You are on page 1of 7

ชุมชนปลอดภัย

แนวคิดเกี่ยวกับอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุหมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจ ทำให้ทรัพย์สินหรือ
ร่างกายเสียหาย หรือถึงแก่ชีวิต
ประเภทของอุบัติเหตุ

3. อุบัติเหตุในสาธารณสถาน คือ เหตุที่เกิด


2. อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
ใน โรงเรียน โรงภาพยนตร์ โรงมหรสพ รวม
1.อุบัติเหตุในเคหสถาน คือ คือ เหตุที่เกิดจากการทำงาน หรือ
ถึงอัคคีภัย
เหตุที่เกิดขึ้นในครอบครัว ทั้ง ประกอบอาชีพบางอาชีพ
ในบ้านและนอกบ้าน

4. ภัยพิบัติจากธรรมชาติ คือ 5. อุบัติเหตุจากการจราจร คือ เหตุที่


เหตุที่เกิดขึ้นเนื่องจากธรรมชาติ เกิดขึ้นจากการคมนาคมหรือขนส่ง
ทำให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์

สาเหตุของอุบัติเหตุ
ตัวบุคคล สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
1.1มีจิตลักษณะในด้านพฤติกรรมความปลอดภัยน้อย คือไม่สามารถคาดการณ์ได้ 2.1สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับตนเอง เช่น การข้ามถนนไม่ตรงทางข้าม 1.ความบกพร่องชำรุดหรือเสื่อมสภาพของวัสดุอุปกรณ
1.2มีพฤติกรรมไม่ปลอดภัย 2.การก่อสร้างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
1.ความประมานท สะเพร่า ไม่รอบคอบ 3.สภาพดินฟ้าอากาศ มีหมอกควัน
2.ความคึกคะนอง โอ้อวด สนุกสนาน
2.2สิ่งแวดล้อมทางสังคม ความบกพร่อวของกฏหมาย
3.การไม่ยอมรับรู้ มีลักษณะต่อการต่อต้าน
ไม่สามารถบังคับใช้ให้เป็นไปตามกฏหมายได้
4.ชอบผัดวันประกันพรุ่งและไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย
5.ขาดความรู้ความเข้าใจ มีความรู้น้อย
6.ขาดทักษะ
7.มีการใช้สารเสพติดในขณะปฏิบัติงาน
8.มีเจตคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความปลอดภัย
9.มีการดื่มสุราและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในขณะขับรถ
1.3สภาพร่างกายได้แก่
1.โรคประจำตัว เช่นโรคหัวใจ
2.ความบกพร่องของอวัยวะต่างๆ เช่น เเขนขา
3.สภาพร่างกายที่ไม่พร้อม เช่น อาการง่วง
1.4ความบกพร่องทางจิตใจ เช่น โรคประสาท โรคจิต
อุบัติเหตุก่อให้เกิดความสูญเสียหลายทาง คือ
1. ความสูญเสียทางกาย หมายถึง ผู้ประสบอุบัติเหตุถึงแก่ชีวิต พิการ และมีผู้บาดเจ็บ
2. ความสูญเสียทางจิตใจและสังคม เป็นความสูญเสียที่ไม่อาจเห็นได้ด้วยตา
ขึ้นอยู่กับความคิด ความรู้สึกของผู้ประสบอุบัติเหตุ หรือของสังคมนั้น ๆ
3. ความสูญเสียทางจิดใจและสังคมนี้ ได้แก่ ความเจ็บป่วย ความทุกข์ ความเสียใจ ความหวาดกลัว การเสียขวัญ
จิตฟั่ นเฟือนการถูกตัดออกจากสังคม และการถูกทอดทิ้งให้โดดเดี่ยว เป็นต้น

การป้องกันอุบัติเหตุ

อุบัติเหตุเกิดจากการขาดความสมดุระหว่างคนและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากคนไม่มีความสามารถ
ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม พฤดิกรรมของคนจึงเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุร้อยละ 90 มาตรการป้องกันอุบัติเหตุได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งมีหลักการวิเคราะห์ความปลอดภัย 3 ประการ ดังนี้
1. การแยกแยะ
2. การควบคุม
3. การประเมินผล
แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัย

ความปลอดภัยในชุมชน หมายถึง การที่ประชาชนในชุมชนปราศจากสิ่งอันตรายจากสภาพที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและ


ทรัพย์สิน มี ความปลอดภัยจากสิ่งเเวดล้อม ปลอดภัยจากอาชญากรรม สาธารณภัย อุบัติโรคภัยและภัยจากสารเสพติด
ความปลอดภัยในชุมชนสามารถเเยกออกได้เป็น 6 ด้านดังนี้
1.ดูแลป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมเป็นพิษหรือสิ่งเเวดล้อมอันตราย เพื่อคุ้มครองดูแลรักษาสภาพเเวดล้อม ควบคุมสถานประกอบการ
2.ดูแลป้องกันอาชญากรรม พฤติกรรมที่มีการกระทำผิด โดยผู้กระทำผิดมีลักษณะร้ายแรงมีความรุนเเรงเป็นอันตรายต่อสังคม
3.ป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย จัดหาบุคลากร เครื่องมือ เครื่องใช้ในการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยป้องกัน
ไม่ให้เกิดภัยต่างๆ
4.ป้องกัน แก้ไข การเกิดอุบัติเหตุ ตัดสภาพเเวดล้อมให้ปลอดภัยดำเนินการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์อบรมให้ความรู้เรื่องอุบัติเหตุ
5.ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดำเนินการป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อต่างๆในชุมชน
6.ป้องกันแก้ไขปัญหาสารเสพติด เกี่ยวกับการป้องกัน แก้ไข เพื่อค้นหาผู้เสพติด
หลักการสําคัญในการสร้างเสริมความ
ปลอดภัยในชุมชน
กระบวนการยึดปัญหาเป็นศูนย์กลาง กระบวนการยึดพื้นที่เป็นศูนย์กลาง
เป็นกระบวนการที่ใช้มากที่สุดเป็นกระบวนการหาวิธีแก้ไขปัญหาที่ เป็นกระบวนการที่เน้นปัญหาภาพรวมของชุมชนมากกว่าเน้น
มีอยู่ทีละปัญหาโดยมีปัญหาความรุนแรงในชุมชนเราจะคัดเลือก ปัญหาเฉพาะกระบวนการแก้ไขปัญหาวิธีนี้ต้องการเน้นการแก้ไข
ปัญหาเหล่านี้มาแก้ไขโดยจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสถิติ ทั้งสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมเพื่อพัฒนาความปลอดภัย
การเกิดปัญหาและความรุนแรงของปัญหากระบวนการแก้ไขโดย กระบวนการนี้ประกอบด้วยกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น
ยึดปัญหาเป็นศูนย์กลางเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญต่อการสร้างเสริม ถนนสวนสาธารณะ โรงเรียน เพื่อนบ้าน เป็นต้น กระบวนการ
ความปลอดภัยเหมาะสมที่จะใช้กับการสร้างเสริมสุขภาพและความ แก้ไขปัญหาโดยยึดพื้นที่มี 3 ขั้นตอน คือ
ผาสุกนอกจากนี้ยังช่วยวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงซึ่งช่วยให้การแก้ไข 1 วินิจฉัยความปลอดภัยภายหลังที่ได้สำรวจแหล่งน้ำที่มีความ
ปัญหาได้สำเร็จ เสี่ยงแล้วกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องช่วยกันหาวิธีจัดการแหล่งน้ำที่
ตัวอย่างเช่น เสี่ยงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดหรือการสอนหลักสูตรว่ายน้ำ
การป้องกันปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำซึ่งพบว่าสาเหตุที่ เพื่อการเอาชีวิตรอดฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้ นคืนชีพ (CPR) หรือจัด
ทำให้เด็กอายุมากว่า ๑๕ ปีเสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึงปีละ ๙๐๔ คนหรือ เวรยามเพื่อป้องกัน
วันละ ๒.๕ คนช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน 2 วิเคราะห์สาเหตุของจุดอ่อนเช่นผู้ปกครองไปทำงานเด็กอยู่บ้าน
ตามลำพังอาจไปเล่นน้ำกับเพื่อนโดยไม่มีผู้ปกครองดูแล
3 วิเคราะห์วิธีการแก้ไขจุดอ่อนเช่นคนในชุมชนช่วยกันดูแลสอด
ส่องจัดกิจกรรมให้เด็กตระหนักถึงความปลอดภัยในการเล่นน้ำ
การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและ
สร้างเสริมความปลอดภัย
การกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัย มีขั้นตอนดังนี้

1. การสำรวจข้อมูลในชุมชน 2.การกำหนดวางแผนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนิน
1.1 การร่วมกันสำรวจปัญหาต่าง ๆ ของชุมชน เพื่อกำหนด งาน ดังนี้
แนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัย 2.1 การระบุข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความ
1.2 สำรวจความต้องการของคนในชุมชนว่ามีความต้องการ ต้องการ
อย่างไรบ้าง 2.2 การพิจารณาแนวโน้มการพยากรณ์ในอนาคต
1.3 จัดลำดับความสำคัญของปัญหาและความต้องการของ ว่าจะมี
คนในชุมชน ดวามเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดและสนองความ
1.4 ศึกษาแนวทางและหลักการในการสร้างเสริมความปลอดภัย ต้องการของคนในชุมชนอะไรบ้าง
ในชุมชน 2.3 การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ชัดเจน
1.5 จัดลำดับความสำคัญในการแก้ไขปัญหา และความสามารถ 2.4 การกำหนดวิธีการดำเนินงาน
ในการปฏิบัติของสมาชิก และนำไปกำหนดแนวทางปฏิบัติ 2.5 การปฏิบัติตามแผนหรือการดำเนินงานตาม
แผน
2.6 การประเมินผลหลังจากนำแผนไปปฏิบัติ

You might also like