You are on page 1of 13

รายงานการค้นคว้าอิสระ (IS 1)

เรื่อง โรคซึมเศร้า

จัดทำโดย

1. นายปกรณ์ สิริใจ เลขที่ 7


2. นายธนกร อ้นใจมา เลขที่ 26
3. นายพงษ์สท
ิ ธิ งามตา เลขที่ 28
4. นางสาวรุ่งนภา ป๊ อกอ้าย เลขที่ 10
5. นางสาวศศิวิมล กันทะเขียว เลขที่ 37

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/6

ครูที่ปรึกษา

1. นาย อภิเดช ยอดกันทา


2. นางสาว ณัฐสุดา เกษา

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการค้นคว้าอิสระ
(IS 1)

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

โรงเรียนฮอดพิทยาคม อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่

คำนำ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาการค้นคว้าอิสระ (IS


1) ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/6 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความรู้
เกี่ยวกับเรื่อง โรคซึมเศร้า ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนีใ้ นการทำรายงาน
เนื่องจากเป็ นเรื่องที่นา่ สนใจ ซึ่งถือเป็ นความรู้รอบตัวที่ควรศึกษา
เรียนรู้ไว้
ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนีจ
้ ะให้ความรู้ และเป็ น
ประโยชย์แก่ผู้อ่านทุกๆท่านไม่มากก็น้อย

คณะผู้จ ัด
ทำ
สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ ก

สารบัญ ข

- หัวข้อ 1

- ผู้จัดทำ 1

- ครูที่ปรึกษา
1

- ที่มาและความสำคัญ 2

- วัตถุประสงค์ 2

- ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2

- ขอบเขตการศึกษา 3

- เนื้อเรื่อง 4

- วิธีการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
5

- ผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล 5

- สรุปผลการศึกษา 6
บรรณานุกรม 7

1. หัวข้อ

โรคซึมเศร้า

2. ผู้จัดทำ

1. นาย ปกรณ์ สิริใจ เลขที่ 7


2. นาย ธนกร อ้นใจมา เลขที่ 26
3. นาย พงษ์สิทธิ ์ งามตา เลขที่ 28
4. นางสาว รุ่งนภา ป๊ อกอ้าย เลขที่ 10
5. นางสาว ศศิวิมล กันทะเขียว เลขที่ 38

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/6

3. ครูที่ปรึกษา

1) นายอภิเดช ยอดกันทา
2) นางสาว ณัฐสุดา เกษา

4. ที่มาและความสำคัญ

โรคซึมเศร้านัน
้ ไม่ได้มีสาเหตุจากแต่เพียงปั จจัยใด
ปั จจัยหนึ่งเท่านัน
้ เหมือนกับการป่ วยเป็ นไข้หวัด ก็มักเป็ นจาก
ร่างกายอ่อนแอ จากพักผ่อนน้อย ไม่ได้ออกกำลังการ ขาดสาร
อาหาร ถูกฝน อากาศเย็น ร่วมกับการได้รับเชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดไข้
หวัด ถ้าเราแข็งแรงดี แม้จะได้รับเชื้อหวัดก็ไม่เป็ นอะไร ในทำนอง
เดียวกัน ถ้าร่างกายเราอ่อนแอ ก็ไม่ได้รับเชื้อหวัดก็ไม่เกิดอาการ
การเริ่มเกิดอาการของโรคซึมเศร้านัน
้ มักมีปัจจัยกระตุ้น มากบ้าง
น้อยบ้าง บางครัง้ อาจไม่มีก็ได้ซงึ ้ พบได้น้อย อย่างไรก็ตาม การมร
สาเหตุที่เห็นชัดว่าเป็ นมาจากความกดดันด้านจิตใจนี ้ มิได้
หมายความว่าสิง่ ที่เกิดขึน
้ นัน
้ เป็ นเรื่องปกติธรรมดาของคนเราไม่ว่า
จะรุนแรงแค่ไหนการพิจารณาว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ นัน
้ ผิด
ปกติหรือไม่ เราดูจากการมีอาการต่างๆ และความรุนแรงของ
อาการเป็ นหลัก ผู้ที่มีอาการเข้ากับเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้านัน

บ่งถึงภาวะของความผิดที่จำต้องได้รับการช่วยเหลือ

5 วัตถุประสงค์
1) ศึกษาภาวะโรคซึมเศร้าในสตรีตงั ้ ครรภ์ ในโรง
พยาบาลศูนย์อนามัย ที่ 11 อำเภอเมือง จัง หวัด นครศรีธรรมราช

2) ลดภาวะโรคซึมเศร้าในสตรีตงั ้ ครรภ์และผลกระทบที่
มีต่อบุคคลในครอบครัว จากการให้ คาปรึกษาภายในโรงพยาบาล
ศูนย์อนามัย ที่ 11 อำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) สตรีตงั ้ ครรถ์ที่มีภาวะซึมเศร้าทุกราย สามารถเข้าถึง


บริการและได้รับการให้คำแนะนำปรึกษาในการป้ องกัน ร่วมกับให้
ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการมีบุตร และการเตรียมตัวทาง
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจภายในครอบครัวที่
ถูกต้อง

2) ลดผกระทบจากภาวะโรคซึมเศร้าในสตรีตงั ้ ครรภ์ ที่มี


ต่อตนเองและบุคคลในครอบครัวในช่วงตัง้ ครรภ์

7.ขอบเขตในการศึกษา

7.1 สถานที่
โรงเรียนฮอดพิทยาคม

7.2 ระยะเวลา

ผู้ศึกษาทำการศึกษาค้นคว้าเป็ นเวลา 4 เดือน ได้แก่


เดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน พ.ศ.2564

7.3 เนื้อหา

- อาการผิดปกติที่เกิดขึน
้ กับฉันก่อนเข้ารับการรักษาคือ
ฉันจะรู้สึกเบื่อทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัว ไม่อยากไปเรียน ไม่อยาก
พบหน้าเพื่อนไปเรียนแล้วก็ไม่ร้เู รื่อง ไม่มีสมาธิในการเรียน บางครัง้
ฉันร้องไห้อย่างไม่มีเหตุผล หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนง่าย ที่สำคัญ
ฉันรู้สึกเบื่อหน่ายตัวเอง ไม่อยากมีชีวิตอยู่ คิดที่จะทำร้ายตัวเอง ผล
การเรียนลดลงมากกว่าปกติ และมีอาการทางด้านร่างกายเกิดขึน

เช่น ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ ใจสั่น อาการเหล่านีเ้ กิดขึน
้ หลังจากที่
ฉันมีปัญหากับทางบ้านเรื่องการคบแฟน

อาการเหล่านีเ้ กิดขึน
้ กับฉันได้ประมาณ 8 เดือน ฉันได้รับคำ
แนะนำจากเพื่อนรุ่นพีใ่ ห้ปรึกษาจิตแพทย์ ฉันจึงตัดสินใจไปพบคุณ
หมอเมตตา แล้วได้เล่าอาการทัง้ หมดให้คุณหมอฟั ง คุณหมอบอกว่า
ฉันเป็ นโรคที่เรียกว่าโรคซึมเศร้า
ฉันได้รับการรักษาจากคุณหมอเมตตาเป็ นเวลาประมาณ 4
เดือนจึงได้หยุดรักษา เพราะคุณหมอบอกว่าฉันปกติดีแล้ว ซึ่งผล
การเรียนหลังจากที่ได้รับการรักษาแล้วเพิ่มขึน
้ ในระดับที่น่าพอใจ
สมาธิในการเรียนกลับมา ความรู้สึกเบื่อตัวเอง อยากทำร้ายตัวเอง
ได้หายไป

หลังจากนัน
้ เวลาผ่านไปได้ประมาณ 4 เดือน อาการข้างต้นได้
ปรากฏขึน
้ มาใหม่อีกครัง้ หนึ่งเมื่อฉันได้ออกฝึ กสอนที่โรงเรียน
ประจำอำเภอแห่งหนึง่ ฉันทุ่มเทชีวิตทุ่มเททุกสิ่งทุกอย่างให้กับการ
ออกฝึ กสอนในครัง้ นัน
้ แต่ฉันได้รับคำตำหนิตลอดเวลาว่าไม่มีความ
รับผิดชอบ ทำงานไม่ได้เรื่องมัน ทำให้ฉันรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง หมด
กำลังใจในการเรียน รู้สึกว่าตัวเองแย่มากทำอะไรก็ไม่ดีไม่ได้เรื่อง
ฉันเริ่มปวดศีรษะทุกวัน ๆ ฉันเก็บตัวอยู่ในห้องนอน ตลอดเวลาหลัง
จากเลิกเรียนแล้วน้ำหนักลดลงมาจาก 47 กิโล เหลือ 41 กิโล
ภายในเวลา 1 เดือน

ฉันได้ตัดสินใจโทรศัพท์ไปปรึกษานักจิตวิทยาที่โรงพยาบาล
นักจิตวิทยาแนะนำให้ไปพบที่โรงพยาบาลฉันก็ได้ไปพบและทำแบบ
ทดสอบ แล้วนัดฉันไปพบอีกครัง้ หนึ่งในสัปดาห์ถัดไป
ช่วงที่ฉันรอ ฉันรู้สึกแย่มาก รู้สึกเบื่อรำคาญตัวเอง แล้วคิดว่า
ทำไมฉันจะต้องเป็ นแบบนีด
้ ้วย ฉันไม่ต้องการที่จะเป็ นแบบนี ้ ฉัน
อยากที่จะหนีให้พน
้ ๆ จากสภาพที่เป็ นอยู่ แล้วเกิดความคิดในการที่
จะฆ่าตัวตายขึน
้ มา ฉันก็ได้ลงมือฆ่าตัวตายโดยการกินยานอนหลับ
ไปประมาณ 10 เม็ด และยาแก้ปวดไปประมาณ 60 เม็ด คุณพ่อกับ
คุณแม่เห็นฉันเงียบผิดปกติในห้องนอนจึงเปิ ดประตูเข้าไปดูแล้ว
เรียกฉัน แต่ฉันไม่ร้ส
ู ึกตัว จึงนำส่งโรงพยาบาลคุณหมอได้ช่วยชีวิตไว้
ได้ทัน

ตอนนีฉ
้ ันอยูใ่ นความดูแลของคุณหมอเมตตาซึ่งฉันจะต้องไป
พบหมดทุกสัปดาห์และพบนักจิตวิยาทุก 3 สัปดาห์ ซึ่งการรักษา
ของฉันในตอนนีม
้ ีทงั ้ การใช้ยาและการใช้วิธีจิตบำบัด ซึ่งตอนนีฉ
้ น

เริ่มที่จะรักษาโรคซึมเศร้าเป็ นครัง้ ที่ 2 ได้ประมาณ 1 เดือน คุณ
หมอบอกว่าอาจจะต้องใช้เวลาประมาณ 1 ปี ในการรักษาครัง้ นี ้

นีฉ
้ ันหวังว่าสุดท้ายเรื่องของฉันคงเป็ นประโยชน์ต่อผู้อา่ นทุก
ท่านไม่มากก็น้อยนะคะ

8.เนื้อเรื่อง

**ขีด – อย่างเดียว ไม่ตอ


้ งเติมอะไร**
9. วิธีการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้ศ ึก ษาได้ศ ึก ษาค้น คว้า เป็ นเวลา 4 เดือ น ได้แ ก่ เดือ น


มิถุนายน - เดือนกันยายน พ.ศ.2565 ดังนี ้

- เดือนมิถุนายน – เดือนกรกฎาคม 2565 ค ้น ค ว ้า


ข้อมูล

- เดือนสิงหาคม 2565 รวบรวมข้อมูล

- เดือนกันยายน 2565 จัดพิมพ์รายงาน

10. ผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล

สำหรับคนส่วนใหญ่แล้วคำว่าโรคซึมเศร้าฟั งดูไม่คุ้นหู ถ้า


พูดถึงเรื่องซึมเศร้าเรามักจะนึกกันว่าเป็ นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึก
ที่เกิดจากความผิดหวัง หรือการสูญเสียมากกว่าที่จะเป็ นโรค ซึ่งตาม
จริง แล้ว ที่เ ราพบกันในชีว ิตประจำวัน ส่ว นใหญ่ก ็จ ะเป็ นเรื่อ งของ
อารมณ์ความรู้สึกธรรมดาๆ ที่มีกันในชีวิตประจำวัน มากบ้างน้อย
บ้าง อย่างไรก็ต ามในบางครัง้ ถ้า อารมณ์เ ศร้า ที่เกิดขึน
้ นัน
้ เป็ นอยู่
นานโดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขน
ึ ้ หรือเป็ นรุนแรง มีอาการต่างๆ ติดตาม
มา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลงมาก หมดความ
สนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไปก็อาจจะเข้าข่าย
ของโรคซึมเศร้าแล้ว คำว่า “โรค” บ่งว่าเป็ นความผิดปกติทางการ
แพทย์ ซึ่ง จำเป็ นต้องได้รบ
ั การดูแลรัก ษาเพื่อ ให้อาการทุเ ลา ต่าง
จากภาวะอารมณ์เศร้าตามปกติธรรมดาที่ถ้าเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว
คลี่คลายลง หรือมีคนเข้าใจเห็นใจ อารมณ์เศร้านีก
้ ็อาจหายได้ ผู้ที่
ป่ วยเป็ นโรคซึมเศร้านอกจากมีอารมณ์ซึมเศร้าร่วมกับอาการต่างๆ
แล้ว การทำงานหรือการประกอบกิจวัตรประจำวันก็แย่ลงด้วย คนที่
เป็ นแม่บา้ นก็ทำงานบ้านน้อยลงหรือมีงานบ้านคั่งค้าง คนที่ท ำงาน
นอกบ้า นก็อ าจขาดงานบ่อยๆ จนถูก เพ่งเล็ง เรีย กว่า ตัว โรคทำให้
การประกอบกิจวัตรประจำวันต่างๆบกพร่องลง หากจะเปรียบกับ
โรคทางร่า งกายก็ค งคล้า ยๆ กัน เช่น ในโรคหัว ใจผู้ท ี่เ ป็ นก็จ ะมี
อาการต่างๆร่วมกับการทำอะไรต่างๆได้น้อยหรือไม่ดีเท่าเดิม

บรรณานุกรม

โรคซึมเศร้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


http://www.peterboroughfht.com/wp-content/uploads/201
3/06/Anxiety-and-De...

(วันที่ค้นข้อมูล 6 ตุลาคม 2565 )

สาเหตุโรคซึมเศร้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


https://www.pobpad.com
(วันที่ค้นข้อมูล 18 มิถุนายน 2564)

เนื้อหาโรคซึมเศร้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


http://www.peterboroughfht.com/wp-content/uploads/2013/06
/Anxiety-and-De...

(วันที่ค้นข้อมูล 6 ตุลาคม 2565)

วิธีการดูแลรักษา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


http://www.peterboroughfht.com/wp-content/uploads/2013/06
/Anxiety-and-De...

(วันที่ค้นข้อมูล 6 ตุลาคม 2565)

คำแนะนำโรคซึมเศร้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


http://www.peterboroughfht.com/wp-content/uploads/2013/06
/Anxiety-and-De...

(วันที่ค้นข้อมูล 6 ตุลาคม 2565)

You might also like