You are on page 1of 67

หลักการและแนวทางการสารวจความปลอดภัย

ห้ องปฏิบัติการโดยใช้ ESPReL Checklist


กลีบที่ 2: ระบบการจัดการสารเคมี

รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ภาควิชาเคมี


คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
กลีบที่ 2 : ระบบการจัดการสารเคมี

oการจัดการข้ อมูลสารเคมี
oการจัดเก็บสารเคมี
oการเคลื่อนย้ ายสารเคมี
2.1 การจัดการข้อมูลสารเคมี

ระบบบันทึกข้ อมูล
สารบบสารเคมี (Chemical Inventory)
การจัดการสารที่ไม่ ใช้ แล้ ว (Clearance)
การใช้ ประโยชน์ จากข้ อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
2.1.1 ระบบบันทึกข้อมูล
1)มีการบันทึกข้อมูลสารเคมี :
e-ไฟล์ , เอกสาร
2) โครงสร้างของข้อมูลสารเคมีทบ่ี นั ทึก
รหัสของภาชนะบรรจุ, ชื่อสารเคมี, CAS no.,ประเภทความเป็ นอันตราย
ขนาดบรรจุของขวด, Grade, ราคา, ปริมาณสารเคมีคงเหลือในขวด
ทีจ่ ัดเก็บสารเคมี, วันทีร่ ับเข้ามา ,วันทีเ่ ปิ ดใช้ขวด ,ผู้ขาย/ผู้จาหน่าย
ผู้ผลิต ,วันหมดอายุ
2.1.2 สารบบสารเคมี (Chemical inventory)
การจัดทาสารบบสารเคมีในห้องปฏิบัตกิ าร/หน่วยงาน/
องค์กร ให้มคี วามเป็ นปั จจุบันอยู่เสมอ
1) นาเข้าสารเคมี 2)การจ่ายออกสารเคมี
3)การปรับข้อมูลให้เป็ นปั จจุบันอย่างสม่าเสมอ
4)มีรูปแบบการรายงานทีช่ ัดเจนชื่อสารเคมี
CAS no. (ถ้ามี), ประเภทความเป็ นอันตรายของสารเคมี
ปริมาณ, สถานทีเ่ ก็บ,
2.1.3 การจัดการสารทีไ่ ม่ใช้แล้ว (Clearance)

1) สารทีไ่ ม่ต้องการใช้
2) สารทีห่ มดอายุตามฉลาก
3) สารทีห่ มดอายุตามสภาพ
2.1.4 การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพือ่ การบริหารจัดการ

1) การประเมินความเสี่ยง : ใช้ในการประเมินความเป็ น
อันตรายและความเสี่ยงของห้องปฏิบัตกิ าร
2) การจัดสรรงบประมาณ :การจัดซือ้ สารเคมีของ
หน่วยงาน/โครงการ
3)การแบ่งปั นสารเคมี :แบ่งปั นสารเคมีระหว่าง
ห้องปฏิบัตกิ าร
2.2 การจัดเก็บสารเคมี

2.2.1 ข้อกาหนดทั่วไปในการจัดเก็บ
สารเคมี
2.2.2 ข้อกาหนดการจัดเก็บสารเคมีตาม
กลุ่มสาร
2.2.1 ข้อกาหนดทั่วไปในการจัดเก็บ
สารเคมี
1). การแยกเก็บสารเคมีตามสมบัตกิ ารเข้ากัน
ไม่ได้ของสารเคมี (Chemical
incompatibility)
2) เก็บสารเคมีของแข็งแยกออกจากของเหลว
ทัง้ ในคลังสารเคมีและห้องปฏิบัตกิ าร อย่างเป็ น
สัดส่วน
3/18/2022 14
3) หน้าตู้เก็บสารเคมีในพืน้ ทีส่ ่วนกลางมีการระบุ
-รายชื่อสารเคมีและเจ้าของ
-ชื่อผู้รับผิดชอบดูแลตู้
-สัญลักษณ์ตามความเป็ นอันตราย
4) เก็บสารเคมีทุกชนิดอย่างปลอดภัยตามตาแหน่งที่
แน่นอน และไม่วางสารเคมีบริเวณทางเดิน
5) มีป้ายบอกบริเวณทีเ่ ก็บสารเคมีทเ่ี ป็ นอันตราย อย่าง
ชัดเจน
6)มีระบบการควบคุมสารเคมีทต่ี ้องควบคุมเป็ นพิเศษ
ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างสารทีม่ ฤ
ี ทธิเ์ ป็ นพิษเฉียบพลันสูง สารทีม
่ ห
ี ลักฐาน
ั ว่าเป็ นสารก่อมะเร็ง สารก่อการกลายพันธุ์ และสารทีเ่ ป็ น
ยืนยันแน่ชด
พิษต่อระบบสบ ื พันธุ์

ประเภทความเป็ นอันตราย ตัวอย่างสารเคมี


สารทีม่ ีฤทธิเ์ ป็ นพิษเฉียบพลันสูง cyanide, sodium fluoroacetate, ethyleneimine
aziridine, organic compounds of mercury,
nicotine and salts of nicotine
สารก่อมะเร็ง nickel oxide, arsenic trioxide, benzidine
and salts of benzidine, asbestos, benzene
สารก่อการกลายพันธุ ์ acrylamide, colchicines, carbendazim, benomyl,
2-nitrotoluene
สารทีเ่ ป็ นพิษต่อระบบสืบพันธุ ์ mercury, lead hexafluorosilicate, lead acetate,
lead nickel silicate, warfarin
7)ไม่ใช้ตู้ดูดควันเป็ นทีเ่ ก็บสารเคมีหรือของเสีย
(อาจจะวางอุปกรณ์บางอย่างได้แต่ต้องเป็ นระเบียบ)

8) ไม่วางขวดสารเคมีบนโต๊ะและชั้นวางของโต๊ะ
ปฏิบัตกิ ารอย่างถาวร ยกเว้นขวดสารเคมีทอ่ี ยู่ระหว่าง
การใช้งานในแต่ละวัน
2.2.2 ข้อกาหนดการจัดเก็บสารเคมี
ตามกลุ่มสาร
1) สารไวไฟ 2) สารกัดกร่อน 3) แก๊ส
4) สารออกซิไดซ์และสารทีก่ ่อให้เกิดเปอร์
ออกไซด์ 5) สารทีไ่ วต่อปฏิกริ ิยา 6) ภาชนะ
บรรจุภณ
ั ฑ์และฉลากสารเคมี 7) เอกสารข้อมูล
ความปลอดภัย (SDS)
1) สารไวไฟ
- เก็บสารไวไฟให้หา่ งจากแหล่งความร้อน
แหล่งกาเนิดไฟ เปลวไฟ ประกายไฟ และแสงแดด
อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6 เมตร)
- เก็บสารไวไฟในห้องปฏิบัตกิ ารในภาชนะ
ทีม่ คี วามจุไม่เกิน 20 ลิตร
- เก็บสารไวไฟในห้องปฏิบัตกิ ารไม่เกิน 10 แกลลอน
(38 ลิตร)
- ถ้ามีเกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ต้องจัดเก็บไว้ในตู้
สาหรับเก็บสารไวไฟโดยเฉพาะ
https://www.safetyequipmentsolutions.com/safety-products/hazmat-containment/
eagle-safety-storage-cabinets/flammable-liquid-storage-cabinets
http://www.herbertwilliams.com/products/product/61/
http://www.utexas.edu/safety/ehs/lab/manual/3_fundamentals.html สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2558)
- เก็บสารไวไฟสูงในตู้ทเี่ หมาะสม เช่นตู้เย็นทีป่ ลอดภัย
2) สารกัดกร่อน
1. เก็บขวดสารกัดกร่อน (ทัง้ กรดและเบส) ไว้ในระดับต่า และขวดขนาด
ใหญ่ (มากกว่า 1 ลิตร หรือ 1.5 กิโลกรัม) ไว้ในระดับทีส่ ูงจากพืน้ ไม่เกิน
60 เซนติเมตร (2 ฟุต)
2. เก็บขวดกรดในตูเ้ ก็บกรดโดยเฉพาะ และมีภาชนะรองรับทีเ่ หมาะสม
ตูค้ วรทาจากวัสดุป้องกันการกัดกร่อน เช่น ไม้ พลาสติก หรือวัสดุอน่ื ๆ ที่
เคลือบด้วยอีพ๊อกซี่ (epoxy enamel) ภาชนะรองรับ เช่น ถาด
พลาสติก หรือมีวัสดุหอ่ หุม้ ขวดเพือ่ ป้ องกันการรั่วไหล
Δ เก็บขวดกรดขนาดเล็ก (น้อยกว่า 1 ลิตร หรือ 1.5 กิโลกรัม) บนชัน้ วาง
ต้องมีภาชนะรองรับ หรือมีวัสดุหอ่ หุม้ ป้ องกันการรั่วไหลด้วย
3) แก๊ส
เก็บถังแก๊สในห้องปฏิบตั กิ ารต้องมีอุปกรณ์ยดึ ทีแ่ ข็งแรง ถัง
แก๊สทุกถังต้องมีสายคาด 2 ระดับ หรือโซ่ยดึ กับผนัง โต๊ะ
ปฏิบัตกิ าร

จาก http://blink.ucsd.edu/safety/research-lab/chemical/gas/storage.html#
Basic-storage-guidelines-for-al สืบค้นเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2556)
ถังแก๊สทีไ่ ม่ได้ใช้งานทุกถังต้องมีฝาปิ ดครอบหัวถัง หรือ
มี guard ป้ องกันหัวถัง

เข้าถึงได้จาก http://proactivegassafety.com/gas-safety-training-
workshops/laboratory-gas-users-workshop สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2556)
มีพนื้ ทีเ่ ก็บถังแก๊สเปล่ากับถังแก๊สทีย่ ังไม่ได้ใช้งาน และติดป้ าย
ระบุไว้อย่างชัดเจน
ถังแก๊สมีทว่ี างปลอดภัย ห่างจากความร้อน แหล่งกาเนิดไฟ และ
เส้นทางสัญจรหลัก บริเวณทีเ่ ก็บควรเป็ นทีแ่ ห้งและอากาศถ่ายเทได้
ดี มีอุณหภูมิไม่เกิน 52 °C

เก็บถังแก๊สออกซิเจนห่างจากถังแก๊สเชือ้ เพลิง (เช่น


acetylene) แก๊สไวไฟ และวัสดุไหม้ไฟได้ (combustible
materials) อย่างน้อย 6 m หรือมีฉาก/ผนังทีไ่ ม่ตดิ ไฟกั้น มีความ
สูงอย่างน้อย 1.5 เมตร (5 ฟุต) และสามารถหน่วงไฟได้อย่างน้อย
30 นาที
ที่มา yakos65.com และ sg.vwr.com สืบค้นเมื่อ 28 พค 2563
4) สารออกซิไดซ์และสารทีก่ ่อให้เกิดเปอร์ออกไซด์
เก็บสารออกซิไดซ์หา่ งจากความร้อน แสง แหล่งกาเนิดประกายไฟ
อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6 เมตร) ตัวอย่างเช่น หากมีแหล่งทีใ่ ห้ความร้อนสูงมาก
อยู่ในห้องปฏิบัตกิ าร ควรจัดเก็บสารออกซิไดซ์ห่างจากแหล่งความร้อนมากกว่า
25 ฟุต (7.6 เมตร)

เก็บสารทีม่ ีสมบัตอิ อกซิไดซ์ ไว้ในภาชนะแก้วหรือภาชนะทีม่ ีสมบัติ


เฉื่อย

ใช้ฝาปิ ดทีเ่ หมาะสม ไม่ควรใช้จุกคอร์ก หรือจุกยางปิ ดขวด


เนื่องจากจุกคอร์ก หรือจุกยาง สามารถทาปฏิกิริยากับสารออกซิไดซ์
ได้
่ สารออกซไิ ดซ ์
ต ัวอย่างกลุม
Peroxides (O22-) Chlorates (ClO3-)
Nitrates (NO3-) Chlorites (ClO2-)
Nitrites (NO2-) Hypochlorites (ClO-)
Perchlorates (ClO4-) Dichromates (Cr2O72-)
Permanganates (MnO4-) Persulfates (S2O82-)
Chromates (CrO42-)
การจัดเก็บสารทีก่ ่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์มีดงั นี้
1) เก็บสารทีก่ ่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์หา่ งจากความร้อน
แสง และแหล่งกาเนิดประกายไฟ อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6
เมตร)

2) ภาชนะบรรจุสารทีก่ ่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์ตอ้ งมีฝาปิ ด


ทีแ่ น่นหนา และไม่ใช้จุกแก้ว เพือ่ หลีกเลี่ยงการสัมผัส
อากาศ เนื่องจากแรงเสียดทานขณะเปิ ดอาจทาให้เกิดการ
ระเบิดได้

3) มีการตรวจสอบการเกิดเพอร์ออกไซด์อย่างสม่าเสมอ
ตัวอย่างสารเปอร์ออกไซด์
Class A : Chemicals that form explosive levels of peroxides
without concentration
Isopropyl ether Sodium amide (Sodamide)
Butadiene Tetrafluoroethylene
Chlorobutadiene (Chloroprene) Divinyl acetylene
Potassium amide Vinylidene Chloride
Potassium metal

เพอร์ออกไซด์ทเี่ กิดอันตรายได้ จากการเก็บ : ทิ้งหลังจากเก็บ


เกิน 3 เดือน
Divinyl acetylene Potassium metal
Divinyl ether Sodium amide
Isopropyl ether Vinylidene chloride
5) สารทีไ่ วต่อปฏิกริ ิยา
มีป้ายคาเตือนทีช่ ัดเจนบริเวณหน้าตู้หรือพืน้ ทีท่ เี่ ก็บสารทีไ่ วต่อปฏิกริ ิยา เช่น ป้ าย
“สารไวต่อปฏิกริ ิยา–ห้ามใช้นา้ ” และ “สารไวต่อปฏิกริ ิยา-ห้ามสัมผัสอากาศ” เป็ นต้น

เก็บสารไวปฏิกริ ิยาต่อนา้ ออกห่างจากแหล่งนา้ ทีอ่ ยู่ในห้องปฏิบัตกิ าร เช่น


อ่างนา้ ฝั กบัวฉุกเฉิน หัวสปริงเกลอร์ เป็ นต้น เพือ่ หลีกเลีย่ งสภาวะทีท่ าให้สาร
เกิดปฏิกริ ิยา

มีการตรวจสอบสภาพการเก็บทีเ่ หมาะสมของสารทีไ่ วต่อปฏิกริ ิยาอย่าง


สม่าเสมอ
Some Classes of Water Reactive
Chemicals

-Alkali metals Li, Na, K

-Alkali metal hydrides Lithium aluminum hydride

-Inorganic acid halides POCl3, SOCl2, SO2Cl2

-Anhydrous metal halides AlCl3


https://www.youtube.com/watch?v=YRPuDQt
B_5Y

https://www.youtube.com/watch?v=I8tOtZKpi
04
6) ภาชนะบรรจุภณ
ั ฑ์และฉลากสารเคมี

1) เก็บสารเคมีในภาชนะทีเ่ หมาะสมตามประเภทของสารเคมี

-ห้ามเก็บกรดไฮโดรฟลูออริกในภาชนะแก้ว
-ห้ามเก็บสารละลายด่างทีม่ ี pH สูงกว่า 11 ในภาชนะแก้ว
เพราะสามารถกัดกร่อนแก้วได้
-ห้ามเก็บสารทีก่ ่อให้เกิดเปอร์ออกไซด์ในภาชนะแก้ว
ทีม่ ีฝาเกลียวหรือฝาแก้ว เพราะหากมีการเสียดสี
จะทาให้เกิดการระเบิดได้
2) ภาชนะทีบ่ รรจุสารเคมีทุกชนิดต้องมีการติด
ฉลากทีเ่ หมาะสม

ที่มา Brandywineprimelabels.com ที่มา Outdoorindustry.org


ฉลากสารเคมี

3/18/2022 46
(ที่มา Lion.com)
3) ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะบรรจุ
สารเคมีและฉลากสารเคมีอย่างสม่าเสมอ
7) เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS)
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Material Safety Data
Sheet: MSDS หรือ SDS)
เป็ นแหล่งข้อมูลทีส่ าคัญของสารเคมี
ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย
บางหัวข้อจะประกอบด้วยค่าตัวแปรต่างๆ และข้อมูลเชิง
เทคนิค เช่น ตัวแปรแสดงความเป็ นพิษ (เช่น LD50, LC50 ฯลฯ)
หรือค่ามาตรฐานด้านอาชีวอนามัย (เช่น TWA ฯลฯ) เป็ นต้น

ดังนั้นควรทาความเข้าใจเพือ่ ทีจ่ ะสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลใน


SDS ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามระบบสากล เช่น GHS ขององค์การ
สหประชาชาติ ข้อมูลใน SDS จะประกอบด้วย 16
หัวข้อ :

ผู้ผลิตและหรือจาหน่าย /ความเป็ นอันตราย/ ส่วนประกอบและข้อมูล


เกีย่ วกับส่วนผสม/ มาตรการปฐมพยาบาล /มาตรการผจญเพลิง/
มาตรการจัดการเมือ่ มีการหกรั่วไหล/ การใช้และการจัดเก็บ/ การ
ควบคุมการได้รับสัมผัสและการป้ องกันส่วนบุคคล/ สมบัตทิ าง
กายภาพและเคมี /ความเสถียรและการเกิดปฏิกริ ิยา/ ข้อมูลด้าน
พิษวิทยา /ข้อมูลด้านระบบนิเวศ/ ข้อพิจารณาในการกาจัด/ ข้อมูล
สาหรับการขนส่ง/ ข้อมูลเกีย่ วกับกฎข้อบังคับ /ข้อมูลอืน่ ๆ
3/18/2022 52
2.3 การเคลื่อนย้ายสารเคมี
(Chemical transportation)

o การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายในห้องปฏิบัตกิ าร
o การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายนอกห้องปฏิบัตกิ าร

3/18/2022 53
1) การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายในห้องปฏิบตั กิ าร
@ผู้ทที่ าการเคลื่อนย้ายสารเคมีใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วน
บุคคลทีเ่ หมาะสม

@ ปิ ดฝาภาชนะทีใ่ ช้บรรจุสารเคมีให้สนิทขณะ
เคลื่อนย้ายให้สนิท หากจาเป็ นอาจผนึกด้วยแผ่นพารา
ฟิ ล์ม

3/18/2022 54
@ ใช้รถเข็นทีม่ ีแนวกัน้ เมื่อมีการเคลื่อนย้ายสารเคมี
พร้อมกันหลายๆ ขวด

3/18/2022 55
@ ใช้ตะกร้าหรือภาชนะรองรับ (secondary
container) ในการเคลื่อนย้ายสารเคมี

3/18/2022 56
@เคลือ่ นย้ายสารเคมีทเ่ี ป็ นของเหลวไวไฟในภาชนะรองรับทีม่ วี ัสดุกัน
กระแทก

@ ใช้ถังยางทีท่ นต่อการกัดกร่อนและการละลายในการเคลือ่ นย้ายสาร


พวกกรดและตัวทาละลาย

@เคลือ่ นย้ายสารทีเ่ ข้ากันไม่ได้ในภาชนะรองรับทีแ่ ยกกัน

3/18/2022 57
2) การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายนอก
ห้องปฏิบัตกิ าร
@. ใช้ภาชนะรองรับและอุปกรณ์เคลือ่ นย้ายทีม่ ่ันคง
ปลอดภัย ไม่แตกหักง่าย และมีทกี่ ันขวดสารเคมีล้ม

@ ใช้รถเข็นมีแนวกั้นกันขวดสารเคมีล้ม

@ เคลือ่ นย้ายสารทีเ่ ข้ากันไม่ได้ ในภาชนะรองรับทีแ่ ยกกัน

3/18/2022 58
@ ใช้ลฟ ิ ท์ขนของในการเคลือ่ นย้ายสารเคมีและ
วัตถุอันตรายระหว่างชั้น

@ ใช้ตัวดูดซับสารเคมีหรือวัสดุกันกระแทกขณะเคลือ่ นย้าย เช่น


vermiculite โฟมกันกระแทก เป็ นต้น

3/18/2022 59
3/18/2022 60
ตัวอย่ างเกณฑ์ การแยกสารเคมีเพื่อการจัดเก็บ

เกณฑ์ที่ 1 : Chemical segregation (Hazard class) จาก Laboratory Safety Manual,


The University of Texas Austin

เกณฑ์ที่ 2 : Chemical segregation (Hazard class) ของ Lawrence Berkeley


National Laboratory (Berkeley Lab, U.S. Department of Energy)

เกณฑ์ที่ 3 : ChemAtert Chemical incompatibility

เกณฑ์ที่ 4 : Listing จาก Chemical Segregation & Incompatibility Guidelines,

เกณฑ์ที่ 5 : EPA’s Chemical Compatibility Chart

3/18/2022 61
ประเภทและสั ญญลักษณ์ ความเป็ นอันตรายของ
สารเคมี

∆ ระบบการจาแนกประเภทและการติดฉลาก
สารเคมีทเี่ ป็ นระบบเดียวกันทั่วโลก (GHS, The
Globally Harmonized System)
∆ ระบบ UNRTDG (UN Class)
∆ ระบบการจาแนกประเภทและการติดฉลาก
สารเคมีของสหภาพยุโรป (เดิม)
3/18/2022
62
สั ญญลักษณ์ อนั ตรายจากสารเคมี

3/18/2022 63
ระดับอันตรายของสารเคมี ของ NFPA
(National Fire Protection Association, USA)

3/18/2022 64
3/18/2022 65
GHS system Label

3/18/2022 66
3/18/2022 67

You might also like