You are on page 1of 17

แผนการสอนรายหัวข้ อ (Topic Module)

หัวข้ อ อาการแสดงทางจิตเวช

รายวิชา จว 301 (PC 301) ใช้ในการสอนบรรยายเป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง

ผู้สอน รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงวันเพ็ญ ธุ รกิตต์วณั ณการ

วัตถุประสงค์ หัวข้ อ
เมื่อนิสิตจบการศึกษาหัวข้อนี้แล้วสามารถ
1. ทราบว่าผูป้ ่ วยโรคทางจิตเวชจะมาพบแพทย์ดว้ ยอาการผิดปกติอย่างไรบ้าง
2. ทราบว่าอาการที่ผดิ ปกติน้ นั จัดอยูใ่ นการตรวจสภาพจิตข้อใด
3. ทราบชื่อของอาการที่ผดิ ปกติแต่ละอาการ
เนื้อหาหัวข้ อ
1. อาการทางจิตเวชแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ ตามหัวข้อการตรวจสภาพจิต
2. ศัพท์เฉพาะที่ใช้เรี ยกชื่ออาการที่ผดิ ปกติแต่ละอาการ
3. รายละเอียดของแต่ละอาการที่ผปู ้ ่ วยแสดงออกหรื อสามารถตรวจพบได้
กิจกรรมการเรียนการสอน จว 301
1. การบรรยาย
2. การศึกษาค้นคว้าจากตาราและเอกสารประกอบอื่น ๆ
3. จัดให้มีการซักถามปั ญหาในชั้นเรี ยน
สื่ อการสอน
1. Power Point
2. เอกสารคาสอน เรื่ องอาการแสดงทางจิตเวช
แผนการสอน จว 301
1. อธิบายวัตถุประสงค์ 5 นาที
2. อาการทางจิตเวชแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 นาที
3. รายละเอียดของแต่ละอาการย่อย
ในกลุ่มอาการใหญ่ 70 นาที
4. ตัวอย่างผูป้ ่ วยที่มีอาการแสดงต่าง ๆ 30 นาที
5. สรุ ปและซักถาม 10 นาที

การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตการมีส่วนร่ วมในการเรี ยน
2. ให้ตอบคาถามเพื่อสังเกตความเข้าใจ
3. สอบปลายภาค

เอกสารประกอบ
1. เอกสารคาสอนเรื่ อง อาการแสดงทางจิตเวช
อาการแสดงทางจิตเวช
รศ.พญ.วันเพ็ญ ธุรกิตต์ วณ
ั ณการ

อาการวิทยาเป็ นความรู ้ เบื้องต้นของโรคทางจิ ตเวช มีความสาคัญสาหรั บการวินิจฉัยโรค และได้


เข้าใจพฤติกรรมของผูป้ ่ วยเพื่อนามาประกอบในการรักษา อาการทางจิตเวชเป็ นสิ่ งที่ผปู ้ ่ วยรู ้สึก (subjective)
มากกว่าเป็ นสิ่ งที่ตรวจพบได้ (objective) ซึ่ งแตกต่างจากอาการทางกายที่สามารถตรวจพบหรื อพิสูจน์ได้การ
ตรวจผูป้ ่ วยจิตเวชจึงจาเป็ นต้องพยายามเข้าใจความรู ้สึกของผูป้ ่ วยเพื่อให้ได้ขอ้ มูลมากที่สุด

1.Consciousness ภาวะความรู ้สึก ( State of Awareness)


1.1 ผิดปกติใช้ระดับความรู ้สึกตัว (Disturbance of Consciousness )
ก. Disoridentation มีความผิดปกติในการรับรู ้เวลา สถานที่ หรื อบุคคล
ข. Stupor ไม่มีปฏิกิริยาต่อสิ่ งแวดล้อม และไม่รับรู ้สิ่งแวดล้อม ผูป้ ่ วยจะอยูใ่ นสภาพหมดสติ แต่ถา้
ถูกกระตุน้ ด้วย deep pain จะตอบสนองโดยร้ องครางได้ พบในโรคจิ ตที่ เกิ ดจากสภาวะทางร่ างกาย และ
catatonic schizophrenia
ค. Delirium เป็ นสภาวะที่ สับสน งุ นงง กระสับกระส่ าย และเสี ยความสามารถในการรับรู ้ เวลา
สถานที่ และบุคคล ร่ วมกับมีความกลัว และประสาทหลอน พบในโรคที่เกิดจากสภาวะทางร่ างกายอาการจะ
เป็ นมากในเวลากลางคืนเนื่องจากมี sensory deprivation
ง. Coma เป็ นสภาวะซึ่ งผูป้ ่ วยไม่มีความรู ้สึกตัวเหลืออยู่ หรื อหมดสติไป พบในโรคของสมองหรื อ
สภาวะของร่ างกายที่รบกวนการทางานของสมอง
จ. Confusion เป็ นสภาวะซึ่ งความสนใจ และการรับรู ้ต่อสิ่ งแวดล้อมลดลง สับสน มี disorientation
พบในโรคจิตที่เกิดจากสภาวะทางร่ างกาย หรื อ หลังถูกช็อคด้วยไฟฟ้า
ฉ. Drowsiness เป็ นสภาวะซึ่ งผูป้ ่ วยไม่ค่อยรู ้สึกตัว ครึ่ งหลับครึ่ งตื่น เมื่อถูกกระตุน้ ให้ตอบคา ถาม
ผูป้ ่ วยสามารถตอบได้บา้ ง
ช. Fluctuation of consciousness เป็ นสภาวะที่ความรู ้สึกไม่คงที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาของ
วัน บางเวลาผูป้ ่ วยรู ้สึกตัวดี ซึ่ งมักจะเป็ นเวลากลางวัน แต่พอเวลากลางคืนจะสับสน พบในโรคจิตที่เกิดจาก
สภาวะทางร่ างกาย (organic brain syndrome )
1.2 ผิดปกติในความตั้งใจ ( Disturbance of Attention )
ก. Distractibility ความตั้งใจเปลี่ยนแปลงง่ายตามสิ่ งเร้าต่าง ๆ เมื่อมีสิ่งกระตุน้ จากภายนอกผูป้ ่ วย
จะหันเหความสนใจไปทันที เป็ นอาการที่มกั พบใน mania
ข. Selective inattention ไม่มีสมาธิ เฉพาะสิ่ งที่ทาให้เกิดความไม่สบายใจ ได้แก่ ไม่สามารถมีสมาธิ
ทาการบ้านของครู ที่ดุมากให้เสร็ จได้ เพราะกลัวทาผิดแล้วจะถูกตี
1.3 ผิดปกติเกี่ยวกับการคล้อยตาม( Disturbances in suggestibility )
ก. Folie A Deux( or folie a trois ) คือ การที่คนสองหรื อสามคนมีความหลงผิดเหมือนกัน
ข. Hypnosis คือ สภาวะซึ่ งยอมรับการชักจูงง่ายขึ้น เนื่ องจากเกิ ดการเปลี่ยนแปลงในระดับความ
รู ้สึกตัวของคน ๆ นั้นเนื่องจากการกระทาบางอย่าง
2.Emotion แบ่งเป็ น
2.1 Affect อารมณ์ ที่ บุ ค คลแสดงออกแล้ว ผู ้อื่ น สั ง เกตพบ affect เปลี่ ย นแปลงไปตามเวลา เพื่ อ
ตอบสนองต่ อ การเปลี่ ย นแปลงในภาวะทางอารมณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ นภายในจิ ต ใจแตกต่ า งจาก mood คื อ mood
หมายถึงอารมณ์ที่คงอยูเ่ ป็ นเวลานาน รู ้สึกโดยผูป้ ่ วยและผูป้ ่ วยบอกได้
2.1.1 Appropiate Affect เป็ นการแสดงออกของอารมณ์ที่เหมาะสมกับความคิดหรื อ เนื้อหาที่พูด
2.1.2 Inappropiate Affect การแสดงออกของอารมณ์ไม่เหมาะสมกับความคิดหรื อเนื้อหาที่พูด เช่น
คุยถึงเรื่ องบิดาเสี ยชีวติ กลับหัวเราะ พบในโรคจิตเภทได้บ่อย
2.1.3 Blunted Affect การแสดงออกของอารมณ์ความรู ้สึกลดลงมาก ไม่วา่ พูดถึงเรื่ องอะไรสี หน้าก็
จะแสดงออกน้อยมาก พบได้ในโรคจิตเภท
2.1.4 Restricted or Constricted Affect มีการแสดงออกของอารมณ์ ความรู ้ สึกลดลงแต่ลดลงน้อย
กว่า Blunted affect
2.1.5 Flat Affect เกือบจะไม่มีการแสดงออกของอารมณ์เลย ลดลงมากกว่า Blunted affect เสี ยงต่า
เท่ากันตลอด ไม่แสดงสี หน้า
2.1.6 Labile Affect อารมณ์เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วโดยไม่สัมพันธ์กบั สิ่ งกระตุน้ ภายนอก
2.2 Mood อารมณ์ที่ต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานาน รู ้สึกและรายงานโดยผูป้ ่ วย ได้แก่
2.2.1 Dysphoric Mood อารมณ์ไม่พอใจ ไม่มีความสุ ข
2.2.2 Euthymic Mood อารมณ์ที่อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ไม่เศร้าหรื อรื่ นเริ ง
2.2.3 Expansive Mood อารมณ์ฟุ้งซ่าน คาดคิดว่าตนเองสาคัญเกินความจริ ง
2.2.4 Irritable Mood ถูกทาให้ราคาญ หรื อโกรธได้โดยง่าย
2.2.5 Mood Swings อารมณ์เปลี่ยนแปลงจาก Euphoria, depression หรื อ anxiety
2.2.6 Elevated Mood อารมณ์รื่นเริ งมากกว่าปกติ แต่ไม่จาเป็ นต้องพยาธิ สภาพ
2.2.7 Euphoria ความรู ้สึกสบายมากผิดปกติ ซึ่ งไม่เหมาะกับสภาวะแวดล้อมที่ทาให้เกิดความรู ้สึก
เช่นนี้
2.2.8 Elation มีความรู ้สึกสบายมากกว่าที่ควรจะเป็ น จะแสดงออกโดยอาการยิม้ แย้มแจ่มใส รื่ น
เริ ง หรื อมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
2.2.9 Exaltation มี intense elation และมี attitude of grandeur ร่ วมด้วยถ้ามี น้อยลงหน่ อยเรี ยกว่า
Ecstasy
2.2.10 Depression เป็ นความรู ้สึกเศร้าอย่างมีพยาธิ สภาพ
2.2.11 Grief or Mourning ความเศร้าซึ่ งได้สัดส่ วนกับการสู ญเสี ยพบได้ในคนปกติ
2.2.12 Anhedonia ขาดความสนใจ และไม่ประกอบกิจกรรมที่เคยพอใจทา สัมพันธ์กบั
Depression.
2.2.13 Alexithymia ไม่สามารถหรื อมีความยากลาบากที่จะบรรยายความรู ้สึกของตนเอง
2.3 Other Emotions
2.3.1 Anxiety ความวิตกกังวลเป็ นความรู ้สึกไม่สะดวก ไม่สบายในใจและมักไม่รู้สาเหตุที่แท้จริ ง
ของความกังวลนั้น บางคนแสดงออกมาให้รูปความกลัวว่าจะมีอะไรร้าย ๆ เกิดขึ้น ความกลัวเช่นนี้ ต่างกับ
fear รู ้วา่ กลัวอะไร เพราะเป็ นความกลัวต่อภยันตรายภายนอกที่มองเห็นได้ แต่ anxiety เป็ นความกลัวต่อสิ่ งที่
ไม่รู้ ถือเป็ นความกลัวภายในใจตนเอง หรื อเป็ นเรื่ องของ unconscious fear นัน่ เอง
Anxiety เป็ นสิ่ งที่ไม่มีใครเลี่ ยงได้ แต่จะสงบลงได้เอง ถ้าไม่สงบลงได้ พิจารณาถึ งความรุ นแรง
และความยาวนานของ anxiety นั้น เป็ นความผิดปกติ anxiety ในระยะรุ นแรง (acute) จะแสดงออกมาให้เห็น
ทั้งทางจิตใจและร่ างกาย เช่น กระสับกระส่ ายกระวนกระวาย ตึงเครี ยด พูดมาก ผุดลุกผุดนัง่ ถ้าเป็ นนานเข้า
อาการเด่นชัดดังกล่าวจะลดลง และไปแสดงออกทางร่ างกาย เช่น เจ็บอก ปวดหัว ใจสัน่ หายใจไม่เต็มที่ เป็ น
ต้น
2.3.2 Agitation ความวิตกกังวลที่ร่วมกับอาการกระวนกระวาย อยูไ่ ม่สุขอย่างมาก พบในโรคจิต
ทางอารมณ์ โรคลมชัก และโรคจิตเภท
2.3.3 Panic ความกัง วลอย่า งทัน ที สั ม พัน ธ์ ก ับ การท างานของระบบอัต โนมัติ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และ
ความรู ้สึกกลัวจะตาย
2.3.4 Apathy คือการไม่มีความรู ้สึก ไม่มีอารมณ์ ไม่มีความสนใจ พบบ่อยในโรคจิตเภท
2.3.5 Ambivalence อารมณ์ ตรงข้ามกันสองอย่างมีต่อสิ่ งเดี ยวกัน บุคคลเดี ยวกันในเวลาเดี ยวกัน
ได้แก่ อารมณ์ ท้ งั รักและเกลี ยดลู กในเวลาเดี ยวกัน พบบ่อยในโรคจิ ตเภทจะพูดจะไม่พูด จะกิ นจะไม่กิน
แสดงให้เห็นในการกระทาที่ลงั เลไปทุกอย่าง
2.3.6 La Bella Indifference เป็ นอารมณ์ ที่ไม่เอาใจใส่ และไม่สนใจต่อความผิดปกติของร่ างกาย
พบในผูป้ ่ วย conversion disorder
2.4 การเปลี่ยนแปลงทางสรี ระที่สัมพันธ์กบั อารมณ์ มักสัมพันธ์กบั อารมณ์เศร้า ได้แก่
2.4.1 Anorexia ความอยากอาหารน้อยลง
2.4.2 Insomnia นอนไม่หลับ
2.4.3 Hypersomnia นอนมากเกินไป
2.4.4 Libido ลดลง อารมณ์ทางเพศลดลง
2.4.5 Constipation ท้องผูก
3. ระบบสั่งการ (Motor Behavior) รวมเรื่ องของ impulse, แรงจูงใจปรารถนา,drives, สัญชาติญาณซึ่งแสดง
ออกเป็ นพฤติกรรมหรื อทางระบบสั่งการ
1. Echolalia พูดเลียนแบบคาพูดหรื อข้อความของผูอ้ ื่น เช่น แพทย์ถามว่า “ ไม่สบายมีอาการอย่างไร”
พบในโรคจิตเภทและโรคจิตที่เกิดจากสภาวะทางร่ างกาย
2. Echopraxia เลียนแบบการเคลื่อนไหวของผูอ้ ื่น เช่นเห็นเพื่อนถอดกระดุมเสื้ อก็ถอดบ้าง เห็นเพื่อน
เกาหลังก็เกาหลังบ้าง พบในโรคจิตเภทแบบ catatonia
3. Catatonia ความผิดปกติของระบบสั่งการในโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุจากร่ างกายแบ่งเป็ น
3.1 Catalepsy ( posturing ) อยู่ใ นท่ า ใดท่ า หนึ่ ง ของการเคลื่ อนไหวที่ ก าลัง กระท าอยู่โดยที่ ก าร
กระทานั้นยังไม่สิ้นสุ ดลง เช่น กาลังจะใส่ เสื้ อ แต่เกิ ดหยุดการเคลื่อนไหวเสี ยก่อนจึงคงค้างอยู่ในท่านั้นพบ
ได้ในผูป้ ่ วยโรคจิตเภท
3.2 Excited การเคลื่อนไหวอย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย และไม่สัมพันธ์กบั สิ่ งกระตุน้ ภายนอก พบได้ใน
ผูป้ ่ วยโรคจิตเภท
3.3 Stupor การเคลื่อนไหวช้ามาก จนถึ งหยุดการเคลื่ อนไหวและไม่สนใจสิ่ งแวดล้อม พบได้ใน
โรคจิตเภทและ major depression
3.4 Rigidity อยูใ่ นท่าเกร็ ง ถูกขยับก็ไม่เปลี่ยนท่า พบได้ในโรคจิตเภท
3.5 Cereaflexibilitas (Waxy Flexibility) ผูป้ ่ วยสามารถู กจัดให้อยู่ในท่าใดก็ได้เหมือนผูป้ ่ วยเป็ น
ขี้ผ้ งึ จัดให้อยูใ่ นท่าใดก็ได้ เช่น จับให้ผปู ้ ่ วยยกมือ ก็จะอยูใ่ นท่านั้นเป็ นเวลานาน พบในโรคจิตเภท
3.6 Negativism ต้านแรงที่จะมาทาให้เปลี่ยนท่าไปจากเดิม รวมทั้งคาสั่งคาแนะนา เช่น การจูงมือ
การบอกให้นงั่ และมีความโน้มเอียงจะทาตรงข้าม พบในโรคจิตเภท
4. Cataplexy เป็ นการหมดกาลังของกล้ามเนื้ อที่อยูใ่ นอานาจจิตใจลงอย่างกะทันหันจึงทาให้เข่าอ่อนลงและ
ขาพับลงทันที และไม่อาจเคลื่อนไหวร่ างกายได้ ทาให้คงอยูใ่ นสภาพนั้นเป็ นเวลาหลายวินาที หรื ออาจเป็ น
นาทีหรื อชัว่ โมง ซึ่ งในขณะที่เกิดอาหารนี้ สติสัมปชัญญะยังดีอยูห่ รื ออาจสู ญเสี ยไปได้ สาเหตุการถูกกระตุน้
ด้วยอารมณ์บางอย่าง
5.Stereotypy การกระทาหรื อคาพูดที่ซ้ า ๆ กัน เช่น การสะบัดมือซ้ า ๆ หรื อพูดว่า “ฉันชนะแล้ว” ซ้ า ๆ พับใน
โรคจิตเภท
6.Manerism เป็ น stereotyped involuntary movements แสดงในรู ป แบบของพฤติ ก รรมอย่า งใดอย่า งหนึ่ ง
อาการมักเกิดที่ใบหน้าและคอซึ่ งผูพ้ บเห็นจะรู ้สึกขัดตาหรื อไม่เข้าใจเป็ นลักษณะเฉพาะสาหรับผูป้ ่ วยแต่ละ
ราย เช่น การกระพริ บตาบ่อย ๆ การแยกเขี้ยวยิงฟัน พบในโรคจิตเภท
7.Automatism การกระท าโดยอัต โนมัติ เกิ ด จากแรงผลัก ดัน ของจิ ต ใต้ส านึ ก พบในโรคจิ ต เภท แบบ
catatonia
8.Mutism เป็ น voicelessness without structural abnormalities การไม่ พู ด พบในโรคจิ ต เภทแบบ catatonia
และสภาวะซึ มเศร้าอย่างรุ นแรง
9. Overactivity
9.1 Psychomotor Agitation เคลื่อนไหวมากสาเหตุจากความเครี ยดภายในกระสับกระส่ ายผุดลุกผุดนัง่
ไม่อยูน่ ิ่ง พบในโรคจิตทางอารมณ์และโรคจิตที่เกิดจากสภาวะทางร่ างกาย
9.2 Hyperactivity (hyperkinesis) กระสับกระส่ ายก้าวร้าว มีพฤติกรรมทาลายพบในเด็กที่มีความพิการ
ทางสมอง เด็ก จะไม่ ส ามารถควบคุ มความประพฤติ ไ ด้ จึ ง ทาให้เกิ ดอาการซุ ก ซนอย่า งมากวิ่งไปมา ไม่
สามารถจะอยูเ่ ฉยได้
9.3 Tic เป็ นการเคลื่อนไหวของระบบสั่งการที่ควบคุมไม่ได้ ( involuntary ) เป็ นการกระตุกซ้ าๆ มัก
เกิดกับร่ างกายส่ วนเล็ก ๆ เช่น มือ ใบหน้า สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากจิตใจ แต่อาจพบได้ในโรคสมองอักเสบ
อย่างเรื้ อรัง ( chronic encephalitis )
9.4 Sleepwalking ( somnambulism ) มี การเคลื่ อนไหวระหว่างการหลับ มักพบในเด็กและเพศชาย
การกระทาของเขาจะมีความหมายกับจิตไร้สานึ ก เช่น คนที่ติดแม่ อาจละเมอเดินไปที่เตียงซึ่ งแม่กาลังนอน
หลับอยู่ พบในโรคจิตเภท และคนที่มีบุคลิกภาพแบบ แยกตัว ( schizoid )
9.5 Compulsion ความปรารถนาที่จะทาอะไรซ้ า ๆ อย่างหักห้ามใจไม่ได้ ได้แก่
ก. Dipsomania ความปรารถนาที่จะดื่มเหล้าอีกอย่างหักห้ามใจไม่ได้
ข. Kleptomania ความปรารถนาที่จะขโมยอย่างหักห้ามใจไม่ได้
ค. Nymphomania ความต้องการที่จะร่ วมเพศอย่างหักห้ามใจไม่ได้ในผูห้ ญิง
ง. Satyriasis ความปรารถนาที่จะร่ วมเพศอย่างหักห้ามใจไม่ได้ในผูช้ าย
จ. Trichotillomania ความปรารถนาที่จะถอนผมตนเองอย่างหักห้ามใจไม่ได้
10. Hypoactivity (Hypokinesis) ลดการเคลื่อนไหว ความคิดและการพูดช้าลง พบในผูป้ ่ วย depression
4. ผิดปกติในความคิด (Thinking Disturbances )
4.1 ผิดปกติในรู ปแบบของความคิด (Distubbances in form of Thinking )
ก. Neurosis ความผิดปกติทางจิตที่ reality testing ยังดีอยูแ่ ละอาการที่เป็ น ego-distonic (ผูป้ ่ วยรู ้สึก
ไม่สบายใจกับอาการที่เป็ น) พฤติกรรมไม่ขดั กันค่านิยมของสังคม
ข. Psychosis มีความบกพร่ องของ reality testing สร้างโลกใหม่ของตนเอง
ค. Reality Testing : The objective evaluation and judgment of the world outside the self การ
ประเมินและตัดสิ นใจเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมรอบตัว
ง. Autistic Thinking ความคิดที่ทาให้สิ่งที่ไม่สมปรารถนาได้สมปรารถนา แต่ไม่อยูใ่ นโลกของ
ความจริ ง หมกมุ่นอยู่กบั โลกของตัวเอง ตัวอย่างเช่ นคิดว่าตนเองเป็ นเจ้าของมรกดพันล้าน ทั้งที่ความจริ ง
ข้าวสารจะกรอกหม้อยังไม่มี พบได้ในโรคจิตเภท
จ. Magical Thinking ความคิดที่ไม่มีเหตุผล คิดว่าเพียงแต่คิดก็ทาให้เกิดเหตุการณ์ข้ ึนได้อย่างเช่น
คิดว่าพ่อแม่จะถูกผูร้ ้ายฆ่าตาย ก็ตกใจมากเพราะคิดว่าจะเกิดขึ้นจริ ง จะป้ องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้โดยปิ ดประตู
9 ครั้ง เป็ นต้น ซึ่งพบในผูป้ ่ วย obsessive compulsive และในเด็กวัยก่อน 7 ขวบ
ฉ. Concrete Thinking ความคิดแบบรู ปธรรม เป็ นความคิดแบบแคบ ๆ คิ ดแต่เฉพาะบางแง่ของ
ความเป็ นจริ ง ตัวอย่างเช่ น ถามผูป้ ่ วยว่าแมวกับหนู เหมือนกันอย่างไรผูป้ ่ วยจะตอบว่ามีหางเหมือนกัน มีหู
เหมือนกัน ซึ่ งถ้าตอบแบบนามธรรม ( abstract thinking )จะต้องตอบว่าเป็ นสัตว์เหมือนกัน
ช. Abstract Thinking ความคิดแบบนามธรรม คิดกว้าง ๆ คิดหลายแง่หลายมุม เช่ น ส้มกับกล้วย
เหมือนกันอย่างไร จะตอบว่าเป็ นผลไม้เหมือนกัน
4.2 ผิดปกติในเนื้ อหาของความคิด ( Disturbance in Content of Thought ) ได้แก่ ความหลงผิดหรื อ
ความเชื่ อผิด ๆ ซึ่ ง ไม่เหมาะสมกับ ความรู ้ หรื อภู มิหลังทางวัฒนธรรม และไม่ส ามารถเปลี่ ยนแปลงด้วย
เหตุผลใด ๆ เรี ยกว่า Delusion
Bizarre Delusion ความเชื่ อที่ผิดและแปลก อย่างเช่นมนุ ษย์อวกาศได้มาใส่ เครื่ องดักฟั งเสี ยงไว้ใน
สมองผูป้ ่ วย
Systematized Delusion ความหลงผิดที่ เป็ นเนื้ อหาต่ อเนื่ องกันเป็ นระเบี ย บ เช่ น ถู ก ตามล่ า โดย
เจ้านาย ได้ข้ ึนแท็กซี่ ตามมาถึ งบ้าน จากนั้นให้ลูกน้องเดิ นวนเวียนอยู่รอบบ้าน และได้โทรศัพท์ขู่ว่าจะปา
ระเบิดเข้ามาด้วย พบใน schizophrenia แบบ paranoid type และ delusional disorder

Mood-Congruent Delusion ความหลงผิดที่เหมาะกับอารมณ์ อย่างเช่น ผูป้ ่ วยซึ มเศร้าเชื่อว่าเขาต้อง


รับผิดชอบต่อการเสี ยชีวติ ของเพื่อน

Mood-Incongruent Delusion ความหลงผิดที่เนื้อหาไม่สัมพันธ์กบั อารมณ์อย่างเช่น ผูป้ ่ วยซึ มเศร้า


คิดว่าตนเองเป็ นรัชกาลที่หา้ กลับชาติมาเกิด

Nihilistic Delusion ความรู ้สึกว่าตนเอง คนอื่น ๆ หรื อโลก ไม่มีตวั ตนได้สลายไปแล้วพบในผูป้ ่ วย


ซึมเศร้า

Delusion of Poverty ความหลงผิดว่าตนเองยากจนมาก พบในผูป้ ่ วยซึ มเศร้า

Somatic Delusion : ความหลงผิดเกี่ ยวกับอวัยวะในร่ างกาย เช่ น เชื่ อว่าสมองได้หลอมเหลวไป


หมดแล้ว พบในโรคจิตเภท

Paranoid Delusions การไม่วางใจบุ คคลหรื อสิ่ งแวดล้อมรอบกายมากเกิ นไป อันนาไปสู่ ความ


หลงผิ ด ว่ า ตนถู ก แกล้ ง หรื อถู ก ปองร้ า ย ที่ เ รี ยกว่ า delusion of persecution พบในผู ้ป่ วย schizophrenia
paranoid type และ delusional disorder.
Delusion of Grandeur หลงผิดว่าตนเองมีความสาคัญ อานาจ มากเกิ นความจริ ง เช่ น หลงผิดว่า
ตนเองสามารถติดต่อกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ บุคคลสาคัญ หรื อเชื้อพระวงศ์ได้พบบ่อยใน mania และโรคจิตเภท

Delusion of Reference หลงผิดว่า พฤติ ก รรมของคนอื่ นมี ค วามหมายถึ ง ตนเอง เหตุ ก ารณ์ หรื อ
สิ่ งแวดล้อมมีความหมายถึงตนเอง อย่างเช่น ดูทีวี หรื อฟั งวิทยุ ก็หลงผิดว่าเขาเอาเรื่ องของตนเองไปเล่นเป็ น
ละครออกที วีหรื อ วิท ยุ เวลาเดิ น ไปตามท้องถนนเห็ น คนจับ กลุ่ ม คุ ย ถึ ง เรื่ อ งของตนเองต่ า งจาก idea of
reference ที่มีความ fix กว่า พบในโรคจิตเภท

Delusion of Self-Accusation หลงผิดเกี่ยวกับการตาหนิ เอง เช่ น หลงผิดว่าตนเองไม่ดี ชัว่ ร้ าย ทา


ให้มารดาเสี ยชีวติ ทั้ง ๆ ที่มารดาเสี ยชีวติ จากโรคมะเร็ ง พบในโรคซึ มเศร้า

Delusion of Being Control หลงผิดว่าตนเองถู กควบคุ มในเรื่ องของความคิดจากการกระทาจาก


อานาจภายนอก ได้แก่

1. Thought withdrawal หลงผิดว่าความคิดของตนถูกดึงออกไปโดยผูอ้ ื่นหรื ออานาจภายนอก

2. Thought insertion หลงผิดว่าผูอ้ ื่นหรื ออานาจภายนอกได้ใส่ ความคิดให้ตนเอง

3. Thought broadcasting หลงผิดว่าความคิดของตนเองได้แพร่ กระจายออกไปคนอื่น

ล่วงรู ้ความคิดหมด

Delusion of Infidelity ( delusion jealousy ) หลงผิดว่าสามีหรื อภรรยานอกใจ

Erotomania หลงผิดว่าถู กหลงรักโดยมากเกิ ดในผูห


้ ญิงว่ามีผูช้ ายมาหลงรักที่เรี ยกอีกแบบหนึ่ งว่า
clerembault ‘ s syndrome

Hypochondriacal delusion หลงผิดว่าตนเองมีโรคภัยร้ายแรง พบในโรคซึมเศร้าโรคจิตเภท


Infuential idea ความคิ ดว่าบุคคลสามารถควบคุ มความคิ ดหรื อพฤติ กรรมของอี กบุคคลหนึ่ งได้
แบ่งเป็ น 2 แบบ
1. Idea of active influence คิดว่าตนเองสามารถควบคุมความคิดหรื อพฤติกรรมของคนอื่นได้
2. Idea of passive influence ( or being influence ) เชื่ อ ว่ า ตนถู ก ผู ้อื่ น ควบคุ ม ความคิ ด และ
พฤติกรรม
Delusion of sin&guilt หลงผิดว่าตนเองทาบาปทากรรมไว้ ทาความชัว่ ไว้ จนให้อภัยไม่ได้ พบใน
โรคซึมเศร้า
4.3 ผิดปกติในการควบคุมความคิด ได้แก่

Obsession ความคิด ความรู ้สึก หรื อแรงผลักดัน ซึ่ งเกิ ดซ้ า ๆ ตลอดเวลาโดยไม่สามารถต้านทาน
ได้ ผูป้ ่ วยจะย้าคิดอยูใ่ นเรื่ องหนึ่งทั้ง ๆ ที่ไม่ตอ้ งการจะคิด แต่ไม่สามารถบังคับได้ หรื อไม่สามารถใช้เหตุผล
อื่น ๆ มาช่วยไม่ให้คิดได้ พบในโรคประสาทย้าคิดย้าทา (obsessive compulsive disorders) และโรคจิตเภท

Flight of ideas ผูป้ ่ วยมีความคิดหลายอย่างเกิดขึ้นรวดเร็ ว อาจจะสัมพันธ์กบั สิ่ งเร้าภายนอกหรื อไม่


ก็ได้ ผูป้ ่ วยจะแสดงออกโดยการพูดมากและเร็ ว จนพูดเรื่ องหนึ่ งยังไม่ทนั จบก็พูดต่ อไปอี ก เรื่ องหนึ่ งถ้า
เป็ นมาก ๆ กระแสคาพูดอาจจะแตกแยกไม่สอดคล้องกัน ฟังแล้วไม่เข้าใจ ไม่รู้เรื่ อง มักพบใน mania

Thought blocking หมายถึงความคิดหยุดชะงักในทันทีทนั ใด เมื่อเริ่ มคิดใหม่แทนที่จะคิดเรื่ องเดิม


กลับคิดเรื่ องอื่น พบในโรคจิตเภท

Loosening of association ความคิดซึ่ งแสดงออก โดยกระแสคาพูดเปลี่ยนจากเรื่ องหนึ่ งไปยังอีก


เรื่ องหนึ่ งโดยไม่มีความเกี่ ยวเนื่ องหรื อสัมพันธ์กนั เลย หรื อเพียงแต่เกี่ ยวข้องกันอย่างหลวม ๆ กับความคิด
อันแรก โดยที่ผพู ้ ูดเองก็ไม่รู้ตวั ว่าหัวข้อเรื่ องที่พูดนั้น ไม่เกี่ยวเนื่ องกัน เป็ นมาก ๆ อาจกลายเป็ น incoherence
ตัวอย่างเช่น : ผูส้ ัมภาษณ์ถาม “คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับการลักลอบตัดไม้ทาลายป่ า”ผูป้ ่ วยตอบ “ผู ้
สึ กไม่พอใจอย่างยิง่ แต่เรื่ องนี้ก็เป็ นเรื่ องที่ไม่ค่อยมีใครรู ้กนั คนอื่น ๆ ถ้ารู ้เข้าก็คงจะไม่พอใจเหมือนผม เท่าที่
ผมนึกออกคงจะเป็ นนายแดงที่มีส่วนในการกระทา นายแดงกาลังทาความสะอาดห้องน้ าของตึกรัฐสภากาลัง
จะทาสี ใหม่และซ่ อมแซมให้ดีข้ ึน ดังนั้นจึงได้จดั งานเลี้ยงสังสรรค์ในระหว่างญาติ ในขณะกินอาหารผมเพิ่ม
นึ กออกว่า ผมแกล้งทาเป็ นไม่รู้เรื่ องต่าง ๆ ที่เกิ ดขึ้น ผมจึงลื่นหกล้มลงบนพื้นห้องครัว นิ้ วหัวแม่เท้าหักใน
ขณะที่ผมกาลังสอนเด็ก ๆ หัดกระโดดนั้น”
Loosening of association พบได้ในโรค schizophrenia, mania และ psychosis แบบอื่น ๆ

Phobia ความกลัวอย่างต่อเนื่ อง ไม่มีเหตุผลต่อวัตถุหรื อสถานการณ์ บางอย่าง ผลเกิดพฤติกรรม


หลีกเลี่ยงสิ่ งนั้นพบในโรคประสาทแบบหวาดกลัว ได้แก่

Acrophobia กลัวความสู ง

Agoraphobia กลัวที่โล่ง ที่แจ้ง

Algophobiaกลัวความเจ็บปวด

Claustrophobia กลัวที่แคบ หรื อที่ปิดมิดชิด

Xenophobia กลัวคนแปลกหน้า

Zoophobia กลัวสัตว์

5.ผิดปกติในการรับรู ้ (Perceptual Disturbance )

Perception เป็ นขบวนการเปลี่ยนสิ่ งที่มากระตุน้ ทางร่ างกายให้มีความหมายขึ้นมา แบ่งเป็ น

5.1 ความผิดปกติที่รวมกับโรคทางสมอง ได้แก่ agnosiaการไม่สามารถจาได้หรื อแปลความหมายของ


สิ่ งที่มากระตุน้ ระบบรับความรู ้สึกได้

5.1.1 Anosognosia การปฏิเสธไม่ยอมรับว่าตนเองเจ็บป่ วย

5.1.2 Autopagnosia การปฏิเสธไม่ยอมรับส่ วนของร่ างกาย

5.1.3 Visual Agnosia ไม่สามารถจาวัตถุหรื อสิ่ งของได้

5.1.4 Astereognosia ไม่สามารถจาวัตถุได้โดยการสัมผัส

5.1.5 Prosopagnosia ไม่สามารถจาใบหน้าได้


5.2 ความผิดปกติร่วมกับ conversion และ dissociative phenomenon หมายถึง เมื่อคนบางคนมีความ
ขัดแย้งในจิตใจ อาจจะใช้กลไกป้ องกันของจิตชนิ ด conversion ทาให้เกิ ดอาการทางร่ างกายที่เกี่ ยวข้องกับ
กล้ามเนื้อที่อยูใ่ ต้อานาจจิตใจ ประสาทสัมผัสและอวัยวะรับความรู ้สึกเฉพาะ ( organ of special sense ) ได้แก่

5.2.1 Hysterical Anesthesia การสู ญเสี ยความรู ้สึกสัมผัส ซึ่ งเป็ นผลจากข้อขัดแย้งภายในจิตใจ เช่น
การชาบริ เวณ ขนขาหรื อลาตัวเป็ นต้น

5.2.2 Micropsia การเห็นวัตถุเล็กกว่าความเป็ นจริ ง

5.2.3 Macropsia การเห็ นวัต ถุ ใ หญ่ ก ว่า ความเป็ นจริ ง ( ทั้ง micropsia และ macropsiaมี ส าเหตุ
ทางด้านร่ ายกาย ได้แก่ complex partial seizure )

5.2.4 Depersonalization รู ้สึกว่าตนเองแปลกไปไม่เหมือนเดิม เช่น แขนขายาวออกไปกว่าเดิม

5.2.5 Derealization ความรู ้สึกว่าสิ่ งแวดล้อมแปลกไป

5.2.6 Fugue มีบทบาทและเอกลักษณ์ประจาตัวที่เปลี่ยนไป ลืมบทบาทและเอกลักษณ์ประจาตัว


เดิม มักจะเกิดร่ วมกับการเดินทางไปยังสิ่ งแวดล้อมใหม่

5.2.7 Multiple Personality บุคคลเดิมแต่เมื่อต่างเวลากันมีบุคลิกภาพต่าง ๆ กัน

5.3 Halluoination เป็ นการรับรู ้ ความรู ้ สึกต่าง ๆ โดยไม่มีสิ่งเร้ า เช่ น การได้ยินเสี ยงโดยไม่มีคนพูด
หรื อเห็นภาพโดยไม่มีตวั ตนจริ ง ๆ ได้แก่

5.3.1 Hypnagogic Hallucination ประสาทหลอนขณะก าลัง เคลิ้ ม ๆ จะหลับ เช่ น กาลังจะเคลิ้ ม


หลับมองเห็นภาพผี หรื อได้ยนิ เสี ยงคนพูด

5.3.2 Hypnapompic Hallucination ประสาทหลอนขณะใกล้ตื่น ประสาทหลอนทั้งสองอย่างนี้ มกั


เกิดในคนปกติได้

5.3.3 Auditory Hallucination ประสาทหลอนทางการได้ยิน เป็ นเสี ยงคนพูดหรื อเป็ นเสี ยงต่าง ๆ
อย่างเช่น ดนตรี พบในโรคจิตที่มีสาเหตุจากจิตใจ และโรคจิตที่มีสาเหตุทางร่ างกาย

5.3.4 Visual Hallucination ประสาทหลอนทางตา ประกอบด้ว ย formed images เช่ น คน และ


unformed image ได้แก่ แสงสว่าง
5.3.5 Olfactory Hallucination ประสาทหลอนโดยได้กลิ่ นแปลก ๆ พบในโรคจิ ตที่ มีสาเหตุ ทาง
ร่ ายกายเป็ นส่ วนใหญ่ เช่น complex partial seizure
5.3.6 Gustatory Hallucination ประสาทหลอนทางรส รู ้ สึกมีรสทั้ง ๆที่ไม่ได้ทานอาหารประเภท
นั้น
5.3.7 Tactile ( haptic ) Hallucination ประสาทหลอนทางผิวสัมผัส เช่น บริ เวณแขนขาที่ถูกตัด
(phantom limb ) รู ้สึกเหมือนมีอะไรไต่ใต้ผวิ หนัง(formicstion)
5.3.8 Somatic Hallucination ประสาทหลอนเกี่ยวกับร่ างกาย บ่อย ๆ เป็ นกับอวัยวะภายในร่ างกาย
ตัวอย่างเช่น รู ้สึกว่ามีตวั อะไรไม่รู้อยูใ่ นมดลูก
5.3.9 Llilliputian Hallucination ประสาทหลอนเห็นวัตถุหรื อสิ่ งรอบตัวมีขนาดเล็กลง

5.3.10 Mood – Congruent Hallucination ประสาทหลอนซึ่ งสอดคล้อ งกับ อารมณ์ เช่ น ผู ป้ ่ วย


ซึมเศร้าจะได้ยนิ เป็ นเสี ยง บอกผูป้ ่ วยว่าเขาเป็ นคนเลว ส่ วนผูป้ ่ วย mania ได้ยินเสี ยงบอกผูป้ ่ วยว่า เขาเก่งมาก
มีความรู ้ และมีอานาจมาก

5.3.11 Hallucinosis ประสาทหลอน บ่อย ๆ ทางเสี ยง สัมพันธ์กบั ภาวะติดสุ ราเรื้ อรังและเกิ ดใน
ขณะที่ sensorium ดี

5.4 Illusion การรับรู ้ สิ่งที่ มากระตุน้ ผิดไปจากความจริ ง เช่ น เห็ นต้นไม้เป็ นเปรต เห็ นสุ นัขเป็ นหมู
เป็ นต้น พบบ่อยในช่วง delirium และในคนที่มีความคิดหวาดระแวง

6. ผิดปกติในการพูด ( Disturbances of Speech )

6.1 Pressure of Speech พูดเร็ ว และพูดมากยากที่จะขัดจังหวะ พบบ่อยในโรค mania

6.2 Poverty of Speech พูดน้อย และเสี ยงมักเป็ น tone เดียว ไม่มีสูง ต่า

6.3 Motor Aphasiaไม่สามารถพูดได้แต่ฟังเข้าใจ อีกชื่อหนึ่งว่า broca aphasiaหรื อ expressive aphasia

6.4 Sensory Aphasia การเสี ยความสามารถในการเข้าใจภาษาพูด หรื อภาษาเขียน แต่ยงั พูดได้ เรี ยกอีก
ชื่อว่า Wernike’s fluent หรื อ receptive aphasia
6.5 Nominal aphasia มีค วามยากล าบากในการเรี ย กชื่ อวัตถุ พบในคนที่ มี lesion ระหว่า ง angular
gyus และ temperal gyrus

6.6 Syntactical aphasia ไม่สามารถเรี ยงลาดับคาในลาดับที่เหมาะสม เนื่ องจากมีความสับสนในคา


และไวยากรณ์ต่าง ๆ เป็ นผลจาก lesion ที่ tempero – parietal ข้างซ้าย

6.7 Incoherence กระแสคาพูดที่พูดออกมา ส่ วนมากฟังไม่ค่อยรู ้เรื่ องหรื อไม่ค่อยเข้าใจ ซึ่ งเป็ นเพราะ
เหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่ งต่อไปนี้ ขาดความเชื่ อมโยงที่มีเหตุผลหรื อมีความหมายระหว่างคา ระหว่างวลี หรื อ
ระหว่างประโยค ใช้คาพูดแปลก ๆ ใช้ไวยากรณ์ ที่ผิด ๆ ตัวอย่างเช่ น แพทย์ถาม “หนู ไม่สบายเป็ นอะไร”
คนไข้ตอบ “หนู ปวดท้อง เขาคิด เขาทา มีเขาก็คงตอบน้องเรื่ องตั้งแต่ยงั ไงเล็ก ๆ นะ เหมือนอยูใ่ นเตาไฟด้วย
แสบกันเองซี่ กลัวจังเลย เก้าอี้อยูก่ รุ งเทพ” พบในโรคจิตเภท โรคจิตทางอารมณ์ และโรคจิตที่เกิดจากสภาวะ
ทางร่ างกาย

6.8 Irrelevance การตอบไม่ตรงคาถาม อย่างเช่ น ถามว่า ไม่สบายเป็ นอะไรมา ผูป้ ่ วยตอบว่าเมื่อวาน


ไปเที่ยวเขาดินมา

6.9 Neologism เป็ นคาพูดซึ่ งผูป้ ่ วยคิดขึ้นมาเอง ไม่มีใช้ในภาษาพูดของเรา เป็ นคาพูดที่มีความหมาย


เฉพาะพิเศษสาหรับผูป้ ่ วยคนเดียว เช่น ชาแฟ หมายถึง น้ าชาปนกาแฟ

6.10 Perseveration การพูดซ้ าๆ อยูท่ ี่คาเดิม แม้วา่ เรื่ องที่สนทนากันหรื อคาถามจะเปลี่ยนแปลงไปแล้ว

6.11 Circumstantiality การพูด อ้อมค้อม กว่าจะถึ งจุดที่ตอ้ งการก็ใช้เวลานาน เพราะให้รายละเอียด


มากเกินไป พบในโรคจิตเภทแบบเรื้ อรัง โรคปั ญญาอ่อน หรื อโรคจิต ที่เกิดจากสภาวะทางร่ ายกาย

6.12 Tangentiality ความไม่สามารถจะพูดได้ตรงจุดที่ตอ้ งการได้

6.13 Echolalia การพูดเลี ยนคาพูดของคนอื่น เช่ น แพทย์ถามว่า “เมื่อวานนอนหลับหรื อไม่” ผูป้ ่ วย


ตอบว่า “เมื่อวานนอนหลับหรื อไม่” แพทย์ถามว่า “ทานข้าวได้หรื อไม่” ผูป้ ่ วยตอบว่า “ทานข้าวได้หรื อไม่”
พบในโรคจิตเภท โรคจิตที่เกิดจากสภาวะทางร่ ายกาย โรคปั ญญาอ่อน

7. ผิดปกติในความจา (Disturbance of Memory )


7.1 amnesia การไม่สามารถจาเหตุการณ์ ที่ผ่านมาได้ท้ งั หมดหรื อบางส่ วน มีสาเหตุจากทางร่ างกาย
หรื อทางอารมณ์ เป็ นต้น

ก. Organic Amnesia การลืมที่เกิดจากสาเหตุทางร่ างกาย มีความผิดปกติทางสรี รวิทยาของสมอง พบ


ในผูป้ ่ วยโรคลมชัก หรื อผูป้ ่ วยที่มี head injury

ข. Psychogenic Amnesia การลืมที่เกี่ยวข้องกับการกระทบกระเทือนทางจิตใจ เช่น การสู ญเสี ยบุคคล


หรื อสิ่ งของอันเป็ นที่รัก มักจะลืมเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวข้องกับความสะเทือนใจนั้น

7.2 Paramnesia ความจาที่มีการบิดเบือนไป ที่รู้จกั กันแบ่งหลาย คือ

Confabulation คือการที่ผูป้ ่ วยลื มเหตุการณ์ ช่วงหนึ่ งไป แต่ได้เติมเหตุการณ์ ลงไปโดยไม่เป็ นความ


จริ ง และผูป้ ่ วยไม่ได้ต้ งั ใจจะโกหก พบในโรคซิ ฟิลิสขึ้นสมอง และ korsakoff syndrome

7.3 Deja vu รู ้สึกคุน้ เคยสถานที่ที่ไม่เคยพบมาก่อน

7.4 Jamai vu เป็ นความรู ้สึกต่อสถานที่ที่เคยไป เคยอยูแ่ ล้วว่าไม่เคยอยู่ ทั้ง deja vu และ jamai vu พบ
ได้ในคนปกติที่อยูใ่ นภาวะเหนื่อยล้า โรคจิตเภท, โรคของสมอง หรื อในโรคฮิสทีเรี ย

7.5 Hypermnesia คือความจาที่แม่นยา และชัดเจนผิดปกติ หรื อความสามารถจดจาสิ่ งประทับใจซึ่ ง


เกิดขึ้นนานและน่าจะลืมแล้ว พบในคนปกติ โรคจิตทางอารมณ์และสภาวะระแวง

8. ผิดปกติในเชาว์ปัญญา (Disorders of Intelligence )

8.1 Mental Retardation ระดับเชาว์ปัญญาที่ ต่ ากว่าปกติ ทาให้การเรี ยนรู ้ การปรั บตัวต่อสังคมและ


ความเป็ นผูใ้ หญ่เสี ยไป ผูป้ ่ วยจะมีความผิดปกติในอารมณ์ร่วมด้วย ความรุ นแรงของปั ญญาอ่อนวัดเป็ น IQ

8.2 Dementia การเลื่อมของเชาว์ปัญญาในทุกด้าน จากเดิ มซึ่ งเคยปกติมาก่อน สาเหตุจากทางร่ างกาย


พบในโรคจิตที่เกิดจากสภาวะทางร่ างกาย

9.Insight ความสามารถของผูป้ ่ วยในการเข้าใจสาเหตุและความหมายของสถานการณ์ที่เป็ นอยู่ แบ่งเป็ น


9.1 Intellectual Insight ยอมรั บ ว่า ป่ วย เนื่ องจากความปิ ดปกติ ท างจิ ตใจ แต่ ไ ม่คิ ดจะเปลี่ ย นแปลง
แก้ไข
9.2 True Insight ยอมรับว่าป่ วย เนื่ องจากความผิดปกติในความรู ้สึกและจิตใจ และพร้ อมที่จะแก้ไข
ให้กลับคืนสู่ ลกั ษณะปกติในอนาคต
9.3 Impaired Insight ไม่ยอมรับว่าตนเองป่ วย

เอกสารอ้างอิง
1. American Psychiatric Association. Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder. 5th ed.
Washington DC : American Psychiatric Association, 2013:189-233.
2. Kaplan HI,Sadock BJ,Grebb JA,ed.Synopsis of psychiatry.11 th ed.Baltimore:
William&Wilkins,2015:387-426

You might also like