใหสารน้ํา
3. คลึงมดลูกและประเมิน Blood loss
4. วัดความดันและให Methergin 1 amp

64. มารดาหลังไดรับยาเหน็บ Cytotec ทางชองคลอด ควรใหการดูแลอยางไร


1. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
2. แนะนําใสผาอนามัยสังเกตภาวะเลือดออก
3. แนะนําการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ
4. แนะนําใหนอนพักบนเตียง อยางนอย 30 นาที

65. นางสมใจ G3P2 เจ็บครรภถี่ ตรวจภายในพบวา ปากมดลูกเปด 8 เซนติเมตร บาง 100%


ระดับสวนนํา 0 เสียงหัวใจทารก 160 ครั้ง/นาที เจาะถุงน้ํามีสีเขียว ควรใหการชวยเหลืออยางไร
1. เชียรเบงคลอดใหคลอดตามปกติ
2. ชวยฟงเสียงหัวใจทารกขณะแพทยล็อคคีม
3. เตรียมผิวหนังหนาทองเพื่อสงเขารับการผาตัด
4. เชียรเบงขณะมดลูกหดรัดตัวต่ํา และแพทยกําลงดึงศีรษะทารก

66. มารดาหลัง C/S under spinal block 6 ชั่วโมง ทานควรใหการพยาบาลมารดารายนี้อยางไร


1. รายงานแพทย
2. ใหยาระงับปวด
3. ใหนอนราบ สังเกตอาการตอ
4. รีบกระตุนใหมี Early ambulation
15

67. ผูคลอด ครรภที่ 4 คลอดทารกในรถ หลังคลอดทานควรดูแลเรื่องใดเปนพิเศษแกผูคลอดรายนี้


1. มดลูกปลิ้น
2. การติดเชื้อ
3. ตกเลือดหลังคลอด
4. น้ําคร่ําอุดตันหลอดเลือดในปอด

68. ขอใดคือการพยาบาลที่เหมาะสมในระยะที่ 1 ของการคลอดในผูคลอดที่ทารกทากน


1. แนะนําใหผูคลอดลุกเดินเพื่อสงเสริมความกาวหนาของการคลอด
2. ใหนอนพักบนเตียง แมวาถุงน้ํายังไมแตกเพื่อปองกันสายสะดือพลัดต่ํา
3. ตรวจภายในทุก 1 – 2 ชั่วโมง เพื่อประเมินความกาวหนาของการคลอด
4. กระตุนใหถายปสสาวะที่หองน้ําทุก 2 – 4 ชั่วโมง เพื่อลดการขัดขวางการหดรัดตัวของ
มดลูก

69. มารดาหลังคลอด 8 ชั่วโมง ปวดแผลฝเย็บมากบริเวณรอบแผลฝเย็บมีสีมวงคล้ํา การพยาบาลที่


เหมาะสมคือขอใด
1. ใชมือกดไลเลือดออก
2. ลางแผลและอบแผลทุกวัน
3. อธิบายมารดาวาจะหายไปเอง
4. ตัดไหมแผลฝเย็บเพื่อระบายเลือดออก

70. มารดา G5P4 คลอดทารกแฝด กิจกรรมการพยาบาลใดชวยปองกันภาวะ Subinvolution ไดดีที่สุด


1. ใหบุตรดูดนมมารดา
2. กระตุนใหลุกเดินบอย ๆ
3. ใหออกกําลังกายวันละ 2 ครั้ง
4. กระตุนใหถายปสสาวะทุก 2 – 3 ชั่วโมง

71. ปจจัยใดไมสัมพันธกับการติดเชื้อหลังคลอด
1. Anemia
2. Multiparity
3. Hematoma
4. Prolonged labour
16

72. มารดาหลังคลอด 4 สั ปดาห ปวดเตานมขางซาย ตรวจพบเตานมมีลัก ษณะแดง รอน แข็งตึง


มีรอยแตกที่หัวนม T = 38.5 องศาเซลเซียส ทานควรใหการพยาบาลนี้อยางไร
1. ใหประคบเย็นเพื่อบรรเทาปวด
2. ใสยกทรงเพื่อประคับประคองเตานม
3. งดเลี้ยงลูกดวยนมแมเพื่อปองกันการแพรกระจายเชื้อ
4. แนะนําการรักษาความสะอาดที่ถูกวิธี เพื่อปองกันการติดเชื้อเพิ่ม

73. มารดาหลังคลอดวันที่ 7 มีอาการรองไหโดยไมมีสาเหตุ นอนไมหลับ รูสึกทอแท หมดหวัง ควรให


การดูแลอยางไร
1. แยกบุตรมาชวยเลี้ยง
2. ใหยา Antipsychotics
3. ใหคําปรึกษาทางจิตเวชแกมารดาและสมาชิกของครอบครัว
4. อธิบายกลไกการเกิดอาการและเนนใหครอบครัวมีสวนรวมในการดูแลชวยเหลือ

74. ขณะชวยคลอดศีรษะ พบน้ําคร่ําเขียวขน หลังทารกคลอดทันที ควรใหการพยาบาลอยางไรเปนอันดับแรก


1. กระตุนใหรอง เช็ดตัวใหแหง
2. ใชลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่ง กระตุนใหรอง
3. เช็ดตัวใหแหง และดูดสิ่งคัดหลั่งทางทอชวยหายใจ
4. รีบตัดสายสะดือ และดูดสิ่งคัดหลั่งทางทอชวยหายใจ

75. ทารกแรกเกิดปกติ พบกอนโนบริเวณศีรษะขนาดกวางครอบคลุมกระดูก Occiput และ Parietal ทั้ง


สองขาง เปนการบาดเจ็บในขอใด
1. Chignon
2. Cephalhematoma
3. Caput succedaneum
4. Artificial caput succedaneum
คําเฉลยขอสอบประมวลความรู ประจําปการศึกษา ๒๕๕๐
เครือขายพัฒนาวิทยาลัยพยาบาลและวิทยาลัยการสธารณสุขภาคใต
วิชาการผดุงครรภ
ขอที่ คําเฉลยชุดที่ ๑ คําเฉลยชุดที่ ๒ หมายเหตุ
๑ ก ง
๒ ข ค
๓ ข ก
๔ ก ข
๕ ค ก
๖ ก ก
๗ ก ค
๘ ข ค
๙ ง ข
๑๐ ข ข
๑๑ ก ค
๑๒ ง ข
๑๓ ง ข
๑๔ ก ค
๑๕ ง ง
๑๖ ข ข
๑๗ ค ง
๑๘ ก ก
๑๙ ข ค
๒๐ ค ค
๒๑ ข ข
๒๒ ค ก
๒๓ ง ก
๒๔ ง ค
๒๕ ข ง
๒๖ ข ง
๒๗ ง ก
๒๘ ค ค
๒๙ ง ก
๓๐ ก ค
๓๑ ก ง
๓๒ ง ข
๓๓ ง ง
๓๔ ค ข
วิชาวิชาการผดุงครรภ (ตอ)
ขอที่ คําเฉลยชุดที่ ๑ คําเฉลยชุดที่ ๒ หมายเหตุ
๓๕ ข ง
๓๖ ค ค
๓๗ ง ง
๓๘ ก ง
๓๙ ค ง
๔๐ ง ง
๔๑ ข ข
๔๒ ง ค
๔๓ ข ค
๔๔ ก ค
๔๕ ข ค
๔๖ ง ง
๔๗ ง ก
๔๘ ง ง
๔๙ ง ง
๕๐ ข ง
๕๑ ค ง
๕๒ ค ก
๕๓ ก ง
๕๔ ก ค
๕๕ ข ค
๕๖ ก ง
๕๗ ข ข
๕๘ ข ข
๕๙ ข ค
๖๐ ง ค
๖๑ ข ก
๖๒ ง ง
๖๓ ง ค
๖๔ ค ง
๖๕ ค ก
๖๖ ก ค
๖๗ ค ข
๖๘ ค ข
๖๙ ง ง
๗๐ ก ก
วิชาวิชาการผดุงครรภ (ตอ)

ขอที่ คําเฉลยชุดที่ ๑ คําเฉลยชุดที่ ๒ หมายเหตุ


๗๑ ก ข
๗๒ ค ง
๗๓ ก ค
๗๔ ง ง
๗๕ ค ค

You might also like