You are on page 1of 16

265บทควำมทั่วไป

การพยาบาลผูป้ ่ วยโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง : กรณีศึกษา


ผ่องศรี งามดี1

บทคัดย่ อ
โรคจิ ตเภทชนิดหวาดระแวงเป็ นโรคจิตเภทที่พบมากที่สุด สถิ ติโรงพยาบาลขอนแก่นปี
2560-2562 มีจานวน 175,451,425 คน การบาบัดรักษาด้ วยยาเป็ นสิง่ สาคัญเพื่อควบคุมอาการด้ าน
บวก ป้องกันอาการกาเริ บซ ้า การใช้ กระบวนการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพจะทาให้ ผ้ ปู ่ วยร่ วมมือ
ในการรั บประทานยา กรณี ศึกษานีเ้ ป็ นการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวงรั กษาที่คลินิก
จิตเวช โรงพยาบาลขอนแก่น โดยมีอาการกาเริ บซ ้า จากการรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง ใช้ สรุ าและ
ยาเสพติด ครอบครัวมีการดูแลที่ไม่ถกู ต้ อง วัตถุประสงค์ดแู ลเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เพื่อให้ ผ้ ปู ่ วย
มีความปลอดภัยจากหวาดระแวง ร่ วมมือในการรักษาด้ วยยา เสริ มสร้ างสัมพันธภาพ ใช้ ระยะเวลา
8 สัปดาห์ ระยะที่ 2 เพื่ อ เพิ่ ม ศัก ยภาพการดูแ ลตนเอง ครอบครั ว สามารถดูแ ลผู้ป่ วยได้ ถูก ต้ อ ง
ใช้ ระยะเวลา 8 สัปดาห์ วิธีดาเนินการเป็ นการศึกษารายกรณี จานวน 2 ราย ดาเนินการ ระหว่าง
เดื อ นมี น าคม -มิ ถุน ายน 2563 ขัน้ ตอน ได้ แ ก่ เลื อ กผู้ป่ วยแบบเจาะจง ทบทวนเอกสารและ
วรรณกรรม ประเมินภาวะสุขภาพ ตรวจสภาพจิต ประวัติการเจ็บป่ วยทางจิต เวช วิเคราะห์ข้อมูล
ปฏิบตั ิตามกระบวนการพยาบาล อภิปรายผลสรุ ปและข้ อเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยทัง้
2 ราย มีการรั บประทานยาตามแผนการรั กษา ไม่มีอาการกาเริ บซา้ มีการสร้ างสัมพันธภาพกับ
ครอบครัวและสังคมได้ ดีขึ ้น ครอบครัวมีความรู้ความเข้ าใจในการดูแล การศึกษานี ้ชี ้ให้ เห็นว่า การใช้
หลักการป้องกันงานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน มาประยุกต์ใช้ ในการดูแลผู้ป่วยช่วยให้ ผ้ ปู ่ วยและ
ครอบครั ว มีคุณภาพชี วิต ที่ดี ขึน้ ข้ อ เสนอแนะในการน าผลการศึกษาไปใช้ ควรน าไปพัฒ นาแนว
ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวงที่ใช้ สารเสพติด และการจัดการผู้ป่วยรายกรณี
ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท

คำสำคัญ: โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง อาการกาเริ บซ ้า ร่วมมือในการรักษาด้ วยยา

1
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กลุม่ งานการพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลขอนแก่น
Corresponding Author : Pongsri Ngamdee, Email: Aung2510@gmail.com

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


266

NURSING CARE IN PATIENTS WITH PARANOID SCHIZOPHRENIA:


CASE STUDY

Pongsri Ngamdee1

ABSTRACT
Paranoid Schizophrenia is the most common types of schizophrenia. The
incidence of the disease in Khon Kaen Hospital from the year 2017-2019 was 175, 451,
425, respectively. Were treated with antipsychotic drugs which were important for
controlling positive symptoms and preventing recurrence. Effective cares could lead to
good compliance. The study was to focus mainly on caring paranoid schizophrenia
patients with poor compliance, relapse, poor family care, alcohol and drug abuse, whom
treated at psychiatric clinic in Khon Kaen Hospital. The treatment care was divided into
two phases. The first phase was to eradicate paranoia and efficiency of medication
compliance, this process took 8 weeks. The second phase was to improve patients’
selfcare with family planning, this process took 8 weeks. There were 2 case studies during
March - June 2020. The methods were specific patient selection, literature review, mental
status examination, previous psychiatric problem collection, data analysis, and discussion.
The results showed improvement in compliance, decrease of relapse, family and social
bonding, and great family caring. This emphasize that community psychiatric guideline
can improve patients and their families’ quality of life. Study further study suggestions, the
study results should be used for developing guidelines for patients with paranoid
schizophrenia and drug abuse and case management for caring schizophrenia patients

Key words: Paranoid schizophrenia, Relapse, medication compliance

1
Registered Nurse Professional Level, Psychiatric Nursing Department, Khon Kaen Hospital

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
267

บทนำ (Introduction) ใกล้ เคียงปกติรวมถึงการส่งต่อเพื่อการฟื น้ ฟู


โรคจิตเภท หมายถึง โรคทางจิตเวช สมรรถภาพที่เหมาะสม7
ที่มี ความผิ ด ปกติ ของสมอง แสดงออกทาง การดูแ ลผู้ป่ วยในโรงพยาบาลจิ ต
ความคิด ความรู้สกึ และพฤติกรรม ที่มีระดับ เวชเน้ นการรักษาโรคในระยะเฉียบพลันและ
ความรุ น แรงที่หลากหลาย 1 เป็ นโรคทางจิ ต รุ น แรง เมื่ อสามารถควบคุม อารมณ์ แ ละ
เวชที่พบมากที่สดุ มีจานวนมากกว่า 1 ใน 3 พฤติ ก รรมตัว เองได้ จะจ าหน่ า ยออกจาก
ของผู้ ป่ วยนอกจิ ต เวชทั ง้ หมด 2 จากการ โรงพยาบาล โดยผู้ป่วยยังต้ องรั บการรั กษา
สารวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าโรคจิต ด้ วยยาอย่างต่อเนื่องเพื่อควบคุมอาการและ
เภทอยูใ่ นอันดับที่ 16 ของโรคทังหมดที ้ ่ทาให้ ผลการรั ก ษาที่ ดี ใ นระยะยาวซึ่ ง เป็ นการ
เกิดปั ญหาการใช้ ชีวิต ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย3 ป้องกันการกลับเป็ นซ ้า8 การพยาบาลผู้ป่วยที่
ต่อญาติหรื อผู้ดูแล ต่อสังคม และเศรษฐกิ จ มีอาการหวาดระแวง มีขนตอนสอดคล้ ั้ องกับ
ในภาพรวม4 กระบวนการพยาบาลพื ้นฐาน และมีหลักการ
โ ร ค จิ ต เ ภ ท ช นิ ด ห ว า ด ร ะ แ ว ง ให้ การพยาบาลเฉพาะทางเพื่ อดูแ ลอาการ
(Paranoid Schizophrenia : F20.0) เป็ นโรค หวาดระแวง3 การวางแผนการพยาบาลจึงมุ่ง
จิ ต เภทชนิ ด ที่ พ บมากที่ สุด ลัก ษณะสาคัญ เป้ าหมายให้ ผู้ ป่ วยปลอดภั ย จากภาวะ
ทางคลินิ ก คื อ ความหมกมุ่น อยู่กับ อาการ หวาดระแวง 9หัวใจของการรั กษาผู้ป่ วยโรค
หลงผิด หรื อหูแว่ว อาการหวาดระแวง เป็ น จิตเภทคือการรักษาด้ วยยารักษาโรคจิตเพื่อ
อาการที่ ไม่ ไว้ ว างใจผู้อื่ น จนหลงผิ ด คิ ด ว่ า ควบคุ ม อาการด้ านบวกและป้ องกั น การ
ตนเองถูกปองร้ าย หรื อคิดว่ามีคนขู่จะทาร้ าย ก าเริ บ ซ า้ ของโรค 10 ด้ วยเหตุ นี ใ้ นผู้ ป่ วย
อาการหวาดระแวงจะมี ผ ลท าให้ เ กิ ด การ กรณีศึกษาทัง้ 2 ราย ซึ่งอยู่ในช่วงมีอาการ
เปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่นการแยกตัว ก าเริ บ ซ า้ กิ จ กรรมการพยาบาลจึ ง เป็ นการ
หรื อ มี พ ฤติ ก รรมก้ า วร้ าว 5 ความหลงผิ ด นี ้ ดู แ ลความปลอดภั ย ให้ ผู้ ป่ วยจากภาวะ
อาจจะทาให้ ผ้ ูป่ วยท าร้ ายตัว เองหรื อ ผู้อื่ น 6 หวาดระแวง การดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับยาอย่าง
การบาบัดรักษาที่เป็ นมาตรฐานในปั จจุบนั จะ ถูกต้ องและปลอดภัย การพัฒนาทักษะการ
มีการรักษาโดยใช้ ยา และการรักษาโดยไม่ใช้ สร้ างสัม พัน ธภาพภาพระหว่ า งบุค คล เพื่ อ
ยา4 ผู้ป่วยจาเป็ นต้ องได้ รับการรักษาด้ วยยา สนั บ สนุ น ให้ ผู้ ป่ วยสามารถปรั บ ตั ว อยู่ ใ น
และการดูแลทางจิตสังคมร่ วมกับญาติ มีการ ครอบครั ว และสัง คมได้ ร วมไปถึ ง การดู แ ล
ติดตามดูแลต่อเนื่องเพื่อป้องกันการขาดยา ทัว่ ไปให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับอาหาร น ้าดื่มการพักผ่อน
จะสามารถช่วยลดความรุ นแรงและช่วยให้ จากการรวบรวมข้ อมูลของผู้ป่วย
ผู้ ป่ วยกลั บ มาใช้ ชี วิ ต ได้ อย่ า งปกติ หรื อ โรคจิ ตเภทชนิดหวาดระแวง ที่คลินิกจิ ตเวช

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


268

โรงพยาบาลขอนแก่น ระหว่างปี พ.ศ.2560- วิธีดำเนินกำรวิจัย (Methodology)


2562 จานวน 175, 451 ,425 คน ตามลาดับ ขัน้ ตอนที่ 1 คัด เลือ กผู้ป่วยแบบ
โดยในปี พ.ศ.2562 มีผ้ ปู ่ วยที่อาการกาเริ บซ ้า เจาะจง 2 ราย ที่ได้ รับการวินิจฉัยเป็ นโรคจิต
ที่ ต้ อ งส่ง ไปรั ก ษาต่ อ ที่ โ รงพยาบาลจิ ต เวช เภทชนิ ด หวาดระแวง โดยยัง มี อ าการ
ขอนแก่นราชนคริ นทร์ แบบผู้ป่วยใน จานวน หวาดระแวงเด่นชัด เสี่ยงต่อเป็ นอันตรายต่อ
13 ราย สาเหตุที่ อ าการกาเริ บ ซ ้าคื อ ไม่ ตนเองและผู้อื่ น สูง อาการกาเริ บ ซ า้ จากไม่
รับประทานยาตามแผนการรักษา ปฏิเสธการ รับประทานยาตามแผนการรักษา ใช้ สรุ าและ
เจ็บป่ วย หรื อคิดว่ารักษาหายแล้ ว ทังผู ้ ้ ป่วย ยาเสพติดร่ วม ครอบครัวมีความรู้ และความ
และญาติมีความรู้ความเข้ าใจในการรักษาไม่ เข้ าใจในการดูแลไม่เพียงพอ ขัน้ ตอนที่ 2
เพียงพอ จากปั ญหาดังกล่าวหลักการสาคัญ ด าเนิ น การศึ ก ษา ระหว่ า งเดื อ นมี น าคม-
ของการดูแลผู้ป่วย คือ การให้ การรักษาทังใน ้ มิ ถุ น ายน 2563 ก าหนดเป้ าหมายการ
คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลขอนแก่น และดูแล พยาบาลเป็ น 2 ระยะ โดย ระยะที่ 1
ต่อเนื่องในชุมชน จะทาให้ ผ้ ูป่วยได้ รับการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ผ้ ูป่วยมีความปลอดภัย
ดู แ ลที่ ดี แ ละมี คุ ณ ภาพเพื่ อ ป้ องกั น ไม่ ใ ห้ จากภาวะหวาดระแวง ได้ รับการเสริ มสร้ าง
อาการทางจิตกาเริ บซ ้า สัมพันธภาพและความไว้ วางใจร่วมมือให้ การ
รักษาด้ วยยา ใช้ ระยะเวลา 8 สัปดาห์ ระยะที่
วัตถุประสงค์ (Objective) 2 วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มศักยภาพการดูแล
1. เพื่ อ ค้ นหาสาเหตุ ข องอาการ ตนเองของผู้ป่วย และพัฒนาการมีส่วนร่ วม
กาเริ บซ ้า ของครอบครั วให้ ดูแลผู้ป่วยได้ อย่างถูกต้ อง
2. เพื่ อเปรี ย บเทีย บทฤษฎี แ ละข้ อ ผู้ป่ วยไม่ มี อ าการก าเริ บ ซ า้ ใช้ ระยะเวลา
วินิจฉัยทางการพยาบาล 8 สัปดาห์ ขันตอนที
้ ่ 3 สรุ ปผลการปฏิบตั ิการ
3. เพื่อนากระบวนการพยาบาลมา พยาบาลโดยเปรี ยบเทียบข้ อวินิจฉัยทางการ
ใช้ ในการดูแล พยาบาล และกระบวนการพยาบาล
4. เพื่ อ เป็ นแนวทางในการดู แ ล วิเคราะห์กรณีศึกษาทัง้ 2 ราย โดย
ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวาดระแวงที่ใช้ สารเสพติด วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้ อมูลทัว่ ไป ข้ อวินิจฉัย
จากคลินิกต่อเนื่องถึงชุมชน การพยาบาลปฏิ บั ติ ก ารพยาบาล และ
ผลลัพธ์ทางการพยาบาล

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
269

ประโยชน์ ท่ คี ำดว่ ำจะได้ รับ ทานยาเฉพาะวันที่มี หูแว่วและนอนไม่หลับ


1. ด้ านบริ หาร เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารใช้ ใน ปฏิ เ สธยารั ก ษาโรคจิ ต เนื่ อ งจาก ได้ รั บ
การกาหนดนโยบาย สนับสนุนให้ มีการสร้ าง ผลข้ างเคียงจากยา จะไปรับยาเมื่อมีอาการ
แนวทางการปฏิบตั ิการดูแลผู้ป่วยจิตเภทชนิด นอนไม่ ห ลับ และหยุ ด ทานยาเมื่ อ คิ ด ว่ า
หวาดระแวง และการจัดการผู้ป่วยรายกรณี อาการปกติ ท าให้ อ าการก าเริ บ บ่ อ ยมี ก าร
ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท ทังในหน่
้ วยงานและ รักษาทางแบบผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก
ในชุมชนต่อไป 2. ด้ านบริ การ เพื่อเป็ นการ พ.ศ. 2563 มารดามาขอรับยาแทน
พัฒนาคุณภาพบริ การการดูแลผู้ป่วยจิตเภท ผู้ป่วย มารดาให้ ประวัติว่า 1 เดือนก่อนมา
ชนิดหวาดระแวง และเป็ นการสร้ างเสริ มการ ผู้ป่วยไม่ทานยาเนื่องจากว่าทานแล้ วลิ ้นแข็ง
ปฏิ บัติ ง านร่ ว มกัน ของสหวิ ช าชี พ 3. ด้ า น พูดรัว น ้าลายเยอะ ยังมีหูแว่วทุกวัน ปฏิเสธ
วิชาการ เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการศึกษาวิจัย ภาพหลอน ยังมีหวาดระแวงคนนินทาและจะ
และพัฒนางานประจาสูก่ ารทาวิจยั (Routine มาท าร้ าย หงุ ด หงิ ด ขู่ จ ะท าร้ ายมารดาถ้ า
to Research : R2R) เกิดแนวทางในการ วุ่นวายกับผู้ป่วย ดื่มสุราทุกวันๆละ 10 บาท
พัฒนาคุณภาพงาน ว่างงาน แพทย์พิจารณาให้ ยา Fluphenazine
decanoate (25 mg) ฉีดเข้ ากล้ ามเนื ้อ ทุก
ข้ อมูลเบือ้ งต้ นกำรเข้ ำรับบริกำรของ 1 เดือน ยา Pherphenazine (8 mg) รับประทาน
กรณีศึกษำ 3 เม็ดก่อนนอน ยา Artane (2 mg) รับประทาน
กรณี ศึกษำรำยที่ 1 ชายไทยโสด
1 เม็ด หลังอาหารเช้ า และเย็น ยา Chlorpromazine
อายุ 52 ปี อาชีพรับจ้ างทัว่ ไป ผู้ป่วยส่งกลับ
(100 mg) รับประทาน 1 เม็ด ก่อนนอน และ
จากโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนคริ นทร์
ยา Diazepam (5 mg) รับประทาน 1 เม็ด
เพื่อดูแลต่อเนื่องที่โรงพยาบาลขอนแก่น ด้ วย
ก่อ นนอน ผู้ศึก ษาจึ ง ได้ ไปเยี่ ย มบ้ า นผู้ป่ วย
อาการสาคัญ คือ มีอาการหวาดระแวง หูแว่ว
พร้ อมกับพยาบาลที่รับผิดชอบงานจิตเวชเพื่อ
การวินิจฉัยโรค Paranoid Schizophrenia
ประเมินสภาพและวางแผนดูแลต่อเนื่องพบ
(F20.0) ประวัติการเจ็บป่ วยระบุว่าผู้ป่วยเป็ น
ข้ อมูลสาคัญสรุปว่าผู้ป่วยแยกตัว ชอบเก็บตัว
โรคจิตเภทตังแต่้ พ.ศ.2554
ในห้ องนอน พู ด บ่ น พึ ม พร่ า ถามตอบตรง
พ.ศ.2554 -2562 ประวัติการรักษา
คาถาม ลัก ษณะถามคาตอบค า ผมยาวยุ่ง
ไม่ต่อเนื่องทังที
้ ่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น
ไม่สวมเสือ้ มารดาบอกว่าผู้ป่วยจะอาบน า้
ราชนคริ นทร์ และโรงพยาบาลขอนแก่น โดย
1-2 ครัง้ /สัปดาห์ หากเตือนเรื่ องการอาบน ้า
ให้ เหตุผลว่าเข้ าใจว่าตนเองไม่ป่วย ยังทางาน
ผู้ ป่ วยจะบอกว่ า อย่ า มายุ่ ง หงุ ด หงิ ด ง่ า ย
ได้ ดื่มสุราร่ วมด้ วย ทานยาไม่สม่าเสมอ จะ
มารดาบอกว่าผู้ป่วยจะแอบเอามีดพร้ าไปเก็บ

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


270

ไว้ ในห้ องนอนทุกวัน มารดารู้สกึ กลัวถูกผู้ป่วย พ.ศ.2554-2562ประวัติจากมารดา


ทาร้ าย พยาบาลสังเกตเห็นมีดพร้ าอยู่ข้างที่ ว่า รั ก ษาที่โรงพยาบาลจิ ตเวชขอนแก่ นราช
นอนผู้ ป่ วยเมื่ อ สอบถามผู้ ป่ วยบอกว่ า จะ นคริ นทร์ แบบผู้ป่วยนอก แต่ไม่สม่าเสมอ มี
เอาไว้ ฆา่ คนที่จะมาทาร้ ายและป้องกันตัว ลืมทานยาบ้ าง ฉีดยาไม่ครบตามกาหนด ยัง
กรณีศึกษำรำยที่ 2 หญิงไทยโสด มี ภาพหลอน ระแวงคนอื่ น นิ น ทา หงุด หงิ ด
อายุ 34 ปี อาชีพรับจ้ างทัว่ ไปอาการสาคัญ เป็ นบางครั ง้ ช่วยมารดารั บส่งหลานได้ บ้าง
ได้ ยิ น เสี ย งคนนิ น ทา จะมาท าร้ ายและมี ได้ ยาRisperidone (2 mg) รับประทาน 2 เม็ด
ความคิดหวาดระแวงคนอื่นมองตน รู้ เรื่ องตน ก่อนนอน ยา Depakine (200 mg) รับประทาน
บางครัง้ ขู่จะมาทาร้ าย เห็นภาพคนเป็ นผีทุก หลังอาหารเช้ า 1 เม็ด และ 2 เม็ด ก่อนนอน
วัน นอนหลับยาก บางวันไม่หลับเลย ดื่มสุรา ยา Clonazepam (2 mg) รับประทาน 1 เม็ด
และใช้ ยาบ้ าโดยประวัติการเจ็บป่ วยระบุว่า ก่ อ นนอนถ้ า ไม่ ห ลับ ทานเพิ่ ม 1 เม็ ด ยา
ผู้ป่วยมีอาการทางจิตตัง้ แต่ พ.ศ.2553 การ Trihexyphenidyl (5 mg) รับประทาน หลัง
วินิจฉัยโรค Paranoid Schizophrenia ได้ รับ อาหารเช้ า 1 เม็ด และ 1 เม็ด ก่อ นนอนยา
การรักษาแบบผู้ป่วยในที่โรงพยาบาลจิตเวช Perphenazine (16 mg) รับประทาน หลัง
ขอนแก่นราชนคริ นทร์ เป็ นเวลา 14 วัน หลัง อาหารเช้ า 1 เม็ด และ 2 เม็ด ก่อนนอน ยา
จ าหน่ า ย ได้ ยา Perphenazine (8 mg) Fluphenazine decanoate (25 mg) ฉีดเข้ า
รับประทาน 1 เม็ด หลังอาหารเช้ า และก่อน กล้ ามเนื ้อทุก 2 สัปดาห์ยงั ดื่มสุรา รักษาแบบ
นอน ยา Artane (2 mg) รับประทาน 1 เม็ด ผู้ป่วยใน 3 ครั ง้ หลัง จาหน่ายอาการสงบ
เช้ าและก่อนนอนยา Fluoxetine (20 mg) ผู้ป่ วยไม่ท านยาต่อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากบอกว่า
รั บ ประทาน 1 เม็ด หลังอาหารเช้ ายา B1 หายแล้ ว
(100 mg) รับประทาน 1 เม็ด หลังอาหาร เช้ า พ.ศ.2563 อาการกาเริ บ 3 สัปดาห์
กลางวัน เย็น และยา Lorazepam (1 mg) ก่อนมามีอาการหวาดระแวง กลัวคนมาท า
รับประทาน 1 เม็ด หลังอาหารเช้ า ผู้ป่วยทาน ร้ าย มีหแู ว่ว ปฏิเสธภาพหลอน นอนหลับยาก
ยาไม่สม่าเสมอเนื่องจากบอกว่าเบลอ สมอง ดื่มสุราทุกวัน มารดาว่าผู้ป่วยเสพยาบ้ าร่ วม
ตื ้อๆ ง่วงมาก วิงเวียน หน้ ามืด ทาให้ ทางาน ด้ ว ย ท างานไม่ ไ ด้ หงุ ด หงิ ด ง่ า ย ด่ า บิ ด า
ไม่ได้ มารั กษาต่อที่ คลินิกจิ ตเวชและยาเสพ มารดา มารดารู้ สึกกลัวเพราะบางครัง้ ถือมีด
ติดโรงพยาบาลขอนแก่น ไม่สม่าเสมอ ส่วน เดินไปมาและพบรอยกรี ดที่แขนหลายรอย ไป
ใหญ่มาแผนกอุบตั ิเหตุและฉุกเฉินด้ วยอาการ รั บ ยาที่ โ รงพยาบาลจิ ต เวชขอนแก่ น ราช
ทางกายจากปั ญหาการดื่มสุรา นคริ นทร์ แต่ไม่สม่าเสมอ ได้ รักษาแบบผู้ป่วย
ใน 2 ครั ง้ หลัง จาหน่า ยกลับ มารั ก ษาที่

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
271

โรงพยาบาลขอนแก่นเช่นเดิม และได้ ยาเดิม นอกจากเพื่อการควบคุมอาการด้ านบวกแล้ ว


นัดทุก 1 เดือน ยังดื่มเบียร์ 2-3 วัน/สัปดาห์ ยังสามารถลดการกาเริ บซ ้าของโรคได้ ผู้ป่วย
และเสพยาบ้ า 1 ครัง้ /สัปดาห์ หรื อเมื่อมีเงิน ที่กลับมีอาการกาเริ บซา้ ส่ว นใหญ่ มีปัญหา
ว่าสนุกและคลายเครี ยดได้ ดี ทานยาและฉีด จากการขาดยา และพบว่ า เป้ าหมายการ
ยาไม่ ส ม่ า เสมอ ว่ า ทานแล้ วเพลี ย ง่ ว ง รั กษาของจิ ตแพทย์ ร ะยะนีม้ ุ่งที่ การควบคุม
วิงเวียน หน้ ามืด มารดาเครี ยดมากและรู้ สึก อาการ ซึ่งตรงกับทฤษฎีโรคเช่นกัน 4 ดังนัน้
เหนื่อยล้ าในการดูแลเนื่องจากผู้ป่วยไม่เชื่ อ การวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยที่คลินิกและที่
ฟั งผู้ ศึ ก ษาจึ ง ลงเยี่ ย มบ้ านผู้ ป่ วยพร้ อม บ้ าน จึง กาหนดเป้าหมายการพยาบาล คื อ
พยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพตาบล ผู้ ป่ ว ย แ ละ ค น อื่ น ปล อ ด ภั ย จ า ก ภ า ว ะ
เพื่อประเมินสภาพและวางแผนดูแลต่อเนื่อง หว า ด ระ แ ว ง แ ละสา ม ารถ ปรั บตั ว ใ น
ขณะเยี่ยมบ้ านพบผู้ป่วยนัง่ ดื่มเบียร์ กบั ญาติ สถานการณ์ที่เป็ นจริ งได้ การแก้ ไขปั ญหานี ้จึง
ปฏิเสธการทานยาว่า ไม่ได้ ป่วยแล้ ว ทานยา นาหลักการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตใน
แล้ วเบลอ วิงเวียน หน้ ามืด ทางานไม่ได้ ดื่ม ชุม ชนมาใช้ โดยก าหนดเป้ าหมายของการ
สุราแล้ วมีความสุขดี ดูแลผู้ป่วยที่ คลินิกและบ้ าน คือมุ่งส่งเสริ ม
และช่วยเหลือให้ ผ้ ปู ่ วยและครอบครัวสามารถ
ผลกำรวิจัย (Result) อยูร่ ่วมกันได้ 8 จากการรวบรวมข้ อมูลประเมิน
จากผลการเก็ บ รวบรวมข้ อมู ล ปั ญหาผู้ศึกษาได้ นาปั ญหาที่พบมากาหนด
กรณีศึกษา จานวน 2 ราย ได้ ทบทวนแนว เป็ นข้ อวิ นิ จ ฉั ย ทางการพยาบาลโดยได้
ทางการรั ก ษาผู้ ป่ วยโรคจิ ต เภท พบว่ า เปรี ย บเที ย บทฤษฎี แ ละข้ อ วิ นิ จ ฉัย ทางการ
แผนการรั ก ษาผู้ ป่ วยรายนี ส้ อดคล้ องกั บ พยาบาลของผู้ป่วย 2 ราย ดังตารางที่ 1
ทฤษฎีโรคที่อธิบายว่า การรักษาด้ วยยารักษา
โรคจิ ต เป็ นหั ว ใจของการรั ก ษา เพราะ

ตำรำงที่ 1 เปรี ยบเทียบทฤษฎีและข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล (กรณีศกึ ษา)


ปั ญหำ ทฤษฎี ข้ อวินิจฉัยทำงกำร ข้ อวินิจฉัยทำงกำร
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 2
1 มี แ นวโน้ ม ท าร้ ายตนเอง และ มี แ น ว โ น้ ม ท า ร้ า ย ผู้ อื่ น มี แ นวโน้ มท าร้ ายตั ว เอง
ผู้อื่ น เนื่ อ งจากมี ค วามผิ ด ปกติ เนื่อ งจากมี อาการประสาท เนื่อ งจากมี อาการประสาท
ของการรับรู้ ห ล อ น แ ล ะ ค ว า ม คิ ด ห ล อ น แ ล ะ ค ว า ม คิ ด
หวาดระแวง หวาดระแวง

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


272

ตำรำงที่ 1 เปรี ยบเทียบทฤษฎีและข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


ปั ญหำ ทฤษฎี ข้ อวินิจฉัยทำงกำร ข้ อวินิจฉัยทำงกำร
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 2
2 มี แ นวโน้ มกลั บ มารั กษาซ า้ มีแ นวโน้ มกลับมารั กษาซา้ มีแ นวโน้ มกลับมารั กษาซา้
เนื่ อ งจากผู้ ป่ วยขาดความรู้ เนื่ อ งจากผู้ป่ วยไม่ ร่ ว มมื อ เนื่ อ งจากผู้ป่ วยไม่ ร่ ว มมื อ
ความเข้ าใจในการปฏิบตั ติ วั ในการรั ก ษาด้ วยยา และ ในการรักษาด้ วยยา และใช้
ปฏิเสธการเจ็บป่ วย สุรา ยาเสพติดร่ วม

3 เกิดปั ญหาป่ วยซ ้าจากสุราหรื อ มี พฤติกรรมพึ่งพาสารเสพ มี พฤติกรรมพึ่งพาสารเสพ


สารเสพติด ติดเนื่ อ งจากมี ความเชื่อ ว่าติดเนื่ อ งจากมี ความเชื่อ ว่า
สุ ร าไม่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การ
สุรา และสารเสพติดเป็ นวิธี
รักษา ผ่ อ น ค ล า ย ที่ ดี แ ล ะ ไ ม่
เกี่ยวข้ องกับการรักษา
4 แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ แบบแผนการพัก ผ่อ นนอน แบบแผนการพัก ผ่อ นนอน
เบี่ ย งเบนเนื่ อ งจากมี อ าการ หลับ เบี่ ย งเบนเนื่ อ งจากมี หลับเบี่ ยงเบนเนื่ อ งจากใช้
ประสาทหลอนทางหู อาการประสาทหลอนทางหู ยาเสพติด

5 บกพร่ องในการดูแลตนเองเรื่ อง มี ค วามบกพร่ อ งด้ านการ มี ค วามบกพร่ อ งด้ านการ


กิ จ วั ต รประจ าวั น เนื่ อ งจาก ดูแ ลตนเองเนื่ อ งจากการ ดูแ ลตนเองเนื่ อ งจากการ
ค วาม ส าม าร ถใ นการ ดู แ ล รับรู้ และการแยกตัวเอง รับรู้
ตนเองลดลง

6 พร่ องสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น มี ป ฏิ สัม พัน ธ์ กับ บุค คลอื่ น พร่ องสัมพันธภาพกับบุคคล


เนื่ อ งจากขาดความไว้ วางใจ ลดลง เนื่ อ งจากมี อ าการ อื่ นเนื่ องจากขาดความ
ผู้อื่น หวาดระแวง ไว้ วางใจผู้อื่น
7 บกพร่ อ งในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร บ ก พ ร่ อ ง ใ น ก า ร ไม่มี
เ นื่ อ ง จ า ก มี ค ว า ม คิ ด ติ ด ต่ อ สื่ อ สารเนื่ อ งจากมี
หวาดระแวง ความคิดหวาดระแวง

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
273

ตำรำงที่ 1 เปรี ยบเทียบทฤษฎีและข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


ปั ญหำ ทฤษฎี ข้ อวินิจฉัยทำงกำร ข้ อวินิจฉัยทำงกำร
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 2
8 เสี่ ยงอันตรายจากผลข้ างเคียง เ สี่ ย ง อั น ต ร า ย จ า กเ สี่ ย ง อั น ต ร า ย จ า ก
ของยาและอาจหลี ก เลี่ ย งการ ผลข้ างเคียงของยาและอาจ ผลข้ างเคียงของยาและอาจ
กินยา ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร กิ น ย า
ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร กิ น ย า
เนื่ อ งจากมี ลิ น้ แข็ ง พู ด รั ว
เนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย
น ้าลายเยอะ หน้ ามื ด วิ ง เวี ย น ท างาน
ไม่ได้
9 มี แ นวโน้ มกลั บ มารั กษาซ า้ มีแ นวโน้ มกลับมารั กษาซา้ มีแ นวโน้ มกลับมารั กษาซา้
เนื่องจากญาติขาดความรู้ ความ เนื่ อ งจากญาติข าดความรู้ เนื่ อ งจากญาติข าดความรู้
เข้ าใจในการดูแลผู้ป่วยขณะอยู่ ความเข้ าใจในการดู แ ล ความเข้ าใจในการดู แ ล
บ้ าน ผู้ป่วยขณะอยู่บ้าน ผู้ป่วยขณะอยู่บ้าน

10 ผู้ ดู แ ล เ ค รี ย ด / เ บื่ อ ห น่ า ย / ผู้ ดู แ ล เ ค รี ย ด แ ล ะ ผู้ ดู แ ลเครี ยด เบื่ อ หน่ า ย


หวาดกลัว ในการดูแล หวาดกลัวถูกผู้ป่วยทาร้ าย และรู้ สกึ เป็ นภาระ

จากการรวบรวมข้ อมู ล ผู้ ป่ วยทั ง้ สัมพันธภาพและความไว้ วางใจร่วมมือให้ การ


2 ราย นามาวางแผนการพยาบาล ตามหลัก รักษาด้ วยยา ใช้ ระยะเวลา 8 สัปดาห์ ระยะที่
ของกระบวนการพยาบาล โดยจั ด ล าดั บ 2 วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มศักยภาพการดูแล
ความสาคัญของข้ อวินิจฉัย ทางการพยาบาล ตนเองของผู้ป่วย และพัฒนาการมีส่วนร่ วม
ครอบคลุ ม องค์ ร วม ประกอบด้ วย การ ของครอบครั วให้ ดูแลผู้ป่วยได้ อย่างถูกต้ อง
พยาบาลที่ ใ ห้ แก่ ผ้ ู ป่ วยจิ ต เภทที่ มี ภ าวะ ผู้ป่ วยไม่ มี อ าการก าเริ บ ซ า้ ใช้ ระยะเวลา
หวาดระแวง มี 2 ระยะ คื อ ระยะที่ 1 8 สัป ดาห์ ส ามารถเขี ย นตามกระบวนการ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ผ้ ูป่วยมีความปลอดภัย พยาบาล เพื่อสังเคราะห์บทเรี ยนนาไปสูก่ าร
จากภาวะหวาดระแวง ได้ รับการเสริ มสร้ าง หาแนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง ดังตารางที่ 2

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


274

ตำรำงที่ 2 เปรี ยบเทียบกระบวนการพยาบาล (กรณีศกึ ษา)


กระบวนกำร ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวำดระแวง
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 ผู้ป่วยรำยที่ 2
1. การประเมิน 1. การซักประวัติ การตรวจสภาพจิต 1. การซักประวัติ การตรวจสภาพจิ ต
ภาวะสุขภาพ การประเมินสภาวะสุขภาพการประเมินทาง การประเมินสภาวะสุข ภาพการประเมิ น
จิตสังคมการสังเกตพฤติกรรม อาการและ ทางจิตสังคมการสังเกตพฤติกรรม อาการ
อาการแสดง การประเมินความต้ องการการ และอาการแสดง การประเมิ น ความ
ดูแล ต้ องการการดูแล
2. การวินิจฉัย 2.1 เสี่ ยงต่อการได้ รับอันตรายต่อผู้อื่ น 2.1 มีแนวโน้ มทาร้ ายตัวเองและผู้อื่น
ทางการพยาบาล เนื่ อ งจากมี อ าการประสาทหลอนและ เนื่ อ งจากมี อ าการประสาทหลอนและ
ความคิดหวาดระแวง ความคิดหวาดระแวง
2.2 มีแนวโน้ มกลับมารักษาซ ้าเนื่องจาก 2.2 มีแนวโน้ มกลับมารักษาซ ้า
ผู้ป่วยไม่ร่วมมือในการรักษาด้ วยยา เนื่องจากผู้ป่วยไม่ร่วมมือในการรักษาด้ วย
2.3 มี พ ฤติ ก รรมพึ่ ง พาสารเสพติ ด ยา และใช้ สรุ า ยาเสพติดร่ วม
เนื่องจากมีความเชื่อว่าสุราไม่เกี่ยวข้ องกับ 2.3 มี พ ฤติก รรมพึ่ง พาสารเสพติ ด
การรักษา เนื่ อ งจากมี ค วามเชื่ อ ว่า สุร า และยาบ้ า
2.4 มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กับ บุ ค คลอื่ น ลดลง เป็ นวิธีผ่อนคลายที่ดี
เนื่องจากมีอาการหวาดระแวง 2.4 แบบแผนการนอนแปรปรวน
2.5 แบบแ ผนการนอ นแปรปรวน เนื่ อ งจากมี อ าการประสาทหลอนทางหู
เนื่องจากมีอาการประสาทหลอนทางหู และใช้ ยาเสพติด
2.6 มีการเปลี่ยนแปลงด้ านกระบวนการ 2.5 มี สัมพันธภาพกับผู้อื่ นบกพร่ อ ง
คิด เนื่องจากความแปรปรวนด้ านการรับรู้ เนื่องจากมีความคิดหวาดระแวง
2.7 มี ค วามบกพร่ อ งด้ า นการดูแ ล 2.6 มี การเปลี่ ย นแปลงด้ าน
ตนเองเนื่องจากการรับรู้ และการแยกตัวเอง กระบวนการคิด เนื่องจากความแปรปรวน
2.8 เสี่ยงอันตรายจากผลข้ างเคียงของ ด้ านการรับรู้
ยาและอาจหลีกเลี่ยงการกินยา 2.7 เสี่ยงอันตรายจากผลข้ างเคียงของ
2.9 มีแนวโน้ มกลับมารักษาซ ้าเนื่องจาก ยาและอาจหลีกเลี่ยงการกินยา
ผู้ป่วยและญาติข าดความรู้ ความเข้ าใจใน 2.8 มี แ นวโน้ มกลั บ มารั ก ษาซ า้
การปฏิบตั ติ วั และดูแล เนื่องจากผู้ป่วยและญาติขาดความรู้ ความ
2.10 ผู้ดแู ลเครี ยด และหวาดกลัวถูกผู้ป่วย เข้ าใจในการปฏิบตั ติ วั และดูแล
ทาร้ าย 2.9 ผู้ดแู ลเครี ยด เบื่อหน่าย และรู้ สึก
เป็ นภาระ

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
275

ตำรำงที่ 2 เปรี ยบเทียบกระบวนการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


กระบวนกำร ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวำดระแวง
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 ผู้ป่วยรำยที่ 2
3. การวางแผน แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี ้ แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี ้
การพยาบาล ระยะที่ 1 กาหนดวัตถุประสงค์การพยาบาล ระยะที่ 1 ก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้
ให้ ผู้ ป่ วยมี ความปลอดภั ย จากภาวะ ผู้ป่วยและผู้อื่นมีความปลอดภัยจากภาวะ
ห ว า ด ร ะ แ ว ง ไ ด้ รั บ ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง หว า ด ร ะ แ ว ง ไ ด้ รั บ ก าร เ ส ริ ม ส ร้ า ง
สั ม พั น ธภาพและความไว้ วางใจเพื่ อ ให้ สัม พัน ธภาพและความไว้ ว างใจเพื่ อ ให้
ภาวะหวาดระแวงลดลง ภาวะหวาดระแวงลดลง
4. การปฏิบตั กิ าร 4.1 สร้ างความไว้ วางใจในการติดต่อกับ 4.1 สร้ างความไว้ วางใจในการติดต่อ
พยาบาล ผู้ ป่ วยแบบตัว ต่ อ ตัว (one to one กับผู้ป่วยแบบตัวต่อ ตัว (one to one
relationship) โดยเน้ นการสร้ างความ relationship) โดยเน้ น การสร้ างความ
ไว้ วางใจและความเชื่อถือ ทุกครั ง้ ที่พบกับ ไว้ วางใจและความเชื่อถือทุกครั ง้ ที่พบกับ
ผู้ป่วย ผู้ป่วย
4.2 ยอมรั บผู้ป่วยโดยการเรี ยกชื่อ ให้ 4.2 ยอมรั บผู้ป่วยโดยการเรี ยกชื่อให้
ถูก ต้ อ ง รั บ ฟั ง เรื่ อ งราวอย่า งสนใจเพื่ อ ให้ ถูกต้ อง รั บฟั งเรื่ องราวอย่างสนใจเพื่ อให้
ผู้ป่วยเกิดความไว้ วางใจ ผู้ป่ วยเกิ ด ความไว้ ว างใจ ไม่ หัว เราะใน
4.3 การสื่ อ สารกับผู้ป่ วยต้ อ งเปิ ดเผย พฤติกรรมผู้ป่วย
รั ก ษ า ค า พู ด ใ ห้ ข้ อ มู ล อ ย่ า ง ชั ด เ จ น 4.3 การสื่ อสารกับผู้ป่วยต้ อ งเปิ ดเผย
ตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการจ้ องมอง รั กษาค าพู ด ให้ ข้ อ มู ล อ ย่ า ง ชั ด เ จน
4.4 แสดงการยอมรั บอาการประสาท ตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการจ้ องมอง
หลอน หรื อ หวาดระแวงของผู้ป่วย โดยไม่ 4.4 แสดงการยอมรั บอาการประสาท
โต้ แ ย้ งหรื อ ท้ า ทายว่ า ที่ ผ้ ู ป่ วยเล่ า ไม่ เ ป็ น หลอน หรื อหวาดระแวงของผู้ป่วย โดยไม่
ความจริ ง แต่แสดงความคิดเห็นที่ขดั แย้ งได้ โต้ แ ย้ ง หรื อ ท้ า ทายว่า ที่ ผ้ ูป่ วยเล่ า ไม่ เ ป็ น
โดยใช้ เทคนิคการให้ ความจริ ง (presenting ความจริ ง แต่แสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้ ง
reality) ในขณะการสนทนา เพื่ อ ช่ ว ยให้ ไ ด้ โ ด ย ใ ช้ เ ท ค นิ ค ก า ร ใ ห้ ค ว า ม จ ริ ง
ผู้ป่วยเกิดความเข้ าใจว่าความคิดที่เกิดขึน้ (presenting reality) ในขณะการสนทนา
นั น้ มาจากการเจ็ บ ป่ วยที่ เ กิ ด ขึ น้ และ เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ ป่ วยเกิ ด ความเข้ าใจว่ า
หวาดระแวงน้ อยลง ความคิดที่เกิดขึ ้นนันมาจากการเจ็
้ บป่ วยที่
เกิดขึ ้นและหวาดระแวงน้ อยลง

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


276

ตำรำงที่ 2 เปรี ยบเทียบกระบวนการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


กระบวนกำร ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวำดระแวง
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 ผู้ป่วยรำยที่ 2
4.5 ไม่แสดงกิริยาที่อาจทาให้ ผ้ ปู ่ วยเกิด 4.5 ไม่ แ สดงกิ ริ ย าที่ อ าจท าให้ ผ้ ูป่ วย
ความสงสัย หรื อ ไม่ มั่น ใจ ระมัด ระวัง การ เกิดความสงสัยหรื อ ไม่มั่นใจ ระมัดระวัง
กระซิ บ ต่ อ หน้ าผู้ ป่ วย เพราะผู้ ป่ วยอาจ การกระซิบต่อหน้ าผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยอาจ
เข้ าใจว่าพยาบาลนินทา หรื อระแวง เข้ าใจว่าพยาบาลนินทา หรื อระแวง
4.6 ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับยาตามแผนการ 4.6 ประเมินอาการหวาดระแวงทุกครัง้
รั กษาของแ พทย์ เพื่ อช่ ว ยลดอาการ ที่มารั บบริ การ โดยสอบถามทังจากผู ้ ้ ป่วย
หวาดระแวง และญาติ เพื่อ ประเมินอาการและให้ การ
4.7 ประเมินอาการหวาดระแวงทุกครั ง้ พยาบาลได้ เหมาะสม
ที่มารั บบริ การ โดยสอบถามทังจากผู ้ ้ ป่วย 4.7 ดูแลให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับยาตามแผนการ
และญาติ เพื่ อ ประเมิน อาการและให้ การ รั ก ษาของแพทย์ โดยเฉพาะยากลุ่ ม
พยาบาลได้ เหมาะสม antipsychotic เพื่ อ ช่ ว ยลดอาการ
4.8 ส่ ง เสริ ม ศัก ยภาพการดูแ ลตนเอง หวาดระแวง
ของผู้ป่วย การร่ วมมือในการรั กษาด้ วยยา 4.8 น าผู้ ป่ วยเข้ ากระบวนการ
และพัฒ นาการมี ส่ ว นร่ ว มของครอบครั ว บาบัดรักษายาเสพติด แบบรายบุคคล
และชุมชนในการดูแลผู้ป่วย โดย 4.9 ส่งเสริ มศักยภาพการดูแลตนเอง
- ให้ ความรู้ กับผู้ป่วยและญาติ ถึงพยาธิ ของผู้ป่วย การร่ วมมือในการรักษาด้ วยยา
สภาพของโรค แผนการรักษาพยาบาล และ และพัฒนาการมี ส่วนร่ วมของครอบครั ว
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย และชุมชนในการดูแลผู้ป่วย โดย
- สอนให้ ผ้ ูป่วยและญาติสังเกตอาการ - ให้ ค วามรู้ กับ ผู้ป่ วยและญาติ ถึง
เตือนก่อนอาการทางจิตกาเริ บ เช่น เริ่ ม พ ย า ธิ ส ภ า พ ข อ ง โ ร ค แ ผ น ก า ร
หงุดหงิดง่าย ไม่นอน/นอนไม่หลับ อาจเริ่ ม รั ก ษาพยาบาล และการดูแ ลช่ ว ยเหลื อ
มีอาการประสาทหลอน รวมถึงมีพฤติกรรม ผู้ป่วย
ไม่ร่วมมือ เช่นทิ ้งยา/ ไม่กินยา พูดห้ วน ตา - สอนให้ ผ้ ปู ่ วยและญาติสงั เกตอาการ
ขวาง การดื่มสุรา เตือนก่อนอาการทางจิตกาเริ บ เช่น เริ่ ม
- เสริ มสร้ างพลังอานาจ และสอนทักษะ หงุดหงิดง่าย ไม่นอน/นอนไม่หลับ อาจเริ่ ม
การจัดการกับความเครี ยด แก่ผ้ ดู แู ล มี อ าการประสาทหลอน รวมถึ ง มี
- ให้ ข้อมูลในแหล่งที่สามารถช่วยเหลือ พฤติกรรมไม่ร่วมมือ เช่น ทิ ้งยา/ ไม่กินยา
ได้ ในกรณีฉกุ เฉิน แก่ผ้ ดู แู ล พูดห้ วน ตาขวาง การดื่มสุรา ยาเสพติด

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
277

ตำรำงที่ 2 เปรี ยบเทียบกระบวนการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


กระบวนกำร ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวำดระแวง
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 ผู้ป่วยรำยที่ 2
- พัฒนาทักษะพยาบาลที่ศนู ย์แพทย์ ใน -ให้ ข้ อมูล ญาติ แ ละช่ ว ยค้ น หาแหล่ ง
การติ ด ตาม ดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ วยและ ช่วยเหลือในชุมชน เช่น แหล่งสนับสนุน
ครอบครัว โดย ด้ านข้ อมูล ด้ านจิตใจ
- การดูแลช่วยเหลืออาการข้ างเคียงจาก - เสริ มสร้ างพลั ง อ านาจ และสอน
ยารักษาโรคจิต ทักษะการจัดการกับความเครี ยดแก่ผ้ ดู แู ล
- สอนทักษะการติดตาม การกากับการ - แนะนาญาติให้ ชมเชยผู้ป่วยหากทา
กิ น ยาของผู้ป่ วยให้ แ ก่ อสม.ในพื น้ ที่ เ พื่ อ กิจกรรมร่ วมกับครอบครัวได้ เพื่อให้ ผ้ ูป่วย
ช่วยสนับสนุนกิจกรรมการพยาบาล เกิดความมัน่ ใจและภาคภูมิใจในตนเอง
- พัฒนาทักษะพยาบาลที่ รพ.สต. ใน
การติ ด ตาม ดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ วยและ
ครอบครัว
- สอนทักษะการติดตาม การกากับการ
กินยาของผู้ป่ วยให้ แ ก่ อสม.ในพื น้ ที่เพื่ อ
ช่วยสนับสนุนกิจกรรมการพยาบาล
- การดูแลช่วยเหลืออาการข้ างเคียง
จากยารักษาโรคจิต
- มาตรการในชุมชนเพื่อลดปั ญหาการ
ดื่มสุรา/ใช้ สารเสพติด โดย MOU กับ
ชุมชนไม่ขายสุราให้ ผ้ ปู ่ วย
5. การประเมินผล นาข้ อ มูลของผู้ป่วยที่ประเมินได้ ตงั ้ แต่ นาข้ อมูลของผู้ป่วยที่ประเมินได้ ตงแต่
ั้
การพยาบาล แรกรั บจนถึงหลังให้ การพยาบาลเสร็ จสิ น้ แรกรั บจนถึงหลังให้ การพยาบาลเสร็ จสิน้
แล้ วเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผล แล้ วเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผล
ดังนี ้ ดังนี ้
5.1 ผู้ ป่ วยและผู้ อื่ น ปลอดภัย จาก 5.1 ผู้ป่ วยและผู้ อื่ น ปลอดภัย จาก
อั น ต ร ายที่ เ กิ ด ขึ น้ ใ น ภ าว ะ ค ว าม คิ ด อันตรายที่เกิดขึ ้นในภาวะหวาดระแวง
หวาดระแวง 5.2 ผู้ป่วยร่ วมมือกินยา/กินยาต่อเนื่อง
5.2 ผู้ป่วยร่ วมมือกินยา/กินยาต่อเนื่อง และปลอดภัย จากอาการไม่ พึงประสงค์
และปลอดภัยจากอาการไม่พึงประสงค์จาก จากยา
ยา

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


278

ตำรำงที่ 2 เปรี ยบเทียบกระบวนการพยาบาล (กรณีศกึ ษา) (ต่อ)


กระบวนกำร ผู้ป่วยจิตเภทชนิดหวำดระแวง
พยำบำล ผู้ป่วยรำยที่ 1 ผู้ป่วยรำยที่ 2
5.3 ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพในครอบครั ว 5.3 ผู้ป่วยมี สัมพันธภาพในครอบครั ว
และผู้อื่นดีขึ ้น และผู้อื่นดีขึ ้น
5.4 ผู้ ป่ ว ย ส า ม า ร ถ ดู แ ล กิ จ วั ต ร 5.4 ผู้ป่วยสามารถประกอบอาชีพได้
ประจาวันตัวเองได้ 5.5 ผู้ ป่ วยเลิ ก ดื่ ม สุ ร าและเลิ ก ใช้
5.5 ผู้ ป่ วยสามารถท างานได้ ตาม ยาเสพติด
ศักยภาพ
5.6 ผู้ป่วยเลิกดื่มสุรา

อภิปรำยและสรุ ปผลกำรวิจัย (Discussion พยาบาลจิตเวชในชุมชน ซึ่งจะเห็นว่าผู้ป่วย


and Conclusion) กรณีศึกษารายที่ 1 มีแนวโน้ มของการฟื น้ ฟู
ผู้ ป่ วยจิต เภทในกรณีศ ึก ษาทั ้ง สภาพที่ดีกว่าผู้ป่วยรายที่2เพราะครอบครัวมี
2 ราย เป็ นชนิดหวาดระแวงโดยเป็ นผู้ป่วยที่ ความสนใจในการดูแลผู้ป่วยผู้ป่วยไม่ใช้ สาร
ส่งกลับจากโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราช เ ส พ ติ ด อื่ น น อ ก จ า ก ดื่ ม สุ ร า แ ล ะ เ มื่ อ
นคริ นทร์ เพื่อการดูแลต่อเนื่องในคลินิกจิตเวช เสริ มสร้ างทักษะการดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้ อง
และยาเสพติดโรงพยาบาลขอนแก่น อาการ ให้ ครอบครัวรายที่ 1 จึงทาให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับการ
กาเริ บซ ้า ผู้ป่วยทัง้ 2 ราย มีลกั ษณะอาการ ดูแลช่วยเหลือจนมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ ้นอย่า ง
ทางคลินิกคล้ า ยคลึงกันและตรงตามทฤษฎี เห็นได้ ชดั เจน ใช้ การเสริ มแรงด้ วยการพัฒนา
โรค ซึ่ ง สภาพปั ญหาความเจ็ บ ป่ วย ไม่ ทักษะการดูแลผู้ป่วยให้ กับพยาบาลในพื ้นที่
แตกต่างกัน คือผู้ป่วยมีอาการกาเริ บซ ้าจาก และอาสาสมัครหมู่บ้านของผู้ป่วยทัง้ 2 ราย
ปั ญหาการรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง และใช้ เพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยและครอบครัวสามารถใช้ แหล่ง
สุรา ยาเสพติด ร่ วม จึงเป็ นผลให้ ไม่สามารถ ประโยชน์ ใ กล้ บ้ านได้ ซึ่ ง สอดคล้ องกั บ
ควบคุมอาการทางจิตให้ สงบตามเป้าหมาย การศึกษาของอมรา ศิริกุล ชี ้ให้ เห็นว่าการนา
การรักษาได้ พบว่าอาการกาเริ บซ ้าของผู้ป่วย ม า ต ร ฐ า น ก า ร พ ย า บ า ล ใ น ชุ ม ช น ม า
รายที2่ จะมีลกั ษณะอาการทางคลินิกที่รุนแรง ประยุกต์ ใช้ ร่วมกับหลักการพยาบาลจิ ตเวช
กว่ารายที่ 1 เนื่องจากใช้ สรุ า และยาบ้ าร่ วม ในการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในชุมชนช่วยให้
จึงใช้ กลวิธีหลากหลายในการดูแลช่วยเหลือ ผู้ป่วยมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น11
ผู้ป่วยและครอบครัวจุดเด่นของการพยาบาล
ผู้ ป่ วยจิ ต เภททัง้ 2 ราย คื อ ใช้ ห ลัก การ

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)
279

ข้ อเสนอแนะ 5. พิม พ์ ว ลัญ ช์ อายุวัฒ น์ , ภาสินี โทอิน ทร์


ควรนาผลการศึกษานี ้ไปพัฒนาเป็ น และปรานต์ศศิ เหล่ารัตน์ศรี . F 20: โรค
แนวปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภทชนิด จิตเภท (Schizophrenia). กรุ ง เทพฯ:
หวาดระแวงที่ ใ ช้ ยาเสพติ ด ร่ ว มและการ สถาบันพระบรมราชชนก[online]. [เข้ าถึง
จัดการผู้ป่วยรายกรณี ใ นการดูแลผู้ป่วยจิ ต เมื่อ 23 กันยายน 2562] แหล่งข้ อมูล:
เภททังในหน่
้ วยงานและในชุมชนต่อไป http://administer.pi.ac.th/uploads/ers
earcher/upload_doc/2018/academic/
เอกสำรอ้ ำงอิง (Reference) 1531378592828010009140.pdf.
1. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. 6. สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ ว. กำรพยำบำลจิตเวช.
คู่ มื อ ก ำ ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย โ ร ค จิ ต เ ภ ท พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ 2. โรงพิ ม พ์ ม หาวิ ท ยาลัย
ส ำหรั บ โรงพยำบำลในเขตสุ ข ภำพ
ธรรมศาสตร์ ; 2554.
(ฉบับแพทย์ ). พิมพ์ครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:
7. กรมสุขภาพจิต และสานักการพยาบาล.
กรมสุข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุข ;
มำตรฐำนกำรพยำบำลจิ ต เวชและ
2560.
สุขภำพจิต. เชียงใหม่ : [มปท.]; 2556.
2. กรมสุขภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุข .
8. สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ .
รำยงำนสถิ ติ ผ้ ู ป่ วยจิ ต เวช ประจ ำปี
คู่มือกำรดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื อ้ รั งกลุ่ม
งบประมำณ 2556-2558. [online]. เสี่ ย งในชุ ม ชน ส ำหรั บ บุ ค ลำกรของ
[เข้ าถึงเมื่อ 25กรกฎาคม 2562]; แหล่ง หน่ วยบริ กำรระดับปฐมภูมิ. กรุ งเทพฯ:
ข้ อ มู ล จ า ก http:/ / www.dmh.go.th/ ห้ า งหุ้น ส่ว นจ ากัด แสงจัน ทร์ ก ารพิ ม พ์ ;
report/report1.asp. 2559.
3. Murray CJL& Lopez AD. The Global 9. ลัด ดา แสนสี ห า. สุข ภาพจิ ต ชุ ม ชน.
Burden of disease. Harvard University ฉวีวรรณ สัตยธรรม, บรรณาธิการ. กำร
Press; 1996. พยำบำลจิ ต เวชและตสุ ข ภำพจิ ต .
4. กรมสุ ข ภาพจิ ต . คู่ มื อ ผู้ เข้ ำอบรม พิมพ์ครัง้ ที่ 10. นนทบุรี : ยุทธริ นทร์ การ
หลั ก สู ต รกำรเข้ ำ ถึง บริ ก ำรและดู แ ล พิมพ์; 2552.
ผู้ ป่ ว ยโ รค จิ ต ส ำ ห รั บ พ ยำ บ ำ ล /
10. มาโนช หล่ อ ตระกู ล และปราโมทย์
นักวิชำกำรสำธำรณสุข ฉบับปรั บปรุ ง
สุค นิ ช ย์ . จิ ต เวชศำสตร์ รำมำธิ บ ดี .
: บริ ษัท ดีนา่ ดู มีเดีย พลัส จากัด; 2560.
กรุ งเทพฯ: บริ ษัท บียอนด์เอ็นเทอร์ ไพรซ์
จากัด; 2558.

วารสารสานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ปี ที ่ 2 ฉบับที ่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563


280

11.อมรา ศิ ริ กุ ล . การใช้ มาตรฐานการ


พยาบาลในชุ ม ชนในผู้ ป่ วยจิ ต เวช :
กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีความคิด
หวาดระแวง. วำรสำรโรงพยำบำล
พิจิตร 2556 ; 28 (1): 81-92.

Journal of Khon Kaen Provincial Health Office Volume 2 Issue 2 (July - December 2020)

You might also like