You are on page 1of 71

Case Study

Postmenopausal bleeding with Pelvic inflammatory


disease : PID
ภาวะเลือดออกผิดปกติในสตรีวัยหมดระดูร่วมกับอุ้งเชิงกราน
อักเสบ

จัดทำโดย
นางสาวฟารีดา ภู่ทับทิม รหัสนักศึกษา
63116301055
นักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 4

เสนอ
อาจารย์พี่เลี้ยงพว. นัยนา รักเทพ

รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
วิชาการปฏิบัติฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ (ล.1012)
ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2566
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง สถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุข
Case Study
Postmenopausal bleeding with Pelvic inflammatory
disease : PID
ภาวะเลือดออกผิดปกติในสตรีวัยหมดระดูร่วมกับอุ้งเชิงกราน
อักเสบ

จัดทำโดย
นางสาวฟารีดา ภู่ทับทิม รหัสนักศึกษา
63116301055
นักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 4

เสนอ
อาจารย์พี่เลี้ยงพว. นัยนา รักเทพ

รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
วิชาการปฏิบัติฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ (ล.1012)
ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2566
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง สถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุข

คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาฝึ กประสบการณ์
วิชาชีพ นักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 4 โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ศึกษา
หาความรู้เกี่ยวกับ ภาวะเลือดออกผิดปกติในสตรีวัยหมดระดูร่วมกับอุ้ง
เชิงกรานอักเสบ (Postmenopausal bleeding with Pelvic
inflammatory disease : PID) ทั้งในส่วนของสาเหตุ อาการและอาการ
แสดง การวินิจฉัยโรคและการรักษา ซึ่งสามารถเพิ่มทักษะและ
ประสบการณ์ในการศึกษาและเชื่อโยงโรคและพยาธิสภาพตรงตาม
วัตถุประสงค์ของภาคปฏิบัติ ผู้จัดทำได้ เลือกกรณีศึกษานี้ในการทำ
รายงาน เนื่องจากเป็ นเรื่องที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับรายวิชาต่อนักศึกษา
ผู้จัดทำขอขอบคุณพี่ๆพยาบาล ณ หอผู้ป่ วยนรีเวช โรงพยาบาลตรัง
ผู้ให้ความรู้และคอยให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่าง
ยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักศึกษาที่กำลังหา
ศึกษาข้อมูลเรื่องนี้อยู่เป็ นอย่างมาก

นางสาวฟารีดา ภู่ทับทิม
นักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่
4

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ

ข้อมูลเบื้องต้น 1
ข้อมูลแบบแผนสุขภาพ 1
แบบแผนที่ 1 การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
1
แบบแผนที่ 2 อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร
2
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
4
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
4
แบบแผนที่ 5 การนอนหลับ 5
แบบแผนที่ 6 สติปั ญญาการรับรู้
5
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
6
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
6
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
7

แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนทานกับความเครียด
7
แบบแผนที่ 11 คุณค่าและความเชื่อ
8
การรักษาที่ได้รับในปั จจุบัน 8
สรุปข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะผู้ป่ วยตั้งแต่แรกรับถึงปั จจุบัน
10
วิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา
11
การวางแผนการพยาบาล
16
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
26
บรรณานุกรม
27
1

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
แผนการรักษาผู้ป่ วยเฉพาะราย (Nursing care plan)
วิชา ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ
นางสาวฟารีดา ภู่ทับทิม นักศึกษาพยาบาลชั้นปี ที่ 4 รหัสนักศึกษา
63116301055
.............................................................................................................
.........................................

1. ข้อมูลเบื้องต้น
ผู้รับบริการ หญิง อายุ 52 ปี เตียงที่ 16 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ
ไทย ศาสนา พุทธ
สถานภาพสมรส คู่ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี อาชีพ คลินิกแพทย์
รายได้ของครอบครัว 40,000 บาท
ที่อยู่ปั จจุบัน 204/86 หมู่ที่ 10 ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัด
ตรัง ภูมิลำเนาเดิม จังหวัด ตรัง
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 26 ธันวาคม 2566 วันที่นักศึกษารับไว้
ในความดูแล 27 ธันวาคม 2566
การวินิจฉัยแรกรับ Postmenopausal bleeding
ความหมาย ภาวะเลือดออกผิดปกติในสตรีวัยหมดระดู
การวินิจฉัยปั จจุบัน Postmenopausal bleeding with Pelvic
inflammatory disease
2

ความหมาย ภาวะเลือดออกผิดปกติในสตรีวัยหมดระดูร่วมกับอุ้ง
เชิงกรานอักเสบ
การผ่าตัด - วันที่ -
ความหมาย -
แหล่งข้อมูล ผู้ป่ วย และ เวชระเบียนผู้ป่ วย ระดับความน่า
เชื่อถือ มาก

2. ประวัติการเจ็บป่ วย
2.1 อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล ปวดท้องน้อย มีเลือดออก
กะปริบกะปรอยทางช่องคลอด 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
2.2 ประวัติการเจ็บป่ วยปั จจุบัน ผู้ป่ วยให้ประวัติว่า 1 เดือนก่อน
มาโรงพยาบาล มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด ไม่ได้ไปรับการ
รักษา 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดท้องน้อยร่วมด้วย มีเลือด
ออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด จึงมารับการรักษาที่โรงพยาบาล
2.3 ประวัติส่วนตัว โรคประจำตัวคือ กระดูกสันหลังเสื่อม
(Spondylosis) รับยาที่โรงพยาบาลตรัง
2.4 ประวัติการเจ็บป่ วยในครอบครัว ปฏิเสธ
2.5 ประวัติการแพ้สารต่าง ๆ ปฏิเสธ

3. ข้อมูลแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนที่ 1 การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
1.1 พฤติกรรมเสี่ยง:
สุรา ปฎิเสธการดื่มสุรา
บุหรี่ ปฏิเสธการสูบบุหรี่
ยาที่รับประทานเป็ นประจำ ยา Sertraline
3

อื่น ๆ ปฏิเสธ
ปั จจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอันตรายสุขภาพ ปฏิเสธ
1.2 การปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมสุขภาพ:
ประวัติการตรวจร่างกาย ได้รับการตรวจร่างกายประจำปี
ปี ละ 1 ครั้ง เป็ นประจำ
ประวัติการได้รับภูมิคุ้มกัน vaccine Covid-19 sinovac 2
เข็ม
1.3 สภาพที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมที่บ้าน:
สภาพภายในบ้านและสิ่งแวดล้อมภายนอก บ้าน 2 ชั้น มี
อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่อับชื้น
สัตว์เลี้ยง ปฏิเสธ
แหล่งน้ำอุปโภค/บริโภค อุปโภคน้ำประปา บริโภคน้ำซื้อ
การกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูล รถขยะของเทศบาล
ความรู้และ/หรือวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่ วย เมื่อเจ็บ
ป่ วยจะเอายาจากคลินิกมารับประทานเอง เนื่องจากผู้ป่ วยทำงาน
อยู่ที่คลินิก และถ้าอาการไม่ดีขึ้น จะมารับการรักษาที่โรงพยาบาล
ตรัง
1.4 การรับรู้ต่อความเจ็บป่ วยในปั จจุบัน (เกี่ยวกับโรค สาเหตุ
ของโรค, เหตุผลที่เกี่ยวกับแผนการรักษาการพยาบาลที่ได้รับ) ผู้ป่ วย
รับรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่ วยที่ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
เนื่องจากมีอาการปวดท้องน้อย และมีเลือดออกทางช่องคลอดกะปริบกะ
ปรอย ผู้ป่ วยให้ความร่วมมือในแผนการรักษาและมีการปฏิบัติตัวที่เหมาะ
สมขณะรักษาตัวในโรงพยาบาล
1.5 ความคาดหวังต่อการรักษาที่ได้รับ ผู้ป่ วยหวังว่าอาการจะดี
ขึ้นและหายดี ไม่กลับมาเป็ นซ้ำอีก
4

1.6 สังเกตความสะอาดของร่างกายและเครื่องแต่งกาย ร่างกาย


และเครื่องแต่งสะอาดเรียบร้อยสะอาด
1.7 สังเกตความร่วมมือในการรักษาพยาบาล ให้ความร่วมมือใน
การรักษาพยาบาล
สรุปแบบแผนที่ 1 มีการเบี่ยงเบน ผู้ป่ วยมีการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
คือ เมื่อเจ็บป่ วยจะเอายาจากคลินิกมารับประทานเอง เนื่องจากผู้ป่ วย
ทำงานอยู่ที่คลินิก

2. แบบแผนอาหารและการเผาผลาญสารอาหาร
2.1 แบบแผนการรับประทานอาหารที่บ้าน รับประทานอาหาร
วันละ 3 มื้อ
ชนิด/รสชาติอาหารที่ชอบ รสหวาน ชนิดรสชาติอาหารที่ไม่
ชอบ รสจัด
2.2 แบบแผนการรับประทานอาหารขณะอยู่ในโรงพยาบาล รับ
ประทานอาหารธรรมดา
2.3 ปั ญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหารขณะอยู่ในโรง
พยาบาล/การแก้ไข ปฏิเสธ
2.4 แบบแผนการดื่มน้ำ ปริมาณ (ปกติ) 1,500-2,000 ml/day

2.5 การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก
น้ำหนักปั จจุบัน 55 Kg ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
2
ดัชนีความหนาของร่างกาย (BMI) 21.48 Kg/m แปลผล
ปกติ
2.6 การตรวจร่างกาย:
- อุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส
5

- ผิวหนัง ผิวหนังมีความยืดหยุ่น ไม่มีบาดแผล ไม่มีรอยถลอก


ไม่มีผื่น
- ผม ผมสีดำ ผมยาว สะอาด ไม่พบรอยโรคบนหนังศีรษะ
- เล็บ เล็บสั้นสะอาด รูปร่างปกติ ไม่มีรอยโรค
- ตา ไม่มีเยื่อบุตาซีด
- ช่องปาก คอ ฟั น ไม่มีฟั นผุ ริมฝี ปากไม่แห้ง ไม่พบรอยโรค
ต่อมน้ำตาไม่โต กดไม่เจ็บ
- ท้อง ดู: ท้องสมมาตรกัน ไม่มีรอยโรค
ฟั ง: bowel sound 6-7 /min
เคาะ: ได้ยินเสียงทึบ
คลำ: ไม่มี guarding ไม่มีกดเจ็บบริเวณใต้ชายโครงขวา
- ไธรอยด์ (ดู คลำ ฟั ง) ไธรอยด์ไม่โต คลำไม่พบก้อน
- ต่อมน้ำเหลือง (ระบุชื่อต่อมน้ำเหลือง) ต่อมน้ำเหลืองไม่โต
กดไม่เจ็บ

2.7 การตรวจทางห้องปฏิบัติการและตรวจพิเศษ
ชื่อการตรวจ : Complete Blood Count
วันที่ตรวจ : 26/12/66 (09.33 น.)
Date /Type Result Normal interpretation
of test range
3
WBC 8.5 4-10 x10 ปกติ
/ul
RBC 4.35 3.9-5.0 ปกติ
6
x10 /ul
HGB 13.6 12-15 g/dL ปกติ
6

Date /Type Result Normal interpretation


of test range
HCT 42.2 36-50 % ปกติ
MCV 96 80-96 fl ปกติ
MCH 31 28-34 pg ปกติ
MCHC 32 33-36 g/dl ต่ำกว่าปกติ บ่งบอกถึง
ภาวะโลหิตจางจากการ
ขาดธาตุเหล็ก
RDW 14.0 11.5-14.5 ปกติ
%
PLT 314 140-400 ปกติ
3
x10 /ul
MPV 8.8 6.7-10.0 fl ปกติ
PLT Smear Adequat -
e
Neutrophil % 58.3 40.0-80.0 ปกติ
%
Lymphocyte 26.0 25.0-35.0 ปกติ
% %
Monocyte % 7.3 2.0-8.0 % ปกติ
Eosinophil % 7.6 1.0-4.0 % สูงกว่าปกติ บ่งบอกถึง
ร่างกายมีการอักเสบติด
เชื้อ
Basophil % 0.8 0.0-2.0 % ปกติ
7

สรุปแบบแผนที่ 2 มีการเบี่ยงเบน เนื่องจากมีผลตรวจทางห้องปฏิบัติ


การที่ผิดปกติ

3. แบบแผนการขับถ่าย
3.1 แบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ (จำนวนครั้ง ลักษณะ อาการ
ปกติและการแก้ไข)
ที่บ้าน ถ่ายอุจจาระวันละ 1-2 ครั้งต่อวัน ลักษณะก้อนนิ่ม
ที่โรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระวันละ 1 ครั้งต่อวัน ลักษณะก้อน
นิ่ม

3.2 แบบแผนการขับถ่ายปั สสาวะ (จำนวนครั้ง ลักษณะ อาการ


ผิดปกติและการแก้ไข)
ที่บ้าน ถ่ายปั สสาวะ 4-6 ครั้ง ปั สสาวะสีเหลืองใส
ที่โรงพยาบาล ถ่ายปั สสาวะ 4-6 ครั้ง สีเหลืองใส ไม่มีตะกอน
ไม่มีเลือด
3.4 การตรวจร่างกาย
ระบบขับถ่ายอุจจาระ (บาดแผล, ติ่งเนื้อ, ริดสีดวงทวาร
หนัก เป็ นต้น) ขับถ่ายอุจจาระปกติ ไม่มีเลือดปน
ระบบขับถ่ายปั สสาวะ (บาดแผล, ติ่งเนื้อ) ไม่พบก้อน ไม่มี
รอยโรค
8

3.5 การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษที่เกี่ยวข้อง
กับแบบแผนการขับถ่าย (Blood Urea Nitrogen, Creatinine
Urine Examination, Urine culture, ผลการตรวจพิเศษ เช่น
Plain KUB, IVP เป็ นต้น) ไม่ได้ตรวจ
สรุปแบบแผนที่ 3 ไม่มีการเบี่ยงเบน

4. แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
4.1 ความสามารถในการปฏิบัติประจำวัน:
ภาวะปกติ ขณะเจ็บป่ วย
การอาบน้ำแต่งตัว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย
เหลือตนเองได้
การรับประทานอาหารสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย
เหลือตนเองได้
ขับถ่าย สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย
เหลือตนเองได้
เดิน/เคลื่อนไหว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย
เหลือตนเองได้
4.2 การออกกำลังกายที่เป็ นประจำในขณะปกติ/เจ็บป่ วย (ชนิด,
ความถี่, ระยะเวลาในแต่ละครั้ง)
ปกติ ไม่ได้ออกกำลังกาย ขณะอยู่โรงพยาบาล ไม่ได้ออกกำลังกาย
4.3 งานอดิเรกในขณะปกติ/เจ็บป่ วย ปฏิเสธ
4.4 การตรวจร่างกาย
4.4.1 กล้ามเนื้อและข้อ
- Muscle strength ปกติ
9

- Motor power Arm Lt. Motor power =


grade V
Arm Rt. Motor power = grade V
Leg Lt. Motor power = grade V
Lag Rt. Motor power = grade V
- Range of motion ปกติ
- ปั ญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและข้อขณะอยู่ในโรง
พยาบาล/การแก้ไข -

4.4.2 ระบบหายใจ
อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที
ลักษณะการหายใจ สม่ำเสมอ ไม่ใช้กล้ามเนื้อช่วยใน
การหายใจ
ทรวงอก ดู : รูปร่างปกติ
คลำ : ไม่ได้ตรวจ
เคาะ : ไม่ได้ตรวจ
ฟั ง: ไม่ได้ตรวจ
ปั ญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและการแก้ไข
ปฏิเสธ
4.4.3 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ดู: ไม่พบหลอดเลือดโป่ งพอง
คลำ : Pulse 94 ครั้ง/นาที BPM, Rhythm แรงดี
สม่ำเสมอ
ฟั ง: S1, S2 ไม่ได้ตรวจ Murmur: ไม่ได้ตรวจ
10

Heart rate 94 ครั้ง/นาที BPM Rhythm แรงดี


สม่ำเสมอ
ความดันโลหิต 117/66 mmHg.
4.5 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการพิเศษที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบหายใจ (sputum culture, Acid Fast Bacilli, ผลการตรวจ
พิเศษ เช่น Bronchoscope, Lung Biopsy และอื่น ๆ)
4.6 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษที่
เกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด (cardiac enzyme, ผลการ
ตรวจพิเศษ เช่น EKG และอื่น ๆ) –
สรุปแบบแผนที่ 4 ไม่มีการเบี่ยงเบน

5. แบบแผนการนอนหลับ
5.1 แบบแผนการนอนหลับขณะอยู่บ้าน
ปกตินอนหลับประมาณ 8 ชม./วัน
นอนกลางวัน - ชั่วโมง
สิ่งที่ช่วยให้หลับง่าย การฟั งธรรมมะ
ปั ญหา/สิ่งรบกวนการนอนหลับ/การแก้ไข ปฏิเสธ
5.2 แบบแผนการนอนหลับขณะอยู่ในโรงพยาบาล
ปั ญหา/สิ่งรบกวนการนอนหลับ/การแก้ไข ปฏิเสธ
5.3 สังเกตอาการ/อาการแสดง/ ถ้านอนหลับไม่เพียงพอ ปฏิเสธ
สรุปแบบแผนที่ 5 ไม่มีการเบี่ยงเบน

6. แบบแผนสติปั ญญาการรับรู้
6.1 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการตอบสนอง
หู Weber test ไม่ได้ตรวจ
11

Rinne’s test ไม่ได้ตรวจ


Whisper test ได้ยินเสียงกระซิบ
ตา Visual acuity ไม่ได้ตรวจ
Visual field ลานสายตาของผู้ตรวจเท่ากับลาน
สายตาของผู้ถูกตรวจ
Light reflex Good reaction to light ปฏิกิริยาต่อ
แสงปกติ
Corneal reflex ไม่ได้ตรวจ
Corneal light reflex ไม่ได้ตรวจ
EOM (Extraocular Motility's) ไม่ได้ตรวจ
Cover- uncover testไม่ได้ตรวจ
จมูก ได้กลิ่นปกติ
การรับรส รับรสได้ปกติ
การรับสัมผัส(ชา, การรับรู้ร้อน-เย็น) สัมผัสปกติ
ความเจ็บปวด(ตำแหน่ง, ลักษณะ, ระยะเวลา อาการที่เกิดขึ้น,วิธี
การบรรเทา ปวด เช่น, ยา วิธีการผ่อนคลาย เป็ นต้น) มีอาการปวด
ท้องน้อย มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด วิธีการผ่อนคลาย
ความปวดคือการจัดท่านอน การหายใจลดปวด และให้ยาตามแผนการ
รักษา
6.2 การรับรู้ต่อเวลา สถานที่บุคคล ผู้ป่ วยรับรู้วันเวลาสถานที่
และบุคคล ปกติดี
6.3 สังเกตความสามารถทางสติปั ญญา และความรู้ ความจำ
การตัดสินใจ มีความสามารถในการตัดสินใจด้วยตนเอง
6.4 การตรวจร่างกาย
1) Conscious ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง
12

2) neurological signs : GCS 15 คะแนน E4V5M6


3) Reflex
Superficial reflex -
Pathological reflex -
Deep tendon reflex -
6.5 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษที่
เกี่ยวข้องกับระบบ (การวิเคราะห์ น้ำไขสัน, ผลการตรวจพิเศษ เช่น
CT Brain, EEG และอื่น ๆ ) ไม่ได้ตรวจ
สรุปแบบแผนที่ 6 มีการเบี่ยงเบน เนื่องจากมีอาการปวดท้องน้อย
มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด

7. แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
7.1 ความรู้สึกนึกคิดต่อรูปร่างหน้าตาของตนเอง พึงพอใจในรูป
ร่างหน้าตาของตนเอง
7.2 ความรู้สึกนึกคิดต่อความสามารถตนเอง พึงพอใจในความ
สามารถของตนเอง
7.3 ความรู้สึกมีคุณค่าของตนเองความภาคภูมิใจ ผู้ป่ วยรู้สึกว่า
ตนเองมีคุณค่า
สรุปแบบแผนที่ 7 ไม่มีการเบี่ยงเบน

8. แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
8.1 จำนวนสมาชิกในครอบครัว 3 คน (ระบุ) ผู้ป่ วย สามี และ
บุตร
8.2 หน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัว สมาชิกในครอบครัว
13

8.3 สังเกตสัมพันธภาพกับคนในครอบครัว สัมพันธภาพกับคนใน


ครอบครัวดี
8.4 สังเกตสัมพันธภาพกับผู้อื่น มีสัมพันธภาพกับบุคคลรอบข้างดี
พูดคุยดี
8.5 การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่/หน้าที่การงาน ต้องหยุดงาน
8.6 การเปลี่ยนแปลงของสัมพันธภาพขณะเจ็บป่ วย ปฏิเสธ
8.7 ผลกระทบของความเจ็บป่ วยครั้งนี้ต่อเศรษฐกิจของ
ครอบครัว มีผลกระทบเนื่องจากผู้ป่ วยต้องหยุดงาน
8.8 สิ่งที่เป็ นอุปสรรคต่อการสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ
ไม่มีอุปสรรค
สรุปแบบแผนที่ 8 ไม่มีการเบี่ยงเบน

9. แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
9.1 ประวัติประจำเดือน มีประจำเดือนครั้งแรก ตอนอายุ 13 ปี มา
ครั้งละ 3-4 วัน ระยะรอบเดือน 30 วัน ใช้ผ้าอนามัย 2-3 แผ่น/วัน มี
อาการปวดท้องขณะมีประจำเดือน ประจำเดือนหมดเมื่อ 3 ปี ที่ผ่านมา
คืออายุ 49 ปี
9.2 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด G1P0
9.3 ปั ญหา/อาการที่เกี่ยวกับภาวะผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์ มี
เลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด
9.4 ชนิดของการกำเนิดที่ใช้ในปั จจุบัน ปฏิเสธการคุมกำเนิด
9.5 ปั ญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ขณะเจ็บป่ วย ไม่มีปั ญหา มีเพศ
สัมพันธ์ครั้งล่าสุด เมื่อ 5 ปี ที่ผ่านมา
9.6 ความรู้เกี่ยวกับการป้ องกันโรคทางเพศสัมพันธ์ การสวมถุง
ยางอนามัย
14

9.7 พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศ เหมาะสม


9.8 การตรวจร่างกาย มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด
เปื้ อนผ้าอนามัย
9.9 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษที่
เกี่ยวข้องกับอวัยวะสืบพันธุ์ (ผลการตรวจ vaginal discharge,
pregnancy test, pap-smear และอื่น ๆ)
ผลการตรวจ PV
MIUB : normal
Vagina : normal
Cervix : os close, cervical motion tenderness
Uterus : moderate tenderness
Adnexa : moderate tenderness right , not
tenderness left
สรุปแบบแผนที่ 9 มีการเบี่ยงเบน เนื่องจากมีเลือดออกกะปริบกะปรอย
ทางช่องคลอดเปื้ อนผ้าอนามัย

10. แบบแผนการปรับตัวและความทนทานกับความเครียด
10.1 อุปนิสัย อารมณ์
โดยทั่วไป ยิ้มแย้มและอารมณ์ดี
ขณะเจ็บป่ วย มีสีหน้าวิตกกังวลเล็กน้อย
10.2 สิ่งที่ทำให้ไม่สบายใจ/กังวล/กลัวในปั จจุบัน การเจ็บป่ วย
10.3 วิธีการแก้ไขเมื่อไม่สบายใจ/กังวล/กลัว คอยสอบถาม
อาการจากพยาบาลและแพทย์
10.4 ประสบการณ์การสูญเสียหรือการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน
ชีวิต ปฏิเสธ
15

10.5 บุคคลที่ให้การช่วยเหลือ (เศรษฐกิจ, การดูแล) สามี


10.6 สังเกตอาการแสดงออกทางสีหน้าและพฤติกรรม วิตกกังวล
สรุปแบบแผนที่10 มีการเบี่ยงเบน เนื่องจากมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับ
อาการเจ็บป่ วย
11. แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
11.1 คุณค่าและสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
สิ่งที่มีคุณค่าที่สุดในชีวิต ครอบครัว
บุคคลที่สำคัญที่สุดในชีวิต ครอบครัว
สิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ พระพุทธศาสนา ขณะอยู่โรงพยาบาล
ผู้ป่ วยมักเปิ ดธรรมมะฟั ง
11.2 ผลของการอยู่ในโรงพยาบาลต่อการปฏิบัติกิจกรรมทาง
ศาสนา ไม่ส่งผลต่อการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
11.3 ความเชื่อที่เกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้เจ็บป่ วยครั้งนี้ดีขึ้น ได้รับการ
รักษาในโรงพยาบาล
สรุปแบบแผนที่ 11 ไม่มีการเบี่ยงเบน

4. การรักษาที่ได้รับในปั จจุบัน

การรักษา
(เช่นยา ขนาด กลุ่มยา กลไกการออก วิเคราะห์เหตุผลจากการรักษา
ฤทธิ์ อาการข้างเคียง และการ สำหรับผู้ป่ วยรายนี้
พยาบาล)
1. Cefoxitin 2 gm. IV q 6 hr. เนื่องจากผู้ป่ วยมีอาการปวดท้อง
กลุ่มยา : Cephalosporin น้อย มีเลือดออกกะปริบกะปรอย
การออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสร้างผนัง ทางช่องคลอด แพทย์วินิจฉัยเป็ น
16

การรักษา
(เช่นยา ขนาด กลุ่มยา กลไกการออก วิเคราะห์เหตุผลจากการรักษา
ฤทธิ์ อาการข้างเคียง และการ สำหรับผู้ป่ วยรายนี้
พยาบาล)
เซลล์ของแบคทีเรีย โดยจับกับ Postmenopausal bleeding
penicillin-binding protein (PBP) with Pelvic inflammatory
แล้วยับยั้ง transpeptidase ใน PBP disease แพทย์จึงมีแผนการ
ซึ่งเป็ นเอนไซม์ที่ใช้ในการ cross-link รักษาให้ยา Cefoxitin 2 gm. IV
สาย peptidoglycan เพื่อสร้างผนัง q 6 hr. เพื่อลดการติดเชื้อซึ่งยา
เซลล์ กระตุ้นเอนไซม์ autolysin ส่งผล จะทำให้เชื้อไม่สามารถเจริญ
ให้แบคทีเรียหยุดการแบ่งตัว ไม่ เติบโตได้
สามารถเจริญเติบโต หรือแพร่พันธุ์ อีก
ต่อไป
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย
ท้องผูก มีอาการบวมแดงบริเวณที่ให้ยา
มีอาการปวดบวม
การพยาบาล :
1. ใช้ยานี้ครบตามจำนวนและระยะ
เวลาที่แพทย์กำหนดไว้แม้จะมีอาการดี
ขึ้นแล้วเพราะหากหยุดใช้ยาหรือขาด
ช่วงอาจทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้
2. สังเกตอาการข้างเคียงหลังจาก
ให้ยา
2. Paracetamol (500) 1 tab oral เนื่องจากผู้ป่ วยมีอาการปวดท้อง
17

การรักษา
(เช่นยา ขนาด กลุ่มยา กลไกการออก วิเคราะห์เหตุผลจากการรักษา
ฤทธิ์ อาการข้างเคียง และการ สำหรับผู้ป่ วยรายนี้
พยาบาล)
pc น้อย แพทย์จึงพิจารณาสั่งยา
prn q 6 hr. Paracetamol (500) 1 tab oral
กลุ่มยา : Analgesics pc prn q 6 hr. เพื่อบรรเทา
ข้อบ่งใช้ : ใช้เพื่อบรรเทาอาการปวด อาการปวดให้แก่ผู้ป่ วย
และช่วยลดไข้
การออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสร้างสารโพ
รสตาแกลนดิน (Prostaglandin) ใน
ระบบประสาทส่วนกลางและเพิ่มระดับ
กั้นความเจ็บปวด (Pain threshold)
และเหนี่ยวนำฤทธิ์บรรเทาอาการปวด
ได้โดยการไปยับยั้งเอนไซม์ไซโคลออกซี
เจเนส (Cyclooxygenase) โดยเฉพาะ
ชนิดที่ 2 แต่มีฤทธิ์อ่อน และยับยั้ง
เอนไซม์ไซโคลออกซีเจเนสแบบผันกลับ
ได้ นอกจากนี้ยังมีกลไกอื่น ๆ ที่
สามารถยับยั้งอาการปวด เช่น การกระ
ตุ้นตัวรับแคนนาบินอยด์ชนิดที่ 1 ทาง
อ้อม ผลข้างเคียง : อุจจาระเป็ นเลือด
หรือมีสีดำ ปั สสาวะเป็ นเลือด ปั สสาวะ
น้อยลงอย่างไม่มีสาเหตุ มีอาการไข้
18

การรักษา
(เช่นยา ขนาด กลุ่มยา กลไกการออก วิเคราะห์เหตุผลจากการรักษา
ฤทธิ์ อาการข้างเคียง และการ สำหรับผู้ป่ วยรายนี้
พยาบาล)
หนาวสั่นปวดที่หลังส่วนล่างอย่าง
รุนแรง มีจุดแดงเล็ก ๆ ขึ้นตามผิวหนัง
การพยาบาล :
1. ควรดื่มน้ำเครื่องดื่มหรือรับประทาน
อาหารเหลวบ่อยๆเพื่อช่วยลดความ
ร้อนไม่ควรดื่มน้ำผลไม้หรือเครื่องดื่มที่มี
ฤทธิ์เป็ นกรดหลังรับประทานยา
2. ไม่ซื้อยารับประทานเองและไม่ใช้ยา
เป็ นเวลานานเพราะอาจทำให้รับ
ประทานยาเกินขนาดเกิดพิษและ
อาการข้างเคียง
3. ระวังการใช้ยาในผู้ป่ วยโรคตับและผู้
ที่ติดแอลกอฮอล์
4. หากผู้ป่ วยได้รับยาเกินขนาดควรได้
รับ การรักษาโดยการล้างท้องและได้รับ
ยา N acetylcysteine ซึ่งได้ผลดี
ภายใน 10 ชั่วโมงหลังได้รับยาเกิน
ขนาด

3. Doxycycline (100) 1 tab oral เนื่องจากผู้ป่ วยมีอาการปวดท้อง


19

การรักษา
(เช่นยา ขนาด กลุ่มยา กลไกการออก วิเคราะห์เหตุผลจากการรักษา
ฤทธิ์ อาการข้างเคียง และการ สำหรับผู้ป่ วยรายนี้
พยาบาล)
bid. pc น้อย มีเลือดออกกะปริบกะปรอย
กลุ่มยา : Tetracycline ทางช่องคลอด แพทย์วินิจฉัยเป็ น
การออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสังเคราะห์ Postmenopausal bleeding
โปรตีน โดยจับกับไรโบโซมซับยูนิต with Pelvic inflammatory
ขนาด 30S ยามีความสามารถในการ disease แพทย์จึงมีแผนการ

ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มแกรมบวก รักษาให้ยา Doxycycline (100)

และกลุ่มแบคทีเรียแกรมลบที่กว้าง 1 tab oral bid. pc เพื่อลดการ

ผลข้างเคียง : คลื่นไส้อาเจียน จุกเสียด ติดเชื้อซึ่งยาความสามารถในการ


ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
แน่นท้อง ท้องร่วง ปวดศีรษะ ระคาย
เคืองต่อกระเพาะอาหาร
การพยาบาล :
1. ใช้ยานี้ครบตามจำนวนและระยะ
เวลาที่แพทย์กำหนดไว้แม้จะมีอาการดี
ขึ้นแล้วเพราะหากหยุดใช้ยาหรือขาด
ช่วงอาจทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้
2. สังเกตอาการข้างเคียงหลังจาก
ให้ยา
5. สรุปข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะผู้ป่ วยตั้งแต่แรกรับถึงปั จจุบัน
ผู้ป่ วยให้ประวัติว่า 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีเลือดออกกะปริบ
กะปรอยทางช่องคลอด ไม่ได้ไปรับการรักษา 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มี
20

อาการปวดท้องน้อยร่วมด้วย มีเลือดออกกะปริบกะปรอยทางช่องคลอด
จึงมารับการรักษาที่โรงพยาบาล
แรกรับ OPD วันที่ 26/12/66 เวลา 07.59 น. ผู้ป่ วยมีอาการปวด
ท้องน้อย และมีเลือดออกทางช่องคลอด Vital sign BT 36.5 ° C PR 80
ครั้ง/นาที BP 107/79 mmHg RR 20 ครั้ง/นาที แพทย์ได้ทำการ ตรวจ
อัลตราซาวน์ทางช่องคลอด (TVS) เพื่อดูความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก
(ET : Endometrial thickness) ได้ 7 mm. และตรวจ PV MIUB
normal, vagina normal discharge, cervix no mass not tender,
uterus normal size no mass not tender แพทย์วินิจฉัยเป็ น
Postmenopausal bleeding และมีแผนการรักษาให้ Admit ward
นรีเวช
วันที่ 26/12/66 ward นรีเวช ผู้ป่ วยมีอาการปวดท้องน้อย PS 3
คะแนน และมีเลือดออกทางช่องคลอดเปื้ อนผ้าอนามัย แพทย์ตรวจเยี่ยม
อาการ ได้ทำการ ตรวจ PV ผลเป็ น MIUB : normal, Vagina : normal,
Cervix : os close , cervical motion tenderness, Uterus :
moderate tenderness, Adnexa : moderate tenderness right ,
not tenderness left และทำการเอาตัวอย่างชิ้นเนื้อจากเยื่อบุมดลูกไป
ตรวจ (Endometrial biopsy) วินิจฉัยเป็ น Postmenopausal
bleeding with Pelvic inflammatory disease มีแผนการรักษา คือ
Regula diet, semi fowler position, record v/s ยา Cefoxitin 2
gm. IV q 6 hr., Doxycycline (100) 1 tab oral bid. pc,
Paracetamol (500) 1 tab oral pc prn q 6 hr. หลังทำ EB ผู้ป่ วยมี
อาการปวดหน่วงท้องน้อยเล็กน้อย ไม่มี active bleed
วันที่ 27/12/66 ward นรีเวช หลังทำ EB day 1 ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี
ช่วยเหลือตัวเองได้ มีอาการปวดหน่วงท้องน้อย PS 3 คะแนน และมี
21

เลือดออกทางช่องคลอดเปื้ อนผ้าอนามัยขนาดเหรีญสิบ ไม่มี active


bleed ตรวจร่างกาย ท้อง soft ดี ไม่มี guarding ไม่มีอาการหน้ามืด ใจ
สั่น แพทย์ตรวจเยี่ยมอาการ มีแผนการรักษา ยา Atarax 1 tab oral tid.
1
pc, sertraline 2 tab oral hs.
วันที่ 28/12/66 ward นรีเวช หลังทำ EB day 2 ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี
ช่วยเหลือตัวเองได้ มีอาการปวดท้องน้อย PS 2 คะแนน ไม่มีเลือดออก
ทางช่องคลอด ไม่มีอาการหน้ามืด ใจสั่น เวียนศีรษะ แพทย์ตรวจเยี่ยม
อาการมีแผนการรักษาให้ D/C นัด F/U 4 wks. และ Home med
Paracetamol (500) 1 tab oral pc prn q 6 hr., Metronidazole 1
tab oral tid. pc, Doxycycline (100) 1 tab oral bid. pc

6. วิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีกับกรณีศึกษา
22

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
โรคอุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic
Inilammatory Disease หรือ PID)
ความหมาย
หมายถึง การอักเสบ ติดเชื้ออย่าง แพทย์วินิจฉัยเป็ น
เฉียบพลันหรือเรื้อของอวัยวะสืบพันธุ์ Postmenopausal bleeding
ส่วนบน (Upper genial trac) ได้แก่ with Pelvic inflammatory
มดลูก ท่อนำไข่ รังไข่ พารามีเทรียม disease ผู้ป่ วยมาโรงพยาบาล
(Parametium) รวมทั้งเอ็นต่างๆที่มายืด เนื่องจากมีอาการ
อวัยวะเหล่านี้ การติดเชื้อส่วนใหญ่ ปวดท้องน้อยและมีเลือดออก
เป็ นการ ติดเชื้อจากระบบสืบพันธุ์ส่วน กะปริบกะปรอยทางช่องคลอด
ล่างแพร่กระจายขึ้นมายังส่วนบน
(Ascending infection)

เชื้อที่เป็ นสาเหตุก่อโรค
ผู้ป่ วยให้ประวัติว่ามีเพศสัมพันธ์
สาเหตุของการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจาก
ครั้งล่าสุดเมื่อ 5 ปี ที่ผ่านมา
การแพร่กระจายเชื้อจุลชีพจากอวัยวะ
สืบพันธุ์ ส่วนล่างขึ้นไปยังส่วนบนแล้ว
ทำให้เกิดการอักเสบขึ้น เชื้อจุลชีพที่
ทำให้เกิดโรคมีหลายชนิดแบ่งเป็ น 2
กลุ่ม คือ
2.1 เชื้อติดต่อทางเพศสัมพันธ์
(Sexual transmitted organism) ซึ่ง
เชื้อที่พบเป็ นสาเหตุบ่อย ที่สุดคือเชื้อ
23

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
หนองในแท้ (Neisseria gonorhoea)
และเชื้อหนองในเทียม (Chlamydia
trachomatis)
2.2 เชื้อแบคทีเรียในช่องคลอด ซึ่งใน
ภาวะปกติจะเป็ น normal flora แต่เมื่อ
มีการเปลี่ยนแปลง เกิดภาวะไม่สมดุล
ของสิ่งแวดล้อมในช่องคลอด เช่น บาด
เจ็บจากการมีเพศสัมพันธ์หรือมีเลือด
ออกทางช่องคลอดเรื้อรัง นอกจากนี้ยัง จากการซักประวัติผู้ป่ วยให้
พบเชื้อก่อโรคชนิดอื่น ได้แก่ ประวัติว่ามีสามีคนเดียวจนถึง
Escherichia coli, Streptococcus ปั จจุบัน สามีไม่มีประวัติเป็ นโรค
species และ Straphylococcus ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้ป่ วย
species ไม่มีประวัติใช้ห่วงคุมกำเนิด
และมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดเมื่อ
ปัจจัยเสี่ยง 5 ปี ที่ผ่านมา
ปั จจัยด้านเพศสัมพันธ์ เป็ นปั จจัยที่
เกี่ยวข้องกับภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ
มากที่สุด
1. การมีคู่นอนหลายคน (Multiple
sexual partner) ผู้หญิงที่มีคู่นอนตั้งแต่
4 คนขึ้นไปในช่วงเวลา 6 เดือนจะเพิ่ม
โอกาสต่อการเกิดภาวะอุ้งเชิงกราน
อักเสบมากกว่าคนทั่วไป 3.4 เท่า รวมถึง
24

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
การมีเพศสัมพันธ์มากกว่า 6 ครั้งต่อ
สัปดาห์จะเพิ่มโอกาสต่อการเกิดภาวะอุ้ง
เชิงกรานอักเสบมากกว่าคนทั่วไป 3.2
เท่า
2. การที่คู่นอนมีโรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์ โดยเฉพาะการติดเชื้อ
gonococcal หรือ chlamydial
urethritis ในเพศชายที่ 1 ใน 3 อาจไม่
แสดงอาการ ทำให้เกิดภาวะอุ้งเชิงกราน
อักเสบในหญิงที่มีเพศสัมพันธ์ด้วยเพิ่ม
ขึ้น
3. ประวัติภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบใน
อดีต (Previous PID) พบว่า 1 ใน 4
ของหญิงที่มีภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบอาจ
มีภาวะการติดเชื้อซ้ำได้
4. การใส่ห่วงคุมกำเนิด
(Intrauterine device/ IUD) การใส่
ห่วงคุมกำเนิดจะเพิ่มปั จจัยเสี่ยงต่อการ
เกิดภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบเล็กน้อย
โดยมักจะเกิดในช่วง 3 สัปดาห์แรกหลัง
จากการทำหัตถการ
5. ปั จจัยอื่นๆ ที่ทำให้เกิดความไม่
สมดุลของเชื้อประจำถิ่นในช่องคลอด
25

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
เช่นการติดเชื้อ bacterial vaginosis

พยาธิสภาพ
โรคอุ้งเชิงกรานอักเสบ เกิดจากการติด - ผู้ป่ วยมีอาการปวดท้องน้อย
เชื้อลุกลามจากช่องคลอดและปากมดลูก และมีเลือดออกกะปริบกะปรอย
เข้าไปในโพรงมดลูกและแพร่กระจาย ทางช่องคลอด
ออกทางท่อนำไข่ทั้งสองข้าง โดยปกติ - ผลการตรวจ PV
ปากมดลูกมีกลไกที่ป้ องกันไม่ให้เชื้อผ่าน MIUB : normal
เข้าไปได้โดยอาศัยทั้ง Mechanical Vagina : normal
barrier เช่น Mucus plug และ Cervix : os close,
Humoral factor เช่น การหลั่ง cervical motion tenderness
Antibody และเอนไซม์ต่างๆ ในช่วงมี Uterus : moderate
ประจำเดือนและช่วงเวลาตกไข่เป็ นช่วงที่ tenderness
ปากมดลูกสูญเสียกลไกการป้ องกัน จึงมี Adnexa : moderate
การแพร่กระจายเชื้อเข้าในโพรงมดลูกได้ tenderness right , not
ง่าย เมื่อเชื้อผ่านเข้าปากมดลูกขึ้นสู่โพรง tenderness left
มดลูกจะมีกลไกในการพาเชื้อเข้าสู่ท่อนำ
ไข่ได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเชื้อผ่านเข้าสู่โพรง
มดลูกก็จะทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อ
ของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometitis)
และเมื่อเข้าสู่ท่อนำไข่ก็จะทำให้เกิดการ
อักเสบ ของท่อนำไข่ (Salpingitis) ใน
ระยะต่อมาปลายของท่อนำไข่จะเกิดการ
26

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
อุดตัน ถ้าการอักเสบรุนแรงมากขึ้น - ผู้ป่ วยมีอาการปวดท้องน้อย
หนองที่ออกมาสู่อุ้งเชิงกรานจะทำให้เกิด และมีเลือดออกกะปริบกะปรอย
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้องในอุ้ง ทางช่องคลอด
เชิงกราน (Pelvic peritonitis) ได้ - ผลการตรวจ PV
MIUB : normal
อาการและอาการแสดง Vagina : normal
อาการที่พบได้บ่อย Cervix : os close,
- มีอาการปวดในระหว่างมีเพศ cervical motion tenderness
สัมพันธ์ Uterus : moderate
- อาการปวดท้องน้อยเฉียบพลัน tenderness
- มีตกขาวผิดปกติทางช่องคลอด Adnexa : moderate
- มีเลือดออกผิดปกติทางช่อง tenderness right , not
คลอด tenderness left
- ปั สสาวะแสบขัด
- ในรายที่มีการติดเชื้ออย่าง
รุนแรงก็อาจจะมีไข้และคลื่นไส้อาเจียน
ร่วมด้วย
อาการแสดงที่พบ
- กดเจ็บบริเวณท้องน้อย
(lower abdominal tenderness)
- เจ็บบริเวณปี กมดลูกขณะที่
ตรวจภายใน (Adnexal tenderness)
- เจ็บเมื่อมีการโยกปากมดลูก
27

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
ขณะตรวจภายใน (Cervical motion
tenderness)

เกณฑ์การวินิจฉัย
ต้องมีการตรวจร่างกายพบเกณฑ์การ
วินิจฉัยขั้นต่ำข้อใดข้อหนึ่ง หรืออาจมีทั้ง
3 ข้อก็ได้
 เจ็บเมื่อโยกปากมดลูก
(cervical motion
tenderness)
 กดเจ็บที่มดลูก (uterine
tenderness)
 กดเจ็บที่ปี กมดลูก (adnexal
tenderness)
นอกจากนั้นควรตรวจทางห้องปฏิบัติ
การณ์ เพื่อเพิ่มความแม่นยำในการ
วินิจฉัย ตามเกณฑ์การวินิจฉัยเพิ่มเติม
โดยหากมีข้อใดข้อหนึ่งจะช่วยยืนยันการ
วินิจฉัยได้แม่นยำขึ้น
1. ไข้ >38.3°C (oral
temperature)
2. มูกที่ปากมดลูกมีลักษณะคล้าย
หนอง
28

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
3. ตรวจพบจำนวนเม็ดเลือกขาว
เพิ่มขึ้นจากสารคัด
หลั่งในช่องคลอด
4. ตรวจพบการติดเชื้อ N.
gonorrhoeae / C.
trachomatis ที่บริเวณปากมดลูก
5. ESR, C-reactive protein,
white cell count มีค่าสูงขึ้น แต่ความ
จำเพาะค่อนข้างต่ำ และในรายที่ภาวะอุ้ง
เชิงกรานอักเสบไม่รุนแรงอาจพบค่าอยู่
ในเกณฑ์ปกติได้
การตรวจอื่นที่สามารถวินิจฉัยภาวะอุ้ง
เชิงกรานอักเสบได้
1. การทำ endometrial
sampling แล้วพบว่าผล
ทางพยาธิวิทยาเป็ น endometritis
2. การตรวจด้วยเครื่องมือคลื่น
ความถี่สูง
(Ultrasonography) จะสามารถวินิจฉัย
ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบได้ หากโรค แพทย์มีแผนการรักษา ดังนี้
ดำเนินไปจนเกิดเป็ นก้อนฝี บริเวณรังไข่ - ทำการเอาตัวอย่างชิ้นเนื้อจาก
(tubo-ovarian abscess) หรือมีท่อนำ เยื่อบุมดลูกไปตรวจ
ไข่บวมน้ำ (hydrosalpinx) (Endometrial biopsy)
29

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
3. การผ่าตัดส่องกล้องเข้าไปทาง - Regula diet
หน้าท้อง - semi fowler position
(Laparoscopic examination) ตรวจ - record v/s
พบ salpingitis หรือพบภาวะ - Cefoxitin 2 gm. IV q 6 hr.
Perihepatitis (Fitz-Hugh Curtis - Doxycycline (100) 1 tab
Syndrome) ซึ่งจะพบในรายที่การ oral bid. pc
อักเสบลุกลามขึ้นไปในช่องท้องส่วนบน - Paracetamol (500) 1 tab
oral pc prn q 6 hr.
ภาวะแทรกซ้อน
- การเป็ นซ้ำของภาวะอุ้งเชิงกราน
อักเสบ (Recurrent PID) ในหญิงที่เคย
มีประวัติการเป็ นภาวะอุ้งเชิงกราน
อักเสบมีโอกาสเป็ นซ้ำได้มากขึ้น โดย
เฉพาะหญิงวัยรุ่นจะมีโอกาสการกลับ
เป็ นซ้ำมากกว่าผู้ใหญ่
- ภาวะปวดท้องน้อยเรื้อรัง
(Chronic pelvic pain)
เป็ นภาวะที่มีอาการปวดท้องน้อยโดยที่
อาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับประจำ
เดือนก็ได้ นานเป็ นระยะเวลามากกว่า 6
เดือน หญิงที่เคยมีประวัติภาวะอุ้ง
เชิงกรานอักเสบจะกลายเป็ นโรคนี้ โดยที่
สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเชื่อว่าเกิดจาก
30

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
พังผืดในอุ้งเชิงกราน และกระบวนการ
อักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อร่วมด้วย
- ภาวะมีบุตรยาก (infertility)
เนื่องจากมีการอักเสบภายในอุ้งเชิงกราน
จะทำให้เกิดความเสียหายต่อที่นำไข่
ทำให้เกิดพังผืดและทำให้ท่อนำไข่ตันใน
ที่สุด นอกจากนั้นยังสัมพันธ์กับการเข้า
รับการรักษาที่ช้าเกินไป พบว่าการรักษา
หลังจากที่มีอาการแล้วช้ากว่า 3 วันขึ้น
ไปจะเพิ่มปั จจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมี
บุตรยากเพิ่มขึ้น 3 เท่า
- ท้องนอกมดลูก (Ectopic
pregnancy)
ร่องรอยตีบที่เกิดจากภาวะนี้ ขัดขวางไม่
ให้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ เคลื่อนตัวเข้าไป
อยู่ในโพรงมดลูก การตั้งครรภ์จึงค้างอยู่
ในท่อนำไข่ เมื่อการตั้งครรภ์เจริญเติบโต
ขึ้น ท่อนำไข่อาจแตก เกิดเลือดออกใน
อุ้งเชิงกรานและช่องท้อง ทำให้เกิด
อันตรายถึงชีวิตได้
- มะเร็งรังไข่ (Ovarian cancer)
หญิงที่มีประวัติภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ
จะเพิ่มปั จจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งรังไข่
31

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
เพิ่มขึ้น 2 เท่ามากกว่าคนทั่วไป และ
ความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นหากมีประวัติภาวะ
อุ้งเชิงกรานอักเสบหลายครั้ง

การรักษา
การใช้ยาปฎิชีวนะ parenteral
regimens ควรให้ยาปฏิชีวนะทางหลอด
เลือดดำนานอย่างน้อย 24 – 48 ชั่วโมง
จึงจะพิจารณาเปลี่ยนเป็ นยาปฏิชีวนะ
ชนิดรับประทาน
 หากเลือก parenteral
regimens ที่ใช้
cefotetan / cefoxitin หากต้องการ
เปลี่ยนเป็ นยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
ควรเปลี่ยนเป็ น doxycycline 100 mg
twice daily ต่อจนครบ 14 วัน
 หากเลือก parenteral
regimens ที่ใช้
clindamycin / gentamycin ควร
เปลี่ยนเป็ น clindamycin 450 mg
orally four times daily หรือ
doxycycline 100 mg twice daily จน
32

ทฤษฎี ทฤษฎีเปรียบเทียบกับกรณี
ศึกษา
ครบ 14 วัน
 หากวินิจฉัยเป็ นฝี บริเวณปี ก
มดลูก (tubo-
ovarian abscess) ควรเปลี่ยนยา
ปฏิชีวนะชนิดรับประทานเป็ น
clindamycin 450 mg orally four
times daily / metronidazole 500
mg twice daily ร่วมกับ doxycycline
100 mg twice daily จนครบ 14 วัน
 การใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม 2nd
และ 3rd
generation cephalosporin เช่น
ceftizoxime, cefotaxime, และ
ceftriaxone พบว่าประสิทธิภาพในการ
ครอบคลุมเชื้อกลุ่ม anaerobe ได้น้อย
กว่า cefotetan หรือ cefoxitin
33
34

7. การวางแผนการพยาบาล

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 มีการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
S: ผู้ป่ วย มีการ เกิดจากการ เพื่อไม่ - ไม่มี ภาวะ 1. แนะนำให้ผู้ป่ วยใส่ผ้า วันที่
บอกว่า มี อักเสบติด ติดเชื้อลุกลาม ให้เกิด Active อนามัยเพื่อสังเกตลักษะณะ 26/12/66
อาการปวด เชื้อในอุ้ง จากช่องคลอด การ bleed คือมี ปริมาณ สี กลิ่นของเลือดที่ - มีเลือด
ท้องน้อย มี เชิงกราน และปาก อักเสบ เลือดออก ออก หากมากกว่า 1 ชิ้นใน ออกทาง
เลือดออก มดลูกเข้าไป ติดเชื้อ เปื้ อนผ้า 1 ชั่วโมง หรือ 3 ชิ้นชุ่มใน 8 ช่องคลอด
กะปริบกะ ในโพรงมดลูก ในอุ้ง อนามัย ชั่วโมง ให้แจ้งพยาบาล เปื้ อนผ้า
ปรอยทาง และแพร่ มากกว่า 1 2. แนะนำการดูแลความ อนามัย
เชิงกรา
ช่องคลอด กระจายออก ชิ้นใน 1 สะอาดอวัยวะสืบพันธ์ โดย ไม่มี
นมาก
O: แพทย์ ทางท่อนำไข่ ชั่วโมง หรือ ให้เช็ดจากด้านหน้าไปด้าน Active
ขึ้น
35

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
วินิจฉัยเป็ น ทั้งสองข้าง 3 ชิ้นชุ่มใน 8 หลัง และซับให้แห้ง เปลี่ยน bleed
Postmeno โดยปกติปาก ชั่วโมง ผ้าอนามัยทุก 2-4 ชั่วโมง - ได้รับยา
pausal มดลูกมีกลไก - V/S ปกติ หรือเมื่อชุ่ม เพื่อป้ องกันการ ปฏิชีวนะ
bleeding ที่ป้ องกันไม่ให้ BT = 36.5- ติดเชื้อและการอับชื้น ตาม
with Pelvic เชื้อผ่านเข้าไป 37.4 ํ C 3. ประเมิน V/S ทุก 4 ชม. แผนการ
inflammat ได้โดยอาศัย PR = 60- เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลง รักษา
ory ทั้ง 100 bpm ของผู้ป่ วย - V/S
disease Mechanical RR = 16-20 4. ดูแลจัดท่านอนศีรษะสูง stable
ผลการตรวจ barrier เช่น bpm 30 องษา semi fowler's วันที่
PV Mucus plug position เพื่อไม่ให้หนอง 27/12/66
MIUB : ในช่วงมี กระจายเข้าสู่ช่องท้อง และ - มีเลือด
normal ประจำเดือน เกิดการติดเชื้อเพิ่มขึ้น ออกทาง
36

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
Vagina : และช่วงเวลา 5. ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ช่องคลอด
normal ตกไข่เป็ นช่วง ตามแผนการรักษา คือ เปื้ อนผ้า
Cervix : os ที่ปากมดลูก - Cefoxitin 2 gm. IV q อนามัย
close, สูญเสียกลไก 6 hr. สังเกตอาการข้างเคียง ขนาดเห
cervical การป้ องกัน ของยา คือ คลื่นไส้อาเจียน รีญสิบ
motion จึงมีการแพร่ ท้องเสีย ท้องผูก มีอาการ - ได้รับยา
tenderness กระจายเชื้อ บวมแดงบริเวณที่ให้ยา มี ปฏิชีวนะ
Uterus : เข้าในโพรง ตาม
อาการปวดบวม
moderate มดลูกได้ง่าย แผนการ
- Doxycycline (100) 1
tenderness เมื่อเชื้อผ่าน รักษา
tab oral bid. pc สังเกต
Adnexa : เข้าปากมดลูก - V/S
อาการข้างเคียงของยา
moderate ขึ้นสู่โพรง stable
คลื่นไส้อาเจียน จุกเสียด
37

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
tenderness มดลูกจะมี แน่นท้อง ท้องร่วง ปวด วันที่
right กลไกใน ศีรษะ 28/12/66
การพาเชื้อเข้า 6.จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบ - ไม่มีเลือด
สู่ท่อนำไข่ได้ สงบ อากาศถ่ายเทสะดวก ออกทาง
อย่างรวดเร็ว และให้การพยาบาลด้วย ช่องคลอด
เมื่อเชื้อผ่าน ความนุ่มนวลเพื่อให้ผู้ป่ วยได้ ไม่มีอาการ
เข้าสู่โพรง พักผ่อนอย่างเพียงพอ หน้ามืด ใจ
มดลูกก็จะ สั่น เวียน
ทำให้เกิดการ ศีรษะ
อักเสบติดเชื้อ แพทย์
ของเยื่อบุช่อง ตรวจเยี่ยม
ท้องในอุ้ง อาการมี
38

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
เชิงกราน แผนการ
(Pelvic รักษาให้
peritonitis) D/C
ได้

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวดท้องน้อย
39

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
S: ผู้ป่ วย ไม่สุข โรคอุ้ง เพื่อให้ผู้ - ผู้ป่ วยปวด 1. ประเมิน pain score วันที่
บอกว่า มี สบาย เชิงกราน ป่ วยมี ท้องลดลง - Pain score 0-3 คะแนน 26/12/66
อาการปวด เนื่องจากมี อักเสบ เกิด อาการ - Pain แนะนำเทคนิคลดปวด นอน - ผู้ป่ วยมี
ท้องน้อย มี อาการ จากการติด ท้อง score ลดลง หงาย หายใจเข้าลึกให้ลมเข้า อาการ
เลือดออก ปวดท้อง เชื้อลุกลาม น้อยลด - สีหน้า ปอดเต็มที่จนท้องป่ อง ปวดท้อง
กะปริบกะ น้อย จากช่องคลอด ลง สดชื่นขึ้น ปล่อยลมหายใจออกช้า ๆ น้อย PS 3
ปรอยทาง และปาก จนสุด ทำซ้ำ 5 ครั้ง และพูด คะแนน
ช่องคลอด มดลูกเข้าไป คุยเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ ท้อง soft
O: แพทย์ ในโพรงมดลูก - Pain score 4-6 คะแนน ดี ไม่มี
วินิจฉัยเป็ น และแพร่ ให้ยาลดปวดตามแพทย์การ guarding
Postmeno กระจายออก รักษาของแพทย์ คือ วันที่
pausal ทางท่อนำไข่ Paracetamol (500) 1 tab 27/12/66
40

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
bleeding ทั้งสองข้าง oral pc prn q 6 hr. - ผู้ป่ วยมี
with Pelvic โดยปกติปาก - Pain score 7-10 คะแนน อาการ
inflammat มดลูกมีกลไก ให้รายงานแพทย์ เพื่อ ปวดท้อง
ory ที่ป้ องกันไม่ให้ วางแผนการรักษา น้อย PS 3
disease เชื้อผ่านเข้าไป 2. ประเมิน Abdomen sign คะแนน
ผู้ป่ วยปวด ได้ ในช่วงมี ได้แก่ soft ท้องนุ่ม, ท้อง soft
ท้องน้อย PS ประจำเดือน tenderness กดเจ็บ และ ดี ไม่มี
3 คะแนน และช่วงเวลา ร้าวบริเวณท้อง, guarding guarding
ตรวจ ตกไข่เป็ นช่วง เกร็งหน้าท้อง และกดเจ็บที่ วันที่
ร่างกาย : ที่ปากมดลูก ท้อง, rebound 28/12/66
ท้อง soft ดี สูญเสียกลไก tenderness กดเจ็บเมื่อ - ผู้ป่ วยมี
ไม่มี การป้ องกัน ปล่อย, rigidity หน้าท้องมี อาการ
41

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
guarding จึงมีการแพร่ ความตึงตัวสูง เกร็งแข็ง ปวดท้อง
กระจายเชื้อ ตลอดเวลา เพื่อตรวจดูความ น้อย PS 2
เข้าในโพรง ผิดปกติของหน้าท้อง คะแนน
มดลูกได้ง่าย 3. ประเมิน V/S ทุก 4 ชม. ท้อง soft
เมื่อเชื้อผ่าน เพื่อสังเกตการณ์ ดี ไม่มี
เข้าปากมดลูก เปลี่ยนแปลงของผู้ป่ วย guarding
ขึ้นสู่โพรง 4.จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบ แพทย์
มดลูกจะมี สงบ อากาศถ่ายเทสะดวก ตรวจเยี่ยม
กลไกใน และให้การพยาบาลด้วย อาการมี
การพาเชื้อเข้า ความนุ่มนวลเพื่อให้ผู้ป่ วยได้ แผนการ
สู่ท่อนำไข่ได้ พักผ่อนอย่างเพียงพอ รักษาให้
อย่างรวดเร็ว D/C
42

ข้อ วิเคราะห์
ข้อมูล วินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ทางการ การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
พยาบาล ปั ญหา
เมื่อเชื้อผ่าน
เข้าสู่โพรง
มดลูกก็จะ
ทำให้เกิดการ
อักเสบของ
เยื่อบุช่องท้อง
ในอุ้งเชิงกราน
ได้
43

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 เฝ้ าระวังภาวะมดลูกทะลุเนื่องจากการเอาตัวอย่างชิ้นเนื้อจากเยื่อบุมดลูกไป


ตรวจ (Endometrial biopsy)

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
S: - เฝ้ าระวัง มดลูกทะลุ เพื่อ - ไม่มี 1. ประเมิน Abdominal วันที่
O: : แพทย์ ภาวะ (Uterine ป้ องกัน ภาวะ sign เพื่อตรวจดูความผิด 26/12/66
วินิจฉัยเป็ น มดลูก perforation) ภาวะ Active ปกติของหน้าท้อง V/S หลัง
Postmeno ทะลุ คือ ภาวะ แทรกซ้อน bleed 2. แนะนำให้ผู้ป่ วยใส่ผ้า ทำ EB
44

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
pausal เนื่องจาก แทรกซ้อน/ผล ได้แก่ ตก - ท้อง อนามัยเพื่อสังเกตลักษะณะ -14.50 น.
bleeding การเอา ข้างเคียงจาก เลือดจาก soft ไม่มี ปริมาณ สี กลิ่นของเลือดที่ BP
with Pelvic ตัวอย่าง การทำ มดลูกทะลุ guarding ออก หากมากกว่า 1 ชิ้นใน 104/62
inflammat ชิ้นเนื้อ หัตถการต่างๆ - V/S ปกติ 1 ชั่วโมง หรือ 3 ชิ้นชุ่มใน 8 mmHg.
ory จากเยื่อบุ ทางการแพทย์ BT =36.5 ชั่วโมง ให้แจ้งพยาบาล PR
disease มดลูกไป ในโพรงมดลูก - 37.4 ํ C 3. ประเมิน V/S ทุก 15 80/min
แพทย์ ตรวจ เช่น การขูด PR =60- นาที x 2 ครั้ง 30 นาที x 2 -15.20 น.
ทำการเอา (Endom มดลูก, การใช้ 100 bpm ครั้ง 1 ชั่วโมงจนกว่าจะปกติ BP
ตัวอย่างชิ้น etrial กล้องตรวจ RR = 12- หลังจากนั้น ประเมิน V/S 108/72
เนื้อจากเยื่อ biopsy) สอบโพรง 20 bpm ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อสังเกตการ mmHg.
บุมดลูกไป มดลูก เปลี่ยนแปลงของผู้ป่ วย PR
ตรวจ (Hysterosco 4. สังเกตและประเมิน 86/min
45

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
(Endometri py), โดยที่ อาการและอาการแสดงของ -16.20 น.
al biopsy) อุปกรณ์ ภาวะมดลูกทะลุ คือ มีเลือด BP
วันที่ ทางการแพทย์ ออกทางช่องคลอดเป็ น 106/66
26/12/66 ไปแทงทะลุ จำนวนมาก ท้องอืด แน่น mmHg.
กล้ามเนื้อ ท้อง ผิดปกติ PR
มดลูก หรือไป 5. จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบ 84/min
ตัดกล้ามเนื้อ สงบ ดูแลให้ผู้ป่ วยพักผ่อน หลังทำ EB
มดลูกลึกจน บนเตียง ผู้ป่ วยมี
ทะลุเข้าไปใน อาการปวด
ช่องท้อง หน่วงท้อง
น้อยเล็ก
น้อย ไม่มี
46

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
active
bleed
วันที่
27/12/66
หลังทำ EB
day 1 มี
อาการปวด
หน่วงท้อง
น้อย PS 3
คะแนน
และมีเลือด
ออกทาง
47

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
ช่องคลอด
เปื้ อนผ้า
อนามัย
ขนาดเห
รีญสิบ ไม่มี
active
bleed
ท้อง soft
ดี ไม่มี
guarding
ไม่มีอาการ
หน้ามืด ใจ
48

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
สั่น
วันที่
28/12/66
หลังทำ EB
day 2 มี
อาการปวด
ท้องน้อย
PS 2
คะแนน
ไม่มีเลือด
ออกทาง
ช่องคลอด
49

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุ วัตถุประส เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน ของการเกิด งค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
แพทย์
ตรวจเยี่ยม
อาการมี
แผนการ
รักษาให้
D/C

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 ผู้ป่ วยวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการเจ็บป่ วยของตนเอง


50

วิเคราะห์
ข้อมูล ข้อวินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ปั ญหา การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
S : ผู้ป่ วย ผู้ป่ วยวิตก ผู้ป่ วยมีความ เพื่อให้ผู้ - ผู้ป่ วยมี 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ - ผู้ป่ วยมี
สอบถาม กังวลเกี่ยว วิตกกังวลมี ป่ วยวิตก สีหน้าคลาย ป่ วยโดยการพูดคุยให้กำลังใจ สีหน้า
เกี่ยวกับ กับอาการ สาเหตุจากข้อ กังวลลด ความวิตก เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ คลายความ
อาการ เจ็บป่ วย บกพร่องหรือ ลง กังวล มี พร้อมทั้งเปิ ดโอกาสให้ญาติ วิตกกังวล
และการ ของตนเอง ปั ญหาที่เกิด สีหน้าสดชื่น ถามข้อสงสัย ตอบข้อสงสัย มีสีหน้า
รักษา ขึ้นกับการ ขึ้นและให้ ด้วยความเต็มใจ สดชื่นขึ้น
O : ผู้ป่ วย ทำงานของ ความร่วมมือ 2. ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่ วยเป็ นระยะ และให้
มีสีหน้า ร่างกาย เกิด ในการรักษา เพื่อคลายความวิตกกังวล ความร่วม
วิตกกังวล ภาวะเครียด 3. อธิบายภาวะความเจ็บป่ วย มือในการ
และคอย เป็ นเวลานาน และแผนการรักษาเพื่อให้ผู้ รักษาเป็ น
สอบถาม อาจทำให้ ป่ วยเข้าใจและให้ความร่วม อย่างดี
เกี่ยวกับ เซลล์ประสาท มือในการรักษา
51

วิเคราะห์
ข้อมูล ข้อวินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ปั ญหา การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
อาการ และสมองที่ 4. แจ้งผู้ป่ วยก่อนให้การ
เจ็บป่ วย ควบคุม พยาบาลทุกครั้งเพื่อให้ความ
ของ อารมณ์ ร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ตนเองอยู่ เปลี่ยนแปลง
บ่อยครั้ง ได้ บวกกับ
สภาพ
แวดล้อมและ
สถานการณ์ที่
ตึงเครียด เช่น
การได้รับบาด
เจ็บ การเจ็บ
ป่ วยระยะยาว
52

วิเคราะห์
ข้อมูล ข้อวินิจฉัย สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
สนับสนุน ปั ญหา การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
หรือประสบ
เหตุการณ์ต่าง
ๆ รุนแรง จึง
นำไปสู่ความ
วิตกกังวล

ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 เตรียมความพร้อมผู้ป่ วยก่อนจำหน่าย (Discharge Planning)


53

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
O : Case เตรียม ผู้ป่ วยได้รับ เพื่อให้ผู้ - ผู้ป่ วย ให้คำแนะนำผู้ป่ วยตาม - ผู้ป่ วยรับ
Postmeno ความ การวินิจฉัย ป่ วยมี สามารถบอก หลัก D-METHOD ทราบ
pausal พร้อมผู้ เป็ น ความ การปฏิบัติ D = Diagnosis (วินิจฉัย ข้อมูล
bleeding ป่ วยก่อน Postmenop พร้อม ตัวได้ถูกต้อง โรค): เกี่ยวกับ
with Pelvic จำหน่าย ausal ก่อน - ผู้ป่ วย ภาวะเลือดออกผิดปกติใน อาการเจ็บ
inflammat (Discharg bleeding จำหน่าย สามารถบอก สตรีวัยหมดระดูร่วมกับอุ้ง ป่ วย
ory e with Pelvic การสังเกต เชิงกรานอักเสบ - ผู้ป่ วย
disease Planning) inflammator อาการผิด (Postmenopausal สามารถ
แพทย์ตรวจ y disease ปกติได้ถูก bleeding with Pelvic บอกการ
เยี่ยมอาการ และแพทย์ ต้อง inflammatory disease) ปฏิบัติตัว
มีแผนการ ตรวจเยี่ยม - ผู้ป่ วย M = Medicine (ยา): ได้ถูกต้อง
รักษาให้ อาการมี สามารถบอก - Paracetamol 1 - ผู้ป่ วย
54

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
D/C ได้ แผนการรักษา วันนัดได้ถูก tab oral pc prn. Q 6 hr. สามารถ
ให้ D/C ได้ ต้อง ยาแก้ปวด รับประทาน 1 บอกการ
วันที่ เม็ดเมื่อมีอาการปวด ห่างกัน สังเกต
28/12/66 ครั้งละ 6 ชั่วโมง อาการผิด
- Metronidazole 1 ปกติได้ถูก
tab oral tid. pc. ยาฆ่าเชื้อ ต้อง
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด - ผู้ป่ วย
หลังอาหาร เช้า, เที่ยง, เย็น สามารถ
- Doxycycline 1 tab บอกวันนัด
oral bid pc ยาฆ่าเชื้อ รับ ได้ถูกต้อง
ประทานครั้งละ 1 เม็ด หลัง
อาหาร เช้า, เย็น
55

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา

E = Environment (สิ่ง
แวดล้อม, เศรษฐกิจ): จัด
สิ่งแวดล้อมให้สะอาด เป็ น
ระเบียบเรียบร้อย อากาศ
ถ่ายเทสะดวก ไม่อับชื้น แสง
สว่างเพียงพอ
T = Treatment (การ
ดูแลรักษา): แนะนำผู้ป่ วย
สังเกตอาการผิดปกติที่ต้อง
มาพบแพทย์ก่อนวันนัด คือ
56

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
มีอาการปวดท้องมาก
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น สีขุ่น มี
ไข้สูง หนาวสั่น
H = Health (ภาวะ
สุขภาพ): แนะนำการปฏิบัติ
ตัว
1. หลีกเลี่ยงการมีเพศ
สัมพันธ์ 2-4 สัปดาห์ เพื่อ
ป้ องกันการบาดเจ็บและการ
ติดเชื้อ
2. แนะนำการทำความ
สะอาดร่างกายและอวัยวะ
57

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
เพศที่ถูกวิธี โดยทำความ
สะอาด จากด้านหน้าไปด้าน
หลัง ซับให้แห้งทุกครั้ง หลัง
ถ่ายปั สสาวะหรืออุจจาระ
และควรหลีกเลี่ยงการใช้สาย
ชำระฉีดโดยตรงที่ บริเวณ
อวัยวะเพศ เพราะจะทำให้
เนื้อเยื่อเกิดการบาดเจ็บและ
ก่อให้เกิดโรคตามมาได้
3. การซักล้างชุดชั้นใน
ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่ รุนแรง
ไม่มีประโยชน์แต่กลับก่อให้
58

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
เกิดโทษ หากไม่ล้างน้ำยา
เหล่านั้นออกไปให้หมดก่อน
การตากแห้ง เพราะสารคัด
หลั่งจากช่องคลอดมีส่วน
ประกอบเป็ นน้ำซึ่งอาจไป
ละลายน้ำยา และทำให้เกิด
เป็ นฟองมาระคายเคืองต่อ
อวัยวะเพศได้
4. ไม่สวนล้างช่องคลอด
หรือทำความสะอาดอวัยวะ
เพศด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
เนื่องจาก เป็ นการทำลาย
59

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
เชื้อแบคทีเรียประจำถิ่น
(normal flora) ส่งผลให้
เพิ่มการติดเชื้อจากภายนอก
ร่างกายได้ง่ายขึ้น
O = Out patient (การมา
ตามนัด): มาตรวจตามนัดที่
โรงพยาบาลตรังเพื่อฟั งผล
ชิ้นเนื้อและติดตามอาการ
วันที่ 23 มกราคม พ.ศ.
2566 เวลา 08.00 น.
D = Diet (อาหาร):
แนะนำให้รับประทานอาหาร
60

วิเคราะห์
ข้อ
ข้อมูล สาเหตุของ วัตถุปร เกณฑ์การ กิจกรรมการพยาบาลและ ผลการ
วินิจฉัย
สนับสนุน การเกิด ะสงค์ ประเมิน เหตุผล ประเมิน
ปั ญหา
ปั ญหา
ให้ครบ 5 หมู่ ควรรับ
ประทานอาหารสุก สะอาด
งดอาหารหมักดอง และงด
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
61

8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยเรื่อง : การพยาบาลผู้ป่ วยโรคอักเสบติดเชื้อ ในอุ้งเชิงกราน
บทคัดย่อ :
โรคอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน เป็ นการอักเสบและติดเชื้อของ
อวัยวะสืบพันธุ์ส่วนบนของสตรีประมาณร้อยละ 1 ของผู้ป่ วย กลุ่มนี้
จำเป็ นต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล นอกเหนือจากการรักษาหลัก
คือการให้ยาปฏิชีวนะแล้ว การดูแลแบบประคับ ประคอง และการ
พยาบาลอย่างเหมาะสม มีความสำคัญอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น การ
อักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานอาจกระจาย ขึ้นไปบริเวณช่องท้องส่วนบนได้
หากการจัดท่านอนของผู้ป่ วยไม่ถูกต้องและการประเมินอาการทางคลินิก
ที่ล่าช้าเกินไป อาจทำให้ เกิดการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด จนนำไปสู่การ
เสียชีวิตได้การพยาบาลผู้ป่ วยโรคอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานยัง
ครอบคลุมถึงการ ป้ องกันการเกิดโรคซ้ำ การแพร่เชื้อไปยังผู้ป่ วยอื่น และ
การดูแลตนเองของผู้ป่ วยอย่างเหมาะสมในระยะยาว
การนำไปใช้ :
การนำความรู้เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพในสตรีวัยเจริญพันธุ์ การ
ป้ องกันการเกิดโรคอักเสบติดเชื้อใน อุ้งเชิงกราน การพยาบาลเมื่อผู้ป่ วย
ได้รับการวินิจฉัย เป็ นโรคอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน การฟื้ นฟูสภาพ
เพื่อไม่ให้กลับเป็ นซ้ำ จากงานวิจัยมาให้คำแนะนำแก่ผู้ป่ วยและนำมา
วางแผนการพยาบาลแก่ผู้ป่ วย ดังนี้
1. แนะนำการทำความสะอาดร่างกายและอวัยวะเพศที่ถูกวิธี โดย
ทำความสะอาด จากด้านหน้าไปด้านหลัง ซับให้แห้งทุกครั้ง หลังถ่าย
ปั สสาวะหรืออุจจาระ และควรหลีกเลี่ยงการใช้สายชำระฉีดโดยตรงที่
บริเวณอวัยวะเพศ เพราะจะทำให้เนื้อเยื่อเกิดการบาดเจ็บและก่อให้เกิด
โรคตามมาได้
62

2. การซักล้างชุดชั้นในด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่ รุนแรง ไม่มีประโยชน์แต่


กลับก่อให้เกิดโทษ หากไม่ล้างน้ำยาเหล่านั้นออกไปให้หมดก่อนการตาก
แห้ง เพราะสารคัดหลั่งจากช่องคลอดมีส่วนประกอบเป็ นน้ำซึ่งอาจไป
ละลายน้ำยา และทำให้เกิดเป็ นฟองมาระคายเคืองต่ออวัยวะเพศได้
3. ไม่สวนล้างช่องคลอดหรือทำความสะอาดอวัยวะเพศด้วยน้ำยา
ฆ่าเชื้อเนื่องจาก เป็ นการทำลายเชื้อแบคทีเรียประจำถิ่น (normal flora)
ส่งผลให้เพิ่มการติดเชื้อจากภายนอกร่างกายได้ง่ายขึ้น
4. หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย (unsafe sex) เช่น มี
เพศสัมพันธ์กับคู่นอน มากกว่าหนึ่งคน มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการป้ องกัน
กับผู้ที่ไม่รู้จักกันดีมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีเพศ
สัมพันธ์ขณะมีระดู หรือมีเพศสัมพันธ์ด้วยวิธีรุนแรงหรือใส่วัตถุบางอย่าง
เข้าไปในช่องคลอดเพื่อกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
5. ให้ความรู้เกี่ยวกับช่องทางการติดต่อของ โรคและการแพร่
กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น เช่น การมีคู่นอนหลายคน การเปลี่ยนคู่นอนบ่อย
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้ องกัน การทำหัตถการในโพรงมดลูก และการมี
ภาวะช่องคลอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
63

บรรณานุกรม
กิติรัตน์ เตชะไตรศักดิ์ , ประสงค์ ตันมหาสมุทร , มงคล เบญจาภิบาล ,
อรรถพล ใจชื่น , และธันยารัตน์
วงศ์วนานุรักษ์. (2560). ตำรานรีเวชวิทยา ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 4.
พี.เอ.ลีฟวิ่ง.
จีรพรรณ เลิศวงศ์สกุล. (2563). การพยาบาลผู้ป่ วยโรคอักเสบติดเชื้อใน
อุ้งเชิงกราน. เวชบันทึกศิริราช. (13)3, หน้า 216-221.
อุุไรรััตนา ฉายาพััฒน์. (2565). การพยาบาลสตรีีที่่เป็ นโรคอัักเสบติิดเชื้อ
ในอุ้้งเชิิงกรานร่่วมกัับมีีภาวะช็็ อก : กรณีีศึึกษา 2 ราย Nursing
care for Women with Pelvic Inflammatory Disease with
Shock: 2 cases study. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. (19)3,
หน้า 247-261.

You might also like