You are on page 1of 31

พัฒนาการ

อารมณ์และจิตใจ

ผูส้ อนอาจารย์พชั รี เขตต์จะโป๊ะ 1


อารมณ์ เป็ นสภาวะทางด้ านจิตใจที่เกิดขึ้น เนื่องจากได้ รับ การกระตุ้นจากสิ่งเร้ า
ภายในร่างกาย เช่น แรงขับ หรือสิ่งเร้ าภายนอก เช่น ความร้ อนหนาว ฯลฯ เมื่อได้ รับ
สิ่งเร้ าทั้ง ภายในและภายนอกจะทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้ าน ร่างกายและจิตใจ
อารมณ์ เป็ นปรากฏการณ์ท่เี กิดจากกระบวนการทางด้ าน จิตใจ ทําให้ มนุษย์มีการรับ
รู้ตามสภาพแวดล้ อมที่ปรากฏขึ้นจริง

2
องค์ประกอบของกระบวนการทางจิตใจ แบ่งออกเป็ น 3 ขั้น คือ
1.ขั้นการรับรู้
2.ขั้นความรู้สกึ หรืออารมณ์
3.ขั้นแนวโน้ มของการแสดงพฤติกรรม
ซึ่งกระบวนการทางจิตเหล่านี้จะเกิดขึ้นตามขั้น
ตอน จะไม่มีการข้ ามขั้นตอนแต่อย่างใด นัก
จิตวิทยา ได้ พยายามสังเกตศึกษาลักษณะของ
อารมณ์พบว่า อารมณ์เป็ นสภาวะที่ไม่คงที่ ซึ่ง
มีลักษณะสำคัญ 4 ประการ คือ

3
1.อารมณ์เป็ นประสบการณ์ความรู้สึกส่วนบุคคล โดยแต่ละคนจะมี
ประสบการณ์ทางอารมณ์แตกต่างกันไปตามนิสัย ค่านิยม ความเชื่อหรือสิ่ง
อื่นๆ
2.อารมณ์เป็ นความรู้สึกที่รุนแรงและมีการแสดงออกที่แตกต่างออกไปจาก
การกระทำแบบปกติ
3.อารมณ์มีความซับซ้อนกว่าความรู้สึกอื่นๆโดยบุคคลจะมีการประเมินหรือ
แปลความหมายของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องแล้วจึงจะเกิดอารมณ์นน ั้ ๆ
4.อารมณ์จะเกิดร่วมกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกาย
“อารมณ์” เป็ นประสบการณ์ท่บี ุคคลรู้สกึ
ได้ ทนั ทีท่เี กิดขึ้นกับตน ทำให้ เกิดการประเมิน
สถานการณ์ พร้ อมกันนั้นก็มีการแสดงออก
ทางปฏิกริ ิยาตอบสนองทางสรีระ ปฏิกริ ิยา
ตอบสนองนี้อาจเป็ นปฏิกริ ิยาสะท้ อนตาม
ธรรมชาติ หรือเป็ นกิริยาอาการที่เกิดจากการ
เรียนรู้กไ็ ด้
4
อารมณ์มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์ โดยเฉพาะเกี่ยวกับ
การปรับตัว ทำให้ การดำเนินชีวิตมีความหมายแตกต่างไปจากเครื่องจักร เราใช้
อารมณ์เป็ นเครื่องบ่งชี้ความรู้สกึ นึกคิด ช่วยให้ เราเรียนรู้ท่ีจะรู้จักตนเองและผู้อ่นื เป็ น
แรงผลักดันหรือแรงจูงใจทำให้ เกิดความกระตือรือร้ นมีชีวิตชีวา ทำให้ มีมนุษยสัมพันธ์
ที่ดี ให้ การช่วยเหลือผู้อ่นื เป็ นสัญญาณเตือนภัยให้ ร้ จู ักการต่อสู้ การเอาตัวรอด
และการแสดงออกทางอารมณ์ยังสามารถบ่งบอกถึงสุขภาพจิตของบุคคลได้ อกี ด้ วย

5
การเกิดอารมณ์
สรีรวิทยาของการเกิดอารมณ์ จากการศึกษาเมื่อเกิดอารมณ์แล้ วจะมีการ
เปลี่ยนแปลงของคลื่นสมอง เช่น ถ้ ามีความเครียด จะทำให้ ระดับฮอร์โมนบางชนิดในสมอง
ลดตํ่าลง เป็ นผลให้ การเคลื่อนไหวของร่างกายช้ าลงและเกิดอารมณ์เศร้ า

ศูนย์กลางของการเกิดอารมณ์ อยู่ท่กี าร
ทำงานของระบบประสาทลิมบิก(Linbic
System) โดยมีศูนย์กลางอยู่ท่สี มองส่วน
ไฮโปธาลามัส ซึ่งเกี่ยวข้ องกับการทำงานของ
ระบบต่อมไร้ ท่อ และระบบประสาทอัตโนมัติ
ถ้ าสมองส่วนไฮโปธาลามัสถูกกระตุ้นจะทำให้
เกิดอาการคลั่ง ดุ อาละวาดแต่ถ้าถูกทำลาย
จะเกิดอาการสงบเฉย
6
การเกิดอารมณ์
• โอลล์และมิลเนอร์(Old and Milner) ได้ ท ำการ
ทดลองกระตุ้นสมองส่วนไฮโปธามัสของแมว โดยปราศจาก
สิ่งเร้ าภายนอกอื่นใด พบว่า แมวจะแสดงอาการแยกเขี้ยว
คำราม ตัวโก่ง และทำท่าดุร้าย ทั้งนี้เพราะสมองส่วนไฮโปธา
ลามัสนี้ถ้าถูกกระตุ้นจะทำให้ เกิดอาการคลั่ง ดุร้าย และ
อาละวาดนั่นเอง เดลกาโด(Delgado) ได้ ทดลองใช้ ข้วั
ไฟฟ้ ากระตุ้นตามส่วนต่างๆ ของระบบประสาท ลิมบิก พบ
ว่า ถ้ ากระตุ้นส่วนหลังของไฮโปธาลามัสจะทำให้ เกิดอารมณ์
พอใจอย่างมาก โดยเขาเชื่อว่า สมองของคนเราส่วนใหญ่ 6
0% มีความเป็ นกลางไม่รับรู้ความพอใจและความเจ็บปวด
ใดๆอีก 35% เป็ นส่วนที่รับรู้ความพอใจและอีก 5 %
เป็ นส่วนที่รับรู้ความเจ็บปวด

7
• สรีรวิทยาของการเกิดอารมณ์ จะเป็ นลักษณะที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิดและเป็ น
ธรรมชาติ โดยปฏิกริ ิยาโต้ ตอบสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาของบุคคล ได้ แก่ การตึงเครียดของ
กล้ ามเนื้อ หัวใจเต้ นแรง ถูกกระตุ้นได้ ง่าย ปากคอแห้ ง เหงื่อออก กระเพาะอาหาร
บีบรัดตัว ปัสสาวะบ่อย ตัวสั่น กระสับกระส่าย ทนเสียงรบกวนไม่ได้ ฯลฯ ซึ่งจะเป็ น
อาการที่ปรากฏทั่วไปเป็ นสากลและมีอยู่ตลอดเวลา เพราะมีสาเหตุมาจากการทำงาน
ของระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งมี 2 ชนิด คือ
1.ซิมพาเธติก ซึ่งจะเตรียมและกระตุ้นการทำงานของร่างกายในภาวะฉุกเฉินให้ ส้ หู รือหนี
2.พาราซิมพาเธติก ซึ่งจะทำให้ ร่างกายอยู่ในภาวะสงบ ช่วยให้ คนหรือสัตว์มีชีวิตรอด

8
• อัลเบิรต์ แอ็กซ์(Albert Ax) เป็ นนักจิตวิทยาที่ได้ ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างการเกิดอารมณ์กบั การเปลี่ยนแปลงทางสรีระและพฤติกรรม พบว่า
ในบรรดาอารมณ์ท้งั หลาย อารมณ์ที่จัดว่าสามารถก่อให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีระได้ มากที่สดุ คือ อารมณ์กลัวและอารมณ์โกรธ

9
อัลเบิรต์ แอ็กซ์ ได้ ท ำการทดลองว่า ความกลัวกับความโกรธจะมีการตอบ
สนองทางด้ านสรีระแตกต่างกันอย่างไร และเขาก็สรุปว่า
อารมณ์กลัว จะทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง อารมณ์โกรธ จะก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
ตามบริเวณต่างๆ 3 แห่ง คือ
1.หัวใจจะเต้ นช้ าลง
1.การหายใจจะถี่ข้ นึ
2.ความต้ านทานกระแสไฟฟ้ าที่ผวิ หนัง
2.ความต้ านทานกระแสไฟฟ้ าที่ผวิ หนัง
ตรงบริเวณมือจะสูงขึ้น
(GSR) ตรงบริเวณมือจะลดลง
3.มีความตึงเครียดของกล้ ามเนื้อสูง 3.กล้ า มเนื
้ อ มี ค วามตึ ง เครี ย ดสู
ง ความดั น
มาก โลหิตเพิ่มขึ้น

อารมณ์หวาดกลัวหรือตกใจกลัว จะก่อให้ เกิดการหลั่งฮอร์โมนแอดรีนาลิน(Adrenalin)จากต่อมหมวกไต


ส่วนอารมณ์โกรธจะก่อให้ เกิดการหลั่งฮอร์โมนนอร์ แอดรีนาลิน (Noradrenalin) ส่วนอารมณ์อ่นื ๆ
นักจิตวิทยายังไม่สามารถระบุแบบแผนที่แน่นอนของการเปลี่ยนแปลงทางสรีระได้
10
แรงจูงใจกับแรงขับ
• ความเข้ าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อตกใจกลัว จะนำไปสู่ความเข้ าใจใน
เรื่องแรงจูงใจกับแรงขับ คือ เมื่อบุคคลได้ รับสิ่งเร้ าจากภายนอกที่ท ำให้ ตกใจกลัว
แล้ วก็จะเกิดความต้ องการปกป้ องตนเองหรือหลีกหนี จากนั้นจะก่อให้ เกิดแรงขับที่
ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาพที่ไม่สมดุล เช่น หัวใจเต้ นถี่ข้ นึ มีความตึงเครียดของกล้ าม
เนื้อสูงมาก และเหงื่อออกมาก ฯลฯ ซึ่งผลของแรงขับดังกล่าวจะผลักดันให้ คนเรา
เกิดแรงจูงใจและพฤติกรรมการตอบสนองไปตามการเรียนรู้หรือประสบการณ์ของ
แต่ละคน เช่น อาจวิ่งหนี หรืออาจร้ องตะโกนให้ ผ้ ูอ่นื ช่วยเหลือ

11
จากความรู้เรื่องสรีระของอารมณ์น้ เี องจึงได้ มีผ้ ูประดิษฐ์ เครือ่ งมือจับเท็จ เรียกว่า โพลี
กราฟ (Polygraph)ขึ้น ซึ่งจะทำการบันทึกการวัดอัตราการเต้ นของหัวใจ ความดันโลหิต
อัตราการหายใจและแรงต้ านทานกระแสไฟฟ้ าบนมือ(Galvanic Skin Respond :
GSR) แต่การใช้ เครื่องมือต้ องใช้ อย่างระมัดระวัง เพราะมันจะใช้ ไม่ได้ ผลกับผู้ท่ใี ช้ ยากล่อม
ประสาท

12
ทฤษฎีทีอ่ ธิบายเกีย่ วกับการเกิดอารมณ์
ทฤษฎีของเจมส์-แลง(James-Lang Theory) โดยวิลเลียม เจมส์(William
James) นักจิตวิทยาชาวอเมริกนั กล่าวว่า “ร่างกายของคนเราจะต้ องแสดงปฏิกริ ิยาโต้ ตอบเป็ น
อันดับแรกก่อน แล้ วอารมณ์จึงจะเกิดตามมา” ซึ่งเป็ นแนวคิดที่ตรงกับความคิดเห็นของคาร์ล แลง
(Carl Lang) นักจิตวิทยาชาวเดนมาร์กที่เชื่อว่า ประสบการณ์ทางอารมณ์เป็ นผลมาจากการ
รับรู้การเปลี่ยนแปลงทางด้ านร่างกาย ดังนั้นแนวความคิดของทั้ง 2 คน
ทฤษฎีของแคนนอน-บาร์ด(Cannon-Bard Theory) โดยวอลเตอร์ แคน
นอน(Walter Cannon) ไม่เห็นด้ วยกับทฤษฎีของเจมส์-แลง จึงได้ คิดทฤษฎีข้ นึ มาใหม่ และ
ต่อมาฟิ ลลิป บาร์ด (Phillip Bard) ก็ได้ นำมาดัดแปลง โดยทฤษฎีน้ เี ชื่อว่า การเกิดอารมณ์
และการตอบสนองหรือการเปลีย่ นแปลงทางร่างกายจะเกิดขึ้ นพร้อมกัน กล่าวคือ เมื่อบุคคล
เผชิญหน้ ากับสิ่งเร้ า แรงกระตุ้นจากประสาทสัมผัสจะถูกส่งต่อไปยังสมองส่วนธาลามัส จากนั้นแรง
กระตุ้นนี้จะแยกออกเป็ น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งจะวิ่งไปสู่สมองส่วนซีรีบรัล คอร์เท็กซ์ ทำให้ บุคคลเกิด
อารมณ์ อีกส่วนหนึ่งจะส่งผ่านไปยังสมองส่วนไฮโปธาลามัส ซึ่งเป็ นศูนย์ควบคุมการเปลี่ยนแปลงทาง
ร่างกาย นั่นคือ สิ่งเร้ า รับรู้ เกิดอารมณ์ ปฏิกริ ิยาทางกาย
13
ทฤษฎีทีอ่ ธิบายเกีย่ วกับการเกิดอารมณ์
ทฤษฎีของแชคเตอร์-ซิงเกอร์(Schachter-Singer Theory)
โดยผู้ก่อตั้งทฤษฎีน้ คี ือ สแตนเล่ย ์ แชคเตอร์ (Stanley Schachter) และ
เจอโรม ซิงเกอร์(Jerome Singer)ซึ่งเชื่อว่า อารมณ์เกิดจากการแปลความ
ปฏิกิริยาตอบสนองอัตโนมัติทางกายและการคิดหาสาเหตุของการตอบสนอง
นั้นๆ ทั้งนี้ข้ นึ อยู่กบั การตีความสถานการณ์ท่เี กี่ยวข้ องในขณะนั้นซึ่งมาเร้ าให้ เกิดการ
ตอบสนอง

14
ข้อสรุปเปรียบเทียบทฤษฎีอารมณ์ต่างๆ ของนักจิ ตวิทยา

1.ทฤษฎีเจมส์-แลง สรุปว่า หลังจากทีเ่ กิดการเร้าทางกายและพฤติกรรม จะรูส้ ึก


ถึงการเต้นของหัวใจ หายใจหอบ หน้าแดง และเหงือ่ ออก นำไปสู่ประสบการณ์ทาง
อารมณ์
2.ทฤษฏีแคนนอน-บาร์ด สรุปว่า การเร้าทางอารมณ์ พฤติกรรม และ
ประสบการณ์จะส่งผ่านทางธาลามัสพร้อมๆกัน
3.ทฤษฎีแชคเตอร์-ซิงเกอร์ สรุปว่า การเร้าอย่างเดียวไม่ทำให้เกิดอารมณ์
บุคคลจะต้องมีการแปลความเหตุการณ์ควบคู่ไปด้วย
4.แนวคิดร่วมสมัย สรุปว่า การประเมินก่อให้เกิดการเร้า พฤติกรรม สีหน้า และ
ความรูส้ ึกทางอารมณ์ รวมทั้งการเร้า พฤติกรรม สีหน้า จะเพิม่ ความรูส้ ึกทาง
อารมณ์ ซึ่งความรูส้ ึกทีเ่ พิม่ ขึ้ นจะมีอิทธิพลต่อการประเมินและส่งผลต่อไปยัง
กระบวนการเร้า พฤติกรรม การแสดงออกและความรูส้ ึกเพิม่ ยิง่ ขึ้ น

15
• เค. บริดเจส(K. Bridges) ได้ ศึกษาและสังเกตเด็กทารกจำนวนมาก โดยเขาพบว่า
1.อารมณ์ทีเ่ กิดขึ้ นตามธรรมชาติโดยไม่ตอ้ งเรียนรู ้ ได้ แก่ อารมณ์โกรธ กลัว และ
รื่นเริง ส่วนลักษณะการแสดงออกทางอารมณ์ท่ไี ม่ได้ เกิดจากการเรียนรู้ ได้ แก่
การยิ้ม การขมวดคิ้ว และการยิงฟัน ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้เป็ นเรื่องของวิวัฒนาการ
2.อารมณ์แรกเกิดของมนุ ษย์ คือ อารมณ์ต่นื เต้ น ดีใจ และเมื่อทารกอายุครบ 3
เดือน ก็จะแยกออกระหว่างอารมณ์ดีใจและเดือดร้ อนใจ ซึ่งอารมณ์อ่นื ๆก็จะ
พัฒนาขึ้นมาตามระดับวุฒิภาวะและการรับรู้ของเด็ก
เช่น 6 เดือนจะมีอารมณ์โกรธ 9 เดือนจะมีอารมณ์กลัว สุขใจ 1 ขวบครึ่ง จะมี
อารมณ์อจิ ฉาริษยา โดยอารมณ์พ้ ืนฐานต่างๆจะพัฒนาจนครบสมบูรณ์ท้งั 8 ชนิด
เมื่อเด็กอายุ 2 ขวบ (24 เดือน)

16
การแสดงออกทางอารมณ์
• การแสดงออกทางอารมณ์ ที่มีลักษณะเป็ นสากลมากที่สดุ คือ การแสดงออกทาง
ใบหน้ า ทั้งนี้เพราะมนุษย์ทุกชาติทุกภาษาจะแสดงความรู้สกึ ได้ ตรงกัน กล่าวคือ เมื่อ
เกิดอารมณ์น้นั กล้ ามเนื้อแต่ละมัดบนใบหน้ าจะมีการยืดหดคล้ ายคลึงกัน
• การแสดงอารมณ์ความรูส้ ึกออกทางใบหน้า จัดว่าเป็ นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง
เพราะเป็ นการแสดงออกถึงสภาวะทางอารมณ์ต่างๆ ในตัวเราและบุคคลอื่นที่
สามารถสังเกตเห็นได้ บ่อยๆโดยนักสรีรวิทยาเชื่อว่า ใบหน้าของมนุ ษย์สามารถ
แสดงความรูส้ ึกได้แตกต่างกันมากถึง 20,000แบบ

17
การจัดประเภทอารมณ์ คาร์รอล อิซาร์ด (Carroll Izard)
ได้ จ ำแนกอารมณ์ออกเป็ น 10 ประเภท คือ
1.Interest-Excitement (สนใจ-ตื่นเต้น) เป็ นอารมณ์ท่ชี ่วยทำให้ บุคคลเกิดแรงจูงใจที่จะ
เรียนรู้และใช้ ความพยายามในเชิงสร้ างสรรค์มากขึ้น เช่น อยากเรียนสูงๆ
2.Joy(รืน่ เริง) เป็ นอารมณ์ท่กี ่อให้ เกิดสภาวะของความเชื่อมั่น มองว่าโลกนี้ช่างน่าอยู่เหลือเกิน
และเกิดความรู้สกึ ว่าตนยังเป็ นที่รักของบุคคลอื่นๆอยู่
3.Surprise(ประหลาดใจ)เป็ นอารมณ์ท่กี ่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้ าในระบบประสาท
อย่างฉับพลัน ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นเราก็พร้ อมรับมือในทุกสถานการณ์
4.Distress-Anguish(เสียใจ-เจ็ บปวด)เป็ นอารมณ์ท่เี กิดขึ้นเมื่อบุคคลต้ องประสบกับความ
พลัดพราก หรือเผชิญกับความล้ มเหลวในชีวิต
5.Anger-Rage(โกรธ-เดือดดาล) เป็ นอารมณ์ท่เี กิดขึ้นเมื่อบุคคลพบการขัดขวางหรือ
อุปสรรคทางด้ านร่างกายหรือด้ านจิตใจ

18
6.Disgust(รังเกียจ) เป็ นอารมณ์อนั เกิดจากการกระทบกับสัมผัสที่ไม่พึงปรารถนา
7.Contempt-Scorn(ดูถูก-เหยียดหยาม)เป็ นอารมณ์ท่อี าจเกิดการผสมกับอารมณ์โกรธ
หรืออารมณ์ขยะแขยง จัดเป็ นอารมณ์ท่มี ีลักษณะเย็นชา
8.Fear-Terror(กลัว-สยองขวัญ)เป็ นอารมณ์ท่เี กิดขึ้นเมื่อบุคคลกำลังเผชิญอยู่กบั สิ่งที่ตนไม่
สามารถจะเข้ าใจได้ หรือเกิดความไม่แน่ใจในภัยอันตรายที่ก ำลังจะมาถึง
9.Shame Sin Shyness-Humiliation(อับอาย-ขายหน้า)เป็ นอารมณ์ท่เี กิดขึ้นเมื่อ
บุคคลถูกลงโทษ เพราะไม่ประพฤติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
10.Guilt(รูส้ ึกผิด) เป็ นอารมณ์ท่มี ีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ ชิดกับความวิตกกังวลและความอาย
เป็ นความสำนึกผิดชอบชั่วดี

19
โรเบิร์ต พูลทชิค(Robert Plutchik) เชื่อว่า อารมณ์พ้นื ฐานมี 8
ชนิด คือ กลัว(Fear) ประหลาดใจ(Surprise) เศร้าเสียใจ(Sadness)
รังเกียจ(Disgust) โกรธ(Anger) คาดหวัง(Anticipation) รื่นเริง(Joy)
และยอมรับ(Acceptance) อารมณ์พ้น ื ฐานทัง้ 8 ชนิดนีย้ ังแปรเปลี่ยนไป
ตามระดับความเข้มของอารมณ์ ซึ่งอารมณ์พ้น ื ฐานที่มีระดับความเข้มของ
อารมณ์สูง ได้แก่ สยองขวัญ(Terror) แปลกใจ(Amazement) เศร้า
โศก(Grief) ไม่ยินยอม(Loathing) เดือดดาล(Ragel) ระแวด
ระวัง(Vigilance) เบิกบาน(Ecstasy) และชื่นชม(Adoration)
อารมณ์พ้น
ื ฐานทัง้ 8 ชนิด
ของพลูทชิค ยังสามารถ
ผสมผสานกันระหว่าง
อารมณ์รัก โกรธ และกลัว
•อารมณ์รัก เป็ นอารมณ์ผสม
ผสาน ระหว่างอารมณ์ร่ น
ื เริงกับ
ยอมรับ
•และอารมณ์หึง เป็ นอารมณ์
ผสมผสาน ระหว่างอารมณ์รัก
และกลัว 20
เพื่อให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจเรื่ อง ความรู้สึกที่แท้จริ งของตนเองและผูอ้ ื่น นัก
จิตวิทยาได้ จำแนกอารมณ์ ออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ

• 1.อารมณ์ทีท่ ำให้เกิดความพึง
พอใจ(Pleasantness) คือ มีความสุข
ต้ องการให้ เกิดขึ้น ต้ องการยึดเหนี่ยวไว้ เป็ น
อารมณ์ทางบวก เช่น รื่นเริง ชื่นชม รัก ยอมรับ
ฯลฯ
• 2.อารมณ์ทีท่ ำให้เกิดความไม่พงึ
พอใจ(Unpleasantness) คือ มีความทุกข์
ต้ องการหลีกเลี่ยง ไม่ต้องการให้ เกิดขึ้นอีก เป็ น
อารมณ์ทางลบ เช่น กลัว เศร้ า เกลียด ขยะแขยง
เดือดดาล ดูถูก อิจฉาริษยา ฯลฯ

21
นอกจากนี้ การแสดงออกทางอารมณ์ของเด็ก ขึ้นอยู่กบั ประสบการณ์ท่ีได้ รับมาจาก
การเรียนรู้โดยการสังเกต เช่น เมื่อเกิดอารมณ์โกรธ บางคนจะแสดงออกด้ วยการด่า ทําลายสิ่งของ
ใกล้ ตัว อาละวาด ทุบตีกนั ต่างคนต่างเงียบ เมื่อเกิดความรู้สกึ ชิงชังขยะแขยงบางคน จะแสดงออก
โดยทําริมฝี ฝากยื่นออกมา หรือบางคนออกเสียง“ยี้”เมื่อเกิดความรู้สกึ อาย บาง คนหน้ าแดง บาง
คนม้ วนตัวไปมา ไล่ทุบตีคนอื่น บางรายก็จับผมหรือชายเสื้อ อารมณ์เป็ นเรื่องของความคิด ความ
รู้สกึ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จะมีการ แสดงออกแตกต่างกันตามประสบการณ์ท่ีเด็กแต่ละ
คนได้ รับมา บางครั้งอาจเป็ นลักษณะ นิสยั ใจคอ เช่น เป็ นคนอารมณ์ร้อน อารมณ์ เป็ นต้ น

22
พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
• เมื่ออายุมากขึ้น เด็กจะมีความซับซ้ อนทางอารมณ์เพิ่มขึ้น จากอารมณ์ของเด็กแรก เกิดที่จะมี
อารมณ์ต่นื เต้ นเท่านั้น ได้ เปลี่ยนแปลงเป็ นอารมณ์ช่ืนบานหรืออารมณ์พอใจซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อ
เด็กได้ รับความสบายใจ ได้ รับการตอบสนองความต้ องการทางร่างกาย ส่วน อารมณ์ไม่ช่ืนบาน
หรืออารมณ์ไม่พอใจ เกิดขึ้นเมื่อเด็กรู้สกึ ไม่สบายใจ ไม่แจ่มใส ไม่ได้ รับ การดูแลเอาใจใส่ มี
ผลทําให้ อารมณ์ของเด็กได้ พัฒนาต่อไปจนเปลี่ยนแปลงเป็ นอารมณ์โกรธ เกลียด อิจฉา ริษยา

23
พลูทชิค ได้แสดงหน้าที่ของอารมณ์พ้น ื ฐานที่
อารมณ์พ้น
ื ฐาน
เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรมไว้
หน้าที่
ดังนี ้
จุดมุ่งหมายของพฤติกรรม
กลัว ปกป้ อง การกระทำต่างๆเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายหรือ
ความเสียหาย

โกรธ ทำลาย การกระทำต่างๆเพื่อขจัดอุปสรรคที่ขัด


ขวางความต้องการและความพึงพอใจ
รื่นเริง ความร่วมมือ การกระทำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการได้รับผล
ประโยชน์จากสิ่งเร้ารอบๆตัว
รังเกียจ ปฏิเสธ การกระทำที่ขจัดสิ่งที่ก่อให้เกิดความไม่
สบายที่ได้กินเข้าไป เช่น การขับถ่าย ซึ่ง
พฤติกรรมเช่นนีเ้ กี่ยวข้องกับความรู้สึก
รังเกียจ ขยะแขยง ดูถูกไม่เป็ นมิตร
ยอมรับ แพร่พันธุ์ การกระทำต่างๆเพื่อวัตถุประสงค์ในการ
ดำรงเผ่าพันธุ์
เศร้า รักษาความรู้สึกสูญ การกระทำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้อง
เสีย บุคคลที่สูญเสียไปกลับคืนมา เช่น ร้องไห้ มี
สีหน้าเศร้า
ประหลาดใจ การปรับตัวให้เข้า ปฏิกิริยาโต้ตอบกับเหตุการณ์หรือสิ่งใหม่ๆ 24
กับสิ่งแวดล้อมใหม่ ที่ไม่คุ้นเคย เช่น เสียงดัง สัตว์ประหลาด
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหาทางด้านจิตใจ
• เป็ นผลกระทบมาจากความคับข้ องใจที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง เด็กต้ องเผชิญกับ
สภาพสังคมและสิ่งแวดล้ อมที่มีการเปลี่ยนแปลง ทําให้ เด็กมีปัญหาทางด้ านจิตใจได้
ความคับข้องใจ(Frustration) เป็ นความรู้สกึ ใน
ใจ ที่เด็กมีความต้ องการในสิ่งใดสิ่งหนึ่งแต่มีอปุ สรรค
บางอย่างขัดขวาง ทําให้ ไม่สามารถดําเนินพฤติกรรม
ไปสู่ จุดมุ่งหมายที่ตนได้ ต้งั เป้ าหมายไว้ ได้ ทําให้ ผ้ ูน้นั
เกิด ความรู้สกึ อึดอัด อัดอั้น ไม่สบายใจ ถ้ าเด็กคนใด
มีความไม่สบายใจในด้ านต่างๆ สะสม มากขึ้น จะทํา
ให้ มีความรุนแรงของความคับข้ องใจเพิ่มมากขึ้นตา
มลําดับ ผลคือ ผู้น้นั อาจจะ มีแนวโน้ มเป็ นผู้มีปัญหา
ทางจิตได้

25
สาเหตุของความคับข้ องใจ
• สาเหตุของความคับข้ องใจ จะมีปัญหาที่
สําคัญ 3 ด้ าน คือ
1. ความบกพร่องทางด้ านร่างกาย หรืออวัยวะส่วนใด ส่วน
หนึ่งมีความปิ ดปกติ เช่น ตาบอด หน้ าตาไม่สวย
2. สิ่งแวดล้ อมที่เป็ นปัญหา เช่น อากาศร้ อนจัด กฎหรือ วินัย
ของโรงเรียนที่เข้ มงวดเกินไป การจราจรติดขัดทําให้ ไป
ไม่ทนั เวลาที่นัดหมาย
3. ความขัดแย้ งในใจของตัวผู้น้นั เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ
ตัดสินใจไม่ได้ เนื่องจากสิ่งของที่มีให้ เลือกมากกว่า 2 สิ่ง
ขึ้นไปทําให้ เกิดความขัดแย้ งใน ใจไม่สามารถตัดสินใจได้

26
ความขัดแย้งใจจากการเลือกสิ่ งของ 2 สิ่ งขึ้นไปมี 3 ลักษณะ คือ
• ลักษณะที่ 1 ความขัดแย้ งใจแบบชอบ –ชอบ เป็ น ความรู้สกึ ที่มีต่อสิ่งของหรือเหตุการณ์ 2
อย่างที่เป็ นความชอบทั้งคู่ แต่มีความจําเป็ นต้ อง เลือกเพียงอย่างเดียว เช่น ชอบเสื้อ 2 ตัว แต่
ต้ องตัดสินใจเลือกเพียงตัวเดียว “ รักพี่เสียดายน้ อง”
• ลักษณะที่ 2 ความขัดแย้ งในใจแบบชอบ -ไม่ชอบ เป็ นความรู้สกึ ที่เกิดขึ้นเนื่องมาจาก ตัดสินใจ
เลือกในสิ่งที่ตนพอใจและไม่พอใจอยู่ในสิ่งเดียวกัน เช่น อยากรับประทานขนมหวาน แต่กลัวจะ
อ้ วน ทําให้ ไม่ร้ จู ะทําอย่างไรดี “เกลียดตัวกินไข่”
• ลักษณะที่ 3 ความขัดแย้ งใจแบบไม่ชอบ -ไม่ชอบ เป็ นความรู้สกึ ที่ต้องตัดสินใจเลือกในสิ่งที่ไม่
ชอบทั้งคู่ เช่น ไม่อยากเป็ นทหารเกณฑ์ อยากหนีทหารแต่กก็ ลัวจะติดคุก ซึ่งจําเป็ นต้ องเลือกสิ่งใด
สิ่งหนึ่ง “หนีเสือปะจรเข้ ”

27
ลักษณะของพฤติกรรม ที่เกิดจากความคับข้ องใจ มีดังนี้
• ก.มีความเครียดและความกระวนกระวายใจ แสดงกิริยาไม่สบายใจ ดูดนิ้วมือ กัด เล็บ กํามือ
แน่น เพ้ อฝัน ซึมเฉย บางคนอาจก้ าวร้ าว เมื่อเด็กอายุมากขึ้น อาจมีหน้ าตา เคร่งเครียด ถอน
หายใจ บ่นพึมพํา หรือมีอาการเคลื่อนไหวที่ไม่มีความสุข
• ข.ก้าวร้าว จะมีการแสดงออกด้ วยการก้ าวร้ าวไปยังบุคคลหรือสิ่งของ ที่ทาํ ให้ เกิดความ คับ
ข้ องใจ พฤติกรรมที่แสดงออกอาจจะทุบตี ด่าทอ หรือทําลายสิ่งของ ในกรณีท่ีไม่สามารถ แสดง
ความก้ าวร้ าวต่อบุคคลหรือสิ่งของที่ทาํ ให้ เกิดความก้ าวร้ าวโดยตรง จะ แสดงความ ก้ าวร้ าวไป
ยังบุคคลหรือสิ่งของอื่นเป็ นการทดแทน เรียกว่า Displaced aggression เช่น เตะสุนัข
แทนภรรยา

28
ลักษณะของพฤติกรรม ที่เกิดจากความคับข้องใจ มีดงั นี้
• ค.พฤติกรรมถดถอย คือ มีพฤติกรรมย้ อนกลับไปเป็ นเด็กอีก
ครั้งหนึ่ง หรืออาจมี พฤติกรรมเหมือนครั้งที่เคยได้ รับความสุข
• ง.พฤติกรรมนิง่ เฉย เด็กบางรายเกิดความคับข้ อง ใจจะ
แสดงออกด้ วยการนิ่งเฉย ทําเป็ นไม่สนใจไยดี เฉื่อย ชา เก็บ
กดไว้ ในใจ ถอนตัว หลีกหนีไปจากสิ่งที่ทาํ ให้ เกิด ความคับ
ข้ องใจ เช่น การหมดสิ้นกําลังใจที่จะมีชีวิตอยู่ ต่อไป เป็ น
พฤติกรรมที่น่ากลัวมาก อาจนําไปสู่การฆ่าตัว ตายได้ ง่าย
• จ.การเพ้อฝัน เมื่อเกิดความคับข้ องใจอย่างรุนแรงจนเกินกว่า
ที่จะคลี่คลายปัญหาได้ แล้ ว เด็กจะใช้ ความเพ้ อฝันแทน
เหตุการณ์ท่เี ป็ นจริง จนในที่สดุ ไม่สามารถแยกแยะความจริง
และความฝันออกจากกันได้ และกลายเป็ นโรคจิตในที่สดุ

29
วิธกี ารช่วยให้ เด็กมีพัฒนาการทางด้ านอารมณ์ท่ีดี
ก.ให้ เด็กเล่นและฝึ กฝนการออกกําลังกาย
ทําให้ เด็กมีสขุ ภาพดี ร่างกายและจิตใจแข็งแรง
ข.ให้ เด็กได้ เข้ าอบรมหรือเข้ ากลุ่ม การเข้ า
กลุ่มทํา ให้ เด็กมีความรู้สกึ ว่า เป็ นสมาชิกส่วนหนึ่ง
ของกลุ่ม จะช่วยให้ เกิดความมั่นใจและมีความสุข
ค.ให้ เด็กฝึ กกิจกรรมสร้ างสรรค์ เช่น การ
วาดหรือการปั้น หรืองานศิลปะต่างๆเพราะ
กิจกรรมเหล่านี้ จะช่วยปรับอารมณ์ของเด็กได้ ดี
ง.ให้ เด็กเลียนแบบจากตัวแบบที่ดี
จ.ให้ เด็กได้ รับการอบรมเลี้ยงดูท่ดี ี มีความ
เหมาะสม

30
แนวทางการควบคุมอารมณ์ในการดำรงชีวิตประจำวัน

1.พยายามเข้ าใจความกลัวหรือความวิตกกังวลของ
อารมณ์
2.ต้ องยอมรับอารมณ์ท่เี กิดขึ้นและควบคุมอารมณ์ไม่ให้
มีอทิ ธิพลเหนือตัวเรา
3.แยกสลายอารมณ์ต่างๆออกไปจากสถานการณ์ อย่า
ปล่อยให้ เป็ นปัญหาใหญ่
4.อย่ากังวลกับสิ่งที่ผดิ พลาดมาแล้ ว ให้ คิดถึงปัจจุบัน
ด้ วยความเชื่อมั่น
5.ใช้ ปฏิกริ ิยาโดยตรงต่อการควบคุมอารมณ์ขจัดความ
ขัดแย้ งที่เกิดขึ้นทันที

31

You might also like