You are on page 1of 15

10.14456/dmhjournal.2015.

16

Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

บทความฟื้นฟูวิชาการ :
การลดตราบาปของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิต
เบญจพร ปัญญายง, พ.บ. ชูศรี เกิดพงษ์บุญโชติ, กศ.ม.

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการลดตราบาปของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิต
วัสดุและวิธีการ สืบค้นข้อมูลประเภท นิพนธ์ต้นฉบับ บทความฟื้นฟูวิชาการ จากฐานข้อมูล เช่น
Google search, PubMed ระหว่างค.ศ. 2000-2015 โดยก�ำหนดค�ำส�ำคัญ คือ ตราบาป การเจ็บป่วยทางจิตและ
intervention และวิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กโทรนิกส์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทั้งหมด
ผล วิธีการลดตราบาปที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสาธารณสุขได้รับแนวคิดของ Cook และแบ่ง
แนวทางเป็น 3 ระดับ คือระดับภายในบุคคลระดับระหว่างบุคคลและระดับโครงสร้าง ระดับภายในบุคคล
แบ่งวิธีการ เป็น 2 แนวทาง คือวิธีการปรับเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับตราบาปกับวิธีการยอมรับตราบาปและการ
ปรับตัวกับการตีตรา/ตราบาปและการมองแบบเหมารวม ระดับระหว่างบุคคลมี 2 กลวิธี คือการให้ความรูแ้ ละการ
พบปะกับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต การให้ความรู้ทั้งแบบตัวต่อตัวหรือกลุ่มย่อย ระดับโครงสร้าง มี 2 วิธี คือ
การจัดสิง่ แวดล้อมให้เอือ้ ต่อความต้องการทีห่ ลากหลายของผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิตและการรณรงค์ลดตราบาป
สรุป แนวทางในการลดตราบาปทั้งสามระดับให้ผลทั้งสองแบบ (ได้ผลและไม่ได้ผล) โดยเฉพาะ
ระดับภายในบุคคล แนวทางเหล่านีจ้ ะช่วยให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องได้พฒ
ั นาโปรแกรมทีเ่ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายต่อไป
ในอนาคต

ค�ำส�ำคัญ : ตราบาป วิธีการ ภาวะเจ็บป่วยทางจิต


สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

49
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

Review article :
Stigma reduction strategies of mental illness
Benjaporn Punyayong, M.D. Chusri Kerdpongbunchote, M.Ed.

Abstract
Objective The study was aimed to review stigma intervention for mental illness.
Materials and methods A systematic review of stigma intervention related to mental illness was
conducted. The search included original and review articles from Google search, PubMed from 2000 to
2015 and search terms were stigma, mental illness and intervention. The other search was e-theses
of Chiang Mai University all and search term was stigma.
Results A multilevel approach to stigma and public health of Cook’s was used as a conceptual
framework for this review. Three levels of an ecological system included intrapersonal, interpersonal, and
structural level. Two approaches of intrapersonal-level intervention targeted individual with mental illness
were cognitive reconstruction of stigma; and stigma acceptance and enhance coping with stigmatized
stereotype. Two strategies of interpersonal-level interventions were education and contact-based inter-
vention. Education was conducted both dyadic and small group. In the structural level intervention was
to foster environments that improve accessibility of individual diversity with mental illness and stigma
reducing campaign.
Conclusion Three levels stigma reducing strategies had contradicting results especially intra
personal level. All approaches help the organizations who are responsible for stigma reduction develop
appropriate de-stigma programs in the future.

Key words : intervention, mental illness, stigma

Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry

50
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

บทนำ� จากข้อวิพากษ์ขา้ งต้น Link และ Phelan3


ในช่วงต้น ค�ำนิยามของตราบาป (stigma) ได้ให้ค�ำนิยามตราบาปว่า เป็นปรากฏการณ์ของการ
จะหมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่ท�ำให้เกิดความ ตีตรา (labeling) การมองแบบเหมารวม (stereotype)
เสื่อมเสีย (discredit) อย่างมาก เช่น Goffman ให้ การแบ่งเขาแบ่งเรา (separate) การสูญเสียสถานะ
ค� ำ นิ ย ามของตราบาป (stigma) ว่ า หมายถึ ง และการกี ด กั น ต่ อ มา Corrigan 4 ใช้ ก รอบของ
คุณลักษณะที่ท�ำให้บุคคลนั้นเสื่อมเสียชื่อเสียงหรือ การมองแบบเหมารวม อคติ (prejudice) และการ
ท�ำให้ขายหน้า/สูญเสียความน่าเชื่อถือในสังคมอย่าง กีดกัน (discrimination) ในการแบ่งตราบาป เป็น
มาก มีคุณลักษณะ 3 อย่าง คือ ความผิดแปลกของ ตราบาปทางสังคม (public stigma) และ ตราบาป
ร่างกาย เช่น ความพิการ ฯลฯ ลักษณะเฉพาะบาง ภายในใจตนเอง (internalized stigma) หรือ (self-
ประการ เช่น สีผิว ความหลากหลายทางเพศ และ stigma) โดยได้ปรับจากนิยามของ Thornicoft5 ที่
ลักษณะทีน่ า่ ต�ำหนิ เช่น การกระท�ำผิดกฎหมาย การ เกีย่ วข้องกับความไม่รู้ (เข้าใจผิด/ไม่ร)ู้ ทัศนคติ (อคติ)
เจ็บป่วยทางจิต ฯลฯ ขณะเดียวกัน Goffman ถือว่า และพฤติกรรม (กีดกัน)
โรงพยาบาลจิตเวช (asylum) เป็นสิ่งที่ต่อต้านการ ตราบาปทางสังคม เกิดจากความเข้าใจ
รักษาและมีผลให้เกิดตราบาป เช่นเดียวกัน Scheff ผิดหรือความไม่รู้ของคนในสังคม เกี่ยวกับภาวะเจ็บ
และ Szasz ก็เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ว่าการด�ำเนินงาน ป่วยทางจิตท�ำให้เกิดอคติและการมองแบบเหมารวม
ด้านจิตเวชท�ำให้เกิดผลลบมากกว่าการเจ็บป่วยทาง ทางลบเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิต มีการแบ่งแยก
จิตเอง1 กีดกันและแสดงพฤติกรรมแบบปฏิเสธ/ไม่ยอมรับหรือ
Jone และคณะ ให้นยิ ามว่าเป็นคุณลักษณะ การหลีกเลี่ยงและการถอยห่าง4,5
ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ต้องปกปิด (เพราะมีลักษณะ ตราบาปภายในใจของตนเอง เกิ ด จาก
เด่นชัด สังเกตได้) มีผลรบกวนความสัมพันธ์ระหว่าง การที่ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตรับรู้และตระหนักถึง
บุคคล มีผลต่อความสุนทรีย์ (ไม่มเี สน่ห์ หรือล�ำบาก ปฏิกิริยาของสังคม รวมทั้งความรู้สึกทางลบ (ความ
ใจ) เป็นอันตราย (คุกคามหรือเป็นอันตรายต่อผู้อื่น) กังวลล่วงหน้าว่าจะถูกปฏิเสธ) และจากประสบการณ์
และความรับผิดชอบของบุคคลทีม่ ภี าวะเจ็บป่วย ฯลฯ ของการกีดกันแล้วยอมรับการตีตรา/ตราบาปและการ
ลักษณะเหล่านี้ท�ำให้คนอื่นตัดสินว่าผิดปกติหรือผิด มองแบบเหมารวมทางลบเกีย่ วกับการเจ็บป่วยทางจิต
ท�ำนองคลองธรรม และ Elliott เน้นคุณลักษณะที่ แล้วหันเหสิง่ เหล่านัน้ เข้าสูต่ นเองและเชือ่ ว่าตนถูกลด
เกิดจากการขาดทักษะ/ความสามารถของบุคคลและ คุณค่าในสังคม6-8
มีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจของผูอ้ นื่ ว่าเป็นอันตรายและ อย่างไรก็ตาม นิยามของตราบาปเหล่านี้
ไม่สามารถคาดเดาได้ ท�ำให้ถกู มองว่าเป็นพฤติกรรม ยังเน้นที่ระดับบุคคล ไม่ได้เชื่อมโยงกับสุขภาพ แต่
ที่ไม่ปกติ2 ซึ่งค�ำนิยามเหล่านี้เป็นการอธิบายอย่าง ปัญหาสุขภาพมีความสัมพันธ์กับมิติทางสังคมและ
กว้างๆ ถึงคุณลักษณะ ไม่ได้อธิบายในรูปแบบของ วัฒนธรรม (เชื้อชาติ ชาติพันธ์ุ ศาสนา ชนชั้น เพศ
ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ ภาวะ) และปัจจัยอืน่ ๆ รวมทัง้ ลักษณะของโรค ต่อมา

51
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

นักวิชาการจึงให้ความสนใจเกีย่ วกับสังคม วัฒนธรรม (incompetent) ท�ำนายไม่ได้ (unpredictable) ต้องรับ


และโครงสร้างทางสังคมที่มีผลต่อการเกิดและการ ผิดชอบกับการเจ็บป่วยของตนเองและการท�ำนาย
คงอยู่ของตราบาป ที่จะส่งผลต่อประสบการณ์และ โรคไม่ดี12-17 การมองแบบเหมารวมของผู้ป่วยโรค
การแสดงออกของตราบาป ซึ่ ง แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ซึมเศร้าในประเทศแถบเอเชียเป็นความรูส้ กึ ผิดต่อผูป้ ว่ ย
โครงสร้าง (structuralmodel) เป็นแนวคิดใหม่เกีย่ วกับ ความรับผิดชอบต่อการเจ็บป่วยของตนเองมากกว่า
สุขภาพระบบบริการสุขภาพและความไม่เท่าเทียม การถูกมองว่าเป็นอันตรายและไร้ความสามารถ14
ทีม่ ผี ลจากปัจจัยสิง่ แวดล้อม ปัจจัยทางเศรษฐกิจและ ท� ำให้ผู้ป ่วยจิตเวชไม่ได้รับ การยอมรับ ทางสังคม
สังคม นโยบาย/กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ และถูกกีดกันออกจากคนปกติ ท�ำให้ผู้ป่วยมีความ
ของบุคคลในการแสดงอาการของโรคและการรักษา ทุกข์ รู้สึกเป็นปมด้อย มองตนเองไม่มีค่าความภาค
ที่แตกต่าง9 ภูมิใจในตนเองลดลงและลดทอนเป้าหมายในชีวิต
Rusch จึ ง ได้ เ พิ่ ม เติ ม ว่ า ตราบาปอาจ ของตน10,18-21 ผู้ป่วยและครอบครัวจะปิดบังอาการไม่
แสดงออกเป็ น 3 แบบ คื อ ตราบาปภายในใจ ไปขอรั บ การรั ก ษาหรื อ รั บ การรั ก ษาล่ า ช้ า และไม่
ตนเอง ตราบาปทางสังคม และการถูกกีดกันจาก ต่อเนือ่ งท�ำให้อาการรุนแรงและซับซ้อนมากขึน้ (refrac-
โครงสร้างในสังคม (structural discrimination) ที่เกิด tory symptoms) จ�ำเป็นต้องรับการรักษาด้วยระยะ
จากกฎหมาย ระเบียบการกฎเกณฑ์ของสังคมทั้งที่ เวลาทีย่ าวนาน22,23 นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบต่อการ
ตั้งใจและไม่ตั้งใจท� ำให้ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต หางาน/รายได้ สถานศึกษา การหาบ้านเช่า และการ
เสียเปรียบและเสียโอกาส10 พักผ่อนหย่อนใจ3,24
นอกจากนี้ Corrigan และ Kerr11 ได้กล่าว ดั ง นั้ น จะเห็ น ว่ า ตราบาปมี ผ ลกระทบ
ถึงปฏิสัมพันธ์ของตราบาปกับระบบนิเวศทางสังคม อย่างมากต่อทั้งผู้ป่วย และครอบครัว โดยที่ชุมชน
(social ecology) ใน 3 ระดับ คือ 1. ระดับโครงสร้าง และสังคมจะมีอคติและกีดกันผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทาง
(meso level) เป็นระดับระบบเรียกว่าตราบาปทาง จิต ท�ำให้มีอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการและการ
โครงสร้าง (structural stigma) โดยที่กฎหมาย ฟืน้ ตัวของผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิต ในบทความนีจ้ ะ
นโยบาย ระเบียบการจะจ�ำกัดสิทธิและโอกาสของ ทบทวนเฉพาะเรื่องวิธีการลดตราบาปหรือการตีตรา
ผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิต 2. ระดับสังคม (macro level) (stigma intervention)
เรียกว่า ตราบาปทางสังคม และ 3. ระดับบุคคล
(micro level) เรียกว่า ตราบาปภายในใจตนเอง วัสดุและวิธีการ
ที่ผ่านมาการศึกษาตราบาปในผู้ที่มีภาวะ โดยการสืบค้น นิพนธ์ต้นฉบับ บทฟื้นฟู
เจ็บป่วยทางจิตส่วนมากมักศึกษาในผูป้ ว่ ยโรคจิตเภท วิชาการและบทความอื่นจากเว็บไซต์ เช่น Google
โรคซึ ม เศร้ า และโรคจิ ต เวชชนิ ด รุ น แรงที่ มี ค วาม search, PubMed ตั้งแต่ปี 2000-เดือนมีนาคม 2015
บกพร่องทางสังคมโดยเฉพาะผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ โดยก�ำหนดค�ำส�ำคัญ คือ stigma, mental illness,
อาจถู ก มองว่ า เป็ น อั น ตราย ไร้ ค วามสามารถ intervention วิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์

52
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

อิ เ ล็ ก โทรนิ ก ส์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ทั้ ง หมด เจ็บป่วยทางจิตโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับเปลี่ยน


จนถึงปัจจุบัน โดยใช้ค�ำส�ำคัญ คือ ตราบาป จาก ความรู้คิด (cognition) อารมณ์ ความรู้สึก (affect)
การค้นคว้าตามค�ำส�ำคัญของบทความภาษาอังกฤษ และพฤติกรรมการตอบสนอง (behavioral response)
พบบทความทีเ่ กีย่ วข้อง 6,761 บทความและเกีย่ วกับ ต่อการตีตราและช่วยลดภาวะคุกคามจากการมอง
วิธีการลดตราบาปของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิต แบบเหมารวมทางลบ โดยการปรับความคิด ช่วยปรับ
58 ฉบับ บทฟื้นฟูวิชาการ 9 ฉบับ การศึกษา กระบวนการปกป้องตนเองจากข้อมูลที่น่ากลัว เพิ่ม
วิเคราะห์แบบอภิมาน (meta-analysis) 2 ฉบับ ส่วน ความสามารถในการปรับตัวกับการตีตราและการ
วิทยานิพนธ์ภาษาไทยมีจ�ำนวน 8 ฉบับ ทีเ่ กีย่ วกับวิธี รับรู้ตราบาปภายในใจตนเองและยืนยัน/เพิ่มคุณค่า
การลดตราบาปของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตเพียง ในตนเอง วิธีการลดตราบาป ได้แก่ การให้ความ
2 ฉบับ จากการศึกษาหัวข้อ บทคัดย่อและบทความ รู้ (education) การให้การปรึกษา/จิตบ�ำบัด และการ
ที่เกี่ยวข้องได้กรองบทความที่สามารถเชื่อมโยงกับ ปรับเปลี่ยนความคิดพฤติกรรม25
กรอบแนวคิดด้านโครงสร้าง (structural model) ที่ ในการลดการรับรู้ตราบาปในใจ Mittal26
เกี่ยวข้องกับตราบาป ในบทความนี้จะใช้แนวคิดของ สรุปว่า วิธกี ารลดการรับรูต้ ราบาปภายในใจแบ่งเป็น
Cook และคณะ25 ที่อธิบายความเชื่อมโยงตราบาป 2 แนวทาง คือ วิธกี ารปรับเปลีย่ นความคิดความเชือ่
กับการแพทย์/สาธารณสุข และจะเป็นแนวทางที่มี เกี่ยวกับตราบาป/การตีตรา และวิธีการสนับสนุน
ประโยชน์ในการน�ำไปใช้ลดการตีตราและการรับรู้ ให้ผู้เข้าร่วมโปรแกรมยอมรับตราบาปและการมอง
ตราบาปในตนเองของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตให้ แบบเหมารวมโดยไม่ ต ้ อ งทบทวน หรื อ ท้ า ทาย
ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย แต่ เ ป็ น การยอมรั บ และเพิ่ ม พู น ทั ก ษะการปรั บ ตั ว
เกีย่ วกับการตีตรา/ตราบาปนัน้ ผ่านทางการเสริมสร้าง
ผล ความภาคภูมิใจ การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ และ
จากบทความที่เกี่ยวข้องกับตราบาป ตาม ส่งเสริมพฤติกรรมการแสวงหาความช่วยเหลือ ด้วย
กรอบแนวคิดของ Cook ซึ่งใช้แนวทางหลายระดับ วิธีการต่างๆ
(multilevel approach) ในการแบ่งระดับวิธกี ารช่วยเหลือ ผลการศึกษาวิธีการลดตราบาปส่วนมาก
(intervention) เป็น 3 ระดับ คือ 1) ระดับภายใน เป็ น การศึ ก ษาแบบสุ ่ ม มี ก ลุ ่ ม ควบคุ ม และศึ ก ษา
บุ ค คล (intrapersonal-level) 2) ระดั บ ระหว่ า ง ในโรคจิตเภท โรคซึมเศร้าและโรคจิตเวชชนิดรุนแรง
บุคคล (interpersonal-level) 3) และระดับโครงสร้าง แบ่งเป็น 2 แนวทาง ดังนี้ 1) การปรับเปลี่ยนความ
(structural level)25 ได้ศึกษาจากนิพนธ์ต้นฉบับ 19 คิดพฤติกรรมและการให้ความรู้ โดยมีเป้าหมายที่
บทความ บทฟื้นฟูวิชาการ 3 บทความ และการ ความเชื่อผิดๆ/ความจริงเกี่ยวกับตราบาป การปรับ/
ศึกษาแบบอภิมาน 2 บทความ มีผลการศึกษา ดังนี้ ท้ า ทายความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ ตราบาป 27-29 อาจจะมี
ระดับภายในบุคคล กลุ่มเป้าหมาย คือ บุคคลที่ถูก การสอนทักษะวิธีการจัดการความเครียดและความ
ตีตราหรือผู้ที่มีการรับรู้ตราบาปภายในใจต่อภาวะ ภาคภูมิใจในตนเอง ผลการศึกษามีทั้งสองแบบ (ได้

53
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

ผลดีและไม่ได้ผล) 2) การยอมรับการตีตรา/ตราบาป ซึ่งเป็นค�ำถามหมวดหนึ่งของการวัดตราบาปในใจ


แบ่งเป็น 2.1) การให้ความรูอ้ ย่างเดียว ผลการศึกษา ตนเอง (เรียกว่า ความต้านทานต่อการรับรู้ตราบาป
พบว่ามีทั้งการให้ความรู้โรคจิต30 ให้ความรู้เฉพาะ ภายในใจตนเอง (stigma resistance, SR) และพบว่า
กลุ่มคนผิวด�ำที่มีโรคซึมเศร้าและวิตกกังวล31 หรือ SR มีความสัมพันธ์ทางลบกับการรับรู้ตราบาปในใจ
การให้การปรึกษาและให้เอกสารแผ่นพับในกลุ่ม และมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความภาคภูมิใจ การ
ผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้าเน้นเฉพาะผูช้ าย32 ผลลัพธ์มที งั้ สอง มีพลังอ�ำนาจ คุณภาพชีวิตและการมีเพื่อนเพียงพอ
อย่าง (ได้ผลและไม่ได้ผล) และ 2.2) หลายวิธีการ ดังนั้น การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจโดยการใช้แนวทาง
รวมกัน ส่วนมากเป็นการให้ความรูเ้ รือ่ งโรค ตราบาป การเพิม่ SR จะสามารถลดการรับรูต้ ราบาปในใจและ
และผลกระทบการแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก าร ท�ำให้บุคคลนั้นสามารถฟื้นฟูตนเองได้43
ถูกกีดกัน การเปิดเผยการเจ็บป่วย33 การสัมภาษณ์ ระดับระหว่างบุคคล กลุ่มเป้าหมาย คือ บุคคล
สร้างแรงจูงใจ การสอนทักษะทางสังคม และการ ที่แสดงออกในลักษณะเลือกปฏิบัติแบ่งแยกกีดกัน
ตั้งเป้าหมาย34 การสนับสนุนสมาชิกกลุ่ม การฝึก หรือตีตรา โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก เพือ่ ลดการตีตรา/
ทักษะการแก้ปญ ั หา35 การยอมรับตนเอง (self accep- ตราบาป วัตถุประสงค์รอง คือ บุคลากรทางการ
tance)36 ความเครียด การจัดการกับความเครียด38 แพทย์มีมุมมองในการยอมรับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย
การช่วยเหลือตนเอง การสื่อสารและการให้การ ทางจิต โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูล มุมมองระหว่าง
ปรึกษาแบบประคับประคอง39,40 (ตารางที่ 1) ซึ่งการ สมาชิกกลุ่มย่อยหรือกับผู้น�ำกลุ่ม วิธีการลดการ
ศึกษาพบว่าส่วนมากได้ผลดี โดยเฉพาะโปรแกรมของ ตีตรา/ตราบาปมี 2 รูปแบบ ทีส่ ำ� คัญ คือ การให้ความรู้
Shin และ MacInnes ได้ผลดีมี effect size สูง38,28 และการพบปะกั บ ผู ้ ที่ มี ภ าวะเจ็ บ ป่ ว ยทางจิ ต หรื อ
และโปรแกรมของ Lucksted ได้ผลระดับปานกลาง35 ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต (contact-based interven-
การศึกษาอื่น พบว่าการให้ความรู้อย่าง tion) อาจพบปะโดยตรงหรือการใช้วีดิทัศน์บอกเล่า
เดียวไม่ใช่วิธีการที่มีประสิทธิภาพในการลดการรับรู้ สิ่งที่ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตเผชิญอยู่โดยวิทยากร
ตราบาปในใจ (perceived stigma หรือ self-stigma) จะเน้นทีผ่ ลกระทบและผลทีต่ ามมาของตราบาป/การ
ได้41 Corrigan และคณะ42 ได้เสนอกรอบแนวคิดเรือ่ ง ตีตราและอภิปรายวิธีการปรับตัว43
ความต่อเนือ่ งของตราบาป การเสริมสร้างพลังอ�ำนาจ การศึกษาวิเคราะห์แบบอภิมาน (meta-
(empowerment) และความภาคภูมิใจ โดยการเสริม analysis) เรื่องวิธีการลดตราบาปของการมีภาวะ
พลังอ�ำนาจจะเป็นตัวกลาง (mediator) ระหว่างการ เจ็บป่วยทางจิตมีการศึกษาแบบสุ่มมีกลุ่มควบคุม 33
รับรู้ตราบาปและพฤติกรรมสู่การบรรลุเป้าหมาย การศึกษา กลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่
ดั ง นั้ น โปรแกรมการเสริ ม สร้ า งพลั ง อ� ำ นาจที่ ดึ ง มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต เช่น นักศึกษา วิชาชีพด้าน
ประเด็นการเจ็บป่วยทางจิตนั้นท�ำให้ตนเองเข้มแข็ง สุขภาพ/สุขภาพจิต นายจ้าง นักกีฬา ฯลฯ รูปแบบ
สามารถมีชีวิตที่ดี มีประโยชน์แก่สังคม ใช้ชีวิตอย่าง การให้ความรู้เป็นการพบหน้าแบบกลุ่ม หรือการ
ที่ต้องการและสะดวกใจที่จะไปตามสถานที่ต่างๆ ได้ ใช้อินเตอร์เน็ต หรือการใช้คอมพิวเตอร์แบบศึกษา

54
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

ตารางที่ 1 กลวิธีลดตราบาปภายในใจตนเอง รูปแบบการศึกษา ประเภทผู้ป่วย เป้าหมายการทดลองและ


ผลการประเมิน
แบบประเมิน
กลวิธี ผู้นิพนธ์ ปี การศึกษา ตัวอย่าง (คน) ผลดีขึ้นอย่าง
จำ�นวน เป้าหมาย การรับรู้
ประเทศ รูปแบบ ประเภท มีนัยสำ�คัญ
ตราบาป
1. การให้ความรู้และ CBT
Yanos และคณะ27 RCT 20 39, โรคจิตเภท การเล่าเรื่อง ISMI ไม่ใช่
2009, สหรัฐอเมริกา ผู้ป่วยนอก การปรับความคิด
Mac Innes และคณะ28 RCT 6 20, โรคจิตเวช ความเชื่อผิดเกี่ยวกับ PDD ใช่
2008, อังกฤษ รุนแรงผู้ป่วยใน
ตราบาป, ความเครียด
การจัดการ
Knight และคณะ29 RCT 6 21, โรคจิตเภท ความภาคภูมิใจต่ำ� PDD ไม่ใช่
2006, อังกฤษ ผู้ป่วยใน ความเชื่อผิดเกี่ยวกับ
ตราบาป, ความจริง
Lucksted และคณะ30 RCT 9 50, โรคจิตเภท ความเชื่อผิดเกี่ยวกับ ISMI ใช่
2011, สหรัฐอเมริกา ผู้ป่วยนอก ตราบาป, ความจริง
ทักษะทางสังคม/
2. การยอมรับตราบาป/การปรับตัว แก้ปัญหา
2.1 การให้ความรู้อย่างเดียว
Abo-Mustonen31 RCT 8 39, โรคจิตเภท การเจ็บป่วย อาการ LPSQ ไม่ใช่
2011, ฟินแลนด์ ผู้ต้องขัง ระบาดวิทยา
Hammerและคณะ32 RCT 1 1,397, ซึมเศร้า การเจ็บป่วยและ SSOSH ใช่
2010, สหรัฐอเมริกา ผู้ป่วยนอก ระบาดวิทยา
Alvidrez และคณะ33 ไม่ใช่ 1 42 ซึมเศร้า, การขอรับการรักษา PDD ไม่ใช่
2009, สหรัฐอเมริกา วิตกกังวล การเข้าถึงบริการ
2.2 การให้ความรู้และการเสริม ผู้ป่วยนอก
สร้างพลัง/การปรับตัว
Rüsch และคณะ34 RCT 3 100, โรคจิตเวช การเปิดเผยการเจ็บป่วย ISMI ไม่ใช่
2014, สวิตเซอร์แลนด์ แลกเปลีย่ นประสบการณ์
Fung และคณะ35 RCT 12 66, โรคจิตเภท การสู่ เ ป้ า หมาย แรง CSSMI ใช่
2011, ฮ่องกง ผู้ป่วยนอก จูงใจ, ทักษะทางสังคม
Luoma และคณะ36 RCT 2-3 88, สารเสพติด ความเชื่อผิดเกี่ยวกับ ISMI, PDD ใช่
2008, สหรัฐอเมริกา ในสถานบำ�บัด การตีตราการยอมรับ
Link และคณะ37 RCT 16 88, โรคจิตเภท ผลของตราบาป LPSQ ใช่
2002, สหรัฐอเมริกา คลับเฮาส์ แลกเปลีย่ นประสบการณ์
Shin & Luken38 RCT 10 48, โรคจิตเภท การจัดการภาวะวิกฤติ PDD ใช่
2002, สหรัฐอเมริกา ผู้ป่วยนอก การสื่อสารการจัดการ
ความเครียด
วรรษา39 RCT 5 40, โรคจิตเภท การให้การปรึกษา แบบวัดการ ใช่
2012, ไทย ผู้ป่วยนอก ประคับประคองแบบกลุ่ม รับรู้ตราบาป
อรัญญา40 RCT 12 15, โรคจิตเภท การสื่อสาร แบบวัดการ ใช่
2009 ผู้ป่วยนอก รับรู้ตราบาป
*RCT= randomized controlled trial, CBT = cognitive behavior therapy, LPSQ = Link’s Perceived Stigma Questionnaire, SSOSH =
Self-Stigma of Seeking Help, PDD = Perceived Devaluation and Discrimination, DSS = Depression Stigma Scale, CSSMIS = Chinese
Self-Stigma of Mental Illness Scale, ISMI = Internalized Stigma of Mental Illness แบบวัดการรับรู้ตราบาปตามแนวทางของ Wahl
(สร้างขึ้นเอง)
55
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

ด้วยตนเอง ผลลัพธ์จะวัดเกี่ยวกับทัศนคติ (ทัศนคติ ผลต่อการเลือกปฏิบตั ยิ งั ไม่ชดั เจน ต้องการการศึกษา


ทีเ่ กีย่ วข้องกับอันตราย ความสามารถ ความรับผิดชอบ เพิม่ เติม45 และมีการศึกษาในผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยโรคจิตเภท
ของผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตและการพยากรณ์โรค) โดยการให้ความรู้ พบว่าให้ผลดีเช่นเดียวกัน46
ความรู้สึก (กลัว โกรธ) และ พฤติกรรมที่ตั้งใจ การให้ความรู้ได้มีการศึกษาเปรียบเทียบ
(behavioral intention) เช่น การหลีกเลี่ยงหรือการ ระหว่างรูปแบบการอธิบายสาเหตุของโรคแบบชีว
เลือกปฏิบัติ ฯลฯ หรือการวัดภาพรวม การศึกษา พันธุศาสตร์ (biogenetic cause) เช่น โรคทางสมอง
นี้กลุ่มเป้าหมายส่วนมากเป็นผู้ที่ไม่มีภาวะเจ็บป่วย การติดเชื้อ สมองถูกท�ำลายหรือกรรมพันธุ์ ฯลฯ
ทางจิต มีเพียง 3 โปรแกรมที่กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ที่ และรูปแบบจิตสังคม (psychosocial cause) เช่น
มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต และพบว่าโปรแกรมการลด ความเครียด/ความกดดันจากการท�ำงาน ครอบครัว
ตราบาป มีประสิทธิภาพในการลดตราบาปภายในใจ การเงิน บาดแผลทางใจ ฯลฯ และแบบอื่นๆ ใน
ของการมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตได้ผล ระดับเล็กน้อย นักศึกษาแพทย์กับนักศึกษาจิตวิทยา โดยการใช้สื่อ
และพบว่า กรณีภาวะเจ็บป่วยทางจิตในภาพรวมและ แผ่นพับและวีดิทัศน์ ทั้งสองรูปแบบมีผลท�ำให้การ
กรณีโรคซึมเศร้า โปรแกรมสามารถลดตราบาปได้ มองแบบเหมารวมทางลบลดลง ในขณะทีก่ ารอธิบาย
ระดับปานกลาง กรณีโรคจิต โปรแกรมสามารถลด แบบชีวพันธุศาสตร์ ท�ำให้การมองแบบเหมารวมเรือ่ ง
ตราบาปได้ระดับเล็กน้อย การให้ความรู้อย่างเดียว การไร้ความสามารถ ท�ำนายไม่ได้/ความไม่แน่นอน
และการให้ความรูก้ บั การพบปะกับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วย และระยะห่างกับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตดีขึ้นใน
ทางจิตเป็นวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการลดตราบาป นักศึกษาแพทย์ แต่ในนักศึกษาจิตวิทยาพบว่า ไม่
(personal stigma หรือ social distance) ระดับ ต�ำหนิผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตแต่ขณะเดียวกันก็ไม่
ปานกลาง ไม่มกี ารศึกษาเกีย่ วกับวิธกี ารพบปะกับผูท้ มี่ ี เชื่อว่าโรคจะหาย ขณะที่การอธิบายแบบจิตสังคม
ภาวะเจ็บป่วยทางจิตอย่างเดียว และพบว่าการปรับ พบว่า การมองแบบเหมารวมด้านอันตรายลดลงและ
เปลี่ยนความคิดพฤติกรรมส�ำหรับบุคคลทั่วไป ไม่มี ระยะห่างกับผูป้ ว่ ยทางจิตดีขนึ้ ในกลุม่ นักศึกษาแพทย์
ประสิทธิภาพในการลดการตีตรา ผลโดยรวมพบว่า จ�ำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมรูปแบบการให้ความรู้และ
ทัง้ การให้ความรูแ้ ละการพบปะกับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วย การอธิบายสาเหตุโรค โดยการผสมผสานระหว่าง
ทางจิต ให้ผลดีในการลดการตีตราทั้งในวัยรุ่นและ สองรูปแบบอย่างสมดุล รวมทั้งการท้าทายความ
ผู ้ ใ หญ่ อย่ า งไรก็ ต าม วิ ธี ก ารพบปะผู ้ ที่ มี ภ าวะ เชื่อแบบผิดๆ47 และมีการศึกษาทบทวนการอธิบาย
เจ็บป่วยทางจิตให้ผลดีกว่าการให้ความรูส้ ำ� หรับผูใ้ หญ่ สาเหตุโรคว่าเกิดจากชีวพันธุศาสตร์ในประชาชนทัว่ ไป
แต่ในกลุม่ วัยรุน่ การให้ความรูใ้ ห้ผลดีกว่า และวิธกี าร พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับความอดทนต่ออาการ
ให้ความรู้แบบพบหน้าดีกว่าการใช้อินเตอร์เน็ตหรือ ของการเจ็บป่วย ไม่มีรายงานว่าการอธิบายสาเหตุ
วีดทิ ศั น์41 นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาในกลุม่ เป้าหมาย ของโรคด้วยวิธีนี้เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อการ
อื่น คือ สื่อมวลชน ส่วนมากเป็นนักศึกษา พบว่า เจ็บป่วยของตนเองและพบว่าผู้ป่วยโรคจิตเภทยังถูก
สามารถลดอคติได้ในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่ ปฏิเสธ/กีดกันอย่างมาก ทัง้ ๆ ทีไ่ ด้อธิบายสาเหตุของ

56
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

โรคว่าเป็นโรคทางสมอง สื่อเคมีในสมองไม่สมดุล อุปสรรคต่อการเข้าถึงการศึกษา การบริการทางการ


และมีส่วนของกรรมพันธุ์14 แพทย์และสาธารณสุขและการจ้างงาน
นอกจากนี้ ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ 6 ในระดับสถาบันการปรับวัฒนธรรมองค์กร
องค์ประกอบส�ำคัญของการพบปะกับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วย เป็นวิธีการอย่างหนึ่งเพื่อให้เกียรติและเคารพความ
ทางจิตทีม่ ผี ลต่อการลดตราบาป พบว่า องค์ประกอบ แตกต่าง ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้มารับบริการใน 3 ส่วน
ที่เน้นเรื่องการฟื้นตัวจากโรค (ความหวัง การฟื้นตัว ส่วนแรก สถานบริการและผู้ให้บริการในการจัด
และความส�ำเร็จของผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต) กับ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตและ
รูปแบบและช่องทางการพบปะทางสังคมกับผู้ที่มี เพิ่ ม ทางเลื อ กที่ ห ลากหลายในการรองรั บ ความ
ภาวะเจ็บป่วยทางจิตที่หลากหลายมีหลายช่องทาง แตกต่างของผู้รับบริการ ส่วนที่สอง กลุ่มผู้ป่วยที่ถูก
จะท�ำนายผลทางบวกค่อนข้างสูง ส่วนองค์ประกอบ ตีตรา/เลือกปฏิบัติ ให้สังคมปรับเปลี่ยนมุมมองและ
อืน่ เช่น การให้ขอ้ มูลข่าวสาร หลักฐานเกีย่ วกับความ ทัศนคติ (ยอมรับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต ผู้ป่วย
เชื่อผิดๆ ความกระตือรือร้นของผู้สอนและการสอน ปรับค่านิยมในการมาขอรับการรักษาและบริการ
ทักษะ (จะพูดอะไร/ท�ำอะไรกับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย ป้องกันโรค) ส่วนที่สาม คือ การปรับโครงสร้าง กฎ
ทางจิต) ไม่มีผลต่อการลดตราบาปโดยตรงแต่อาจมี เกณฑ์สำ� คัญ (เช่นกฎหมายเพือ่ เพิม่ การเข้าถึงบริการ)
ผลทางอ้อม ซึ่งต้องการการวิจัยเพิ่มเติมในประเด็น ซึ่งการลดตราบาปในส่วนที่หนึ่งและสองนั้น กระท�ำ
เหล่ า นี้ 48 ขณะที่ ค วามยั่ ง ยื น ในการลดระดั บ การ โดยการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ
ตีตรา/ตราบาปพบว่าการสอนซ�้ำ (booster) หรือการ การตีตราผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต การสื่อสาร
สอนหลายครั้ ง จะได้ ผ ลดี ก ว่ า และการอบรมเชิ ง คุณค่าที่หลากหลาย และการกระท�ำที่ถือว่าเป็นการ
ปฏิบัติการและการฝึกทักษะจะท�ำให้เกิดผลระยะ เลือกปฏิบตั ิ (การตีตราและแบ่งแยกกีดกัน) ในสถาน
ยาว เช่น การอบรมแพทย์ของหน่วยบริการปฐมภูมิ บริการทางการแพทย์ สถาบันการศึกษา องค์กร/
และเจ้าหน้าที่ด่านหน้า เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการ บริษัทจ้างงาน และอื่นๆ21 วิธีการเหล่านี้จะมีผลต่อ
3 กิจกรรมใน 4 ชั่วโมง ด้วยวิธีการให้ความรู้ใน ประชากรจ�ำนวนมาก ได้แก่
การวินิจฉัยโรคและวิธีการดูแลช่วยเหลือ (วิธีพูด/วิธี การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การให้ความ
ปฏิบัติต่อผู้ป่วยรุนแรงและเรื้อรัง) จะช่วยให้แพทย์/ รู้ผ่านสื่อมวลชน เช่น การรณรงค์ในสก๊อตแลนด์
เจ้าหน้าที่รู้สึกมั่นใจและสะดวกใจในการดูแลผู้ป่วย โครงการ “see me” เป็นการปรับความเข้าใจผิดๆ
มากขึ้น49 เกี่ยวกับการเจ็บป่วยทางจิต การประเมินผลในสอง
ระดับโครงสร้าง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ปีถัดมา ประชาชนเห็นด้วยว่าสาธารณชนควรได้รับ
ทางสังคมที่มีผลต่อการเกิดตราบาปหรือการตีตรา การปกป้องจากผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต ลดลง
แบ่งย่อยเป็น 1) ระดับสถาบัน เพื่อเคารพความ ร้อยละ 17 (จากร้อยละ 32 เป็นร้อยละ 15) เนือ่ งจาก
หลากหลายของผูร้ บั บริการและให้เกิดความยุตธิ รรม สาธารณชนเชื่ อ ว่ า ผู ้ ที่ มี ภ าวะเจ็ บ ป่ ว ยทางจิ ต นั้ น
(fairness) 2) ระดับสังคมโดยใช้วิธีการต่างๆ เพื่อลด อันตราย50

57
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

ขณะที่ สหราชอาณาจักร ได้ทำ� การรณรงค์ หรือพฤติกรรมที่ตั้งใจทางบวกต่อผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย


ประชาสัมพันธ์เพื่อลดการตีตราผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย ทางจิตเสมอไป ในการทบทวนวรรณกรรมเรื่องนี้
ทางจิต “Time to Change, TTC” โดยคณะท�ำงาน พบว่าการมีความรูส้ ขุ ภาพจิตเพิม่ ขึน้ ไม่ได้หมายความ
ได้แบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่ม ว่ า ระยะห่ า งทางสั ง คมกั บ ผู ้ ป ่ ว ยโรคซึ ม เศร้ า และ
ทีแ่ บ่งแยกกีดกัน อย่างชัดเจน กลุม่ สองคือกลุม่ ทีโ่ ดย โรคจิตเภทลดลง แต่อาจมีระยะห่างเพิ่มขึ้นหรือ
ส่วนลึกในใจแล้วเลือกปฏิบัติ กลุ่มที่สาม เป็นกลุ่มที่ คงเดิม15,52,53
ไม่ตระหนักว่าตนเองแบ่งแยกกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ การประเมินความคุม้ ค่าทางเศรษฐกิจของ
ต่อผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต ในการรณรงค์ครั้งนี้ TTC พบว่ากิจกรรมรณรงค์นี้มีประสิทธิภาพและใช้
มุ่งเป้าหมายไปที่กลุ่มที่สอง วัย 20-40 ปี วิธีการ ต้นทุนต�ำ่ ในการลดผลกระทบของการตีตราผูท้ มี่ ภี าวะ
โดยในปีที่ 1 ใช้ขอ้ ความทีเ่ ป็นความเชือ่ ผิดๆ (myths) เจ็บป่วยทางจิต54 และผลต่อผู้ที่เข้ารับบริการด้าน
และความจริงเกีย่ วกับการแบ่งแยกกีดกัน เพิม่ ความรู้ สุขภาพจิต พบว่า ประสบการณ์การถูกแบ่งแยก
เกี่ยวกับตราบาป/การตีตรา ปีที่ 2 เน้นเรื่องทัศนคติ กัดกันลดลงจากร้อยละ 91 ในปี 2008 เป็น ร้อยละ 88
ให้ตระหนักถึงอคติส่วนตัว เช่น การมองแบบเหมา ในปี 2011 คะแนนการเลือกปฏิบัติทางลบ (negative
รวมเกี่ ย วกั บ ผู ้ ป ่ ว ยโรคจิ ต เภทและภาพยนตร์ ที่ มี discrimination score) ลดลงจาก ร้อยละ 40 ในปี
มุมมองทางลบอย่างมากกับผูป้ ว่ ยจิตเวช ปีที่ 3 ใช้การ 2008 เป็นร้อยละ 28 ในปี 201155
รณรงค์ “เริ่มการพูดคุย (Time to talk)” เริ่มสนทนา ในระดับสังคมนั้นนโยบายกฎหมายและ
เกีย่ วกับการเจ็บป่วยทางจิต สนับสนุนการพบปะทาง ระเบียบการต่างๆ อาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงการ
สังคมระหว่างประชาชนกับผูท้ มี่ ปี ญ ั หาสุขภาพจิต การ ศึกษา การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขและ
รณรงค์ผ่านทางสื่อหลายช่องทางรวมทั้งสื่อออนไลน์ การจ้างงาน ในเรือ่ งนีไ้ ด้มกี ารศึกษา ดังนี้ Hemmens
การประเมินผลโครงการ TTC เป็นไปอย่าง และคณะ56 ได้ศึกษากฎหมายของมลรัฐต่างๆ ใน
เป็นระบบ ผลการประเมินพบว่า ผู้รับสื่อรณรงค์มี สหรัฐอเมริกา ที่เกี่ยวข้องกับการจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพ
ความตระหนักต่อปัญหาสุขภาพจิต โดยผู้ที่ได้รับสื่อ ของพลเมืองของผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยจิตหรือบุคคล
รณรงค์มคี วามรูเ้ พิม่ ขึน้ มีทศั นคติในทางบวกเกีย่ วกับ ไร้ความสามารถ (ทางจิต) 5 ประการ ได้แก่ การ
การมองแบบเหมารวมเรื่ อ งความไม่ ป ลอดภั ย บริการในระบบยุตธิ รรม (jury service) การลงคะแนน
การพบปะทางสังคมกับผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต เสียงเลือกตั้ง การเป็นพนักงานของรัฐ การแต่งงาน
ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การปรั บ ทั ศ นคติ ท างบวกและมี และการดูแลบุตร เปรียบเทียบระหว่างปี 1999 กับ
พฤติกรรมทางบวก โดยเฉพาะการพบปะทางสังคม ปี 1989 พบว่า 10 ปี ผ่านไปข้อกฎหมายยังจ�ำกัด
กับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิตสามารถใช้เป็นโปรแกรม สิ ท ธิ ข องผู ้ ป ่ ว ยจิ ต เวชในเรื่ อ งการลงคะแนนเสี ย ง
ลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติแบ่งแยกกีดกันผู้ที่ เลือกตัง้ และการขอเป็นผูม้ อี �ำนาจปกครองเด็ก (child
มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตได้51 แต่อย่างไรก็ตาม การ custody) ต่อมา Corrigan และคณะ57 ศึกษากฎหมาย
ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพจิตไม่ได้แปลว่าจะมีทศั นคติ เพิ่มเติมปี 2002 เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ การคุ้มครอง

58
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

จากการถูกแบ่งแยกกีดกัน ความเป็นส่วนตัว ของ ความรู้สึกและพฤติกรรมตอบสนองต่อตราบาป/การ


ผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิตและบุคคลไร้ความสามารถ ตีตรา ท�ำให้ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตตระหนักและ
ทางจิต พบว่า 1 ใน 4 ของกฎหมายให้การคุ้มครอง ปรับตัวต่อตราบาป/การตีตราด้วยวิธีการสร้างคุณค่า
จากการกีดกัน ครึ่งหนึ่งลดการคุ้มครองบางประการ และการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจในตนเอง ผ่านทางการ
เช่น การจ�ำกัดการครอบครองอาวุธปืนของผูป้ ว่ ยทาง ให้ความรู้ การปรับความคิดและวิธกี ารทีห่ ลากหลาย
จิตที่ก�ำลังรักษาหรือผู้ที่มีประวัติการเจ็บป่วยทางจิต ระดับระหว่างบุคคล เป็นการลดการตีตราและการ
และมี 2 มลรัฐที่จ�ำกัดสิทธิในการดูแลบุตร (parental เลือกปฏิบัติของคนในสังคมรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้อง
right) แต่ก็ไม่อนุญาตให้ใช้ข้อมูลสภาพจิตใจมาเป็น กับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วยทางจิตโดยการจัดการกับข้อมูล
ข้ออ้างในการขออ�ำนาจปกครองบุตรและครึ่งหนึ่ง ด้วยวิธกี ารให้ความรูแ้ ละการพบปะกับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บ
ได้ขยายความคุ้มครองให้ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต ป่วยทางจิต พบว่าวิธกี ารพบปะกับผูท้ มี่ ภี าวะเจ็บป่วย
ได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนสุขภาพจิตในระดับ ทางจิต ดีกว่าการให้ความรู้ และการพบปะแบบ
เดียวกับสุขภาพกาย ซึง่ หน้าจะดีกว่าการใช้วดี ทิ ศั น์ ระดับโครงสร้าง เป็นการ
ส�ำหรับผู้พิการทางจิตของไทยจะได้การ ปรับสิ่งแวดล้อมทั้งสถานที่และบุคคลให้เอื้อต่อผู้ที่มี
คุ้มครองจากนโยบายและกฎหมาย ได้แก่ รัฐต้อง ภาวะเจ็บป่วยทางจิตและไม่เกิดการเลือกปฏิบตั ิ เพือ่
จัดให้บคุ คลดังกล่าวมีสทิ ธิและโอกาสได้รบั การศึกษา ให้ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตสามารถเข้าถึงบริการ
ขั้นพื้นฐานฟรีระยะเวลาสิบสองปีเป็นพิเศษ58 และ มากขึ้นรวมถึงการใช้กฎหมายเพื่อปกป้องสิทธิผู้ที่มี
ส่งเสริมให้มีการจ้างงานโดยให้นายจ้างหรือเจ้าของ ภาวะเจ็บป่วยทางจิตและการรณรงค์เพือ่ ลดตราบาป/
สถานประกอบการรับคนพิการเข้าท�ำงานในอัตราส่วน การตีตราและการท�ำตัวออกห่าง อย่างไรก็ตาม วิธกี าร
คนพิการหนึ่งคนต่อลูกจ้างที่มิใช่คนพิการหนึ่งร้อย ลดตราบาป/การตี ต ราในผู ้ ที่ มี ภ าวะเจ็ บ ป่ ว ยทาง
คน59 และส่งเสริมให้สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ จิต ยังเป็นระยะเริ่มต้นเท่านั้นซึ่งจ�ำเป็นต้องศึกษา
สะดวกขึ้นโดยใช้สิทธิ ท.74 ในการรับบริการสุขภาพ เพิ่มเติมทั้งด้านการพัฒนาโปรแกรม การน�ำไปใช้
ในหน่วยบริการของรัฐที่ขึ้นทะเบียนในระบบประกัน และการประเมินผลโปรแกรมการลดตราบาป/การ
สุขภาพถ้วนหน้าโดยไม่ต้องมีใบส่งต่อ60 ตีตราและการวิจยั ติดตามผลระยะยาวต่อไปในอนาคต
ส่ ว นในระดั บ โครงสร้ า งจ� ำ เป็ น ต้ อ งศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม
สรุป เกีย่ วกับการกีดกันทีม่ ผี ลต่อการเข้าถึงบริการของผูท้ ี่
องค์ความรู้วิธีการลดตราบาป/การตีตรา มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตทัง้ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิต ตามกรอบแนวคิดของ และบริการสุขภาพกาย ปัญหาอุปสรรคและการแก้ไข
Cook ที่มี 3 ระดับ คือ ระดับภายในบุคคล ระดับ ปัญหาในการน�ำนโยบายสู่การปฏิบัติในเรื่องการ
ระหว่างบุคคล และระดับโครงสร้าง โดยที่ระดับ เข้าถึงบริการของผู้ป่วยเหล่านี้
ภายในบุคคล เป็นการปรับเปลีย่ นความรูค้ ดิ อารมณ์

59
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

References 14. Angermeyer MC, Holzinger A, Carta MG, Schomerus G.


1. Stuart H. The stigmatization of mental illness. Can J Biogenetic explanations and public acceptance of mental
Psychiatry 2012;57(8):455-6. illness: systematic review of population studies. Br J
2. Brohan E, Slade M, Clement S, Thornicroft G. Experiences Psychiatry 2011;199:367-72.
of mental illness stigma, prejudice and discrimination: 15. Pescosolido BA, Martin JK, Long JS, Medina TR, Phelan
a review of measures. BMC Health Service Research JC, Link BG. A disease like any other? A decade of
2010.10.80 http.//www.biomedcentral.com/1472- change in public reactions to schizophrenia, depression,
6963/10/80. and alcohol dependence. Am J Psychiatry 2010;1671321-
3. Link BG, Phelan JC. Conceptualizing stigma. Annual Review 30.
of Sociology. 2001;27:363-85. 16. Dietrich S, Bujantugs B, Kenzine D, Matschinger H,
4. Corrigan PW, Shapiro JR. Measuring the impact of Angermeyer MC. The relationship between public causal
programs that challenge the public stigma of mental beliefs and social distance toward mentally ill people.
illness. Clin Psychol Rev 2010;30(8):907-22. Aust NZJ Psychiatry 2004;38:348-54.
5. Thornicroft G, Rose D, Kassam A, Sartorius N. Stigma: 17. Link BG, Phelan JC, Bresnahan M, Stueve A, Pescosolido
ignorance, prejudice or discrimination? Br J Psychiatry BA. Public conceptions of mental illness: labels, causes,
2007;190:192-93. dangerousness and social distance. Am J Public
6. Rüsch N, Angermeyer MC, Corrigan PW. Mental illness Health 1999;89:1328-33.
stigma concepts, consequences, and initiatives to reduce 18. Livingston JD, Boyd JE. Correlates and consequences of
stigma. Eur Psychiat 2005;20(8):529–39. internalized stigma for people living with mental illness:
7. Ritsher JB, Otilingam PG, Grajales M. Internalized stigma a systematic review and meta-analysis. Social Science
of mental illness: psychometric properties of a new and Medicine 2010;71:2150-61.http://dx.doi.org/10.1016/j.
measure. Psychiatry Res 2003;121:31-49. socscimed.2010.09.030.
8. Corrigan PW. The impact of stigma on severe mental 19. Lysaker PH, Tsai J, Yanos P, Roe D. Associations of
illness. Cognitive Behavioral Practice 1998;5:201-22. multiple domains of self- esteem with four dimensions of
9. Metzl JM, Hansen H. Structural competency: Theorizing stigma in schizophrenia. Schizophrenia Res 2008;98:194-
a new medical engagement with stigma and inequality. 200.
Social Science Medicine 2014;103:126-33. 20. Vauth R, Kleim B, Wirtz M, Corrigan PW. Self-efficacy
10. Rüsch N, Thornicroft G. Does stigma impair prevention and empowerment as outcomes of self-stigmatizing and
of mental disorders? Br J Psychiatry 2014;204:249-51. coping in schizophrenia. Psychiatry Res 2007;150:71-80.
11. Corrigan PW, Kerr S, Knudsen L. The stigma of mental 21. Corrigan PW, Watson AC, Barr L. The Self–Stigma of
illness: explanatory models and method for change. Mental Illness: implications for self–esteem and self–efficacy.
Applied&Preventive Psychology 2005;11(3):179-190. J Soc Clin Psychol 2006;25(8):875-84.
12. Angermeyer MC, Dietrich S. Public beliefs about and 22. Sirey JA, Bruce ML, Alexopoulos GS, Perliick DA,
attitudes towards people with mental illness: a review of Friedman SJ, MeyersBSl. Stigma as a barrier of recovery:
population studies. Acta Psychiatr Scand 2006;113:163-79. perceived sigma and patient-rated severity of illness as
13. Crisp AH, Gelder Mg, Rix S, Meltzer HI, Rowlands OJ. predictors of antidepressant drug adherence. Psychiatric
Stigmatisation of people with mental illnesses. Br J Serv 2001;52:1615-20.
Psychiatry 2000;177:4-7.
(เอกสารอ้างอิงที่ 23-60 แสดงในเว็บไซต์ http://dmhjournal.go.th)
60
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

References 14. Angermeyer MC, Holzinger A, Carta MG, Schomerus G.


1. Stuart H. The stigmatization of mental illness. Can J Biogenetic explanations and public acceptance of mental
Psychiatry 2012;57(8):455-6. illness: systematic review of population studies. Br J
2. Brohan E, Slade M, Clement S, Thornicroft G. Experiences Psychiatry 2011;199:367-72.
of mental illness stigma, prejudice and discrimination: 15. Pescosolido BA, Martin JK, Long JS, Medina TR, Phelan
a review of measures. BMC Health Service Research JC, Link BG. A disease like any other? A decade of
2010.10.80 http.//www.biomedcentral.com/1472-6963/10/80. change in public reactions to schizophrenia, depression,
3. Link BG, Phelan JC. Conceptualizing stigma. Annual Review and alcohol dependence. Am J Psychiatry 2010;1671321-
of Sociology. 2001;27:363-85. 30.
4. Corrigan PW, Shapiro JR. Measuring the impact of programs 16. Dietrich S, Bujantugs B, Kenzine D, Matschinger H,
that challenge the public stigma of mental illness. Clin- Angermeyer MC. The relationship between public causal
Psychol Rev 2010;30(8):907-22. beliefs and social distance toward mentally ill people.
5. Thornicroft G, Rose D, Kassam A, Sartorius N. Stigma: Aust NZJ Psychiatry 2004;38:348-54.
ignorance, prejudice or discrimination? Br J Psychiatry 17. Link BG, Phelan JC, Bresnahan M, Stueve A, Pesco-
2007;190:192-93. solido BA. Public conceptions of mental illness: labels,
6. Rüsch N, Angermeyer MC, Corrigan PW. Mental illness causes, dangerousness and social distance. Am J Public
stigma concepts, consequences, and initiatives to reduce Health 1999;89:1328-33.
stigma. Eur Psychiat 2005;20(8):529–39. 18. Livingston JD, Boyd JE. Correlates and consequences of
7. Ritsher JB, Otilingam PG, Grajales M. Internalized stigma internalized stigma for people living with mental illness:
of mental illness: psychometric properties of a new a systematic review and meta-analysis. Social Science
measure. Psychiatry Res 2003;121:31-49. and Medicine 2010;71:2150-61.http://dx.doi.org/10.1016/j.
8. Corrigan PW. The impact of stigma on severe mental socscimed.2010.09.030.
illness. Cognitive Behavioral Practice 1998;5:201-22. 19. Lysaker PH, Tsai J, Yanos P, Roe D. Associations of
9. Metzl JM, Hansen H. Structural competency: Theorizing multiple domains of self- esteem with four dimensions of
a new medical engagement with stigma and inequality. stigma in schizophrenia. Schizophrenia Res 2008;98:194-
Social Science Medicine 2014;103:126-33. 200.
10. Rüsch N, Thornicroft G. Does stigma impair prevention 20. Vauth R, Kleim B, Wirtz M, Corrigan PW. Self-efficacy
of mental disorders? Br J Psychiatry 2014;204:249-51. and empowerment as outcomes of self-stigmatizing and
11. Corrigan PW, Kerr S, Knudsen L. The stigma of mental coping in schizophrenia. Psychiatry Res 2007;150:71-80.
illness: explanatory models and method for change. 21. Corrigan PW, Watson AC, Barr L. The Self–Stigma of
Applied&Preventive Psychology 2005;11(3):179-190. Mental Illness: implications for self–esteem and self–
12. Angermeyer MC, Dietrich S. Public beliefs about and efficacy. J Soc Clin Psychol 2006;25:875-84.
attitudes towards people with mental illness: a review of 22. Sirey JA, Bruce ML, Alexopoulos GS, Perliick DA, Fried-
population studies. Acta Psychiatr Scand 2006;113:163-79. man SJ, Meyers BSl. Stigma as a barrier of recovery:
13. Crisp AH, Gelder Mg, Rix S, Meltzer HI, Rowlands OJ. perceived sigma and patient-rated severity of illness as
Stigmatisation of people with mental illnesses. Br J predictors of antidepressant drug adherence. Psychiatric
Psychiatry 2000;177:4-7. Serv 2001;52:1615-20.

1
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๕๘

23. Vogel DL, Wade NG, Haake S. Measuring self-stigma 33. Rüsch N, Abbruzzese E, Hagedorn E, Hartenhauer D,
associated with seeking psychological help. J Couns Psychol Kaufmann I, Curschellas J, et al. Efficacy of coming proud
2006;53:325-37. to reduce stigma’s impact among people with mental
24. Wahl OF. Mental health consumers' experience of stigma. illness: pilot randomized controlled trial. Br J Psychiatry
Schizophrenia Bull 1999;25:467-78. 2014;204:391-97.
25. Cook JE, Purdie-Vaughns V, Meyer IH, Busch JTA. 34. Fung KM, Tsang HW, Cheung WM. Randomized controlled
Intervening within and across levels: a multilevel approach trial of the self-stigma reduction program among individu-
to stigma and public health. Social Science and als with schizophrenia. Psychiatry Res 2011;189:208-14.
Medicine 2014;103:101-109. http://dx.doi.org/10.1016/j. 35. Lucksted A, Drapalski A, Calmes C, Forbes C, DeForge
socscimed.2013.09.023. B, Boyd J. Ending self-stigma: pilot evaluation of a new
26. Mittal D, Sullivan G, Chekuri L, Allee E, Corrigan PW. intervention to reduce internalized stigma among people
Empirical studies of self-stigma reduction strategies: a with mental illness. PsychiatrRehabil J 2011;58:170-82.
critical review of literature. Psychiatr Serv 2012;63(10): 36. Luoma JB, Koklenberg BS, Hayes SC, Bunting K, Rye
974-81. AK. Reducing self esteem in substance abuse through
27. Yanos PT, Roe D, West ML, Smith SM, Lysaker PH. acceptance and commitment therapy: model, manual
Group-based treatment for internalized stigma among development and pilot outcomes. Addict Res Theory
persons with severe mental illness: findings from a 2008;16:149-65.
randomized controlled trial. Psychol Serv 2012;9(3):248-58. 37. Link BG, Struening BL, Neese-Todd S, Asmussen S,
28. MacInnes DL, Lewis M. The evaluation of a short group Phelan JC. On describing and seeking to change the
programme to reduce self stigma in people with serious experience of stigma. Psychiatr Rehab Skills 2002;6:201-31
and enduring mental health problems. J Psychiatr Mental 38. Shin SK, Lukens EP. Effects of psycho-education for
Health Nurs 2008;15:59-65. Korean Americans with chronic mental illness. Psychiatric
29. Knight MTD, Wykes T, Hayward P. Group treatment Serv 2002;53:1125-31.
of perceived stigma and self esteem in schizophrenia: 39. Jumpasri W, Dangdomyouth P. The effect of using group
a waiting list trial of efficacy. Behavioral and Cognitive supportive psychotherapy on perceived stigma of schizo-
Psychotherapy 2006;34:305-18. phrenic patients (Master Thesis). Bangkok: Chulalongkorn
30. Aho-Mustonen K, Tiihonen J, Repo-Tiihonen E, Ryynänen University. 2011.
OR, Räty H. Group psychoeducation for long term 40. Khamphueng A. Effect of the interpersonal communica-
offender patients with schizophrenia: an exploratory tion skills training program on perceived stigma among
randomized controlled trial. Br J Psychiatry 2011;21:163-76. persons with schizophrenia receiving services at Pichai
31. Hammer JH, Vogel DL. Men’s help seeking for depression: Hospital, Uttradit province. (Master Thesis). Chieang Mai:
the efficacy of a male sensitive brochure about counseling. Chiang Mai University. 2011
Counsel Psychologist 2010;38:296-313. 41. Griffiths KM, Carron-Arthur B, Parsons A, Reid R. Effec-
32. AlvidrezJSnowden LR, Roa SM, et al. Psychoeducation tiveness of programs for reducing the stigma associated
to address stigma in black adults refer for mental health with mental disorders. A meta-analysis of randomized
treatment: a randomized pilot study. Comm Ment Health controlled trials. World Psychiatry 2014;13:161-75.
J 2009;45:127-36.

2
Journal of Mental Health of Thailand 2015; 23(1)

42. Corrigan PW, Larson JE, Rüsch N. Self-stigma and the 51. Evan-Lacko S, Malcolm E, West K, Rose D, London
“why try” effect: impact on life goals and evidence-based J, Rüsch, et al. Influence of Time to Change’s social
practices. World Psychiatry 2009;8:75-81. marketing interventions on stigma in England 2009-2011.
43. Sibitz I, Unger A, Woppmann A, Zidek T, Amering M. Br J Psychiatry 2013;202(suppl55):s77-s88.
Stigma resistance in patients with schizophrenia. Schizo- 52. Amgermeyer MC, Holzinger A, Matschinger H. Mental
phrenia Bull 2011;37(2):316-23. health literacy and attitude toward people with mental
44. Link BG, Struening El, Neese-Todd S, et al. On describing illness: a trend analysis based on population surveys in
and seeking to change the experience of stigma. the eastern part of Germany. Eur Psychiatry 2009;24:225-
Rehabilitation Skills 2002;6:201-31. 32.
45. Clement S, Lassman F, Barley E, Evans-Lacko S, William 53. Schomerus G, Schwahn C, Holzinger A, Corrigan PW,
P, Yamaguchi S, et al. Mass media interventions for Grabe HJ, Carta MG, et al. Evolution of public attitudes
reducing mental health-related stigma, Cochrane Database about mental illness: a systemic review and meta-analysis.
Syst Rev 2013;23;7:cd009453.doi:10.1002114651858. Acta Psychiatr Scand 2012;125:440-52.
cd009453.pub2. 54. Evan-Lacko S, Henderson C, Thornicroft G, McCrone
46. Worakul P, Thavichachart N, Lueboonthavatchai P. Effects P. Economic evaluation of anti-stigma social marketing
of psychoeducational program on knowledge and attitude campaign in England 2009-2011. Br J Psychiatry 2013;
upon schizophrenia of schizophrenic patients’ caregivers. 202(suppl55):s95-s101.
J Med Asso Thailand 2007;90:1199-1204. 55. Corker E, Hamilton S, Henderson C, Weeks C, Pinfold
47. Lincoln TM, Arens E, Berger C, Rief W. Can antistigma V, Rose D, et al. Experiences of discrimination among
campaigns be improved? A test of the impact of bio- people using mental health services in England 2008-2011.
genetic Vs psychosocial causal explanations on implicit Br J Psychiatry 2013;202(suppl55):s58-s63.
and explicit attitudes to schizophrenia. Schizophrenia Bull 56. Hemmens C, Miller M, Burton VS, Milner S. The conse-
2008;34(5):984-94. quences of official labels: an examination of the rights
48. Knaak S, Modgill G, Patten SB. Key ingredients of lost by the mentally ill and mentally incompetent ten
Anti-Stigma Programs for Health Care Providers: A years later. Community Ment Health J. 2002;38(2):129-40.
data synthesis of evaluative studies. Can J Psychiatry 57. Corrigan Pw, Watson AC, Hegman ML, Warpinski S,
2014;59(10suppl):S19-S26. Gracia G, Slopen N, et al. Structural stigma in state
49. Stuart H, Chen Shu-Ping, Christie R, Dobson K, Kirsh legislation. Psychiatr Serv 2005;56:557-63.
B, Knaak S, et al. Opening Minds in Canada: targeting 58. National Education Act of B.E. 2542, (Amendment Act)
change. Can J Psychiatry 2014;59(10suppl):S13-S18. B.E 2553.
50. Dunion L, Gordon L. Tackling the attitude problem. The 59. Person with Disability Empowerment Act, B.E. 2550
achievement to date of Scotland’s “see me” anti-stigma 60. Right privilege for mentally disable people. Nonthaburi:
campaign, Mental Health Today 2005 March:22-25. Srithanya Hospital. B.E. 2557.

You might also like