You are on page 1of 13

วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

บทความพืน้ ฟูวชิ าการ (REVIEW ARTICLE)


การใช้ คลื่ นแม่ เหล็กกระตุ้นสมองแบบซ�้ ำต่ ออาการ
ด้ า นลบในผู้ ป่ วยจิ ต เภท: บทความฟื้ นฟู วิ ช าการ
ดุษฎี อุดมอิทธิ พงศ์ *, อรภรณ์ สวนชัง**,
กฤตนัย แก้ วยศ***, เกยูรมาศ อยู่ถิ่น***
วันรับบทความ : 9 พฤศจิกายน 2561
วันแก้ไขบทความ : 21 กุมภาพันธ์ 2562
วันตอบรับบทความ : 5 มีนาคม 2562

บทคัดย่ อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำต่ออาการด้านลบ
ในผูป้ ่ วยจิตเภท
วัสดุและวิธีการ : สื บค้นจากฐานข้อมูลอิเลคโทรนิกส์ต่างๆ ได้เเก่ ต�ำรา หนังสื อ วารสาร และบทความ
วิชาการที่ถูกตีพิมพ์ ผ่าน PubMed, google, Web of Science ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยใช้คำ� ส�ำคัญ
ในการค้นหา ได้เเก่ คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำ อาการด้านลบ และผูป้ ่ วยจิตเภท
ผล : พบงานวิจยั ที่ผา่ นเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำต่ออาการด้านลบใน
ผูป้ ่ วยจิตเภท 11 เรื่ อง ได้แก่ งานวิจยั เชิงทดลอง 8 เรื่ อง การวิเคราะห์อภิมานงานวิจยั 2 เรื่ อง และทบทวน
บทความ 1 เรื่ อง จากงานวิจยั เหล่านี้ช้ ีให้เห็นว่าการใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำเป็ นทางเลือกหนึ่ง
ของเครื่ องมือที่ได้รับการยอมรับ ปลอดภัย และมีประสิ ทธิภาพของการบ�ำบัดรักษา พบผลการศึกษาเปรี ยบ
เทียบด้วยการใช้การใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำ ให้ได้ผลที่ดีกว่ากลุ่มควบคุมต่อการรักษาอาการ
ด้านลบในผูป้ ่ วยจิตเภทนั้น ต้องใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำที่ความถี่ 10 Hz เป็ นเวลาอย่างน้อย 3
สัปดาห์ ติดต่อกัน กระตุน้ ที่ตำ� แหน่ง dorsolateral prefrontal cortex และระยะเวลาของความเจ็บป่ วยของ
ผูป้ ่ วยจิตเภทต้องน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 8 ปี
สรุป : การใช้คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำเป็ นการรักษาอีกหนึ่งวิธีที่ปลอดภัย และมีประโยชน์ต่อ
การรักษาผูป้ ่ วยจิตเภทที่มีอาการด้านลบให้ดีข้ ึนได้ จากการทบทวนวรรณกรรมครั้งนี้ มีขอ้ เสนอแนะใน
อนาคตควรมีการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่และศึกษาปั จจัยอื่นที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมที่อาจส่ งผลต่อ
การรักษา
ค�ำส� ำคัญ : คลื่นแม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำ โรคจิตเภท อาการด้านลบ

*พยาบาลวิชาชีพ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
**เภสัชกร สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
***นักวิชาการศึกษา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

43
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

THE USE OF REPETITIVE TRANSCRANIAL


MAGNATIC STIMULATION FOR NEGATIVE
SYMPTOMS IN SCHIZOPHRENIA
Dussadee Udomittipong*, Orabhorn Suanchang**,
Krittanai Kaewyot***, Keyunmart Yootin***
Received : November 9, 2018
Revised : February 21, 2019
Accepted : March 5, 2019

Abstract
Objective: To review the literature using repetitive transcranial magnetic stimulation (rTMS) on negative
symptoms in schizophrenia.
Material and Methods: Literature review for this article was conducted via PubMed, google, Web of
Science and other medical online-databases articles and textbooks including public articles both Thai
and English language using. The search was carried out using the terms rTMS, repetitive transcranial
magnetic stimulation, negative symptoms and schizophrenia.
Results: Eleven studies based on rTMS for negative symptoms in schizophrenia (eight experimental
studies, two meta-analysis, and one review article) met eligibility criteria. These findings indicated that
active rTMS was considered an effective, safe and well-tolerated treatment option. High-frequency of 10
Hz setting applied over the left dorsolateral prefrontal cortex (DLPFC), at least 3 consecutive weeks of
treatment and using 8 years as a cutoff for duration of illness were found to be better than sham rTMS in
alleviating negative symptoms of schizophrenia.
Conclusion: rTMS was considered another useful and safe treatment which was able to improve negative
symptoms of schizophrenia. This review article suggested the need for future studies with larger sample
sizes and other factors affecting treatment.
Keywords: repetitive transcranial magnetic stimulation, schizophrenia, negative symptoms

*Registered Nurse, Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry


**Pharmacist, Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry
***Education officer, Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry

44
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

บทน�ำ ก่อนเกิดโรคในผูป้ ่ วยโรคจิตเภท อาการในกลุม่ นี้


โรคจิตเภท (schizophrenia) เป็ นความ ได้แก่ สี หน้าอารมณ์เฉยเมย (blunting of affect)
เจ็บป่ วยทางจิตที่พบมากที่สุดมีท้ งั ความรุ นแรง ชีวติ ไม่มจี ดุ หมาย หมดความกระตือรื อร้นในชีวติ
และเรื้ อรัง ความเจ็บป่ วยของโรคน�ำไปสู่ ความ (avolition) ไม่มีสัมพันธภาพกับใคร (lack of
พิการหรื อการไร้ ความสามารถที่ มากขึ้ นและ socialization) ไม่พดู หรื อพูดน้อย (alogia) ไม่
มีผลในระยะยาว1 พบความชุกของโรคจิตเภท ยินดียนิ ร้าย (anhedonia)6 โดยทัว่ ไปความรุ นแรง
พบได้ในประชากรทัว่ ไปร้อยละ 1 - 1.5 อุบตั กิ ารณ์ ของอาการทางลบของโรคจิตเภทมีการคาดการณ์
ของโรคพบได้ประมาณร้อยละ 0.85 ของประชากร ว่าส่ งผลท�ำให้ผูป้ ่ วยมีคุณภาพชี วิตและการท�ำ
ทัว่ โลก2 ส�ำหรับสถานการณ์ผปู ้ ่ วยโรคทางจิต หน้าทีท่ างสังคมแย่ลง ส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์
ในประเทศไทย จากข้อมูลกรมสุขภาพจิตพบผูป้ ่ วย ระหว่างบุคคล ประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานลดลง
จิตเวชทั้งหมด 1,152,044 ราย ในจ�ำนวนนี้เป็ น และโดยทัว่ ไปพบว่าผลของการรักษาในผูป้ ่ วย
ผูป้ ่ วยโรคจิตเภท 409,003 ราย คิดเป็ นร้อยละ โรคจิตเภทแย่ลงด้วยเช่นกัน7 รวมทั้งพบว่ามีผลต่อ
35.5 และเป็ นกลุม่ ผูป้ ่ วยที่มากเป็ นอันดับ 1 ของ การท าํ งานของสมองท าํ ให้พุท ธิ ปั ญ ญาหรื อ
ผูป้ ่ วยโรคทางจิตเวชทั้งหมด3 กลุ่มอาการของ cognitive function บกพร่ องแล้ว ยังส่ งผลต่อ
โรคจิตเภทจะแสดงความผิดปกติในการท�ำหน้าที่ ภาระในการดูแล คุณภาพชีวิต และภาระหนัก
ของสมองด้านการรับรู ้ สติปัญญา การเชื่อมโยง ของครอบครัว6 ส่ งผลให้เกิดความสู ญเสี ยทาง
ความคิด การควบคุมตัวเอง การแสดงออกทาง สังคมและเศรษฐกิจ
อารมณ์ การสื่ อสาร และขาดแรงจูงใจ เป็ นความ การรักษาผูป้ ่ วยโรคจิตเภท มีการใช้วธิ ี
ผิดปกติทยี่ งั ไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั เมือ่ เป็ นแล้ว รักษาหลายวิธีผสมผสานกันทั้งการรักษาด้วยยา
มักไม่หายขาด ส่วนใหญ่มอี าการก�ำเริ บเป็ นช่วงๆ การรักษาด้วยไฟฟ้าและการรักษาด้านจิตสังคม4
โดยมีอาการหลงเหลืออยูใ่ นระหว่างนั้น ระยะแรก การรักษาด้วยยาในผูป้ ่ วยโรคจิตเภทที่มีอาการ
ของการด�ำเนิ นโรคในช่ วงก�ำเริ บจะเป็ นกลุ่ม ด้า นลบ ส่ ว นใหญ่ ใ นปั จ จุ บ ัน พบว่า ยัง ได้ผ ล
อาการด้านบวก เช่ น ประสาทหลอน หลงผิด ไม่เป็ นทีพ่ งึ พอใจมีขอ้ จ�ำกัดของยาต้านโรคจิต8-10
และในระยะหลังส่วนใหญ่มีกลุม่ อาการด้านลบ กลุ่ ม อาการด้า นลบและความบกพร่ อ งทาง
เป็ นภาวะที่ขาดในสิ่ งที่คนทัว่ ๆ ไปควรมี เช่น พุ ท ธิ ปั ญ ญามัก ไม่ ต อบสนองต่ อ การรั ก ษา
ในด้า นความรู ้ สึ ก ความต้อ งการในสิ่ ง ต่ า งๆ นอกจากนี้ ยงั พบผลข้างเคี ยงที่ เกิ ดขึ้ นในการ
อาการเหล่านี้ ได้แก่ ไม่พูด พูดน้อย เนื้ อหาที่ รักษาด้วยการใช้ยาต้านโรคจิตอย่างมีนยั ส�ำคัญ
พูดมีนอ้ ย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ4 ต่อผูป้ ่ วยโรคจิตเภทอย่างต่อเนื่อง ที่มีผลกระทบ
ส�ำหรับอาการด้านลบ (negative symptoms) ต่อการปฏิบตั ิตวั ความร่ วมมือในการรักษาของ
ได้รับการถูกค้นพบว่าเป็ นตัวท�ำนายที่ ส�ำคัญ ผูป้ ่ วย11 แต่สำ� หรับในส่วนการบ�ำบัดแบบ adjunctive
ของโรคจิตเภท5 กลุ่มอาการด้านลบโรคจิตเภท therapy ด้วยการเสริ มยา ก็ถูกน�ำมาใช้เพียงเพื่อ
เป็ นอาการที่ แสดงถึ งการไม่ทำ� หน้าที่ หรื อท�ำ บรรเทาอาการด้านลบ และประสิ ทธิ ภาพของ
หน้าที่ลดลงนั้น ซึ่ งหน้าที่น้ ี ได้เคยมีอยูใ่ นระยะ การบ�ำบัดแบบ adjunctive therapy ก็ไม่ได้เป็ น

45
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

ที่น่าพอใจ9,11-12 ส�ำหรับช่วงเวลาของการค้นพบ ใน 3 แง่มุมที่สำ� คัญ ได้แก่ ใช้เป็ นเครื่ องมือวิจยั


ยาต้านโรคจิต (antipsychotic medications) จะเป็ น พื้นฐานทางประสาทวิทยาศาสตร์ เป็ นเครื่ องมือ
ความหวังในการรักษาอาการด้านลบ ที่มีความ ที่ ช่ ว ยในการวินิ จ ฉัย โรคทางระบบประสาท
จ�ำเป็ นที่จะต้องให้ผูป้ ่ วยได้รับการควบคุมเพื่อ และที่มีความส�ำคัญมากขึ้นในปั จจุบนั คือ การ
ให้ได้รับยาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพยังไม่มีการค้น มีบทบาทการรักษาโรคทางระบบจิตประสาท
พบวิธีการที่ดีพอที่จะช่วยรักษาผูป้ ่ วยเหล่านี้ให้ มีหลักการส�ำคัญการใช้ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก กระตุ ้น
มี คุณภาพชี วิตที่ ทุกข์ทรมานจากโรคให้ดีข้ ึ น สมอง คือมีการท�ำงานของกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่าน
และมีชีวติ ที่ยนื ยาว13 ส่ วนการรักษาด้วยไฟฟ้า ขดลวด ท�ำให้เกิ ดสนามแม่เหล็กผ่านตัวกลาง
(electroconvulsive therapy: ECT)4 เป็ นการรักษา ที่ มี คุ ณ สมบัติ เ หนี่ ย วน�ำ คื อ เซลล์ป ระสาทที่
โดยใช้กระแสไฟฟ้าขนาดต�่ำผ่านสมองบริ เวณ เป็ นเสมือนขดลวดเหนี่ ยวน�ำที่สมองท�ำให้เกิด
ที่กำ� หนด เพื่อให้เกิดอาการชักแบบทั้งตัวใช้ใน กระแสไฟฟ้ า ไหลเวี ย นภายในสมองได้โ ดย
กรณี ผูป้ ่ วยไม่ตอบสนองต่อการรั กษาด้วยยา ไม่ตอ้ งผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าสู่ สมองโดยตรง
โดยทัว่ ไปจะใช้ยาร่ วมกับการรักษาด้วย ECT และทิ ศ ทางของคลื่ น เป็ นไปในแนวราบ
การรักษาด้านจิตสังคมการท�ำจิตบ�ำบัด (psycho (horizontal) การกระตุน้ ของใยประสาทเป็ นไป
therapy) การให้คำ� ปรึ กษา (counseling) การให้ ตามแนวยาว ซึ่ งท�ำให้เกิด depolarization ผ่าน
ค�ำแนะน�ำปรึกษาแก่ครอบครัว (family counseling) ตลอดเยื่อหุ ้มเซลล์ ส่ วนความสามารถในการ
และกลุ่มบ�ำบัด (therapeutic groups)4 ท�ำให้เกิ ด depolarization ของเซลล์ประสาท
นอกจากนี้ มี ท างเลื อ กหนึ่ งที่ ไ ด้รั บ ขึ้นกับหน้าที่การกระตุน้ (activating function)
การพัฒนาและใช้ในการตรวจประเมินผูป้ ่ วย ซึ่ งจะส่ งผ่านเยื่อหุ ้มเซลล์ไปตามเส้นประสาท
ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมา เพือ่ รักษาผูป้ ่ วยจิตเภทด้วย และหากมี ก ารหั ก หรื อ งอของเส้ น ประสาท
คลืน่ แม่เหล็กกระตุน้ สมอง (Transcranial magnetic กระแสคลื่นก็ยงั คงเป็ นไปได้ดว้ ยดี
stimulation: TMS)11,15 เป็ นนวตกรรมที่มีบทบาท ส�ำหรับการทบทวนวรรณกรรมครั้งนี้
ส�ำคัญในเชิงรักษา (therapeutic intervention) เกีย่ วกับการใช้คลืน่ แม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำ
ส�ำหรับผูป้ ่ วยจิตเภทที่มีอาการด้านลบด้วยคลื่น (repetitive transcranial magnetic stimulation:
แม่เหล็กกระตุน้ สมองแบบซ�้ำและน�ำวิธีการใช้ rTMS)14 ในการรักษาอาการด้านลบของผูป้ ่ วย
คลื่ น แม่ เ หล็ ก กระตุ ้น สมองพัฒ นาไปสู่ ก าร จิตเภทโดยใช้ rTMS คือเป็ นการให้คลืน่ แม่เหล็ก
วินิจฉัยทางคลินิกและการตรวจเพือ่ พยากรณ์โรค14 ไฟฟ้ ากระตุน้ ซ�้ำๆ ท�ำให้เกิ ดผลที่นานกว่าการ
คุ ณ สมบัติ พ้ื น ฐานของการใช้ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก กระตุน้ ครั้งเดียวหรื อสองครั้ง กลไกการออกฤทธิ์
กระตุน้ สมอง คือ เพื่อกระตุน้ สมองส่ วน spinal นั้นยังอยูใ่ นระหว่างการศึกษา มีรายงานว่า rTMS
root, cranial nerves และ peripheral nerves ท�ำให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงของวงจรประสาท
และพบว่ามีความปลอดภัย ไม่ทำ� ให้ผถู ้ กู ทดสอบ และลดการท�ำ งานของระบบ hypothalamic
เจ็บปวด รวมทั้งไม่มกี ารรุกล�้ำเข้าไปภายในอวัยวะ pituitary adrenocortical การเปลีย่ นแปลงดังกล่าว
สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ น่ า จะมาจากการปรั บ เปลี่ ย นการท�ำ งานของ

46
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

ของสารสื่อประสาท (neurotransmitter) /การหลัง่ ที่ตอ้ งการ โดยอาศัยการถ่ายภาพการกระจายตัว


สารควบคุ ม ประสาท (neuromodulator) ของสารกัม มัน ตรั ง สี ที่ แ ตกตัว ให้โ พสิ ต รอน
การเปลี่ ย นแปลงของจุ ด ประสานประสาท (PET) หรื อ magnetic resonance spectroscopy
(transsynaptic efficiency, signaling pathways) อาจกลายเป็ นนวตกรรมที่ ส ามารถใช้ต รวจ
และการถอดรหัสของยีน (gene transcription) หน้า ที่ ข องสารเคมี ใ นระบบประสาทในคน
กลไกการออกฤทธิ์ในการปรับเปลีย่ นการกระตุน้ ปกติและในผูป้ ่ วยได้ ข้อห้ามในการรักษาด้วย
ส่ วนผิวสมอง (cortical excitability) จาก rTMS TMS14-15 กรณี ที่มีโลหะในศีรษะหรื อชิ้นส่ วน
ยังคงไม่ทราบแน่ชดั แต่กลไกที่น่าจะเป็ นไปได้ แม่เหล็ก ผูท้ ี่ใส่เครื่ องกระตุน้ หัวใจ (Pace maker)
ในการใช้ rTMS ความถี่สูง คือการท�ำให้เกิด หรื อเครื่ องมือที่ฝังอยูใ่ นร่ างกาย อธิ บายได้วา่
กระบวนการเสริ ม ก�ำ ลัง การส่ ง สั ญ ญาณใน สนามแม่ เ หล็ก สามารถเหนี่ ย วน�ำ วัต ถุ ที่ เ ป็ น
ระยะยาว (long term potentiation) ของจุดประสาน โลหะ เช่น เคยผ่าตัดหลอดเลือดสมองโป่ งพอง
ประสาทเปลือกสมอง (cortical synapse) ส่ วน และใช้อปุ กรณ์หนีบหลอดเลือด หรื อตามร่ างกาย
กลไกทีน่ ่าจะเป็ นไปได้ในการใช้ rTMS ความถีต่ ำ่ � ซึ่ งจะก่อให้เกิดแรงกระท�ำต่อโครงสร้างสมอง
คื อ การท�ำ ให้ เ กิ ด การกดการท�ำ งานของจุ ด โดยรอบวัตถุน้นั ได้ และสนามแม่เหล็กดังกล่าวนี้
ประสานประสาทเปลือกสมอง และจากการศึกษา จะรบกวนการท�ำ งานของวงจรไฟฟ้ า ของ
ในสัตว์ทดลองพบว่ามีการปรับเปลี่ยนสารสื่ อ เครื่ องเหล่านั้นได้ รวมทั้งผูป้ ่ วยที่มีอาการปวด
ประสาทและเหนี่ยวน�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง บริ เวณหนังศีรษะ เวียนศีรษะ รู ้สึกอ่อนเพลีย
ของยีน ผลดังกล่าวอาจส่งให้ผลการกระตุน้ ของ และผูป้ ่ วยที่มีประวัติหรื อความเสี่ยงของการชัก
rTMS ให้อยูไ่ ด้นาน มีหลายการศึกษาในมนุษย์ จากที่ ก ล่ า วมาจะเห็ น ได้ ถึ ง ความ
ที่ใช้ rTMS ร่ วมกับ functional neuroimaging ส� ำ คั ญ ในการการทบทวนวรรณกรรมที่
สามารถตรวจสอบผลของ rTMS ได้วา่ ความถี่ เกี่ยวข้องกับการกระตุน้ ด้วยพลังงานแม่เหล็ก
ต�่ำจะไปลดการไหลของเลือดที่ไปเลี้ ยงสมอง ผ่านกะโหลกศี รษะแบบซ�้ำต่ออาการด้านลบ
(cerebral blood flow) และเมตาบอลิซึมของ ในผูป้ ่ วยจิตเภท จึงเป็ นวิธีการทีจ่ ะน�ำมาสนับสนุน
สมอง ส่ วน rTMS ความถี่สูงจะไปเพิ่มการไหล และหาวิธีการให้กบั ผูใ้ ห้การดูแลรั กษาผูป้ ่ วย
ของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองและเมตาบอลิซึมของ จิตเภทที่มีอาการด้านลบให้มีทางเลือกเพิ่มขึ้น
สมอง แต่อย่างไรก็ตามการใช้ rTMS ร่ วมกับ และให้ ไ ด้ข ้อ มู ล ทางวิ ช าการที่ ว างแผนช่ ว ย
การสร้างภาพการทํางานของสมอง (functional เหลือดูแลผูป้ ่ วยจิ ตเภทได้อย่างเหมาะสมมาก
neuroimaging) เป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์มากที่สุด ที่สุด
ในการศึ กษาการเชื่ อมโยงกันทางหน้าที่ ของ
ระบบประสาท (functional connectivity) ในสมอง วัสดุและวิธีการ
ของมนุ ษ ย์ และยิ่ ง ไปกว่ า นั้น การใช้ rTMS การทบทวนวรรณกรรมได้จากการสืบค้น
ร่ วมกับการตรวจทางเวชศาสตร์ นิวเคลียร์ ที่ใช้ วรรณกรรมในระหว่ า งปี ค.ศ.1999 - 2017
ศึกษาการท�ำงานของอวัยวะเป้าหมายที่ตอ้ งการ โดยก�ำหนดค�ำส�ำคัญภาษาอังกฤษ คือ repetitive

47
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

transcranial magnetic stimulation, schizophrenia, TMS ที่จะใช้ในการรักษาผูป้ ่ วยเป็ นอันดับแรก


negative symptom และภาษาไทย คือ พลังงาน อย่างไรก็ตามการใช้ TMS เป็ นกระบวนทัศน์
แม่เหล็กผ่านกะโหลกศีรษะแบบซ�้ำ อาการด้านลบ ที่ จ ะให้มี ก ารรั ก ษาที่ แ ตกต่ า งออกไปในการ
ผูป้ ่ วยจิตเภท ใช้ฐานข้อมูล Pubmed และฐานข้อมูล ก�ำหนดเป้ าหมายของอาการที่เฉพาะเจาะจงซึ่ ง
โครงการเครื อ ข่ า ยห้อ งสมุ ด ในประเทศไทย อาจมีประโยชน์ต่อการรักษาได้ ผลการรักษา
(ThaiLIS: Thai Library Integrated System) TMS ที่ ไ ด้ผ ลที่ ดี แ ละเด่ น ชัด มากที่ สุ ด คื อ ที่
พบวรรณกรรม 40 เรื่ อง เมื่อคัดการศึกษาและ ต�ำแหน่ ง temporoparietal cortex ต่ออาการ
พิจารณาคัดเลือกตามความครอบคลุมขอบเขต auditory hallucinations ในท�ำนองเดี ยวกัน
เนื้ อหาเพียง 11 เรื่ อง ประกอบด้วย ทบทวน การกระตุน้ ที่ตำ� แหน่ง DLPFC เป็ นประโยชน์
บทความ 1 เรื่ อง การวิเคราะห์อภิมานงานวิจยั ในการรักษาอาการด้านลบ ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็ น
2 เรื่ อง งานวิจยั เชิงทดลอง 8 เรื่ อง ที่มีลกั ษณะ ต้องมีการศึกษาทดลองเพิม่ เติมเพือ่ หาแนวโน้ม
การศึกษาน�ำร่ องเชิงทดลอง 1 เรื่ อง การศึกษา ทีจ่ ะตอบสนองต่อการรักษา TMS ให้ได้มากทีส่ ุด
เชิ งทดลองแบบกลุ่มเดี ยวมี การทดสอบก่ อน ในผูป้ ่ วยโรคจิตเภท17 Slotema และคณะ18 ศึกษา
และหลังการทดลอง 1 เรื่ อง การทดลองทาง พบแนวโน้มส�ำหรับ TMS ทีใ่ ช้ทตี่ ำ� แหน่ง DLPFC
คลินิกแบบสุ่ มแบบปกปิ ดสองทางและมีกลุ่ม เพื่อรักษาอาการด้านลบเมื่อเทียบกับการรักษา
ควบคุม 6 เรื่ อง ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควมคุมได้ผลทีด่ ขี ้ นึ
การค้น พบนี้ สอดคล้อ งกับ ผลการวิ จ ัย แบบ
ผล meta-analysis ของ Freitas และคณะ19 ตรวจสอบ
ผลการใช้ คลื่ นแม่ เหล็กกระตุ้นสมอง การศึกษางานวิจยั 9 การทดลองรวมผูป้ ่ วยที่ใช้
แบบซ�ำ้ ต่อการรักษาอาการด้านลบในผู้ป่วยจิตเภท ในการทดลอง 213 ราย รายงานผลพบมีประโยชน์
จากการทบทวนวรรณกรรมบทความ ต่อการรักษาอาการด้านลบ แต่ตอ้ งมีขนาดของ
ของ Khurshid และ Janicak16 ได้ตรวจสอบผล TMS ที่ 10 Hz และใช้รั ก ษาเป็ นระยะเวลา
การทดลอหลายฉบับเพื่อประเมิ นประโยชน์ มากกว่า 3 สัปดาห์
ของ TMS ส�ำหรับโรคจิตเภทและความผิดปกติ ส�ำหรับความหมายของอาการด้านลบ
ทางจิตทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่าถึงแม้การศึกษาบางฉบับ คื อ ความบกพร่ อ งของกระบวนการคิ ด ปกติ
จะสนับสนุนประสิ ทธิผลการใช้ TMS ส�ำหรับ และการตอบสนองทางอารมณ์ซ่ งึ มักไม่ตอบสนอง
อาการทางจิต แต่หลักฐานส่วนใหญ่กข็ ดั แย้งกัน ต่อยา antipsychotic อาการด้านลบในผูป้ ่ วยจิตเภท
และไม่มีการศึกษาเพียงอย่างเดียวให้หลักฐาน น�ำไปสู่ การลดคุณภาพชีวิต ลดความสามารถ
ชัดเจนส�ำหรับ TMS ที่เป็ นตัวหลักในการรักษา ในการท�ำงานและเพิม่ ภาระต่อผูอ้ นื่ มากกว่าผูป้ ่ วย
ความผิดปกติเหล่านี้ ในปัจจุบนั แม้วา่ ผลการศึกษา โรคจิ ตเภทที่ มีอาการด้านบวก เนื่ องจากการ
เบื้ องต้นแสดงให้เห็ นว่าประสิ ทธิ ภาพในการ ตอบสนองต่อยาที่ไม่ดี ดังนั้นการพัฒนาวิธีการ
รักษาโรคจิตเภทในผูป้ ่ วยจิตเภทมีประสิ ทธิ ผล รักษาแบบใหม่สำ� หรับการรักษาอาการด้านลบ
มากขึ้น แต่ความเด่นชัดของหลักฐานไม่สนับสนุน ของโรคจิ ตเภทจึ งเป็ นสิ่ งส�ำคัญ rTMS จึ งได้

48
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

ถู ก น�ำ เสนอในข้อ สั ญ ญาหนึ่ ง ของการรั ก ษา Hajak และคณะ23 ศึกษา High-frequency


อาการด้านลบของโรคจิตเภท ในช่วงทศวรรษ rTMS แบบคู่ขนาน กลุ่มทดลองและควบคุมใน
ที่ ผ่ า นมามี ก ารทดลองหลายครั้ งได้ร ายงาน ผูป้ ่ วยจิตเภท 20 ราย ความถี่สูง10 Hz ต�ำแหน่ง
ถึงประสิ ทธิภาพของการรักษาด้วย rTMS แต่ left DLPFC กระตุน้ วันละครั้ง เป็ นเวลา 10 วัน
อย่า งไรก็ต ามผลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้ก็ย งั ไม่ ส อดคล้อ ง ผลการศึกษาพบอาการด้านลบและอาการซึมเศร้า
กัน20 จึงเป็ นที่มาของการทบทวนวรรณกรรม ลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบ
ของผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับผลการรักษาด้วย กับกลุ่มควบคุมและประเมินด้วยการสร้ างภาพ
การใช้ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก กระตุ ้ น สมองแบบซ�้ ำ สมองเทคนิ ค ECD-SPECT (ethyl cysteinate
ต่ออาการด้านลบโรคจิตเภท ดังต่อไปนี้ dimer: ECD, single photon emission computed
มีการศึกษาครั้งแรกของ Cohen และคณะ tomography: SPECT) พบว่าปริ มาณเลือดที่ไป
ปี 1999 เพื่อตรวจสอบผลการรักษาด้วย rTMS
21
เลี้ยงสมองไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ความถี่สูง 20 เฮิรตซ์ นานครั้งละ 2 วินาที 5 Dlabac และคณะ24 ศึกษาแบบ meta-
ครั้ง/สัปดาห์ เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ต�ำแหน่ง PFC analysis ของประสิ ท ธิ ภาพของ rTMS ต่ อ
ด้านซ้าย ผูป้ ่ วยจิ ตเภทที่มีอาการด้านลบเด่น อาการด้า นลบในโรคจิ ต เภท 9 การทดลอง
ที่รักษาแบบผูป้ ่ วยใน ประเมินโดยใช้เครื่ องมือ แบบสุ่ มเทียบกับกลุ่มหลอก ผูป้ ่ วยทั้งหมด 213
The UKU Side Effects Rating Scale (UKU), ราย พบขนาดผลค่าเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (mean
The Positive and Negative Syndrome Scale weighted effect size) อยูใ่ นช่วงขนาดเล็กถึง
(PANSS) ผลลัพธ์ทไี่ ด้หลังจากผูป้ ่ วยจิตเภทได้รบั ปานกลางอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติ เมื่ อรวม
rTMS พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในการลด การศึกษาที่ใช้ rTMS ความถี่ 10 เฮิรตซ์กระตุน้
การกระท�ำในส่ วนของ prefrontal cortex ใน จะพบขนาดของ mean weighted effect size
สมอง ซึ่ งจะน�ำไปสู่ ปัญหาด้านการรับรู ้ เช่ น เพิ่มขึ้นเป็ น 0.63 (95%CI = 0.11, 1.15) และมี
ปัญหาด้านความจ�ำ และปัญหาด้านการตัดสินใจ การศึกษาที่มีช่วงระยะเวลารักษามากกว่าหรื อ
(hypofrontality) อย่างไรก็ตามกลับพบอาการ เท่ากับ 3 สัปดาห์จะมี ขนาดผลค่าเฉลี่ยถ่วงน�้ำ
ด้านลบกลับลดลงโดยรวม หนักใหญ่ กว่าเมื่ อเที ยบกับการศึ กษาที่ มีช่ วง
Rollnik และคณะ22 ศึกษาแบบ double ระยะเวลาการรักษาที่ส้ นั กว่า ได้ค่า 95%CI =
blind รู ปแบบการวิจยั แบบ crossover ผลของ 0.19, 0.97 และ -0.3, 0.95 ตามล�ำดับ
rTMS ความถี่สูงขนาด 20 Hz ที่ตำ� แหน่ง PFC Zhao และคณะ25 ศึกษาแบบ randomized
ด้านซ้ายผูป้ ่ วยจิตเภท 12 ราย มีอาการด้านลบ controlled trial เปรี ยบเทียบ rTMS 4 วิธี เพื่อ
กระตุน้ ทุกวันเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ประเมินด้วย รั กษาอาการด้านลบเด่นผูป้ ่ วยจิ ตเภท จ�ำนวน
The brief psychiatric rating scale score (BPRS) 90 ราย สุ่ มตัวอย่างแบ่งเป็ น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่ม
พบค่าคะแนนการวัด BPRS ลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ ได้รับ rTMS ที่ แตกต่างกัน คือ rTMS ความถี่
แต่ ค ะแนนซึ ม เศร้ า และวิ ต กกัง วลไม่ มี ก าร 10 Hz, ความถี่ 20 Hz, theta burst stimulation
เปลี่ยนแปลง (TBS) และกลุม่ ที่ใช้การรักษาแบบหลอก (sham

49
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

intervention group) ในสามกลุ่มแรกที่กระตุน้ โรคจิตเภทที่มีอาการทางลบที่โดดเด่น


ด้วย rTMS ที่ตำ� แหน่ง left DLPFC 5 ครั้ง/ Wobrock และคณะ27 ประเมินประสิทธิภาพ
สัปดาห์ เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ โดยประเมิน PANSS ของ rTMS ขนาด 10 Hz ที่ ใช้กบั ต�ำแหน่ ง
scale, the scale for the assessment of negative DLPFC ด้านซ้าย ในการรักษาโรคจิตเภทที่มี
symptoms (SANS) และ the treatment emergent อาการด้านลบเด่น ด�ำเนิ นการวิจยั สหสถาบัน
symptom scale (TESS) วัดก่อนหลังการทดลอง แบบสุ่ม มีกลุม่ หลอกเป็ นกลุม่ ควบคุมและปกปิ ด
พบว่า สามกลุ่ ม แรกมี ค ะแนนอาการด้า นลบ การทดลองทั้งสองทาง ในกลุ่มตัวอย่างผูป้ ่ วย
วัดด้วย PANSS และ SANS ลดลงต�่ำกว่าก่อน จิตเภทจ�ำนวน 175 ราย แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง
ทดลอง พบว่ากลุม่ ทีไ่ ด้รบั theta burst stimulation 76 ราย กระตุน้ rTMS ที่ความถี่ 10 Hz 5 ครั้ง/
ลดลงอย่างเห็ นได้ชดั กว่ากลุ่มที่ได้รับ rTMS สัปดาห์ เป็ นเวลา 3 สัปดาห์ และอีก 81 ราย
ความถี่ 10 Hz และความถี่ 20 Hz อย่างมีนยั ส�ำคัญ ได้รั บ sham rTMS หลังการทดลองไม่ พ บ
ทางสถิติ ระหว่างการทดลองไม่พบเหตุการณ์ เหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์แต่กลับไม่พบความ
ไม่พงึ ประสงค์รา้ ยแรง ผลการศึกษานี้สรุ ป rTMS แตกต่างของอาการด้านลบก่ อนและหลังการ
เป็ นวิธีการรักษาที่ปลอดภัยและมีประสิ ทธิภาพ ทดลอง แม้ว่า จะพบการศึ ก ษาอื่ น ที่ ก ล่ า วมา
ส�ำหรับผูป้ ่ วยโรคจิตเภทที่มีอาการด้านลบเด่น แล้ว จะพบว่ า rTMS ใช้ไ ด้ผ ลดี ใ นการั ก ษา
มีขอ้ เสนอแนะควรให้มีการศึกษาในระยะยาว อาการด้านลบก็ตาม
และมีกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวนมากกว่าการทดลอง Prikryl และคณะ28 ศึกษาผลของการ
นี้เป็ นสิ่ งจ�ำเป็ น เพื่อให้เหมาะที่สุดในการเพิ่ม กระตุน้ ด้วย rTMS ต่อความรุ นแรงของอาการ
ประสิ ทธิภาพการรักษา rTMS รวมทั้งต้องระบุ ด้านลบทีเ่ ฉพาะลงไปในแต่ละมิติ ได้แก่ ไม่สามารถ
ลงไปด้วยการรักษาที่ใช้ rTMS ในการบ�ำบัด แสดงสี หน้าหรื ออารมณ์ได้ (affective blunting)
รักษานั้นต้องชี้ชดั ถึง เกณฑ์ขอ้ ตกลง ระยะเวลา คิดหรื อพูดได้นอ้ ยลง (alogia) มีอารมณ์เฉยเมย
ความถี่ของการกระตุน้ เพื่อการรักษาที่ดีที่สุด ไร้ อารมณ์ (apathy) ขาดความกระตื อรื อร้ น
และมีความเสี่ ยงต�่ำที่สุดต่อผูป้ ่ วย มีการอภิปราย เฉื่ อยชา อยูเ่ ฉยๆ (avolition) ไม่สามารถมีความ
ความแตกต่างของการศึ กษานี้ ว่าแตกต่างจาก รู ้ สึกยินดี ห รื อ ดี ใจได้ (anhedonia) และเสี ย
การศึกษาของ Zheng และคณะ26 ในการรักษา ความสนใจ (impaired attention) ในผูป้ ่ วยจิตเภท
อาการด้านลบ พบว่าการให้ rTMS แบบ TBS 40 ราย แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง 23 ราย และกลุ่ม
ท�ำให้อาการด้านลบในผูป้ ่ วยชายลดลง แต่ rTMS ควบคุม 17 ราย ที่มีอาการด้านลบเด่นและได้ยา
ความถี่ 20 Hz ไม่ทำ� ให้อาการด้านลบในผูป้ ่ วย antipsychotic คงที่ มีการกระตุน้ ด้วย rTMS 15
ลดลง และพบว่าการทดลองใช้เวลาแค่ 1 สัปดาห์ ครั้ง 5 ครั้ง/สัปดาห์ ด้วยความถี่ 10 Hz ต�ำแหน่ง
และไม่ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีอาการด้านลบ left DLPFC ประเมินโดยใช้เครื่ องมือประเมิน
เด่นเข้ามาในการทดลอง การศึกษานี้สรุ ปได้วา่ ทุกมิติของอาการด้านลบด้วย SANS อย่างเดียว
rTMS ที่มีการกระตุน้ ด้วย TBS เป็ นวิธีการรักษา ผลการศึ กษาพบว่า กลุ่ มที่ ได้รั บ rTMS มี ค่ า
ที่ ปลอดภัยและมี ประสิ ทธิ ภาพส�ำหรั บผูป้ ่ วย คะแนนทั้งหมดและทุกมิติของอาการด้านลบ

50
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

ลดลงอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิ ติในทุ กโดเมน ให้การบ�ำบัดด้วย DTMS สัปดาห์ละ 5 ครั้ง


ของอาการด้านลบของโรคจิตเภท แต่เมื่อปรับ ติ ดตามผลหลังท�ำการทดลองและติ ดตามผล
ระดับแอลฟาด้วยวิธี Bonferroni พบว่าอาการ พบผลลัพท์ค่าคะแนน SANS และ PANSS
คิดหรื อพูดได้นอ้ ยลง (alogia) ไม่มีนยั ส�ำคัญ อาการด้านลบลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ
ทางสถิติ สรุ ปว่า rTMS มีประสิ ทธิภาพต่อการ ส่ วนค่าคะแนน SANS ในระยะติดตามผลหลัง
รั กษาความรุ นแรงของอาการด้านลบร่ วมกับ ท�ำการทดลองมีคา่ เฉลี่ยลดลงร้อยละ 16.82 และ
antipsychotic คือเป็ นการช่วยเสริ มการรักษาของ ทุกมิติของอาการด้านลบลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ
ยา antipsychotics ทีจ่ ะช่วยให้อาการด้านลบลดลง ทางสถิตยิ กเว้นมิตขิ องความคิดหรื อพูดได้นอ้ ยลง
Prikryl และคณะ 29 ศึ ก ษาแบบสุ่ ม มี ในการอภิ ป รายผลการศึ ก ษามี ข ้อ เสนอแนะ
กลุ่ ม ทดลองกลุ่ ม ควบคุ ม ปกปิ ดสองทางเพื่ อ การศึกษาแบบสุ่ ม ปกปิ ดสองทาง DTMS เพื่อ
หาความชัดเจนว่าความถี่สูงของ rTMS 15 ครั้ง ตรวจสอบประสิ ทธิ ภาพของ DTMS ในกลุ่ม
กระตุน้ ที่ตำ� แหน่ง left DLPFC ท�ำให้เกิดการ ประชากรทีม่ ขี นาดใหญ่กว่านี้ แม้ผลความปลอดภัย
เปลี่ยนแปลงอาการด้านลบในผูป้ ่ วยจิตเภทที่มี จากการศึกษานี้ ไม่มีการชักหรื อปวดศีรษะ แต่
อาการด้านลบเด่นชัดแบบทัว่ ๆ ไปและยังคง เสนอแนะในการบัน ทึ ก คลื่ น ไฟฟ้ า ในสมอง
ได้รับการรักษาด้วยยา antipsychotic ร่ วมด้วย (Electroencephalography :EEG) อัตราการเต้น
จ�ำนวน 25 ราย แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง rTMS ของหัวใจ และความดันโลหิตขณะท�ำการศึกษา
11 คน และควบคุม 14 คน กระตุน้ ที่ตำ� แหน่ง เพื่ อ ป้ อ งกัน ผลข้า งเคี ย งขณะท�ำ การทดลอง
left DLPFC ความถี่กระตุน้ ที่10 Hz ความเข้ม รวมทั้งการซักประวัติเกี่ยวกับระยะเวลาความ
ของแรงกระตุน้ คือ 110% ได้รับ rTMS 15 ครั้ง เจ็บป่ วยของโรค
ใน 15 วันท�ำการติดต่อกัน นานครั้งละ 10 - 30 Sayar และคณะ20 ทบทวนวรรณกรรม
วินาที การเพิ่มขึ้นของการได้รับ rTMS วัดด้วย การใช้ rTMS ต่ออาการด้านลบในผูป้ ่ วยจิตเภท
แบบวัด PANSS และ SANS พบ rTMS ท�ำให้ พบว่ามีการใช้ rTMS ที่กระตุน้ ด้วย ความถี่สูง
ผูป้ ่ วยที่มีอาการด้านลบลดลงอย่างมาก สรุ ปคือ ต�ำแหน่ง left DLPFC มีประโยชน์ในการบ�ำบัด
ผลการศึกษานี้ สนับสนุนศักยภาพในการรักษา ในการลดอาการด้านลบ มีขอ้ เสนอแนะโดยเฉพาะ
ที่ดีข้ ึนด้วย rTMS ที่ความถี่สูงส�ำหรับอาการ การวิ จ ั ย ในอนาคตต้ อ งมุ่ ง เน้ น เกี่ ยวกั บ
ด้านลบของโรคจิตเภท ประสิ ทธิ ภาพทางคลิ นิกของ rTMS เช่ น การ
Levkovitz และคณะ30 ศึกษาน�ำร่ อง กระตุน้ ด้วย theta burst stimulation
แบบสุ่ ม ปกปิ ดสองทางการกระตุน้ สมองด้วย Chuan และคณะ31 ศึกษาแบบวิเคราะห์
สนามเเม่เหล็กเฉพาะทีแ่ บบลึก (deep transcranial อภิมานในการทบทวนผลการรักษาด้วย rTMS
magnetic stimulation: DTMS) ในผูป้ ่ วยจิตเภท แบบสุ่ ม ปกปิ ดสองทางต่ออาการด้านลบใน
ที่ มี อ าการด้า นลบเด่ น ของคะแนน PANSS โรคจิตเภทในหลายๆ ความถี่ คือ 1 Hz, 10 Hz,
มีค่าคะแนนอาการด้านลบมากกว่าหรื อเท่ากับ 15 Hz และ 20 Hz ระยะเวลาที่ใช้กระตุน้ ตั้งแต่
21 คะแนน จ�ำนวน 15 คน เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ 5 ครั้งขึ้นไป หรื อได้รับการกระตุน้ 5 - 20 วัน

51
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

ของการศึ ก ษาที่ เ ข้า เกณฑ์ค ดั เข้า แบบ meta- สมมติ ฐ านว่ า rTMS ความถี่ สู ง ที่ ใ ช้ต รงกับ
analysis 16 เรื่ อง 348 คน ของผูเ้ ข้าร่วมการทดลอง ต�ำแหน่ ง prefrontal cortex ด้านซ้าย เป็ นการ
กระตุน้ ที่ตำ� แหน่ง DLPFC ด้านซ้าย DLPFC รั ก ษาอาการด้า นลบได้อ ย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ด้านขวา DLPFC ทั้งสองด้าน และต�ำแหน่ง PFC นอกจากนี้ rTMS อาจเพิม่ การกระตุน้ การท�ำงาน
พบว่าผล rTMS ที่ความถี่ 10 Hz มีการกระตุน้ ของสมองเพิ่มขึ้ นท�ำให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลง
ติดต่อกันอย่างน้อย 3 สัปดาห์ ที่ตำ� แหน่ง DLPF ของการแสดงออกของ glutamic acid decarboxylase
ด้านซ้าย เป็ นค่าตัวเลขที่ดีที่สุดการรักษาอาการ ซึ่ ง เ ป็ น เ อ น ไ ซ ม์ สั ง เ ค ร า ะ ห์ ก า ร เ กิ ด
ด้านลบในโรคจิตเภท โดยเฉพาะผูป้ ่ วยจิตเภท γ-aminobutyric acid (GABA) ในสมองท�ำงาน
ที่ มีอาการด้านลบเด่ นจะมี การตอบสนองต่ อ ได้มากขึ้น ส่งผลให้ chloride channel เปิ ด ยอมให้
rTMS ได้ดีกว่าผูป้ ่ วยจิตเภทที่มีอาการด้านลบ chloride ions เข้าสูเ่ ซลล์มากขึ้น เกิด hyperpolarization
ที่น้อยกว่าเมื่อวัดที่ค่าบรรทัดฐาน นอกจากนี้ และยับ ยั้ง การท�ำ หน้ า ที่ ข องเซลล์ ป ระสาท
มีความเกี่ยวข้องกับระยะเวลาของการเจ็บป่ วย ต่างๆ และท�ำให้เกิ ดการปรั บเปลี่ ยนการหลัง่
ความถี่ ก ระตุ ้น ต�ำ แหน่ ง และความเข้ม ของ โดปามีนออกมา ท�ำให้มผี ลต่ออาการด้านลบลดลง
การรักษาด้วย พบนัยส�ำคัญทางสถิติดว้ ยการ ข้อจ�ำกัดของการวิเคราะห์น้ ีมีหลายประการ คือ
ใช้แ บบประเมิ น อาการด้า นลบ SANS และ จ�ำนวนทั้งหมดของการศึกษาที่นำ� มาทบทวน
PANSS พบว่า ค่ าขนาดของผล (effect size) ได้แก่ จ�ำนวนการศึกษา และจ�ำนวนผูเ้ ข้าร่ วม
การใช้แบประเมิน SANS จะใหญ่กว่าการใช้ การทดลองค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
แบบประเมิน PANSS อธิ บายได้ว่าเนื่ องจาก ส�ำ หรั บ การศึ กษาที่ ใช้เ ครื่ อ งมื อ SANS เป็ น
จ�ำนวนข้อของแบบสอบถาม SANS มีจำ� นวน ตัววัดผลลัพธ์มจี ำ� นวนน้อยคือมีเพียง 5 การศึกษา
20 ข้อ และมี ร ายละเอี ยดมากกว่า ในขณะที่ ที่ ใช้ SANS เพื่อประเมิ นอาการด้านลบของ
PANSS จะมีขอ้ ค�ำถามเพียง 7 ข้อ พบว่าผูป้ ่ วย โรคจิตเภท และการศึกษาทั้งหมดไม่มกี ารศึกษาใด
จิตเภทเรื้อรัง มีระยะเจ็บป่ วยยาวนานจะตอบสนอง ที่ศกึ ษาในกลุม่ ผูป้ ่ วยที่มีระยะเวลาความเจ็บป่ วย
ต่ อ การรั ก ษาด้ว ย rTMS ที่ แย่กว่า และพบว่า น้อยกว่า 5 ปี นอกจากนี้ ควรน�ำเครื่ องมื อที่ ใช้
ระยะเวลาเจ็บป่ วยมากกว่า 8 ปี ไม่พบนัยส�ำคัญ ได้แก่ the schedule for the deficit syndrome
ของการรักษาด้วย rTMS แต่กลับพบประสิทธิภาพ (SDS), the 16-item negative symptoms assessment
ของ rTMS ในการรักษาผูป้ ่ วยจิตเภทในระยะแรก (NSA-16) scale และ the clinical assessment
อธิ บายได้ถึงการยอมรั บว่าอาการด้านลบใน interview for negative symptoms (CAINS)
โรคจิ ตเภทอาจเกี่ ยวข้องกับการขาดโดปามี น มาหาค่ า ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด เพื่ อ ตรวจจับ การ
(dopamine) ที่ ต ำ� แหน่ ง ส่ ว นหน้าของสมอง เปลีย่ นแปลงการประเมินอาการด้านลบ และควร
ส่ วนหน้าผาก (prefrontal cortex) เยือ่ หุม้ สมอง ประเมิ นการท�ำ งานของระบบประสาท เช่ น
ส่ วนหน้ารวมทั้งการลดการกระท�ำต่อส่ วนของ ความจ�ำ (memory) ความตั้ง ใจ (attention)
prefrontal cortex ในสมอง (hypofrontality) มี การบริ หารจัดการ (executive function) มีผลต่อ
ความสั ม พัน ธ์ กับ อาการด้า นลบ น�ำ ไปสู่ ข ้อ ประสิ ทธิภาพของ rTMS ในการรักษา

52
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

สรุป 6. Hansbauer M, Wobrock T, Kunze B, Langguth B,


การกระตุน้ ด้วยคลื่นแม่เหล็กกระตุน้ Landgrebe M, Eichhammer P, et al. Efficacy of
สมองแบบซ�้ำเป็ นทางเลื อกหนึ่ งในการรั กษา high-frequency repetitive transcranial magnetic
stimulation on PANSS factors in schizophrenia
ผูป้ ่ วยจิ ต เภทที่ มีอาการด้านลบ เป็ นวิธีการที่ with predominant negative symptoms – results
ปลอดภัย และยัง ไม่ พ บผลข้า งเคี ย งร้ า ยแรง from an exploratory re-analysis. Psychiatry Res
พบปั จจัยที่ส่งผลให้เกิดประสิ ทธิ ภาพดีต่อการ 2018; 263: 22-9.
รักษา ได้แก่ ระยะเวลาการเจ็บป่ วยโรคจิตเภท 7. Cernovsky Z. Quality of life in persons with
ต้อ งน้อ ยกว่า หรื อเท่ ากับ 8 ปี มี การใช้ค ลื่ น schizophrenia. Ment Illn 2017; 9(1): 7052.
กระตุน้ ที่ความถี่ขนาด 10 Hz ต�ำแหน่ง DLPFC 8. Buchanan RW, Kreyenbuhl J, Kelly DL, Noel JM,
ด้านซ้าย วันละ1 ครั้ง ต่อเนื่องกัน 15 ครั้งต่อกัน Boggs DL, Fischer BA, et al. The 2009 schizophrenia
และการใช้เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี ค วามไวต่ อ การวัด PORT psycho-pharmacological treatment
recommendations and summary statements.
อาการด้านลบในผูป้ ่ วยจิตเภทเป็ นตัวประเมิน Schizophrenia Bull 2010; 36: 71-93.
9. Erhart SM, Marder SR, Carpenter WT. Treatment
เอกสารอ้ างอิง of schizophrenia negative symptoms: future
1. World Health Organization. Schizophrenia [online]. prospects. Schizophrenia Bull 2006; 32: 234-7.
Available from: http://www. who.int/mental_ 10. Leucht S, Arbter D, Engel RR, Kissling W,
health/management/ schizophrenia/en/ [2016 June Davis JM. How effective are second-generation
29]. antipsychotic drugs? A meta-analysis of placebo-
2. Saha S, Chant D, Welham J, McGrath J. A systematic controlled trials. Molecular Psychiatry. 2009; 14:
review of the prevalence of schizophrenia. PLoS 429-47.
Med 2005; 2: 413-33. 11. Graziano B, Kaskie RE, Ferrarelli F. Transcranial
3. รั ชตะ รั ชตะนาวิน. ผูป้ ่ วยจิ ตเวชไทยพุ่งทะลุลา้ น magnetic stimulation (TMS) as a treatment tool in
โรคจิตเภทสู งสุ ดกว่า 4 แสนราย วันสุ ขภาพจิตโลก schizophrenia: A review. J Brain Neurol 2017;
10 ตุลาคม 2557. [online]. Available from: http:// 1(1): 14-23.
www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?News 12. Moller HJ. Management of the negative
ID=9570000117185 [2016 June 30]. symptoms of schizophrenia: new treatment
4. มาโนช หล่ อ ตระกู ล , ปราโมทย์ สุ คนิ ชย์ . options. CNS Drugs 2003; 17: 793-823.
จิ ตเวชศาสตร์ รามาธิ บดี . พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุ งเทพ: 13. Wang RZ, Zhang JX, Yuan W, Tang JS, Liu JT,
สวิชาญการพิมพ์, 2546. Li X, et al. A study of insist and psychopathology
5. Shamsi S, Lau A, Lencz T, Burdick KE, DeRosse vignettes in patients with schizophrenia. Shandong
P, Brenner R, et al. Cognitive and symptomatic Jing Shen Yi Xue 2001; 14(4): 237-40.
predictors of functional disability in schizophrenia.
Schizophr Res 2011; 126(1-3): 257-64.

53
Journal of Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry 2019; 13(1)

14. ภารดี เอื้อวิชญาแพทย์, ธวัชชัย กฤษณะประกรกิจ. 22. Rollnik JD, Huber TJ, Mogk H, Siggelkow S,
การกระตุน้ แม่เหล็กไฟฟ้าผ่านกะโหลก. ศรี นคริ นทร์ Kropp S, Dengler R , et al. High frequency repetitive
เวชสาร 2552; 24(3): 148-53. transcranial magnetic stimulation (rTMS) of the
15. Machii K, Cohen D, Ramos-Estebanez C, dorsolateral prefrontal cortex in schizophrenic
Pascual-Leone A. Safety of rTMS to non-motor patients. Neuroreport 2000; 18(11): 4013-5.
cortical areas in healthy participants and patients. 23. Hajak G, Marienhagen J, Langguth B, Werner S,
Clin Neurophysiol 2006; 117: 455-71. Binder H, Eichhammer P. High-frequency repetitive
16. Khurshid K, Janicak P. Other than depression: transcranial magnetic stimulation in schizophrenia:
using transcranial magnetic stimulation. Psychiatr a combined treatment and neuroimaging study.
Ann 2005; 35(2): 147-58. Psychol Med 2004; 34(7): 1157-63.
17. Becker JE, Maley C, Shultz E, Taylor WD. Update 24. Dlabac-de Lange JJ, Knegtering R, Aleman A.
on transcranial magnetic stimulation for depression Repetitive transcranial magnetic stimulation for
and other neuropsychiatric illnesses. Psychiatr negative symptoms of schizophrenia: review and
Ann 2016 ; 46(11): 637-41. meta-analysis. J Clin Psychiatry 2010; 71: 411-8.
18. Slotema CW, Blom JD, Hoek HW, Sommer IE. 25. Zhao S, Kong J, Li S, Tong Z, Chanjuan Y, Huaqing
Should we expand the toolbox of psychiatric Z. Randomized controlled trial of four protocols of
treatment methods to include repetitive transcranial repetitive transcranial magnetic stimulation for
magnetic stimulation (rTMS)? A meta-analysis of treating the negative symptoms of schizophrenia.
the efficacy of rTMS in psychiatric disorders. J Shanghai Arch Psychiatry 2014; 26: 15-21.
Clin Psychiatry 2010; 71: 873-84. 26. Zheng LN, Guo Q, LI H, LI CB, Wang JJ.
19. Fitzgerald PB, Herring S, Hoy K, McQueen S, Effects of repetitive transcranial magnetic stimulation
Segrave R, Kulkarni J, et al. A study of the effectiveness with different paradigms on the cognitive function
of bilateral transcranial magnetic stimulation in the and psychotic symptoms of schizophrenia patients.
treatment of the negative symptoms of schizophrenia. Beijing Da Xue Xue Bao 2012; 44(5): 732-6.
Brain Stimul 2008; 1(1): 27-32. 27. Wobrock T, Guse B, Cordes J, Wolwer W, Winterer
20. Sayar GH, Bulut H, Tarhan N. Use of repetitive G, Landgrebe M, et al. Left prefrontal high-
transcranial magnetic stimulation in treatment of frequency repetitive transcranial magnetic stimulation
negative symptoms of schizophrenia. J Neurol for the treatment of schizophrenia with predominant
Neurol Sci Disord 2015; 1(1): 017-021. negative symptoms: a sham-controlled, randomized
21. Cohen E, Bernardo M, Masana J, Arrufat FJ, multicenter trial. Biol Psychiatry 2015; 77: 979-88.
Navarro V. Repetitive transcranial magnetic stimulation 28. Prikryl R, Ustohal L, Prikrylova Kucerova H,
in the treatment of chronic negative schizophrenia: Kasparek T, Venclikova S, Ceskova E. A detailed
a pilot study. J Neurol Neuro Surg Psychiatry analysis of the effect of repetitive transcranial
1999; 67: 129-30. magnetic stimulation on negative symptoms of
schizophrenia: a double-blind trial. Schizophr
Research 2013; 149: 167-73.

54
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้ าพระยา ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 ปี 2562

29. Prikryl R, Kasparek T, Skotakova S, Ustohal L, 31. Shi C, Yu X, Cheunge E, Shum D, Chana R.
Kucerova H, Ceskova E. Treatment of negative Revisiting the therapeutic effect of rTMS on
symptoms of schizophrenia using repetitive negative symptoms in schizophrenia: A meta-
transcranial magnetic stimulation in a double- analysis. Psychiatry Res 2014; 215(3): 505-13.
blind, randomized controlled study. Schizophr Res
2007; 95(1-3): 151-57.
30. Levkovitz Y, Rabany L, Harel EV, Zangen A.
Deep transcranial magnetic stimulation add-on
for treatment of negative symptoms and cognitive
deficits of schizophrenia: a feasibility study. Int J
Neuropsychopharmacol 2011; 14(7): 991-6.

55

You might also like