You are on page 1of 4

www.safetylifethailand.

com

Hazardous Spill Clean-up

สาระสำคัญ
1. สาเหตุการหกรัว่ ไหลของสารอันตราย
2. การปฏิบตั เิ มือ่ สารอันตรายหกรัว่ ไหล
เมือ่ พูดถึง “สารอันตราย” (Hazardous
Material) ทุกคนคงจะทราบกันดีวา่ เป็นวัตถุท่ี
สามารถทำอันตรายต่อชีวติ และสุขภาพอนามัย
รวมทัง้ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และ
สภาพแวดล้อม แต่หากเรามีมาตรการควบคุม
ทีด่ ี หรือมีแผนการเฝ้าระวังทีร่ ดั กุมก็จะสามารถ
ป้องกันอุบตั ภิ ยั จากสารอันตรายได้ สาเหตุการหกรัว่ ไหลของสารอันตราย
โรงงานอุตสาหกรรมทีใ่ ช้สารอันตรายใน 1. การบรรจุหบี ห่อ
กระบวนการผลิตสินค้า อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ มากที่ 2. การขนส่ง
สุดคือ การรัว่ ไหลของสารอันตราย เช่น สารเคมี ปฏิบตั งานดังกล่าวอาจจะไม่ได้อยูใ่ กล้กบั บริเวณ 3. การถ่ายเทสาร การเตรียมสาร รวมถึง
ในรูปของของเหลวหรือก๊าซตัวทำละลายอินทรีย์ ที่เกิดเหตุ จึงเป็นหน้าที่ของผู้อยู่ในเหตุการณ์ การผสมสาร
(Organic solvent) และตัวทำละลายอนินทรีย์ จะต้องพยายามเข้าระงับเหตุ เนือ่ งจากการเข้า 4. การชำรุดของอุปกรณ์เครือ่ งจักร
(inorganic solvent) ระงับเหตุเบือ้ งต้นเป็นสิง่ สำคัญทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิ 5. การจัดเก็บ
ปกติทว่ั ไป หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับสาร ก่อนเพือ่ ลดความสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ การบรรจุหบี ห่อ
อันตราย มักจัดตัง้ หน่วยงานขึน้ โดยเฉพาะให้มี ด้วยเหตุนเ้ี อง ผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับ ภาชนะหรือหีบห่อใช้บรรจุ (Packaging)
หน้าทีร่ บั ผิดชอบจัดการสารอันตรายเมือ่ เกิดการ สารเคมีหรือวัตถุอนั ตรายชนิดต่างๆ ต้องเรียนรู้ สินค้าอันตรายทีไ่ ม่ได้มาตรฐานเป็นสาเหตุหนึง่
หกรัว่ ไหล แต่อย่างไรก็ตาม ในขณะเกิดอุบตั เิ หตุ วิธปี อ้ งกันและระงับเหตุเบือ้ งต้นก่อนจะส่งมอบ ทีท่ ำให้เกิดการหกรัว่ ไหลของสารอันตราย เช่น
จากการหกรั่วไหลของสารอันตรายนั้น หน่วย ให้กบั ผูร้ บั ผิดชอบโดยตรงต่อไป วัสดุใช้บรรจุหบี ห่อไม่เหมาะสมกับสารอันตราย
1
หรือความคงทนของวัสดุบรรจุหบี ห่อไม่ได้ผา่ น
การทดสอบตามมาตรฐานทีก่ ำหนดไว้ใน UN
โดยทัว่ ไปแล้ว การทดสอบภาชนะบรรจุ
หีบห่อวัตถุอนั ตรายตามมาตรฐานกำหนดจะมี
4 ประเด็นหลัก ได้แก่
 การทดสอบแรงกระแทกหรือการตก
 การทดสอบการรัว ่ ไหล
 การทดสอบความดันภายในถัง
 การทดสอบความทนทานต่อแรงกด
การขนส่ง
การขนส่งสารอันตราย หากทำไม่ถกู วิธี

ก็เป็นอีกสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำให้การเกิดอุบตั เิ หตุได้ เหมาะสมเพือ่ ป้องกันไม่ให้สารหกรัว่ ไหลออกมา และความชื้นมีผลกระทบต่อภาชนะบรรจุหรือ


เช่นกัน ความเสีย่ งในการเกิดอุบตั เิ หตุเกีย่ วข้อง ภายนอก ทีส่ ำคัญคือ จะต้องไม่ให้สารอันตราย หีบห่อสารอันตราย อาจจะเกิดการบวมหรือการ
โดยตรงกับการขนส่ง กล่าวคือ ยิง่ มีการขนส่ง สัมผัสร่างกายในขณะปฏิบตั งิ าน กัดกร่อนซึง่ เป็นสาเหตุทำให้เกิดการรัว่ ไหลของ
เพิม่ มากขึน้ โอกาสในการเกิดอุบตั เิ หตุกส็ งู ขึน้ การชำรุดของอุปกรณ์เครือ่ งจักร สารอันตรายได้เช่นกัน
ตามไปด้วย เมื่อมีการนำอุปกรณ์หรือเครื่องจักรซึ่ง แนวปฏิบตั ิ 10 ประการ เมือ่ เกิดการ
การขนส่งวัตถุอนั ตรายหรือสารอันตราย เกีย่ วข้องกับสารอันตรายเข้ามาปฏิบตั กิ าร ต้อง หกรัว่ ไหลของสารอันตราย
ระหว่างประเทศทัง้ ทางทะเลและทางอากาศจะ มีการตรวจสอบระบบการทำงานของเครือ่ งจักร 1. หนีภยั
ใช้กฎระเบียบระหว่างประเทศในการควบคุม เป็นประจำตามแผนการซ่อมบำรุง เพือ่ ป้องกัน 2. ชีบ้ ง่ สภาพการณ์ทเ่ี ห็น
สำหรับการขนส่งทางบกในประเทศ ส่วนใหญ่ การหกรัว่ ไหลของสารอันตราย จุดที่จะต้องเฝ้า 3. ขอความช่วยเหลือ
แต่ละประเทศจะเป็นผูก้ ำหนดระเบียบขึน้ เอง ระวังเป็นพิเศษ ได้แก่ ท่อนำสารเคมีและท่อก๊าซ 4. ปิดกัน้ บริเวณ
การถ่ายเทสาร โดยเฉพาะข้อต่อของท่อต่างๆ เหล่านัน้ 5. ค้นหาผูบ้ าดเจ็บ
การเตรียมสาร การผสมสาร เป็นอีกหนึง่ การจัดเก็บ 6. ชีบ้ ง่ อันตราย
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุสารเคมีหกรั่วไหล การจัดเก็บสารอันตราย ถ้าเป็นสารเคมี 7. การเตรียมแผนการปฏิบตั งิ าน
ดังนัน้ ผูป้ ฏิบตั ต้องมีความรูค้ วามชำนาญในการ ต้องมีการแยกประเภทการจัดเก็บทีถ่ กู ต้องและ 8. ใช้อปุ กรณ์และวัสดุทเ่ี หมาะสม
ปฏิบตั กิ บั สารอันตรายทีถ่ กู วิธตี ามหลักวิชาการ เหมาะสม รวมทัง้ พิจารณาสภาพแวดล้อมของ 9. การกำจัดการหกรัว่ ไหล
กระทำด้วยความระมัดระวังหรือใช้อปุ กรณ์ชว่ ยที่ สถานทีจ่ ดั เก็บสารอันตราย เนือ่ งจากอุณหภูมิ 10. การกำจัดสารทีร่ ว่ั ไหล
2
หนีภยั (Escape) วิธแี ก้ไขสถานการณ์เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ เพลิงไหม้
สิง่ แรกทีต่ อ้ งกระทำเมือ่ ได้กลิน่ หรือเห็น หรือสารรัว่ ไหล วิธปี ฐมพยาบาล วิธกี ำจัด ฯลฯ
สารอันตรายหกรัว่ ไหลออกมาคือ หนีออกไปให้ ในกรณีไม่ทราบว่าสารนัน้ เป็นอะไร และ
ห่างจากจุดทีม่ กี ารหกรัว่ ไหลของสารอันตรายใน จำเป็นจะต้องเข้าไปในพืน้ ทีซ่ ง่ึ เกิดการหกรัว่ ไหล
ระยะปลอดภัย ถ้าสามารถทำได้ ให้ปดิ หรือกำจัด ให้ประเมินว่า ในบริเวณนัน้ มีระดับอันตรายสูง
แหล่งทีก่ อ่ ให้เกิดการลุกไหม้ เช่น ประกายไฟ ให้สวมชุดป้องกันชนิดปิดมิดชิดทัง้ ตัวและสวม
เปลวไฟ ความร้อน เชือ้ เพลิง เป็นต้น หน้ากากชนิดมีถงั อากาศในตัว (SCBA : Self-
ระบุสภาพการณ์ทเ่ี ห็น (Identify What Contained Breathing Apparatus)
You Saw) เตรียมแผนปฏิบัติการ (Preparing a
ผูป้ ระสบเหตุสารเคมีรว่ั ไหลต้องมีสติใน Plan of Action)
ให้ขอ้ มูลจำเป็นกับเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องเพือ่ วาง เมือ่ ทราบว่าสารอันตรายนัน้ คืออะไร จะ
แผนดำเนินการ ข้อมูลสำคัญและเป็นประโยชน์ ต้องตัดสินใจปฏิบตั กิ ารโต้ตอบ (Responding)
เบือ้ งต้น เช่น สารทีห่ กรัว่ ไหลนัน้ คืออะไร ใช้ทำ ด้วยการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารขึน้ โดยคาดการณ์
อะไร มีลกั ษณะอย่างไร มีกลิน่ สี ควัน หรือเกิด อันตรายร้ายแรงหลังการรัว่ ไหลแล้วกำหนดว่า
ฟอง มีปริมาณเท่าไร เห็นฉลากบนภาชนะบรรจุ ใคร จะทำหน้าทีอ่ ะไร และจะต้องประสานงาน
สารที่หกรั่วไหลหรือไม่ ข้อมูลดังกล่าวทั้งหมด กับผู้อื่นอย่างไร
จะมีความสำคัญต่อการแก้ไขสถานการณ์ฉกุ เฉิน ใช้อุปกรณ์และวัสดุที่เหมาะสม (Get
ในขณะนั้นเป็นอย่างยิ่ง Proper Equipment and Materials)
ขอความช่วยเหลือ(Get Help) ในการใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล หาก
ถ้าไม่สามารถกำจัดสารนัน้ ได้ตามลำพัง ทราบว่าสารหกรัว่ ไหลนัน้ เป็นอะไรก็สามารถจะ
ให้ขอความช่วยเหลือจากหน่วยฉุกเฉินของสถาน เลือกชุดอุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลทีเ่ หมาะสม
ประกอบการหรือจากหน่วยงานภายนอก มาใช้ แต่หากไม่ทราบสารหกรัว่ ไหลนัน้ คือสาร
ปิดกัน้ บริเวณ (Seal Off the Area) ชนิดไหน ให้เลือกชุดอุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล
ให้ทำการปิดกัน้ บริเวณทีส่ ารอันตรายหก ซึง่ ให้การปกป้องในระดับสูงสุด
รัว่ ไหล เพือ่ ป้องกันไม่ให้ผอู้ น่ื เข้าไปเพราะอาจ การกำจัดการหกรัว่ ไหล (Contain the
ได้รบั อันตราย และเป็นการควบคุมสารอันตราย Chemical Spill)
ที่หกรั่วไหลไม่ให้ขยายวงกว้างออกไป โดยใช้ การกำจัดและควบคุมการแพร่กระจาย
ทรายล้อมรอบหรือใช้วัสดุดูดซับ ของสารอันตรายมีความสำคัญยิง่ ในการลดความ
ค้นหาผูบ้ าดเจ็บ (Looking for Injuries) เสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ ให้นอ้ ยลงหรือเบาบางลง แต่
ถ้าพบผูบ้ าดเจ็บ ให้รบี นำผูบ้ าดเจ็บออก ทัง้ นี้ ต้องมีวธิ ปี ฏิบตั ทิ ถ่ี กู ต้องในการกำจัดและ
จากสถานทีเ่ กิดเหตุ นำไปยังบริเวณทีม่ อี ากาศ ระบุอนั ตราย (Identify the Hazards) ควบคุมการหกรัว่ ไหลของสารอันตราย มิฉะนัน้
ถ่ายเทสะดวก หากเสื้อผ้าของผู้บาดเจ็บมีสาร การชีบ้ ง่ อันตรายมีอยูห่ ลายวิธี เช่น ชีบ้ ง่ ความเสียหายจะรุนแรงขึน้ และยากต่อการแก้ไข
ปนเปือ้ นจากการหกรัว่ ไหลของสารอันตราย ให้ จากข้อมูลความปลอดภัย (MSDS : Material การกำจัดการหกรัว่ ไหลมี 2 วิธี ได้แก่
รีบถอดเสือ้ ผ้าทันที Safety Data Sheet) สารเคมีทกุ ตัวทีม่ กี ารใช้ใน 1. การหยุดการรั่วไหลที่แหล่งกำเนิด
ถ้าร่างกายผูบ้ าดเจ็บสัมผัสสารอันตราย โรงงานหรือสถานประกอบการจะมีขอ้ มูลความ (Stopping the Source)
ให้รบี ล้างด้วยน้ำโดยให้นำ้ ไหลผ่านปริมาณมาก ปลอดภัย (MSDS) ซึง่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสารเคมี 2. การหยุดการแพร่กระจาย (Stopping
แล้วรีบนำตัวส่งแพทย์ อย่างครบถ้วน ทัง้ คุณสมบัติ ความเป็นอันตราย the Spread)
3
การหยุดการรั่วไหลที่แหล่งกำเนิด กระเด็นขยายวงกว้าง และเกิดอันตรายร้ายแรง
กระทำโดยการปิดวาล์ว อุดภาชนะ และ/หรือ หากสารเคมีชนิดนั้นทำปฏิกิริยากับน้ำ
จัดวางภาชนะให้รอยรัว่ อยูใ่ นตำแหน่งทีส่ ารจะ  ทำลายหรือจำกัดฤทธิโ์ ดยการใช้วส ั ดุ
ไม่หกรั่วไหลอีกต่อไป ดูดซับให้ถกู ต้องตามชนิดของสารทีร่ ว่ั ไหล เนือ่ ง

การหยุดการแพร่กระจาย กระทำโดย จากวัสดุดดู ซับมีคณุ สมบัตแิ ละประสิทธิภาพใน


การสร้างสิง่ กีดขวางการไหลของสารอันตรายไม่ การใช้งานต่างกัน ทัง้ นี้ จะต้องตระหนักไว้ตลอด
ให้แพร่กระจายออกไป ใช้วธิ ที ำช่องหรือร่องเพือ่ เวลาว่า “วัสดุดดู ซับทีใ่ ช้แล้วต้องรีบห่อหรือ
บังคับทิศทางการไหลของสารอันตราย ทีส่ ำคัญ บรรจุในภาชนะทีเ่ หมาะสม เพราะวัสดุดดู ซับ
อย่างยิ่งคือ จะต้องไม่ให้สารอันตรายไหลลงสู่ ชิน้ นัน้ ได้กลายเป็นวัตถุอนั ตรายไปแล้ว”
แหล่งน้ำเป็นอันขาด วัสดุทใ่ี ช้ในการทำคันกัน้  อุปกรณ์ปอ้ งกันทีป่ นเปือ้ นสารเคมี ถ้า การรัว่ ไหลของสารเคมีครัง้ ต่อไปทีอ่ าจจะเกิดขึน้
เช่น เม็ดดิน แผ่นดูดซับ หรือแท่งดูดซับ ฯลฯ เป็นชนิดใช้แล้วทิง้ ต้องทิง้ ให้ถกู ต้อง หากเป็น เมือ่ ไหร่กไ็ ด้ ฯลฯ
ขณะสารเคมีรว่ั ไหลหรือกำลังดำเนินการ ชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ต้องล้างสารเคมีออก เอกสารอ้างอิง
กำจัดสารอันตรายทีร่ ว่ั ไหล ควรปฏิบตั ดิ งั นี้ ให้หมดและตรวจสอบก่อนนำมาใช้อีกครั้ง 1. เอกสารเผยแพร่ “การปฏิบตั งิ านกับ
 ห้ามใช้อป ุ กรณ์สอ่ื สารทุกชนิด เพราะ  หลังกำจัดสารเคมีหกรั่วไหลเสร็จสิ้น สินค้าอันตราย” และ “ภาชนะหรือหีบห่อทีใ่ ช้
อาจจะเกิดประกายไฟขึน้ ได้ ต้องทบทวนสาเหตุของการหกรัว่ ไหลเพือ่ นำไป บรรจุสนิ ค้าอันตราย” จัดทำโดย แผนกควบคุม
 ห้ามเดินเหยียบบนสารทีห ่ กรัว่ ไหลโดย แก้ไขข้อบกพร่องและป้องกันไม่ให้เกิดขึน้ ซ้ำอีก สินค้าอันตราย การท่าเรือแห่งประเทศไทย
เด็ดขาด หากเกิดการเสียดสีจะทำให้ลกุ ไหม้ได้ รวมทัง้ ประเมินแผนฉุกเฉิน จัดหาวัสดุทดแทน 2. ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย
 ห้ามใช้นำ ้ เด็ดขาด เพราะจะทำให้สาร ที่ใช้ไปแล้ว เตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญเหตุ เรือ่ งการขนส่งวัตถุอนั ตรายทางบก พ.ศ. 2545
44

You might also like