You are on page 1of 131

( .

228)
2562

https://chembites.org/chem-is-fun/

1
จุดมุ่งหมายสาคัญของปฏิบตั ิการเคมีวิเคราะห์สาหรับนักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 2 คือ เพื่อให้นักศึกษาได้ม ี
โอกาสเรียนรูแ้ ละทาความเข้าใจหลักการทางเคมีวเิ คราะห์ ในการนี้ นักศึกษาจะได้ทาความคุน้ เคยกับเครือ่ งมือ
เครือ่ งใช้ต่างๆ ในห้องปฏิบตั กิ าร เทคนิคทัวๆ
่ ไปในการทาการทดลอง และในขณะเดียวกัน ก็ตอ้ งอาศัยความรู้
ทางเคมีวเิ คราะห์จากภาคบรรยาย รวมถึงวิธกี ารคานวณแบบต่างๆ ในการตีความข้อมูล และสรุปผลทีไ่ ด้จาก
การทดลองด้วย

สาหรับการทดลองในชัน้ นี้จะเป็ นการวิเคราะห์หาปริมาณของสารเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)


เพือ่ ทีจ่ ะให้ได้ประโยชน์มากทีส่ ดุ จากปฏิบตั กิ ารเคมีวเิ คราะห์ นักศึกษาควรปฏิบตั ติ ามข้อแนะนาดังต่อไปนี้

1. อ่านทาความเข้าใจล่วงหน้าเกีย่ วกับการทดลองทีจ่ ะต้องทาในแต่ละสัปดาห์


2. ทาการทดลองด้วยความระมัดระวังและให้ความสนใจเทคนิคในการทาการทดลองเป็ นพิเศษ
3. พยายามลงมือทาการทดลองเอง เพือ่ เพิม่ พูนทักษะทางปฏิบตั กิ าร
4. เก็บรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลองไว้ต่างหาก นอกเหนือจากทีเ่ ขียนไว้ในรายงานการทดลอง
5. พยายามศึกษาผลการทดลองต่อไปเมือ่ มีโอกาส

อย่างไรก็ตาม การศึกษาหาความรูใ้ นวิทยาการแขนงต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ งทีต่ ้องมีการออกแบบ


และวางแผนการทดลอง อาทิเช่น เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตร์ส ิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์การแพทย์ มักต้อง
อาศัยเทคนิคและหลักการเบื้องต้นทางเคมีวเิ คราะห์เป็ นสาคัญ นักศึกษาจึงควรได้รบั ประโยชน์จากการทาการ
ทดลองเหล่ านี้ ตามสมควร โดยสามารถน าความรู้ความชานาญและเทคนิ คต่างๆ จากห้องปฏิบ ัติการเคมี
วิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคการแพทย์ได้ นอกจากนี้ องค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากห้องปฏิบตั กิ าร
จะมีสว่ นส่งเสริมความเข้าใจหลักการและทฤษฎีต่างๆ ในภาคบรรยายด้วย

คณะผูจ้ ดั ทา
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สิงหาคม 2562


คานา
ระเบียบการใช้หอ้ งปฏิบตั กิ ารเคมี 1
ความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ ารเคมี 2
เลขนัยสาคัญ 5
อุปกรณ์ในห้องปฏิบตั กิ ารเคมี 7
เทคนิคต่างๆ ในห้องปฎิบตั กิ ารเคมีทค่ี วรทราบ 9
- เทคนิคการใช้เครือ่ งหมุนเหวีย่ ง 9
- เทคนิคการใช้ตะเกียงแก๊ส 10
- เทคนิคการใช้เครือ่ งชัง่ 11
- เทคนิคการใช้โถดูดความชืน้ 12
- เทคนิคการถ่ายเทสารละลายจากปิ เปตหรือหลอดหยด 12
- เทคนิคการอ่านปริมาตรของเหลวจากเครือ่ งแก้วบอกปริมาตร 13
- เทคนิคการไทเทรต 14
- เทคนิคการใช้ปิเปต 18
- เทคนิคการใช้บวิ เรต 20
- เทคนิคการกรองตะกอน 22
การทดลองที่ 1 การปรับเทียบอุปกรณ์วดั ปริมาตร 23
การทดลองที่ 2 การหาปริมาณของนิกเกิลด้วยวิธวี เิ คราะห์โดยน้าหนัก 36
การทดลองที่ 3 การเตรียม Standard Solution (Primary, Secondary Standard) 43
และการ Standardization
การทดลองที่ 4 การหาปริมาณคลอไรด์ดว้ ย Mohr’s Method และ Volhard’s Method 52
การทดลองที่ 5 การไทเทรตแบบสารประกอบเชิงซ้อน 57
การทดลองที่ 6 การไทเทรตแบบ Iodimetry และ Iodometry 71
การทดลองที่ 7 การใช้เครือ่ งมือทางเคมีไฟฟ้ า (Electrochemical Technique) 79
ในการวัดความเป็ นกรด-เบส – pH meter
การทดลองที่ 8 การวิเคราะห์ดว้ ยวิธกี ารวัดค่าการดูดกลืนแสง (Colorimetric analysis) 89
การทดลองที่ 9 การหา Stoichiometry ของสารประกอบเชิงซ้อนโดยวิธี Spectrophotometry 104
การทดลองที่ 10 การคานวณสถิตใิ นเคมีวเิ คราะห์ดว้ ยโปรแกรม Excel 114
ใ ้ ้

1. รักษาความสะอาดเรียบร้อยในห้องปฏิบตั กิ าร เมื่อทาการทดลองเสร็จ สิน้ แล้ว ให้ใช้ผา้ ชุบน้ า


เช็ดโต๊ะให้สะอาด ถ้าทาสารเคมีหกบนโต๊ะหรือบนพืน้ ให้ทาความสะอาดทันที
2. ก่อนใช้สารเคมีชนิดใดก็ตาม ให้อา่ นฉลากชือ่ สารให้แน่ใจเสียก่อน
3. ห้ามยกขวดหรือภาชนะใส่สารเคมีส่วนกลางไปใช้ทโ่ี ต๊ะ
4. ไม่เติมสารเคมีมากเกินความจาเป็ น
5. สารเคมีทใ่ี ช้ไม่หมด ไม่ควรใส่กลับลงในขวดเก็บสารนัน้ อีก
6. ไม่ใช้ปิเปตหรือหลอดหยดของนักศึกษาเองดูดสารละลายจากขวดทีต่ ้องใช้ร่วมกันกับผู้อ่นื
หรือจากขวดทีม่ หี ลอดหยดอยูแ่ ล้ว
7. ไม่ทง้ิ ก้านไม้ขดี ไฟ กระดาษลิตมัสหรือของแข็งใดๆ ทีไ่ ม่ละลายน้าลงในอ่างล้างมือ
8. ห้ามเผาเครื่องแก้วชนิดเนื้อหนา เช่น กระบอกตวง บิวเร็ว หรือขวดใส่สารด้ วยเปลวไฟจาก
ตะเกียงโดยตรง เพราะจะทาให้แตกได้ง่าย ส่วนถ้วยกระเบื้องอาจเผาในเปลวไฟโดยตรงได้ แต่ไม่ควรเผาให้
ร้อนเร็วเกินไป

Page 1 of 124
ดภ ใ ้

เพือ่ ให้การทดลองในห้องปฏิบตั กิ ารเคมีวเิ คราะห์ดาเนินไปอย่างเรียบร้อย และเพื่อความปลอดภัยของ


ผูท้ อ่ี ยูใ่ นห้องปฏิบตั กิ ารทุกคน นักศึกษาพึงปฏิบตั ติ นตามกฎและระเบียบต่อไปนี้

I ้ ฎ พ่ ดภ

1. สวมเสือ้ คลุมปฎิบตั กิ ารและแว่นตานิรภัยตลอดเวลาทีอ่ ยูใ่ นห้องปฎิบตั กิ ารเคมี


2. ห้ามเล่นและห้ามรับประทานอาหาร เครือ่ งดื่ม หรือสูบบุหรี่ ในห้องปฎิบตั กิ ารเคมี
3. ห้ามทาการทดลองใดๆ นอกเหนือจากทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
4. ห้ามทาการทดลองโดยไม่มอี าจารย์ควบคุม
5. เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด ให้รายงานอาจารย์ผคู้ วบคุบทราบทันที
6. ห้ามชิมสารเคมีใดๆ ทัง้ สิน้
7. เมือ่ ปิ เปตดูดสารละลาย ให้ใช้ลกู ยางเท่านัน้ ห้ามใช้ปากดูดเด็ดขาด
8. สาหรับปฎิกริ ยิ าที่สารตัง้ ต้นหรือผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นแก๊สพิษ กรดเข้มข้น หรือแอมโมเนีย ให้ทาการ
ทดลองในตูค้ วันเสมอ
9. ห้ามทิ้งสารเคมีใดๆ ลงในถังขยะ สารเคมีทล่ี ะลายในน้ าได้ ให้ละลายน้ าแล้วเทลงอ่างน้ าทิง้ สารที่
ไม่ละลายน้าให้เทรวมกันในภาชนะทีเ่ ตรียมไว้ให้ในตูค้ วัน
10. ต้องอ่านคู่ม ือปฎิบ ัติการทดลองก่อนที่จ ะปฎิบ ัติการทดลองนัน้ ๆ และพยายามทาความเข้าใจถึง
ขัน้ ตอนให้แจ่มแจ้ง หากมีความสงสัยในตอนใดจะต้องถาม
อาจารย์ผคู้ วบคุมเสียก่อน ก่อนทีจ่ ะลงมือปฏิบตั กิ ารทดลอง
11. อุปกรณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้ในการทดลองต้องสะอาด ความ
สกปรกเป็ นปั จจัย สาคัญประการหนึ่ งที่มสี ่วนทาให้ผลการ ด ่ ้
ด ่ ้ ไ ด
ทดลองผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนไปจากความเป็ นจริง ด ด จ ด ้
้จ ผ ็ ้
ฟ ๆ ด

12. ถ้ า กรดหรือ ด่ า งหรือ สารเคมี ท่ี เป็ นอัน ตรายถู ก


ผิว หนังหรือ เสื้อผ้าต้องรีบ ล้างออกด้ว ยน้ าทัน ที เพราะมี
รูปที่ 1 แสดงลักษณะหลอดทดลองทีล่ า้ งสะอาดและไม่สะอาด

Page 2 of 124
สารเคมีห ลายชนิ ด ซึม ผ่ า นเข้า ไปในผิว หนั งได้อ ย่า งรวดเร็ว และเกิด เป็ นพิษ ขึ้น มาได้ ซึ่งแต่ ล ะคนจะมี
ความรูส้ กึ หรือเกิดพิษแตกต่างกัน
13. อย่าเทน้ าลงบนกรดเข้มข้นใดๆ แต่ค่อยๆ เทกรด
เข้มข้นลงในน้าอย่างช้าๆ พร้อมกับกวนตลอดเวลา
14. อย่านาแก้วอ่อน เช่น กระบอกตวง กรวยแยก
15. ให้ค วามร้อน เพราะจะท าให้เครื่องแก้ว เกิด การ
หลอมละลาย หรือแตกหัก ใช้การไม่ได้
16. เมื่อเกิด ไฟไหม้ในห้องปฎิบ ัติการ จะต้อ งรีบ ดับ
ตะเกียงในห้องปฎิบตั ิการให้หมด และนาสารที่ติดไฟง่าย
ออกไปให้ห่างจากไฟมากที่สุด ซึ่งผูป้ ฎิบตั ิการทดลองทุก
คนควรจะรู้แ หล่ งที่เก็บ เครื่องมือดับ เพลิง และรู้จ ัก วิธีใช้
ทัง้ นี้เพือ่ สะดวกในการนามาใช้ได้ทนั ท่วงที รูปที่ 2 แสดงการให้ความร้อนแก่เครือ่ งแก้วผิดประเภท
17. ขณะต้ม สารละลายหรือให้ส ารท าปฎิกิรยิ ากัน ใน
หลอดทดลอง จะต้องหันปากหลอดทดลองออกห่างจากตัวเอง และห่างจากคนอืน่ ด้วย

ไม่ ถูกต้ อง

รูปที่ 3 แสดงการหันปลายหลอดทดลองไปยังผูอ้ ่นื ขณะให้ความร้อน ซึง่ เป็ นวิธที ไ่ี ม่ถูกต้อง

18. ขวดบรรจุสารละลายหรืออุปกรณ์ อ่นื ใดทีม่ ตี วั ทาละลายอินทรีย์บรรจุอยู่ อย่าใช้จุกยางปิ ดปากขวด


เป็ นอันขาด เพราะตัวทาละลายอินทรียก์ ดั ยางได้ ทาให้สารละลายสกปรก และจะเอาจุกยางออกจากขวดได้
ยาก
19. เมื่อ เสร็จ สิ้น การทดลอง ต้องท าความสะอาดพื้น โต๊ ะ ปฎิ บ ัติก าร ตรวจของในตู้แ ละใ ส่ กุ ญ แจให้
เรียบร้อย แล้วล้างมือให้สะอาดก่อนออกจากห้องปฎิบตั กิ าร
20. พึงระลึกอยูเ่ สมอว่าต้องทาการทดลองด้วยความระมัดระวังมากทีส่ ดุ ความประมาทเลินเล่ออาจทาให้
เกิดอันตรายต่อตัวเองได้

Page 3 of 124
II ้ ฎ ่

สารเคมีบางชนิด อาจเป็ นพิษต่อร่างกายเมื่อถูกกับผิวหนังหรือสูดดม หรือบางชนิดอาจติดไฟได้งา่ ย


ดังนัน้ เมือ่ สารเคมีหกจะต้องรีบเก็บกวาดให้เรียบร้อยทันที

1. เมือ่ สารเคมีทเ่ี ป็ นของแข็งหก ควรใช้แปรงกวาดรวมกันใส่ชอ้ นตักหรือกระดาษแข็งก่อน แล้ว นาไป


ใส่ภาชนะ
2. เมื่อ สารละลายกรดหกจะต้อ งรีบ เจือ จางด้ว ยน้ า ก่ อ น แล้ว โรยด้ว ยโซเดีย มไบคาร์บ อเนตหรือ
สารละลายเบส แล้วจึงทาความสะอาดด้วยน้า
3. เมือ่ สารละลายเบสหก ต้องเทน้าลงไปเพือ่ ลดความเข้มข้น และใช้ผา้ เช็ด
4. เมื่อสารละลายที่ระเหยง่ายหก บางชนิด อาจติดไฟได้ หรืออาจเป็ น อัน ตรายต่อผิวหนังและปอด
ดังนัน้ จึงควรใช้ผา้ เช็ดให้แห้ง
5. เมือ่ สารทีเ่ ป็ นน้ามันหก ควรเช็ดออกโดยใช้น้ามาก ๆ และควรล้างด้วยผงซักฟอกอีกครัง้

III ้ ฎ ่ ่ ้

1. ใช้เครื่องแก้วด้วยความระมัด ระวัง เมื่อทาเครื่องแก้วแตกต้องเก็บกวาดให้เรีย บร้อยและนักศึกษา


จะต้องรับผิดชอบค่าเสียหาย
2. สาหรับเทอร์โมมิเตอร์ชนิดปรอท เมื่อแตกเสียหายและห้ามสัม ผัสปรอทโดยเด็ดขาดและให้รบี แจ้ง
อาจารย์หรือเจ้าหน้าทีโ่ ดยด่วนเพือ่ จะใช้กามะถันโรยเก็บปรอท

Page 4 of 124

มีหลักการในการนับเลขนัยสาคัญดังนี้

1. เลขทุกตัวทีไ่ ม่ใช่ศนู ย์ (0) เป็ นเลขนัยสาคัญหมด เช่น 316, 2.16, 3927, 2.8, 9.832 มีเลขนัยสาคัญ
3, 3, 4, 2 และ 4 ตามลาดับ
2. มีเลขศูนย์ (0) ทีอ่ ยูร่ ะหว่างเลขนัยสาคัญถือเป็ นเลขนัยสาคัญด้วย เช่น 206, 1603, 1608, 200,006
มีเลขนัยสาคัญคือ 3, 4, 4 และ 6 ตามลาดับ
3. เลขศูนย์ (0) ทีอ่ ยูซ่ า้ ยมือสุดหน้าตัวเลขอืน่ ๆ ถือว่าไม่ใช่เลขนัยสาคัญ เช่น 0562, 0.589, 0.00238,
0.0000509 ทุกจานวนมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
4. เลขศูนย์ (0) ทีอ่ ยูข่ วามือของตัวเลขใดๆ หลังจุดทศนิยมถือว่าเป็ นเลขนัยสาคัญหมด เช่น 140.0,
24.20, 0.2400, 0.002400 ทุกจานวนมีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว
5. เลขศูนย์ (0) ทีอ่ ยูท่ างขวามือของเลขจานวนเต็มใดๆ อาจบ่งเลขนัยสาคัญไม่ชดั เจน เช่น 3600 ถ้า
ต้องการให้เกิดความชัดเจนขึน้ ควรเขียนอยูใ่ นรูป 3.600 103 จะมีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว แต่ถา้ เขียนอยูใ่ นรูป
3.60 103 จะมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว เป็ นต้น

ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จะมีตวั เลขหลังจุดทศนิยมไม่มากกว่าจานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมจานวนน้อย


ทีส่ ดุ ของกลุ่มตัวเลขทีน่ ามาบวกลบกัน เช่น

325.36 + 21.5 = 346.9

หรือ 583.25 + 125.94 – 30.7 = 678.5

ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จะมีจานวนตัวเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวเลขทีม่ จี านวนนัยสาคัญทีน่ ้อยทีส่ ดุ ในกลุ่ม


ทีน่ ามาคูณหรือหารกัน เช่น

3.52 1.2 = 4.224 = 4.2

Page 5 of 124
ดใ ้

ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน มีเลขนัยสาคัญ 4 ตาแหน่ง

ปริมาตรสารละลายจากอุปกรณ์ตวงวัด และปริมาตรเฉลีย่ มีเลขนัยสาคัญ 2 ตาแหน่ง

ผลของการคานวณความเข้มข้น (โมล/ลิตร) มีเลขนัยสาคัญ 4 ตาแหน่ง

ผลของการคานวณความเข้มข้น (กรัม/ลิตร) มีเลขนัยสาคัญ 2 ตาแหน่ง

Page 6 of 124
ใ ้

Page 7 of 124
รูปที่ 4 แสดงอุปกรณ์และเครื่องแก้วพืน้ ฐานในห้องปฎิบตั กิ ารเคมี

Page 8 of 124
ๆใ ้ ฎ ่

1. ใ ้ ่ ่ (Centrifuge)
เครื่องหมุ น เหวี่ย งเป็ นเครื่อ งมือที่ใช้แ ยกตะกอนออกจากสารละลาย โดยอาศัย แรงเหวี่ย งหนี
ศู น ย์ ก ลางที่ เ กิ ด จากการหมุ น อย่ า งรวดเร็ ว เครื่อ งหมุ น เหวี่ ยงเป็ นอุ ป กรณ์ พื้ น ฐานที่ ส าคัญ ที่ ใ ช้ ใ น
ห้ อ งปฎิ บ ัติ ก าร ซึ่ ง มีอ ยู่ ห ลายแบบ แต่ ล ะแบบมีค วามเหมาะสมกับ งานแต่ ล ะประเภท ที่นิ ย มใช้ใ น
ห้องปฎิบตั กิ ารทัวไปนั่ น้ มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบทีห่ มุนด้วยไฟฟ้ า และทีห่ มุนด้วยมือ

เครือ่ งหมุนเหวีย่ งแบบทีห่ มุนด้วยไฟฟ้ ามีลกั ษณะตามรูปที่ 5 มีวธิ กี ารใช้ดงั นี้

1.1 กรณีท่ขี องเหลวที่ต้องการแยกตะกอนมีเพียงหลอดเดียวให้เตรียมหลอดทดลองที่ มขี นาด


เท่ากับหลอดทดลองที่บรรจุของเหลวและใส่น้ าในหลอดทดลองให้มปี ริ มาตรเท่ากับปริมาตรของของเหลวที่
ต้องการจะแยกตะกอน

รูปที่ 5 แสดงลักษณะเครือ่ งหมุนเหวีย่ งแบบหมุนด้วยไฟฟ้ า

1.2 วางหลอดเครื่องหมุนเหวีย่ งทัง้ 2 หลอด ลงในเครื่องหมุนเหวีย่ งในทิศทางตรงกันข้าม ดูรปู


vi ทัง้ นี้ เพื่อให้นาหนักทัง้ สองข้างสมดุลกัน ในระหว่างหมุน มิฉะนัน้ เครื่องจะหยุดทางานทัน ที และยังช่วย
ป้ องกันการกระเด็นของสารละลายได้

Page 9 of 124
รูปที่ 6 แสดงการวางหลอดทดลองในเครือ่ งหมุนเหวีย่ ง ในทิศทางตรงกันข้ามกัน

1.3 เปิ ดสวิตซ์เครื่องหมุนเหวีย่ งประมาณ 1 - 2 นาที หรือมากกว่านี้ ถ้าตะกอนนัน้ เป็ นตะกอน


เบาและมีขนาดเล็ก แต่ถา้ เป็ นตะกอนหนักและมีขนาดใหญ่อาจใช้เวลาน้อยกว่านี้ได้
1.4 ปิ ดสวิตซ์ หรือหยุดหมุนเครือ่ งหมุนเหวีย่ ง เครือ่ งหมุนเหวีย่ งจะหมุนช้าลงจนกระทังหยุ
่ ดอยู่
กับที่
้ อย่าให้เครื่องหมุนเหวีย่ งหยุดทันทีทนั ใดขณะมีความเร็วสูง เพราะจะทาให้
สารละลายหก และหลอดเครือ่ งหมุนเหวีย่ งอาจแตกได้

1.5 เมือ่ ตะกอนตกอยู่ทก่ี น้ หลอดเครือ่ งหมุนเหวี่ยงจนหมดแล้ว ค่อยๆ รินสารละลายตอนบนทิ้ง


ให้หมด หรืออาจใช้หลอดหยด หรือปิ เปตดูดสารละลายใสๆ ดูดสารละลายด้านบนออกก็ได้
1.6 ล้างตะกอนที่ได้จากการหมุน เหวี่ยงด้วยน้ า คนสารละลายด้วยแท่งแก้ว แล้วนาไปหมุน
เหวีย่ ง และปฏิบตั ติ ามข้อ 1.5 การล้างตะกอนควรล้างด้วยน้ าหลายๆ ครัง้ เพื่อให้ตะกอนสะอาด โดยใช้น้ า
เพียงเล็กน้อยจะดีกว่าการล้างตะกอนครัง้ เดียวแต่ใช้น้าปริมาณมาก

2. ใ ้ ๊ (Bunsen burner)

เมื่อจะใช้ตะเกียงแก๊สต้องปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้ สวมปลายสายยาง


ข้างหนึ่งกับท่อโลหะทีย่ ่นื ออกมาจากฐานของตะเกียง ส่วนปลายอีกข้าง
หนึ่งต่อกับก๊อกแก๊สปิ ดทางเข้าของอากาศทีฐ่ านของตะเกียงให้สนิทแล้ว
เปิ ดก๊อกแก๊สเข้าในตะเกียง จุดแก๊สโดยใช้ไม้ขดี ไฟหรือทีจ่ ุดไฟ (lighter)
จ่อทีร่ มิ หัวตะเกียงจะได้เปลวไฟสีใหญ่สเี หลือง (luminous flame) ค่อย
ๆ เปิ ดช่องทางเข้าของอากาศที่ฐานของตะเกียงทีละน้อย ๆ จนกระทัง่
เปลวไฟสีเหลืองเปลีย่ นเป็ นไม่มสี ี (non-luminous flame)

ถ้าเปลวไฟดับหรือมีเหตุการณ์อย่างอืน่ เกิดขึน้ ต้องปิ ดก๊อกแก๊ส


เชือ้ เพลิงทันทีแล้วเริม่ ทดลองจุดตะเกียงใหม่ตามทีก่ ล่าวมาแล้ว การใช้
รู ป ที่ 7 แสดงลัก ษณะและส่ ว นประกอบของ
ตะเกียงบุนเสนไม่ว่ากรณีใด ๆ ต้องใช้เปลวไฟไม่มสี เี สมอ ยกเว้นเมื่อ
ตะเกียงบุนเสน
Page 10 of 124
การทดลองระบุให้ใช้เปลวไฟสีเหลืองเท่านัน้ บริเวณทีเ่ ปลวไฟมีอณ
ุ หภูมสิ งู ทีส่ ดุ แสดงดังรูปที่ 7

หากเปลวไฟมีสเี หลืองจะไม่เหมาะทีจ่ ะใช้ในการทดลอง เนื่องจาก


1. อุณหภูมขิ องเปลวไฟไม่สมบูรณ์
2. เปลวไฟสีเหลืองมีอนุ ภาคของคาร์บอนซึง่ ยังถูกออกซิไดส์ไม่หมด ดังนั น้ เมือ่ ใช้เปลวไฟชนิดนี้กบั
อุปกรณ์ชนิดใดก็ตามจะมีเขม่าจับอุปกรณ์นนั ้ ๆทาให้สกปรก
3. จะทาให้ตะแกรงลวดผุเร็วกว่าปกติ ทัง้ นี้เพราะอนุภาคของคาร์บอนในเปลวไฟ จะทาปฏิกริ ยิ ากับ
เหล็กเกิดเป็ นเหล็กคาร์ไบด์

ในบางครัง้ เมือ่ จุดตะเกียงบุนเสน ถ้าปล่อยให้แก๊สเชือ้ เพลิงเข้าตะเกียงมากเกินไปเปลวไฟทีเ่ กิดขึน้ จะ


เต้นและดับ แต่หากให้แก๊สเชื้อเพลิงเข้าตะเกียงน้อยเกินไปแทนที่เปลวไฟจะเกิดที่หวั ตะเกียงกลับไปเกิดที่
ช่องทางทีแ่ ก๊สจะเข้ามาในตัวตะเกียง ซึง่ อยูท่ ฐ่ี านภายในของตะเกียง การทีเ่ ปลวไฟเกิดทีฐ่ านภายในตะเกียงนี้
เรียกว่าเปลวไฟสะท้อนกลับ (Struck back)

เมื่อเกิดเปลวไฟสะท้อนกลับ จะต้องปิ ดก๊อกแก๊ สให้เปลวไฟดับทันที ถ้าหากปล่อยให้เกิดเปลวไฟ


สะท้อนกลับอยูน่ านจะก่อให้เกิดความเสียหายดังนี้

1. ตัวตะเกียงจะร้อนจัด โลหะตรงช่องทางเข้าของแก๊สภายในตัวตะเกียงจะหลอมเหลว และเชือ่ มปิ ด


ทางเข้าไปในตัวตะเกียงของแก๊สเชือ้ เพลิง
2. สายยางทีเ่ ชือ่ มโยงตะเกียงกับก๊อกแก๊สจะละลาย
3. เกิดแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ซง่ึ จะเป็ นแก๊สพิษ

3. ใ ้ ่ ่ (Analytical Balance)

การใช้เครือ่ งชังมี
่ เทคนิคดังนี้
3.1 ตัง้ เครือ่ งชังบนที่ แ่ น่นหนา อย่าให้มกี ารสันสะเทื
่ อน
3.2 ก่อนชังต้ ่ องปรับให้เครือ่ งชังอยู
่ ท่ ่ี 0 ทุกครัง้
3.3 ขณะชังให้ ่ วางน้าหนักตรงกึง่ กลางของเครือ่ งชังเสมอ

3.4 ห้ามวางสารเคมีบ นจานเครื่องชังโดยเด็ ่ ดขาด หาก
ต้องการชังสารที
่ ่มปี ริมาณน้ อยต้องใช้กระจกนาฬิกา
วางก่อนทีจ่ ะชัง่ ห้ามใช้กระดาษรองสารเคมีในการชัง่ รูปที่ 8 แสดงลักษณะเครือ่ งชังแบบละเอี
่ ยด
สาร
3.5 ห้ามนาวัตถุหรือสารเคมีทย่ี งั ร้อนไปชัง่ ควรตัง้ ทิง้ ไว้ให้เย็นทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ้ งก่อน
3.6 เมือ่ ชังน ่ ้าหนักแล้ว หากมีสารเคมีตกหล่นอยูต่ อ้ งทาความสะอาดทันที
Page 11 of 124
3.7 อย่าชังสารที
่ ม่ นี าหนักมากกว่าความสามารถของเครือ่ งชัง่

4. ใ ้ ถดด ้ (Desiccators)

บริเวณรอยต่อระหว่างตัวโถดูดความชื้นกับฝาปิ ดจะทาด้วยสารหล่อลื่นซึง่ มีลกั ษณะข้นและเหนียว


เพื่อป้ องกันไม่ให้อากาศจากภายนอกเข้าไปภายใน ดังนัน้ การเปิ ดฝาโถดูดความชืน้ จึงต้องเลื่อนออกทางด้าน
ข้างแทนการยกขึน้ ด้านบน

ภายในโถดูดความชืน้ จะบรรจุสารดูดความชืน้ ซึง่ เป็ นของแข็ง


สีฟ้าไว้ภายใน จึงไม่ควรเปิ ดฝาโถดูดความชืน้ บ่อย ๆ เนื่องจากจะทาให้
มีความชืน้ สะสมอยูม่ าก

รูปที่ 9 แสดงลักษณะโถดูดความชืน้ (Desiccators)

5. ถ จ ด ด

การถ่ายเทสารละลายที่อยู่ในปิ เปตหรือหลอดหยดลงในภาชนะที่บรรจุสารละลายอีกชนิดหนึ่งนัน้
หากไม่รเู้ ทคนิคหรือวิธกี ารทีถ่ กู ต้องแล้วอาจเกิดผลเสียต่อการทดลองได้ วิธกี ารทีถ่ ูกต้องนัน้ ควรทาได้ดงั นี้

1. ทาให้ปิเปตหรือหลอดหยดมีสารละลายอยู่เต็ม ลักษณะการจับดังรูปที่ 10 (a)


2. ถือปิ เปตหรือหลอดหยดให้อยู่เหนือสารละลายที่ต้องการจะเติมสารในปิ เปต หรือหลอด
หยดลงไป ระวังอย่าให้ปลายของปิ เปตหรือหลอดหยดจุ่มอยู่ในสารละลาย เพราะจะทาให้
สารละลายปะปนกัน
3. ค่อยๆ ปล่อยให้สารละลายในปิ เปตหรือหลอดหยดไหลลงไป ดังรูปที่ 10 (b)

Page 12 of 124
นิ ้วชี ้และนิ ้วโป้งวาง

ในลักษณะนี ้เพื่อบีบลูกยาง
ถูกต้ อง

ไม่ถกู ต้ อง

นิ ้วกลางและนิ ้วนาง

วางประคองด้ านข้ าง
(a) (b)

รูปที่ 10 (a) ลักษณะการจับหลอดหยดทีถ่ กู ต้อง


(b) การถ่ายเทสารละลายจากหลอดหยดทีถ่ กู ต้องและไม่ถกู ต้อง

6. จ ่ ้

การอ่านระดับของเหลวในเครื่องแก้วบอกปริมาตร เข่น
กระบอกตวง บิวเรต และ ปิ เปต ถ้าเป็ นของเหลวใสไม่มสี ี ให้
อ่านตรงน้ าเว้าล่าง ถ้าเป็ น ของเหลวมีสใี ห้อ่านระดับผิวบนและ
เพื่อ ป้ องกัน ความผิด พลาดเนื่ อ งจากการเกิด parallax ควรให้
สายตาอยูร่ ะดับเดียวกับท้องน้า ดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 ลักษณะการอ่านปริมาตรทีถ่ กู ต้อง

Page 13 of 124
การอ่านปริมาตรทีถ่ ูกต้องจะต้องอ่านถึงตัวเลขในทศนิยมตาแหน่ งใดขึน้ กับความละเอียดของเครื่อง
แก้วแต่ละชนิด เช่น

กระบอกตวง ขนาด 10 mL อ่านค่าความละเอียดได้ 0.01 mL

กระบอกตวง ขนาด 100 mL อ่านค่าความละเอียดได้ 0.1 mL

กระบอกตวง ขนาด 500 mL อ่านค่าความละเอียดได้ 1 mL

7. ไ

การไทเทรต (Titration) เป็ นการวิเคราะห์หาปริมาณสารหรือหาความเข้มข้นของสารละลายโดยนาเอา


สารละลายที่ต้องการวิเคราะห์มาทาปฏิ กริ ยิ ากับ สารที่ทราบความเข้ม ข้นที่แ น่ นอน ซึ่งเรียกว่ าสารละลาย
มาตรฐาน (Standard solution) ปกติจะบรรจุสารละลายมาตรฐานไว้ในอุปกรณ์ วดั ปริมาตร ทีเ่ รียกว่าบิวเรต
(Buret) และเรียกว่า ไทแทรนต์ (Titrant) ส่วนสารละลายทีจ่ ะนามาวิเคราะห์ซง่ึ ทราบปริมาตรแล้ว จะบรรจุอยู่
ในขวดรูปชมพู่ (Erlenmeyer flask) เรียกว่า ไทแทรนด์ (Titrand)

ขบวนการหยดสารละลายจากบิวเรตลงในขวดรูปชมพู่จนกระทังสารทั ่ ง้ สองทาปฏิกริ ยิ าสมมูลกันพอดี


เรียกว่า การไทเทรต จุดทีส่ ารทาปฏิกริ ยิ าสมมูลกันพอดีเรียกว่า จุดสมมูล (Equivalence point) ปริมาณหรือ
ความเข้มข้นของสารละลายทีน่ ามาวิเคราะห์ จะสามารถคานวณได้จากความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน
และการวัดปริมาตรทีแ่ น่นอนของสารละลายทัง้ สองทีเ่ ข้าทาปฏิกริ ยิ ากัน

การไทเทรตจะสิน้ สุดเมือ่ มีการเปลีย่ นสีของอินดิเคเตอร์ซง่ึ เป็ นสารทีเ่ ติมลงไปก่อนการไทเทรตจุดทีส่ ี


ของสารละลายเปลีย่ นไปนี้ เรียกว่า จุดยุติ (End point) ของการไทเทรต การไทเทรตทีใ่ ห้ผลถูกต้องจะต้องมี
จุดยุติใกล้เคียงกับ จุดสมมูลมากที่สุด และเพื่อที่จะทาให้การสังเกตจุด ยุติในบางปฏิกริ ยิ าชัดเจนยิ่ งขึ้น ใน
บางครัง้ อาจบรรจุสารละลายมาตรฐานไว้ในขวดรูปชมพู่ และบรรจุสารทีว่ เิ คราะห์ไว้ในบิวเรต

สารละลายมาตรฐาน (Standard solution) เป็ นสารละลายที่ท ราบความเข้ม ข้น แน่ น อน (ระบุ ถึง
ทศนิยม 4 ตาแหน่ง) ซึง่ เตรียมได้ 2 วิธี คือ วิธตี รงและวิธอี อ้ ม

1. (Direct method)

เตรียมโดยการชังสารให้
่ ได้น้าหนักทีแ่ น่ นอนโดยใช้เครือ่ งชังละเอี
่ ยดสาหรับวิเคราะห์ แล้วมา
ละลายให้ได้ปริมาตรทีแ่ น่ นอน โดยใช้ขวดวัดปริมาตร (Volumetric flask) สารละลายทีเ่ ตรียมได้น้ี จึงมีความ
เข้มข้นทีแ่ น่ นอนซึ่งเรียกว่า สารละลายมาตรฐานปฐมภูม ิ (Primary standard solution) สารทีจ่ ะนามาชังเพื
่ ่อ
เตรียมเป็ นสารละลายมาตรฐานปฐมภูมจิ ะต้องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้

Page 14 of 124
ก. มีความบริสทุ ธิ ์สูง
ข. ไม่เปลีย่ นแปลงในระหว่างการชัง่ เช่น ไม่ทาปฏิกริยากับ O2 หรือ CO2 ในอากาศ ไม่ดดู
ความชืน้
ค. มีน้าหนักโมเลกุลสูง (เพือ่ ลดความคลาดเคลื่อนทีเ่ กิดขึน้ จากการชัง)่
ง. เป็ นสารหาง่ายและราคาถูก

2. ้ (Indirect method)

สารส่วนมากทีน่ ามาเตรียมสารละลายมาตรฐานมักมีคุณสมบัตไิ ม่ตรงตามข้อ ก - ง ข้างต้น


จึงต้องนาสารเหล่านี้ม าเตรียมเป็ นสารละลายทีม่ คี วามเข้มข้นโดยประมาณขึน้ มาก่อน แล้วนาไปไทเทรตกับ
สารละลายมาตรฐานปฐมภู ม ิ เพื่อ หาความเข้ม ข้น ที่แ น่ น อน (ทศนิ ย ม 4 ตาแหน่ ง) อีกที่ห นึ่ งซึ่งเราเรีย ก
กระบวนการนี้ ว่ า Standardization และเรีย กสารละลายที่ท ราบความเข้ม ข้น ที่แ น่ น อนจากกระบวนการ
standardization ว่า สารละลายมาตรฐานทุตยิ ภูม ิ (Secondary standard solution)

การไทเทรตจริง ๆ แล้วมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน เช่น การไทเทรตกรดเบส (Acid - Base titration) การ


ไทเทรตสารเชิงซ้อน (complexation titration) การไทเทรตไฟฟ้ า (redox titration) แต่ในทีน่ ้ีจะขอกล่าวเพียง
การไทเทรตระหว่างกรดกับเบสเท่านัน้

I ไ ด- (Acid – base titration)

การไทเทรตระหว่างกรดกับเบส จะเกิดปฏิกริ ยิ าสะเทิน (Neutralization reaction) ขึน้ เมือ่ กรดและเบส


ทาปฏิกริ ยิ ากันสมมูลพอดี อินดิเคเตอร์ทใ่ี ช้ในการไทเทรตก็จะเป็ นชนิดกรด-เบส ซึง่ จะเปลีย่ นสีเมือ่ pH ของ
สารละลายเปลีย่ นไป หลักการเลือกใช้อนิ ดิเคเตอร์ประเภทนี้ คือ ต้องให้ชว่ ง pH ของการเปลีย่ นสีของอินดิเค
เตอร์ใกล้เคียงกับ pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลมากทีส่ ดุ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดง Acid – base อินดิเคเตอร์ทม่ี ชี ว่ ง pH ต่าง ๆ

ด pH ่ ่

Methyl orange 3.1 - 4.4 แดง – เหลือง

Methyl red 4.2 - 6.3 แดง – เหลือง

Bromthymol blue 6.0 - 7.6 เหลือง – น้าเงิน

Phenolphthalein 8.0 - 9.8 ไม่มสี ี - แดง

Page 15 of 124
การเลือกอินดิเคเตอร์กรด-เบส จึงขึน้ กับความแรงของกรด-เบสในการไทเทรต ดังนี้
1. การไทเทรตระหว่างกรดแก่และเบส เช่น HCl กับ NaOH
ทีจ่ ุดสมมูล สารละลายจะเป็ นกลาง คือ มี pH 7 ดังนัน้ อินดิเคเตอร์ทเ่ี หมาะสม คือ
Bromthymol blue ซึง่ มีชว่ ง pH = 6.0 – 7.6
2. การไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ เช่น CH3COOH กับ NaOH
ที่จุ ด สมมู ล สารละลายจะมีค วามเป็ นเบส เนื่ อ งจากการไฮโดรไลซิส (Hydrolysis) ของ
CH3COONa ทีเ่ กิดขึน้ อินดิเคเตอร์ทเ่ี หมาะสม คือ Phenolphthalein ซึง่ มีชว่ ง pH = 8.0 – 9.8
3. การไทเทรตระหว่างกรดแก่กบั เบสอ่อน เช่น HCl กับ NH4OH
ที่จุด สมมูล สารละลายเป็ น กรด(pH 3 – 4) เนื่ องจากเกิด Hydorlysis ของเกลือ NH4Cl
อินดิเคเตอร์ทใ่ี ช้คอื Methyl Orange ซึง่ มีชว่ ง pH = 3.1 – 4.4

นอกจากจะเลือกอินดิเคเตอร์โดยการเลือกดินดิเคเตอร์ท่มี ีช่วง pH ใกล้เคียงกับ pH ที่จุด


สมมูลแล้วอาจจะเลือกอินดิเคเตอร์โดยวิธกี ารศึกษาจากกราฟของการไทเทรต (titration curve) ซึง่ ได้จากการ
เขียนกราฟระหว่าง pH ทีเ่ ปลีย่ นไปในระหว่างการไทเทรตกับปริมาตรเป็ น cm3 ของ titrant ทีเ่ ติมลงไป
จากกราฟของการไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ ดังรูปที่ 8.1 จะเห็นว่าเมื่อเริม่ ไทเทรต
ในช่วงแรก pH ของสารละลายจะเพิม่ ขึ้นอย่างช้า ๆ ในช่วงนี้สารละลายผสมจะมีลกั ษณะของบัฟเฟอร์กรด
เนื่องจากระบบในช่วงนี้จะเกิดเกลือของกรดอ่ออนผสมรวมกับกรดอ่อนทีย่ งั ทาปฏิกริ ยิ ากับเบสไม่ห มด เมือ่ ใกล้
ถึงจุดสมมูล pH ของสารละลายจะเพิม่ ขึน้ อย่า งรวดเร็วจาก pH 6 ถึง pH 12 ดังนัน้ จึงควรเลือกใช้อนิ ดิเคเตอร์
ทีม่ ชี ่วง pH ในช่วงนี้ ซึง่ ได้แก่ Phenolphthalein (pH = 8.0 – 9.8) ในขณะทีไ่ ม่สามารถใช้อนิ ดิเคเตอร์ชนิดอื่น
ตามตารางที่ 1 ได้เพราะอินดิเคเตอร์จะเปลีย่ นสีกอ่ นทีจ่ ะถึงจุดสมมูล

ช่วงการเปลีย่ นสีของ ชมพู


Phenolphthalein
ไม่มีสี

ช่วงทีเ่ กิดบัฟเฟอร์

รูปที่ 12 แสดงกราฟของการไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่

Page 16 of 124
II ่ ญ ่ ใ ้ใ ไ

อุปกรณ์ทใ่ี ช้วดั ปริมาตรได้อย่างแน่นอน คือ ปิ เปต (pipet) และบิวเรต (buret) อุปกรณ์ทใ่ี ช้วดั ปริมาตร
จะต้องสะอาด ถ้าผนังภายในสกปรก โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีคราบน้ามัน หรือไขมันติดอยูจ่ ะทาให้การวัดปริมาตร
ไม่ถกู ต้อง ถ้าเป็ น buret หรือ pipet จะทาให้หยดสารละลายติดอยูต่ ามผนังภายในหลังจากปล่อยให้สารละลาย
ไหลออกไปแล้ว ดังนัน้ การทาความสะอาดจึงจาเป็ นมาก ก่อนใช้หรือเมือ่ ใช้แล้วจะต้องทาความสะอาดโดยการ
ล้างด้วยน้าสบู่หรือผงซักฟอก และใช้แปรงถูถา้ เป็ นไปได้ เช่น buret ก็ใช้แปรงก้านยาวสาหรับล้าง buret ถ้า
สกปรกมากต้องแช่ดว้ ย cleaning solution (เตรียมโดยละลาย sodium or potassium dichromate ในกรด
กามะถันเข้มข้น) แล้วล้างด้วยน้าประปาจนสะอาดแล้วกลัว้ (rinse) ด้วยน้ากลันอี ่ ก 2 - 3 ครัง้ (การกลัว้ คือ
การล้างด้วยสารละลายจานวนน้อย ๆ)

(Pipette) มีอยู่ 2 ชนิด คือ

1. Volumetric pipet

ออกแบบมาเพื่อใช้วดั ปริมาตรทีแ่ น่ นอนของของเหลวเพียงปริมาตรเดียว จึงมีขดี บอกปริมาตร


เพียงขีดเดียว ใช้วดั ปริมาตรได้เพียงจานวนเดียว เช่น ปิ เปตความจุ 25 cm3 ก็จะวัดปริมาตรสารละลายได้ 25
cm3 Volumetric pipet มีหลายขนาด แต่ทใ่ี ช้กนั มาก ได้แก่ ความจุ 5 10 25 และ 50
cm3

2. Graduated pipet Mohr Pipet Measuring Pipet

ปิ เปตชนิดนี้มขี ดี บอกปริมาตรย่อย ๆ ไว้ ดังรูปที่ 13 ขวามือ จึงสามารถถ่าย


ของเหลวได้ตามต้องการโดยขีดบอกปริมาตรย่อยดังกล่าว และมีหลายขนาดแล้วแต่ความ
จุ

เมื่อมีความจุใกล้เคียงกัน Graduated pipet วัดปริมาตรได้แน่ นอนน้อยกว่า


Volumetric pipet ดังนั น้ ในการไทเทรตจึงใช้ Volumetric pipet ในการวัด ปริม าตรของ
สารละลายเพือ่ ใส่ลงในขวดรูปชมพู่

รูปที่ 13 แสดง Volumetric pipet (รูปซ้ายมือ) และ Graduated pipet (รูปขวามือ)

Page 17 of 124
III ใ ้ pipet

1. ใช้น้ายาล้างเครือ่ งแก้วล้าง pipet ให้สะอาด แล้วล้างออกด้วยน้าประปา


2. เทน้ากลันประมาณ
่ 10 cm3 ลงในบีกเกอร์ขนาดเล็ก เพื่อใช้กลัว้ pipet โดยใช้ลกู ยางดูดน้ ากลันขึ
่ น้ ไป
ประมาณ 5 cm3 แล้วเอียง pipet ให้น้ ากลันเปี ่ ยกผิวแก้วภายในอย่างทัวถึ ่ ง แล้วปล่อยน้ากลันทิ
่ ง้ ทางปลายล่าง
ทาซ้าอีก 1 ครัง้ เช็ดปลายปิ เปตให้แห้ง
3. แบ่งสารละลายทีต่ อ้ งการวัดปริมาตรประมาณ 10 cm3 ลงในบีกเกอร์ขนาดเล็กทีแ่ ห้งและสะอาด แล้ว
กลัว้ pipet ด้วยสารละลายทีต่ อ้ งการดังกล่าวอีก 2 – 3 ครัง้ (โดยวิธเี ดียวกันกับการกลัว้ ด้วยน้ากลัน)

4. แบ่ งสารละลายที่ต้ อ งการวัด ปริม าตรลงในบีก เกอร์ข นาด 50 cm3 ที่แ ห้งและสะอาดอีก ครัง้ ดู ด
สารละลายขึน้ มาจนระดับของสารละลายอยู่เหนือขีดบอกปริมาตร ในระหว่างนี้ตอ้ งไม่ ให้ปลายด้านล่างของปิ
เปตโผล่ พ้ น ระดับ ของสารละลาย เนื่ อ งจากจะท าให้อ ากาศภายนอกแทรกตัว เข้า ไปภายในปิ เปต เกิด
ฟองอากาศขึน้ ได้

5. ใช้น้ิวชีท้ แ่ี ห้งปิ ดปลายบนของ pipet แล้วเช็ดสารละลายทีเ่ กาะติดอยูข่ า้ งนอกทีป่ ลายล่างของ pipet ให้
แห้ง

ใช้น้วิ ชีป้ รับปริมาตรให้อยู่ทข่ี ดี


บอกปริมาตร ปล่อยสารละลายให้ไหลลง
สู่ภาชนะทีบ่ รรจุ

ไม่ตอ้ งเป่ าไหลสารละลายที่


ค้างอยู่ เพราะมีการ
Calibrate ค่าในส่วนนี้ไว้แล้ว
บีบลูกยาง แล้วเสียบเข้า
กับปลายปิ เปต ค่อย ๆ
ปล่อยลูกยางออก เพือ่ แตะปลายด้านล่างกับ
ดูดสารละลายขึน้ มา ผนังบีกเกอร์ 10 วินาที

แตะปลาย
ด้านล่างกับ
ผนังภาชนะ

รูปที่ 14 แสดงการใช้ Volumetric pipet

Page 18 of 124
6. ขยับนิ้วชีใ้ ห้สารละลายใน pipet ไหลออกทางปลายล่างอย่าง
ช้า ๆ จนกระทัง่ ระดับ ขอบล่ า งของท้ อ งน้ า เว้ า (meniscus) ของ
สารละลาย อยู่ตรงกับขีดเครื่องหมายบอกปริมาตรพอดี โดยให้ pipet
ตัง้ ตรงและท้องน้าเว้าล่างนี้อยูใ่ นระดับเดียวกับตา

7. ปล่อยสารละลายใน pipet ลงในภาชนะทีใ่ ช้บรรจุสารละลาย


เมื่อสารละลายหยุดไหลแล้ว ให้แตะปลาย pipet ที่ผนังด้านในของ
ภาชนะบรรจุเป็ นเวลาประมาณ 10 วินาที จึงเอา pipet ออกโดยหมุน
รูปที่ 15 การอ่านระดับของเหลวภายในปิ เปต
ปลายเพือ่ ของเหลวทีต่ ดิ อยูท่ ป่ี ลาย pipet ไหลลงในภาชนะ

IV ใ ้ (Buret)

(Buret)

มีขดี บอกปริมาตรย่อย ๆ เช่นเดียวกับ Graduated pipet ดังรูปที่ 16 และมีก๊อก (stopcock) สาหรับ


ควบคุมให้สารละลายไหลออกจากปลาย buret ได้ตามต้องการ

รูปที่ 16 ลักษณะบิวเรต

1. ก่อนใช้จะต้องตรวจสอบความเรียบร้อยของก๊อก (stopcock) ก่อน เมื่อเติมน้ ากลันลงไปแล้


่ วหมุนก๊อก
ให้เปิ ดเต็มที่ (ดูรปู ที่ 17) เพือ่ ให้น้ากลันไหลออกทางปลายล่
่ าง น้ากลันจะไม่
่ ไหลซึมหรือหยดจากก๊อกด้านนอก
(และไม่เกาะเป็ นหยดติดอยูท่ ผ่ี นังด้านใน)

ปิ ดก๊อก เปิ ดก๊อก

รูปที่ 17 การปิ ด-เปิ ดก๊อกบิวเรต

2. ล้าง buret ให้สะอาดด้วยน้ายาล้างเครือ่ งแก้ว ล้างออกด้วยน้าประปา

Page 19 of 124
3. กลัว้ ด้วยน้ ากลัน่ 2 ครัง้ โดยการเติมน้ ากลันประมาณ
่ 5 cm3 ลงไปใน buret ทางด้านบน แล้วเอียง
buret ให้น้ากลันเปี
่ ยกผนังภายในให้ทวั ่ แล้วไขน้ากลันทิ ่ ง้ ทางก๊อกซึง่ อยูท่ ป่ี ลายด้านล่าง
4. กลัว้ ด้วยสารละลายทีจ่ ะเติมอีก 2 - 3 ครัง้ ทาโดยวิธเี ดียวกันกับการกลัว้ ด้วยน้ากลัน่
5. ยึด buret ติดกับขาตัง้ (Stand) โดยใช้ทย่ี ดึ buret (buret clamp)
6. เติม สารละลายที่ต้องการลงไปให้ระดับ สารละลายอยู่เหนื อขีด 0 ถ้าใช้กรวยกรองช่วยในการเติม
สารละลาย จะต้องเอาออกทันทีเมือ่ ใช้เสร็จ
7. เปิ ดก๊อกให้สารละลายไหลสู่ปลายล่างให้เต็มปลายหลอดแก้วในส่วนทีอ่ ยู่ต่ากว่าก๊อก (เก็บสารละลาย
ที่ไหลออกมาตอนนี้ไว้ใช้ได้อีก) อย่าให้ม ีฟ องอากาศค้างอยู่ภ ายในหลอดแก้วบริเวณดังกล่าว ดังรูป ที่ 18
เนื่องจากจะทาให้การอ่านปริมาตรของเหลวคลาดเคลื่อนไป

รูปที่ 18 ฟองอากาศทีค่ า้ งอยู่ภายในหลอดแก้วบริเวณปลายล่างของบิวเรตซึง่ อยูต่ ่ากว่าก๊อก

8. ปรับระดับของสารละลายให้ตรงขีดบอกปริมาตร การอ่านปริมาตรของเหลวภายในบิวเรตให้อา่ นระดับ


ขอบล่างของท้องน้าเว้า (meniscus) ของสารละลายในแนวเดียวกับสายตาเช่นเดียวกับกรณีการใช้ปิเปต

รูปที่ 19 วิธกี ารใช้บวิ เรต

Page 20 of 124
V ไ

1. เมื่อหันหน้าเข้าหา buret ทีย่ ดึ ติดกับทีย่ ดึ นัน้ ก๊อก buret ต้องอยู่ด้านขวามือจึงจะทาให้อ่านขีดบอก


ปริมาตรได้ชดั เจน
2. ใช้มอื ซ้ายไขก๊อก buret โดยการใช้หวั แม่มอื จับก๊อกด้านหน้า นี้ชแ้ี ละนิ้วกลางอ้อมไปจับก๊อกด้านหลัง
ส่วนนิ้วทีเ่ หลือก็ออ้ มไปอยู่ทางด้านหลักก๊อก
3. ขณะทาการหมุนก๊อกเพื่อให้สารละลายไหลออกมา จะต้องดันก๊อกเข้าไปข้างในด้วยเพื่อป้ องกันการรัว่
ของสารละลายออกมาด้านนอกก๊อก
4. ให้จบั ขวดรูป ชมพู่ซ่ึงบรรจุ สารละลายที่จะน ามาไทเทรตด้วยมือขวา แกว่งไปรอบ ๆ เป็ นวงกลม
ตลอดเวลาในขณะทีใ่ ช้มอื ซ้ายไขสารละลายจาก buret ลงไป เพือ่ ให้สารละลายผสมเข้ากันได้ดี

รูปที่ 20 วิธกี ารไทเทรต A) สาหรับผูท้ ถ่ี นัดมือซ้าย B) สาหรับผูท้ ถ่ี นัดมือขวา

5. เมื่อใกล้จุดยุติ ควรไขสารละลายอย่างช้า ๆ จนกระทังในที ่ ส่ ดุ เมือ่ ใกล้จุดยุตมิ าก ๆ ต้องไขสารละลาย


ทีละหยด หรือไม่ถงึ หยด ซึ่งทาโดยการเปิ ดก๊อกเพียงเล็กน้อย ให้หยดของสารละลายค้างทีป่ ลาย buret แล้ว
ปิ ดก๊อก แตะหยดสารละลายทีค่ า้ งอยูด่ งั กล่าวเข้ากับผนังด้านในของขวดรูปชมพู่ แล้วใช้ขวดฉีดน้ ากลันฉี ่ ดล้าง
ลงไป
6. หยุดการไทเทรตเมือ่ อินดิเคเตอร์เปลีย่ นสี อ่านปริมาตรสารละลายใน buret โดยให้ระดับสายตาอยูใ่ น
ระดับเดียวกับสารละลาย และอ่านปริมาตร ณ ขอบโค้งเว้าด้านล่างของสารละลายใน buret

Page 21 of 124
7. ขณะไทเทรตอาจมีสารละลายกระเด็นขึน้ มาติดผนังด้านในของขวด
รูปชมพู่ จึงต้องใช้ขวดฉีดน้ ากลันล้
่ างลงไป เพื่อให้สารเข้ าทาปฏิกริ ยิ าอย่าง
สมบูรณ์ การฉีดน้ ากลันลงไปจะท
่ าให้ปริมาตรของสารละลายเพิม่ ขึน้ แต่เนื้อ
สารหรือจานวนโมลของสารยังคงเดิม
8. การไทเทรตควรจะทาในทีม่ แี สงสว่างพอดี และควรมีกระดาษสีขาว
วางไว้ใต้ขวดรูปชมพูเ่ พือ่ จะทาให้สงั เกตการเปลีย่ นแปลงสีของสารละลายเมือ่
ถึงจุดยุตไิ ด้ชดั เจน
9. การไทเทรตบางครัง้ จะสังเกตจุดยุตไิ ม่ชดั จึงทาให้ ตดั สินใจได้ยากกว่าถึงจุดยุตแิ ล้วหรือยังเมื่อเป็ น
เช่นนี้ให้อ่านสารละลายใน buret ก่อน แล้วเติมสารลงไปอีก 1 หยด สังเกตการเปลี่ยนสีอกี ครัง้ แล้วจึงนามา
เลือกจุดยุตวิ ่าครัง้ ใดเหมาะสมที่สุด โดยถ้าเป็ นจุดยุตทิ ่ี แท้จริงแล้ว 1 หยดของสารที่เติมลงไปจะทาให้สขี อง
สารละลายเปลีย่ นไปอย่างชัดเจน
10. ในกรณีทไ่ี ทเทรตเกินจุดยุตกิ ต็ ้องทาการทดลองใหม่ แต่ถ้าจาเป็ นจะต้องแก้ไขจากสารละลายเดิมก็
ต้องใช้วธิ ไี ทเทรตกลับ (back titration) โดยเติมสารละลายมาตรฐานอีกชนิดหนึ่งซึ่งสามารถทาปฏิกริ ยิ ากับ
สารละลายมาตรฐานชนิดแรกลงใน buret อันทีส่ อง แล้วไทเทรตสารละลายในขวดรูปชมพู่ทไ่ี ทเทรตเกินจุดยุติ
ในครัง้ แรก เพือ่ หาปริมาตรของสารละลายมาตรฐานชนิดแรกว่าเกินมาเท่าใด
11. เมื่อไทเทรตถึงจุดยุตแิ ล้ว ไม่ควรอ่านปริมาตรสารละลาย buret ทันที จะต้องทิง้ ไว้อย่างน้อย 10 – 20
วินาที
12. สาหรับตัวอย่างหนึ่ง ๆ ควรไทเทรตอย่างน้อย 2 ครัง้ โดยปริมาณของ titrant ทีใ่ ช้ ควรต่างกันไม่เกิน
0.2 cm3

8.

รูปที่ 21 แสดงวิธกี ารกรองตะกอน

Page 22 of 124
ด ่1

่ ใ ้ ่ ้ ด
(Selection and Calibration of Volumetric Glasswares)

เครื่องแก้วในห้องปฏิบตั กิ ารเคมีวเิ คราะห์สาหรับการวัดปริมาตรของเหลวนัน้ มีอยู่หลายชนิด หลาย


ขนาด หากจาแนกตามความแม่นยาในการกาหนดปริมาตรจะสามารถแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ่ ้ ่ ไ (General purpose glasswares) เช่น บีกเกอร์ ขวดรูปชมพู่ หลอดหยด เป็ น
ต้น เครื่องแก้วประเภทนี้อาจมีขดี บอกปริมาตรหรือไม่มขี ดี บอกปริมาตรก็ได้ ซึง่ เราอาจใช้เครื่องแก้วเหล่านี้ใน
การบรรจุหรือถ่ายเทของเหลวได้ดว้ ยการประมาณปริมาตรจากจานวนหยดของเหลวทีไ่ ด้จากหลอดหยด หรือ
ดูจากขีดบอกปริมาตรของเหลวทีข่ า้ งภาชนะของบีกเกอร์หรือขวดรูปชมพู่ แต่ปริมาตรของเหลวทีไ่ ด้นัน้ จะมี
ความคลาดเคลื่อนสูง เนื่องจากให้ปริมาตรเพียงคร่าว ๆ เท่านัน้ เช่น บีกเกอร์ขนาด 1000 มิลลิลติ ร จะมีความ
คลาดเคลื่อนของปริมาตรระบุท่ี 5% หมายถึง ของเหลวทีบ่ รรจุในบีกเกอร์น้ีอาจมีปริมาตรในช่วง 950 – 1050
มิลลิลติ ร ดังนัน้ เครือ่ งแก้วเหล่านี้จงึ ไม่ใช่เครือ่ งแก้วสาหรับกาหนดปริมาตร และไม่เหมาะทีจ่ ะนามาใช้เตรียม
สารละลายมาตรฐานหรือสารละลายตัวอย่างทีต่ อ้ งการความเข้มข้นทีแ่ ม่นยา
2. ่ ้ ด (Volumetric glasswares) เป็ นเครื่องแก้ว ที่ใช้ส าหรับ
กาหนดหรือวัดปริมาตรของเหลวหรือสารละลายอย่างแม่นยา (accuracy) จะมีขดี และตัวเลขแสดงปริมาตร ซึง่
ได้รบั การสอบเทียบและกาหนดความคลาดเคลื่อนยินยอม (tolerance of error) สามารถแบ่งตามลักษณะการ
กาหนดปริมาตรทีแ่ น่นอนเป็ น 2 แบบ
2.1 เครื่องแก้ววัดปริมาตรของเหลวทีใ่ ช้สาหรับบรรจุของเหลว (To contain) จะมีตวั อักษร
TC หรือ C หรือ In ระบุอยูท่ ด่ี า้ นข้าง เครือ่ งแก้วประเภทนี้จะกาหนดปริมาตรได้แม่นยาด้วยการบรรจุของเหลว
ลงไปให้ถงึ ขีดบอกปริมาตร เช่น ขวดวัดปริมาตร
2.2 เครือ่ งแก้ววัดปริมาตรของเหลวทีใ่ ช้สาหรับตวง (To delivery) จะมีตวั อักษร TD หรือ Ex
หรือ D ระบุดา้ นข้าง เครือ่ งแก้วประเภทนี้สามารถถ่ายเทสารละลายหรือของเหลวทีต่ อ้ งการอย่างแม่นยาด้วย
การถ่ายของเหลวจากเครือ่ งแก้ววัดปริมาตรนี้ลงยังภาชนะรองรับ เช่น บิวเรต ปิ เปต และกระบอกตวง เป็ นต้น
สาหรับการเลือกใช้เครื่องแก้วสาหรับกาหนดปริมาตรของเหลวอย่างแม่นยานัน้ ควรพิจารณาตัง้ แต่
ชนิด ประเภทของเครื่องแก้ว การเลือกใช้ให้เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของงาน การเลือกขนาดเครื่องแก้วให้
เหมาะสมกับปริมาตรทีต่ ้องการ วิธกี ารใช้งานทีถ่ ูกต้องเหมาะสม การดูแลรักษาและทาความสะอาด รวมทัง้
การปรับเทียบเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตรก่อนนามาใช้งาน ซึง่ ล้วนเป็ นเงือ่ นไขสาคัญในปฏิบตั กิ ารเคมีวเิ คราะห์
Page 23 of 124
ทีไ่ ม่อาจละเลยได้ ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องมือวิเคราะห์ขนั ้ สูงให้ใช้มากมายก็ตาม การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
อย่างถูกต้องแม่นยา การเจือจางสารตัวอย่างให้มคี วามเข้มข้นเหมาะสมยังคงจาเป็ น อยู่เสมอ มิฉะนัน้ แล้ว
เครือ่ งมือขัน้ สูงทีล่ ะเอียดและแม่นยาก็ไม่มคี วามหมายแต่อย่างใดทีจ่ ะให้ผลการวิเคราะห์ทถ่ี กู ต้อง
อย่างไรก็ตาม เมื่อเครื่องแก้วกาหนดปริมาตรของเหลวถูกใช้งานมาระยะเวลาหนึ่ง เครื่องแก้วเหล่านี้
อาจให้ปริมาตรในการตวง วัด สาหรับกาหนดปริมาตรของเหลวเปลีย่ นไปจากทีร่ ะบุไว้ ทัง้ นี้อาจมีสาเหตุมาจาก
การใช้งานทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น นาไปใช้กบั สารเคมีท่ีมฤี ทธิ ์กัดกร่อน นาไปใช้กบั สารละลายอุ่นหรือเย็น การ
นาไปอบในตู้อบลมร้อน การบิน่ ชารุ ด หรือแม้แต่การทาความสะอาดที่ไม่ถูกวิธี เป็ นต้น ดังนัน้ จึงต้องมีการ
ตรวจสอบปริม าตรของเครื่อ งแก้ว ก าหนดปริม าตรนี้ เป็ นระยะ โดยการส่ งเครื่อ งแก้ว นี้ ไปสอบเทีย บกับ
หน่ วยงานรับ รอง เพื่อให้เกิด ความเชื่อมันในปริ
่ ม าตรที่ได้ ซึ่ งการส่งเครื่องแก้วทุกชิ้น ไปสอบเทียบนี้ อาจ
เสียเวลาและสิน้ เปลืองค่าใช้จ่าย ผูท้ ดลองจึงอาจปรับเทียบเครือ่ งแก้วนี้ เองเบือ้ งต้น เพื่อให้ทราบค่าความแม่น
ของปริมาตรของเหลวทีไ่ ด้ อาจทาโดยอาศัยวิธกี ารชังน ่ ้ าหนั กของเหลวและหาความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนัก
ของเหลวกับปริมาตร ณ อุณหภูมทิ ท่ี าการปรับเทียบ ซึ่งการปรับเทียบเครื่องแก้วกาหนดปริมาตร จะต้องใช้
เทคนิคการใช้งานที่ถูกต้องของเครื่องแก้วนัน้ ๆ ด้วย เช่น การปรับเทียบปิ เปต จะต้องใช้เทคนิคที่ถูกต้อง
เหมือนกับการใช้งานเมื่อใช้ปิเปตจริง ดังนัน้ การปรับเทียบเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตร มิใช่แต่เพียงปรับเทียบ
ปริมาตรเท่านัน้ แต่เป็ นการปรับเทียบเทคนิคของผูว้ เิ คราะห์ดว้ ย ซึง่ เทคนิคการใช้เครื่องแก้วกาหนดปริมาตร
นัน้ สามารถศึกษาเพิม่ เติมทีบ่ ทนาของคู่มอื ปฏิบตั กิ ารนี้

ด ้ ภพ ่ ้ ด (Class of Accuracy)
จะแบ่งเป็ น 2 ระดับชัน้ คุณภาพ (Class of Accuracy) ตามค่าความแม่นของปริมาตรของเหลวทีว่ ดั ได้
1.ระดับชัน้ คุณภาพ A (Class A) จะมีตวั อักษร A ระบุอยู่บนเครือ่ งแก้ว ทาจากแก้วโบโรซิลเิ กต ทาให้
มีคา่ สัมประสิทธิ ์การขยายตัวน้อย ปริมาตรของเหลวทีไ่ ด้มคี วามแม่นยาสูง มีคา่ ความคลาดเคลื่อนยินยอมน้อย
2. ระดับชัน้ คุณภาพ B (Class B) จะมีตวั อักษร B ระบุอยูบ่ นเครือ่ งแก้ว ทาจากแก้วอลูมนิ ่ า-โบโรซิลิ
เกต หรือ โซดาไลม์ เนื้อแก้วชนิดนี้จะมีค่าสัมประสิทธิ ์การขยายตัวมากกว่าแก้วโบโรซิเกต เป็ นเครื่องแก้ว
กาหนดปริมาตรทีม่ คี วามแม่นยาต่ากว่าระดับชัน้ คุณภาพ A และมีคา่ ความคลาดเคลื่อนยินยอมสูงกว่า
ซึง่ เครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตรของเหลวจะมีคณ
ุ สมบัตเิ ฉพาะแตกต่างกันตามมาตรฐานทีก่ าหนดในแต่
ละประเทศ เช่น ประเทศในแถบยุ โรปจะกาหนดตามหน่ ว ยงานมาตรฐานระหว่างชาติ (The International
Organization for Standardization, ISO) ประเทศอังกฤษกาหนดตามมาตรฐานของ BS (British standard)
ประเทศเยอรมันกาหนดตามมาตรฐานของ DIN (Deutsches Institut fur Normung) เป็ นต้น

Page 24 of 124
่ 1.1 ระดับชัน้ คุณภาพของเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตร
ชนิดของเครื่องมือ ขนาด (mL) ความคลาดเคลื่อนยินยอม (Tolerance of error) (mL)
Class A Class B
Burette: ISO 385/1-1984 50 0.05 0.1
Volumetiric pipette: 1 0.008 0.015
ISO 648-1977 5 0.015 0.03
10 0.02 0.04
25 0.03 0.06
Measuring pipette 1 0.005 0.01
(graduation interval) : 5 0.03 0.05
ISO 835 10 0.05 0.1
25 (0.1) 0.1 -
25 (0.2) 0.1 0.2
Volumetric flask: 5 0.025 0.05
ISO 1042 10 0.025 0.05
25 0.04 0.08
50 0.06 0.12
100 0.10 0.20
250 0.15 0.30
500 0.25 0.50
1000 0.40 0.80
กระบอกตวง 10 (0.1) -
(graduation interval): 10 (0.2) 0.2
ISO 4788 25 (0.2) -
25 (0.5) 0.5
50 1
100 1
250 2
500 5

* ค่าความคลาดเคลื่อนยินยอม Class B จะมีคา่ ประมาณ 2 เท่าของค่าความคลาดเคลื่อนยินยอม Class A


** ค่าความคลาดเคลื่อนยินยอม หมายถึง เกณฑ์การยอมรับความคลาดเคลื่อนสูงสุดของอุปกรณ์ วดั ปริมาตร
ซึง่ กาหนดตามมาตรฐานการผลิต

Page 25 of 124
่ 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและน้าหนักของน้า (Conversion factor) ทีอ่ ณ
ุ หภูมติ ่างๆ

อุณหภูมิ Conversion factor อุณหภูมิ Conversion factor


oC mL/g oC mL/g
20 1.0028 28 1.0046
21 1.0030 29 1.0048
22 1.0032 30 1.0051
23 1.0034 31 1.0054
24 1.0036 32 1.0057
25 1.00385 33 1.0060
26 1.0041 34 1.0063
27 1.0043 35 1.0066

ถ ด
1. เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถใช้เครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตรอย่างถูกวิธี
2. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญ ในการเลือกใช้เครื่องแก้ว เพื่อกาหนดปริม าตรอย่า ง
เหมาะสม ผ่านการทดลองการวัดปริมาตรน้ า 100 mL จากปิ เปตขนาด 10 mL, 25 mL บิวเรต
ขนาด 50 mL กระบอกตวงขนาด 100 mL และบีกเกอร์ขนาด 250 mL
3. เพือ่ ปรับเทียบหาปริมาตรทีแ่ น่นอนในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 mL
4. เพือ่ หาความเทีย่ ง (precision) ในการวัดปริมาตรของปิ เปต ขวดวัดปริมาตร บิวเรต และกระบอก
ตวง

จด ผ้ ด
เมือ่ ทาการทดลองนี้แล้ว ผูเ้ รียนควรจะสามารถ
1. ตระหนักถึงความสาคัญของเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตรและเลือกใช้ในงานวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง
และแม่นยา ตามวัตถุประสงค์การนาไปใช้งานและปริมาตรทีต่ อ้ งการ
2. ตระหนักถึงความสาคัญในการปรับเทียบอุปกรณ์วดั ปริมาตร
3. เข้าใจวิธกี ารปรับเทียบอุปกรณ์วดั ปริมาตรเบือ้ งต้น

Page 26 of 124

นาบีกเกอร์ใส่น้ากลันประมาณ
่ 200 mL วัดอุณหภูมขิ องน้าในบีกเกอร์ บันทึกอุณหภูมนิ ้าทีอ่ า่ นได้

่ 1: ใ ้ ่ ้ ด ่
ในการทดลองนี้ ต้องการปริม าตรน้ า 100 mL ด้วยเครื่องแก้ว 2 ประเภท คือ เครื่องแก้วกาหนด
ปริมาตร (ปิ เปตขนาด 10 mL และ 25 mL บิวเรตขนาด 50 mL กระบอกตวงขนาด 100 mL) และ เครื่องแก้ว
ทัวไป
่ (บีกเกอร์ขนาด 250 mL)
่ 1.1 ด ้ 100 mL จ ด 10 mL 25 mL
1. นาบีกเกอร์ใส่น้ากลันประมาณ
่ 200 mL
2. นาขวดรูปชมพู่ท่สี ะอาดขนาด 250 mL มาหนึ่งขวด ชังบนเครื ่ ่องชังแบบละเอี
่ ยด และ
บันทึกน้าหนักทีไ่ ด้ดว้ ยทศนิยมสีต่ าแหน่งในหน่วยกรัม (น.น.ขวด)
3. นาขวดรูปชมพูอ่ อกมานอกเครือ่ งชัง่ ปิ เปตน้ากลันจากบี ่ กเกอร์ขอ้ 1 ด้วยปิ เปตขนาด 10
mL ใส่ลงในขวดรูปชมพู่ จานวน 10 ครัง้ (จะได้ 100 mL)
4. นาไปชังน ่ ้าหนักด้วยเครือ่ งชังตั ่ วเดิมและบันทึกน้าหนัก (น.น.ขวด + น้า)
5. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 1-4 ซ้าอีก 2 ครัง้ (ใช้ปิเปตอันเดิมตลอดการทดลอง)
6. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 1 – 5 โดยเปลี่ยนจากปิ เปตขนาด 10 mL เป็ นปิ เปตขนาด 25
mL ในการปิ เปตน้าจานวน 4 ครัง้ ให้ครบ 100 mL
่ 1.2 ด ้ 100 mL จ ด 50 mL
1. เติมน้ากลันลงในบิ
่ วเรต ปรับปริมาตรให้อยูท่ ข่ี ดี ศูนย์
2. นาขวดรูปชมพู่ท่สี ะอาดขนาด 250 mL มาหนึ่งขวด ชังบนเครื ่ ่องชังแบบละเอี
่ ยด และ
บันทึกน้าหนักทีไ่ ด้ดว้ ยทศนิยมสีต่ าแหน่งในหน่วยกรัม (น.น.ขวด)
3. นาขวดรูปชมพู่ออกมานอกเครื่องชัง่ ไขน้ ากลันจากบิ ่ วเรตข้อ 1 ลงในขวดรูปชมพู่ ครัง้
ละ 50 mL จานวน 2 ครัง้ (จะได้ 100 mL)
4. นาไปชังน ่ ้าหนักด้วยเครือ่ งชังตั
่ วเดิมและบันทึกน้าหนัก (น.น.ขวด + น้า)
5. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 1-4 ซ้าอีก 2 ครัง้ (ใช้บวิ เรตอันเดิมตลอดการทดลอง)
่ 1.3 ด ้ 100 mL จ ด 100 mL
1. นาขวดรูปชมพู่ท่สี ะอาดขนาด 250 mL มาหนึ่งขวด ชังบนเครื ่ ่องชังแบบละเอี
่ ยด และ
บันทึกน้าหนักทีไ่ ด้ดว้ ยทศนิยมสีต่ าแหน่งในหน่วยกรัม (น.น.ขวด)
2. นาขวดรูปชมพูอ่ อกมานอกเครือ่ งชัง่
3. เติม น้ า กลัน่ ลงในกระบอกตวงให้ได้ป ริม าตร 100 mL โดยดู ท่ีข ีด บอกปริม าตรของ
กระบอกตวง แล้วเทน้ากลันลงขวดรู ่ ปชมพูท่ ท่ี ราบน้าหนักแล้วจากข้อ 1
4. นาไปชังน ่ ้าหนักด้วยเครือ่ งชังตั
่ วเดิมและบันทึกน้าหนัก (น.น.ขวด + น้า)

Page 27 of 124
5. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 1-4 ซ้าอีก 2 ครัง้ (ใช้กระบอกตวงเดิมตลอดการทดลอง)
่ 1.4 ด ้ 100 mL จ ด 250 mL
1. นาขวดรูปชมพู่ท่สี ะอาดขนาด 250 mL มาหนึ่งขวด ชังบนเครื ่ ่องชังแบบละเอี
่ ยด และ
บันทึกน้าหนักทีไ่ ด้ดว้ ยทศนิยมสีต่ าแหน่งในหน่วยกรัม (น.น.ขวด)
2. นาขวดรูปชมพูอ่ อกมานอกเครือ่ งชัง่
3. นาบีกเกอร์ทส่ี ะอาดขนาด 250 mL มาหนึ่งใบ เติมน้ ากลันลงในบี่ กเกอร์ให้ได้ปริมาตร
100 mL โดยดูทข่ี ดี บอกปริมาตรของบีกเกอร์
4. เทน้ ากลันจากบี
่ กเกอร์ล งในขวดรูปชมพู่ท่ที ราบน้ า หนักแล้ว (ขวดในข้อ 1) นาไปชัง่
น้าหนักด้วยเครือ่ งชังตั
่ วเดิมและบันทึกน้าหนัก (น.น.ขวด + น้า)
5. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 1-3 ซ้าอีก 2 ครัง้ (ใช้บกี เกอร์ใบเดิมตลอดการทดลอง)

*** ตอนที่ 1.1 - ตอนที่ 1.4 จะต้องนาน้าหนักของน้ากลันแต่ ่ ละส่วนทีบ่ นั ทึกได้ ไปคานวณเป็ นปริมาตร โดยใช้
ตารางความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักและปริมาตรของน้ า ณ อุณหภูมใิ นวันทีท่ าการทดลอง (ตารางที่ 1.2) และ
คานวณหาความเที่ย ง (precision) ของปริม าตรที่ค านวณได้ ซึ่งถ้า มีเทคนิ ค ในการใช้ เครื่อ งแก้ว กาหนด
ปริมาตรและเทคนิคการชังที ่ ด่ ี รวมถึงเครือ่ งแก้วนัน้ มีความแม่นยาในการกาหนดปริมาตรสูง พิสยั สัมพัทธ์ควร
มีคา่ ไม่เกิน 2 ppt (ppt - ส่วนในพันส่วน, part per thousand)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ = ค่าทีไ่ ด้มากทีส่ ดุ – ค่าทีไ่ ด้น้อยทีส่ ดุ x 1000 หน่วยเป็ น ppt


ค่าเฉลีย่

่ 2: ดด
การทดลองนี้ ต้องการให้นักศึกษาได้เรียนรูว้ ธิ กี ารปรับเทียบเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตรด้วยตนเองได้
ในเบือ้ งต้น โดยทาการทดลองปรับเทียบขวดวัดปริมาตรเป็ นตัวแทนในการศึกษา
1. ปิ ดจุกขวดวัดปริมาตรขนาด 100 mL แล้วนาไปชังน ่ ้ าหนักเครื่องชังแบบละเอี
่ ยด บันทึกน้ าหนัก ที่
ได้ดว้ ยทศนิยมสีต่ าแหน่งในหน่วยกรัม (น.น. ขวด) ขวดวัดปริมาตรเริม่ ต้นนี้ควร ้ และสะอาด
2. นาขวดวัดปริมาตรออกจากเครือ่ งชัง่
3. เติม น้ ากลัน่ ลงไปในขวดวัด ปริม าตรจนระดับ ท้องน้ าตรงกับ ขีด กาหนดปริม าตร ( ้
่ ่ เพือ่ มิให้เครือ่ งชังเปี
่ ยกซึง่ จะส่งผลให้เกิดความคลาดเคลื่อนของน้าหนักทีไ่ ด้)
4. ปิ ดจุกขวดวัดปริมาตรอีกครัง้ เพื่อป้ องกันการระเหยของน้ า แล้วนาไปชังน
่ ้ าหนัก บันทึกน้ าหนัก
ขวด + จุกปิ ด+ น้า (ครัง้ ที่ 1)
5. ใช้หลอดหยดดูดน้าออกจากขวดวัดปริมาตรขวดเดิม ให้ระดับน้าต่ากว่าขีดกาหนดปริมาตรเล็กน้อย
ตัง้ ไว้สกั ครู่

Page 28 of 124
6. ทาซ้าข้อ 3 ถึง ข้อ 5 อีก 2 ครัง้ (ใช้ขวดวัดปริมาตรเดิมตลอดการทดลอง)
7. นาน้ าหนักของน้ าทัง้ 3 ครัง้ ไปคานวณหาปริมาตร ณ อุณหภูมนิ ้ าจากตาราง 1.2 และหาปริมาตร
เฉลีย่
8. คานวณหาค่าแก้ความผิดพลาดจากการอ่านปริมาตร (correction) และค่าพิสยั สัมพัทธ์

correction = ปริมาตรเฉลีย่ ทีไ่ ด้จากการปรับเทียบ – ปริมาตรทีร่ ะบุทเ่ี ครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตร

9. อภิปรายผลการทดลองทีไ่ ด้

***หมายเหตุ***
การอ่านค่าน้าหนักจากเครือ่ งชังละเอี
่ ยด ต้องบันทึกค่าน้าหนักถึงทศนิยม 4 ตาแหน่ง
การรายงานปริมาตรจากเครือ่ งแก้วกาหนดปริมาตร (ปิ เปต บิวเรต กระบอกตวง และขวดวัดปริมาตร)
จะต้องบันทึกด้วยทศนิยม 2 ตาแหน่ง

เอกสารอ้างอิง
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา เคมีวเิ คราะห์ (คม.228) โดยอ.ดร.กมลทิพย์ เสรีนนท์ชยั
2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สานักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสตั ว์ ปี ท่ี 2 เล่มที่ 1

Page 29 of 124
ผ ด ่1
่ ใ ้ ่ ้ ด

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์

่ 1: ใ ้ ่ ้ ด ่
อุณหภูมขิ องน้า…………………………… oC

่ 1.1 การกาหนดปริมาตรน้า 100 mL จากปิ เปต


ประเภทของปิ เปต..................................... ขนาด ......10........ mL Class…………
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด (g)

น.น.ขวด + น้า (10.00 mL x 10 ครัง้ ) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

Page 30 of 124
ประเภทของปิ เปต..................................... ขนาด ......25........ mL Class…………
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด (g)

น.น.ขวด + น้า (25.00 mL x 4 ครัง้ ) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

่ 1.2 การกาหนดปริมาตรน้า 100 mL จากบิวเรตขนาด 50 mL Class ……………


ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด (g)

น.น.ขวด + น้า (50.00 mL x 2 ครัง้ ) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

Page 31 of 124
่ 1.3 การกาหนดปริมาตรน้า 100 mL จากกระบอกตวงขนาด 100 mL Class ……………
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด (g)

น.น.ขวด + น้า (100.00 mL) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

่ 1.4 การกาหนดปริมาตรน้า 100 mL จากบีกเกอร์ขนาด 250 mL Class ……………


ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด (g)

น.น.ขวด + น้า (100.00 mL) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)

ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

Page 32 of 124
้ ( ด พ ้ ด จ ด ่ ...........)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

พ พ ( ด พ ้ ด จ ด ่ ...........)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 33 of 124
่ 2: ด ด
อุณหภูมขิ องน้า………………………… oC
ขวดวัดปริมาตร ขนาด ....................... mL Class…………
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

น.น.ขวด + จุกปิ ด (g)

น.น.ขวด + จุกปิ ด + น้า (100.00 mL) (g)

น.น.น้า (100.00 mL) (g)

ปริมาตรของน้า (mL)

ปริมาตรเฉลีย่ ของน้า (mL)


ค่า correction (ที่ 100.00 mL) (mL)
(ปริมาตรเฉลีย่ ของน้าทีไ่ ด้จากการปรับเทียบ - 100.00 mL)
ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt)

้ ( ด พ ้ ด จ ด ่ 2)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

พ พ ( ด พ ้ ด จ ด ่ ...........)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 34 of 124
ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 35 of 124
ด ่2

่ ด้ ด ้

(Gravimetric Determination of Nickel)

Nickel เป็ นธาตุ ท รานสิช ัน มี atomic number เท่ า กับ 28 มีคุ ณ สมบัติดึ งดู ด ได้ ต่ อ แม่ เหล็ ก เลข
oxidation ทีพ่ บมากทีส่ ดุ คือ +2 โดยในธรรมชาติจะพบ Ni58 มากทีส่ ดุ

Nickel ส่ ว นใหญ่ จ ะถู ก น าไปใช้ในงานอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ เช่น อุ ต สาหกรรมเหล็กกล้า แม่ เหล็ก


เหรียญกษาปณ์ โลหะผสม อุตสาหกรรมการชุบ/เคลือบผิว (ใช้ในรูปของสารละลาย) และอุตสาหกรรมกระจก
(ใช้ในการทาให้กระจกมีสเี ขียว) นอกจากนี้ Ni ยังมีส่วนสาคัญในการทาปฏิกริยาเคมีหลายปฏิกริ ยิ า เช่น ใช้
เป็ น catalyst ในปฏิกริ ยิ า Hydrogenation โดยอยูใ่ นรูปของ Raney Nickel (Nickel-Aluminium alloy)

ในการวิเคราะห์หาปริมาณ Ni โดยใช้ classical method สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การไทเทรต


เพื่อให้เกิด เป็ น สารประกอบเชิงซ้อน การไทเทรตเพื่อให้เกิดปฏิกิรยิ ารีด อกซ์ การไทเทรตเพื่อให้เกิด การ
ตกตะกอน และการวิเคราะห์โดยการชังน ่ ้าหนัก

Ni2+ สามารถทาปฏิกริ ยิ ากับ dimethylglyoxime (DMG) ในสารละลายทีเ่ ป็ นด่าง เกิดเป็ นตะกอนสีแดง


ของ Nikel dimethylglyoximate, Ni(C4H7O2N2)2 (MW 288.92)

ตะกอน Ni(DMG)2 ทีเ่ กิดขึน้ นี้ สามารถละลายได้ในกรด สารละลายแอลกอฮอล์ เข้มข้น 50% น้ าร้อน
สารละลายแอมโมเนี ย เข้ม ข้น ที่ม ี Co2+ แต่จ ะไม่ ล ะลายในสารละลายแอมโมเนี ย เจือจาง สารละลายเกลือ
แอมโมเนีย สารละลาย CH3COOH-CH3COONa เจือจาง

Page 36 of 124
ถ้ามี NH3 และ Co หรือ Zn หรือ Cu ปนเปื้ อนอยู่ในสารละลายปริมาณมาก จะทาให้การตกตะกอน
ของ Ni(DMG)2 เกิด ได้ ช้ า ลง เนื่ อ งจาก DMG ส่ ว นหนึ่ ง จะไปท าปฏิ กิร ิย ากับ Co, Zn และ Cu เกิด เป็ น
สารประกอบเชิงซ้อนทีล่ ะลายน้าได้ ซึง่ ทาให้ต้องใช้ DMG ในปริมาณทีม่ ากขึน้

นอกเหนื อจากการเกิดตะกอนกับ Ni2+ แล้ว DMG สามารถทาปฏิกริ ยิ ากับ Pd, Pt และ Bi ได้ด้วย
โดย Pd และ Pt จะสามารถตกตะกอนได้ทงั ้ ในสารละลายด่างอ่อนๆ และสารละลายกรดอ่อนๆ ส่วน Bi จะ
ตกตะกอนได้ในสารละลายทีเ่ ป็ นด่างมากๆ

Dimethylglyoxime มีคุณสมบัตกิ ารละลายน้ าทีต่ ่ ามาก ดังนัน้ จึงต้องเตรียมสารละลาย DMG โดยใช้


แอลกอฮอล์ เป็ นตัว ท าละลาย โดยสารละลาย 1% DMG ปริม าตร 1 mL สามารถท าปฏิกิรยิ าพอดีกบั Ni
0.0025 g ในการตกตะกอน Ni ด้วย DMG จะทาการเติม DMG ลงไปในปริมาณทีม่ ากเกินพอเพียงเล็กน้ อย
เนื่ องจาก DMG มีคุณ สมบัติในการละลายน้ าต่ า ดังนัน้ ถ้าเติม DMG ลงไปในปริมาณที่มากจะทาให้ DMG
ตกตะกอน ท าให้ได้ตะกอนมากกว่ า ความเป็ นจริง นอกจากนี้ ต ะกอน Ni(DMG)2 สามารถละลายได้ถ้า มี
แอลกอฮอล์อยู่ในสารละลายมากกว่า 50% นอกจากนี้ ในการตกตะกอน มักจะทาในขณะสารละลายร้อน
เพือ่ ให้ได้ตะกอนทีม่ ขี นาดใหญ่ สะดวกแก่การกรอง

ในการวิเคราะห์หาปริมาณ Ni ในตัวอย่างที่ม ี Fe จะทาการเติม Tartaric Acid ลงไปเป็ น masking


agent เพือ่ ป้ องกันไม่ให้ Fe ตกตะกอน เนื่องจาก Fe สามารถตกตะกอนได้ในสารละลายเบส

จด ผ้ ด
1. มีเทคนิคในการวิเคราะห์โดยน้ าหนัก ได้แก่ การใช้เครือ่ งชังไฟฟ้
่ าอย่างละเอียด การอบแห้งและหา
น้าหนักทีแ่ น่นอนของครูซเิ บิล การถ่ายเทเชิงปริมาณวิเคราะห์ การกรอง และเทคนิคในการตกตะกอน
2. เข้าใจถึงผลของสิง่ เจือปนทีจ่ ะมีต่อผลการวิเคราะห์
3. เข้าใจถึงข้อดี ข้อเสีย ของการตกตะกอนจากสารละลายเนื้อเดียว
4. สามารถคานวณปริมาณของนิกเกิลได้จากน้าหนักของตะกอน

Tartaric Acid (C4H6O6)

Methyl red indicator 0.02% (w/v) ใน 60% ethanol

6 M HCl 6 M NH3 1% (w/v) Dimethylglyoxime 0.1 M AgNO3

Page 37 of 124

1. ล้างซินเตอร์กลาสครูซเิ บิล (sintered-glass crucible) เบอร์ 4 ให้สะอาด 3 ใบ แต่ละใบควรมีการเขียน


เบอร์และเลขกลุ่มด้วยดินสอดากากับ ไว้ นาไปอบในตูอ้ บทีอ่ ุณหภูม ิ 120oC เป็ นเวลาอย่างน้อย 30 นาที โดย
วางในบีกเกอร์ เอาออกจากตูอ้ บนามาทิง้ ให้เย็นลงสู่อุณหภูมหิ อ้ งในโถดูดความชืน้ และนาไปชังน ่ ้ าหนักอย่าง
ละเอียด (ทศนิยมสีต่ าแหน่ งในหน่ วยกรัม) บันทึกน้าหนัก ทาซ้า จนได้น้าหนักทีค่ งที่ (น้าหนักต่างกันไม่เกิน ±
0.0005 g)
้ : 1. ระยะเวลาทีค่ รูซเิ บิลเย็นลงจนถึงอุณหภูมหิ อ้ งในโถดูดความชืน้ ควรใช้เวลาใกล้เคียงกัน
2. น้าหนักทีค่ งที่ คือน้าหนักทีไ่ ด้จากการชังครู
่ ซเิ บิลทีอ่ บแล้วทิง้ ไว้ให้เย็นในโถดูดความชืน้ ทีต่ ่างกัน
ไม่เกิน 0.0005 กรัม ครัง้ ใดก็ได้เทียบกัน 2 ค่า
3. การชังน
่ ้ าหนักควรใช้เครือ่ งชังเดิ
่ มทุกครัง้ และระวังการจับครูซเิ บิลด้วยมือเปล่า รวมถึงการวาง
ครูซเิ บิลบนโต๊ะปฏิบตั กิ าร

2. ชนิดของตัวอย่าง
2.1 ตัวอย่างของแข็งทีล่ ะลายน้า
ชังตั
่ วอย่างที่ทราบน้ าหนักละเอียด 0.2 กรัม ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 หรือ 100 mL (บันทึก
น้ าหนักตัวอย่างด้วยทศนิยม 4 ตาแหน่ ง) ละลายตัวอย่างในบีกเกอร์ดว้ ยน้ ากลัน่ ถ่ายสารละลายตัวอย่างจาก
บีกเกอร์ลงขวดวัดปริมาตรขนาด 100.00 mL พร้อมทัง้ ใช้น้ากลันชะสารละลายจากบี
่ กเกอร์ลงขวดวัดปริมาตร
ให้หมด แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลันจนถึ
่ ง ขีดกาหนดปริมาตร ผสมให้เข้ากัน แล้วทาการทดลองตามข้อ 3
เป็ นต้นไป
2.2 ตัวอย่างเป็ นสารละลาย (สารละลายตัวอย่างนัน้ ละลายอยูใ่ นน้าแล้ว)
ให้ทาการทดลองตามข้อ 3 เป็ นต้นไปได้เลย
3. เตรียมบีกเกอร์ขนาด 250 mL 3 ใบ ปิ เปตสารละลายตัวอย่าง 10.00 mL ใส่ในบีกเกอร์แต่ละใบ เติม
น้ ากลันประมาณ
่ 100 mL ทุกบีกเกอร์มแี ท่งแก้วคนและกระจกนาฬิกาสาหรับปิ ดครอบ เช็คว่าสารละลายเป็ น
กรดแล้วหรือไม่ด้วยกระดาษลิตมัสสีน้ าเงิน ถ้ายังไม่เป็ นกรดให้เติมสารละลาย HCl 1:1 (หรือ 6 M HCl) จน
เป็ นกรด
4. ให้ความร้อนจนเกือบเดือด (ประมาณ 70 C) เติม tartaric acid 1.5 g และ methyl red 5 หยด (pH
4.2-6.3, red-yellow) ถ้าสารละลายมีสแี ดง ต้องเติม 6 M NH3 จนกว่าสีของสารละลายจะเป็ นสีเหลือง

้ : ถ้าสารละลายทีไ่ ด้ไม่ใส แสดงว่า tartaric acid ทีเ่ ติมมีปริมาณน้อยเกินไป จะต้องทาให้สารละลาย


เป็ นกรดใหม่แล้วเติม tartaric acid เพิม่ ขึน้ อีก โดยการทาให้สารละลายเป็ นกรดใหม่ทาโดยการเติม 6 M HCl

Page 38 of 124
5. ให้ความร้อนกับสารละลายที่อณ ุ หภูมปิ ระมาณ 70 C ไปเรือ่ ย ๆ และค่อยๆ เติม dimethylglyoxime
ทีละหยดพร้อมทัง้ คนสารละลายตลอดเวลาจนครบ 20 mL แล้วเติม 3 M ammonium acetate ทีล ะหยด
จนกระทังเกิ่ ดตะกอนสีแดงของ nickel dimethylglyoximate พร้อมทัง้ คนสารละลายตลอดเวลาจนครบ 20 mL
ปล่อยแท่งแก้วคนไว้ในบีกเกอร์เพือ่ ไม่ให้เกิดการสูญหายของตะกอนทีต่ ดิ แท่งแก้วคน
6. เติม dimethylglyoxime เพิ่มอีก 1 mL บนสารละลายส่วนใส (supernatant) ให้สงั เกตว่ามีต ะกอน
เกิดเพิม่ ขึน้ อีกหรือไม่ ถ้ามีตะกอนเกิดขึน้ ให้เติม dimethylglyoxime อีก 5 mL
7. Digest ตะกอนบน hot plate ทีป่ ระมาณ 70-80 C นาน 40 นาที ระวังอย่าให้สารละลายเดือด เพราะ
จะทาให้ Ni-dimethylglyoxime สลายตัว สังเกตได้จากสีของตะกอนจะปรากฏเป็ นสีคล้า
8. ปล่อยให้เย็นลงถึงอุณหภูมหิ อ้ งและกรองตะกอนด้วยซินเตอร์กลาสครูซเิ บิลทีเ่ ตรียมไว้
9. การถ่ายตะกอนลงในซินเตอร์กลาสครูซิเบิลจะใช้ rubber policeman เป็ นอุป กรณ์ ช่วยในการน า
ตะกอนทีต่ ดิ อยูบ่ ริเวณผนังบีกเกอร์ออกมาได้งา่ ยขึน้
** วิธกี ารกรองทีร่ วดเร็วและทาให้ได้ตะกอนทีบ่ ริสุทธิ ์ สามารถทาตามแนวทางดังนี้ เท supernatant ลง
ใน crucible ก่อน โดยให้มตี ะกอนค้างอยู่ในบีกเกอร์ให้มากทีส่ ุด แล้วใช้น้ าล้างตะกอนประมาณ 20-25 mL เท
ลงในบีกเกอร์เพือ่ เป็ นการล้างตะกอน แล้วเทส่วน supernatant ผ่านครูซเิ บิล ทาซ้าจนครบ 100 mL จากนัน้ จึง
เทตะกอนทีต่ กค้างในบีกเกอร์ลงครูซเิ บิลให้หมด แล้วใช้น้ าล้างตะกอนอีกประมาณ 50 mL ล้างตะกอนทีอ่ ยู่ใน
ครูซเิ บิล

: 1. น้าล้างตะกอนเตรียมจาก 6 M NH3 ปริมาตร 1.5 mL ในน้ากลัน่ 500 mL


2. สามารถตรวจสอบการล้า งตะกอนให้บริสุทธิ ์เบื้องต้นจากการนาสารละลายทีไ่ ด้จากการ
ล้ า งตะกอน (filtrate) ไปท าให้ เ ป็ นกรดด้ ว ย 6 M HNO3 แล้ ว เติ ม 0.1 M AgNO3 ลงไป 1 - 2 หยด
สารละลายทีไ่ ด้ตอ้ งไม่ขนุ่

10. นาซินเตอร์กลาสครูซเิ บิลทีม่ ตี ะกอนอยู่ดว้ ยไปอบที่ 110 C จนกว่าน้ าหนักทีช่ งได้


ั ่ จะคงที่ ตะกอนที่
ได้คอื Ni(DMG)2 หรือ Ni(C4H7O2N2)2 (288.92 g/mol)
11. หาปริมาณของ Ni ในสารตัวอย่าง (g/100 mL)

1. สารละลายของ NH3 ต้องไม่ม ี carbonate เพราะจะทาให้เกิด nickel carbonate


2. ตะกอนของ Nickel dimethylglyoxime จะอยูต่ วั จนถึงอุณหภูม ิ 172 C
3. ล้างซินเตอร์กลาสครูซเิ บิลทีม่ ี nickel dimethylglyoxime ติดอยูด่ ว้ ย HCl

Page 39 of 124

1. จงบอกประโยชน์ วิธใี ช้และโอกาสทีใ่ ช้ของซินเตอร์กลาสครูซเิ บิล
2. ทาไมจึงล้างตะกอนด้วยน้าเย็น
3. ทาไมจึงเติม precipitation agent ลงไป 1.5 เท่า จะเติมมากหรือน้อยกว่านี้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

้ :

1. D.C. Harris, Quantitative Analysis, 5th Edition, 1999, p 600 – 602


2. Garry D. Christian, Analytical Chemistry, 6th Edition, 2003, p 543 – 544

Page 40 of 124
ผ ด ่2
่ ด้ ด ้

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์
ทาการทดลองร่วมกับกลุ่มที่

้ ่ ่ ซ
ครูซเิ บิลใบที่ 1 ครูซเิ บิลใบที่ 2 ครูซเิ บิลใบที่ 3

น.น.ครูซเิ บิล (g) ครัง้ ที่ 1 ……………………... ……………………... ……………………...


ครัง้ ที่ 2 ……………………... ……………………... ……………………...
……………………... ……………………... ……………………...
……………………... ……………………... ……………………...
น.น.ครูซเิ บิลทีค่ งที่ (g) ……………………... ……………………... ……………………...

้ ่ ่
ครูซเิ บิลใบที่ 1 ครูซเิ บิลใบที่ 2 ครูซเิ บิลใบที่ 3

น.น.ครูซเิ บิล + ตะกอน (g) ครัง้ ที่ 1 …………………. …………………. ………………….


ครัง้ ที่ 2 …………………. …………………. ………………….
…………………. …………………. ………………….
…………………. …………………. ………………….
น.น.ครูซเิ บิล + ตะกอนทีค่ งที่ (g) …………………. …………………. ………………….
น.น.ครูซเิ บิล (g) …………………. …………………. ………………….
น.น.ตะกอน Ni(DMG)2 (g) …………………. …………………. ………………….
น.น.ของ Ni (g) …………………. …………………. ………………….
ปริมาณ Ni (g/100 mL) …………………. …………………. ………………….
ปริมาณ Ni เฉลีย่ (g/100 mL) …………………………………………
ค่าพิสยั สัมพัทธ์ (ppt) …………………………………………

Page 41 of 124
Ni (g/100 ml)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
พ พ
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 42 of 124
ด ่3

่ Standard Solution (Primary, Secondary Standard)


Standardisation

สารเคมีทม่ี คี วามบริสทุ ธิ ์แตกต่างกันสามารถแบ่งเป็ นชนิดได้ดงั นี้

1. Commercial / Technical / Industrial grade

สารเคมีเกรดนี้เหมาะทีจ่ ะใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ไม่เหมาะทีจ่ ะใช้ในห้องปฏิบตั กิ าร เพราะ


มีสงิ่ สกปรกเจือปนอยูม่ าก นอกจากกรณีเฉพาะบางกรณีทค่ี วามบริสทุ ธิ ์ไม่ใช่ปัญหาสาคัญ

2. Practical grade

สารเคมีเกรดนี้มคี วามบริสุทธิ ์มากกว่า Industrial grade แม้จะมีสงิ่ สกปรกเจือปนอยู่บา้ ง แต่


ก็ยงั สามารถใช้ได้ในห้องปฏิบตั กิ าร เช่น ใช้ในการสังเคราะห์พวกสารอินทรีย์

3. Analyzed Reagent grade (A.R. grade)

สารเคมีเกรดนี้หมายถึง สารเคมีบริสุทธิ ์ทีผ่ ่านการวิเคราะห์หาปริมาณสิง่ เจือปน (impurities)


ต่าง ๆ แล้ว มีความบริสทุ ธิ ์มากกว่าสองประเภทแรก เวลาใช้ ควรดู impurities ทีร่ ะบุขา้ งขวดว่าเหมาะกับการ
ใช้งานหรือไม่ เพราะว่าสารในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็ น Analytical Reagent grade (สาหรับงานวิเคราะห์ทต่ี ้องการ
ความบริสทุ ธิ ์สูง) และ Reagent grade (สาหรับงานวิเคราะห์ทวๆไป) ั่

4. Primary Standard grade

เป็ นสารเคมีทม่ี คี วามบริสุทธิ ์สูง ผ่านการควบคุมและรับรองความบริสุทธิ ์ทุกรุ่นทีผ่ ลิต โดย


หน่ วยงานทีส่ ากลรับรอง ใช้สาหรับเตรียมสารละลายมาตรฐาน สาหรับปรับเทียบเครือ่ งมือหรือเครื่องวัดต่างๆ
สารเคมีประเภทนี้จงึ มีราคาแพงมาก

ด ด (Volumetric Analysis)

เป็ นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ทีใ่ ช้กนั มาก เนื่องจากเป็ นวิธที ง่ี า่ ย ไม่ต้องใช้
เครื่องมือมาก และทาได้อย่างรวดเร็ว มีความแม่นยา โดยปกติหมายถึง การหาปริมาณสารที่เราต้อ งการรู้
(analyte) โดยวัด ปริม าตรของสารที่รู้ค วามเข้ม ข้น (สารละลายมาตรฐาน หรือ standard solution) ที่ท า
Page 43 of 124
ปฏิกริ ยิ าพอดีกบั สารที่ต้องการรู้ ซึ่งการใช้วิธีการไทเทรตเพื่อหาปริม าตรสารที่ทาปฏิกิรยิ าพอดี เรีย กว่ า
Titrimetric Analysis โดยเรีย กสารละลายที่อยู่ใน buret ว่า titrant และเรียกจุดที่ทาปฏิกริ ยิ ากัน พอดีว่า จุ ด
สมมูล (equivalence point) ซึง่ โดยปกติจะต้องทาการเติมสารอื่นเพื่อให้สามารถมองเห็นจุดสมมูลนี้ โดยสารที่
เติมลงไปเพื่อให้เห็นจุดสมมูลเรียกว่า indicator และจะเรียกจุดที่ indicator มีการเปลีย่ นแปลงสีว่า จุดยุติ (end
point) ส าหรับ ปฏิกิร ิย าเคมีท่ีส ามารถน ามาใช้ในการวิเคราะห์โ ดยวิธีก ารไทเทรตจะ ต้อ งเป็ นปฏิกิรยิ าที่
stoichiometric รวดเร็ว และไม่มปี ฏิกริ ยิ าข้างเคียงเกิดขึน้

ฐ จะต้องเป็ นสารบริสุทธิ ์ หาได้งา่ ย ไม่ดูดความชืน้ หรือคายน้ า เมื่อตัง้ ทิง้ ไว้ไม่ดูด CO2


ในอากาศ สารละลายทีไ่ ด้จากการละลายสารมาตรฐานแล้วทาให้ได้ปริมาตรแน่ นอนเรียกว่า สารมาตรฐานปฐม
ภูม ิ (Primary standard) แต่บางครัง้ ไม่สามารถหาสารมาตรฐานทีม่ คี ุณสมบัตขิ า้ งต้นมาเตรียมเป็ นสารละลาย
มาตรฐานได้โดยตรง จึงจาเป็ นต้องนาเอาสาร Primary Standard ตัวอื่นมาทาการไทเทรตด้วยเพื่อหาความ
เข้มข้นทีแ่ น่นอนแทน จะเรียกสารละลายมาตรฐานทีไ่ ด้น้ีว่า สารมาตรฐานทุตยิ ภูม ิ (Secondary Standard) และ
เรียกขัน้ ตอนการไทเทรตเพือ่ หาความเข้มข้นทีแ่ น่นอนนี้ว่า Standardization

ถ ด
1. เพือ่ ให้เรียนรูถ้ งึ primary, secondary standard, standardisation และวิธคี านวณ
2. ให้รเู้ ทคนิคในการใช้เครื่องชังละเอี
่ ยด ขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ปิ เปต (pipette) และ
วิธกี ารไทเทรต

สารทีใ่ ช้เป็ น Primary standard ได้แก่

Na2CO3 (sodium carbonate, MW 105.99)

KHP (KHC8H4O4, potassium hydrogen phthalate, MW 204.223 )

สารทีเ่ ป็ น Secondary Standard ได้แก่

NaOH และ HCl

Page 44 of 124

่1 ฐ HCl Standardise ด้ Anhydrous Sodium


Carbonate
1.1 ฐ HCl

ทาการเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.1 M ปริมาตร 300 mL โดยอาศัยการเจือจาง HCl


เข้มข้น (conc. HCl) เก็บสารละลายทีเ่ ตรียมได้ในขวดแก้วทีม่ จี ุก (glass bottle)
นักศึกษาจะต้องแสดงวิธกี ารคานวณการเตรียมสารละลาย HCl โดยอาศัยข้อมูลสารเคมีใน
ห้องปฏิบตั กิ าร
ในการเตรียมสารละลายกรด HCl ให้ใช้กระบอกตวง (Measuring cylinder) ตวงกรด HCl
เข้มข้น

1.2 Standardisation ด HCl ด้ Na2CO3

1. ชัง่ A.R Na2CO3 (ผ่านการอบทีอ่ ณ


ุ หภูม ิ 140 – 160 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา
2 ชัวโมงแล้
่ วตัง้ ทิ้งไว้ให้เย็น) ประมาณ 0.2 g โดยใช้เครื่องชังละเอี
่ ยด (บันทึกน้ าหนักละเอียดถึงทศนิยม 4
ตาแหน่ง) ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 250 mL
2. เติมน้ากลัน่ 50 mL โดยใช้กระบอกตวง เพือ่ ละลาย Na2CO3 ให้หมด
3. เติม methyl orange (0.1%) ลงไป 1-2 หยด
4. บรรจุสารละลายกรด HCl ใน burette แล้วนาสารละลายจากข้อ 3 มาไทเทรตกับ
สารละลายกรด HCl เมือ่ ใช้ methyl orange เป็ นอินดิเคเตอร์ จุดยุตจิ ะเปลีย่ นสีจากเหลืองเป็ นส้ม
ค าแนะน า: นั ก ศึก ษาควรน าสารละลายทีไ่ ทเทรตแล้ ว และคาดว่ า ถึงจุ ด ยุ ติม า
เปรียบเทียบสีกบั สารละลายขวดอืน่ ทีย่ งั ไม่ทาการไทเทรต (ขวดเปรียบเทียบ) เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจ
5. น าขวดสารละลายที่ค าดว่ า ถึ ง จุ ด ยุ ติแ ล้ ว ไปต้ ม บน hot plate ด้ ว ยไฟอ่ อ นจน
สารละลายเดือดเบา ๆ ประมาณ 1 - 2 นาที เพื่อไล่ CO2 ทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าออกให้หมด ถ้าสีของสารละลาย
กลับไปเหมือนตอนเริม่ ต้นแสดงว่ายังไม่ถึงจุดยุติ ให้นาไปไทเทรตต่อ จนสีของสารละลายเริม่ ต่างจากสีของ
ขวดเปรียบเทียบอีกครัง้
6. จดปริมาตรของกรดที่ใช้ในการไทเทรตทัง้ หมด จากนัน้ คานวณความเข้มข้นของ
HCl ในหน่วย Molarilty จากสมการ

Na2CO3 + 2HCl --------> 2NaCl + H2O + CO2

7. ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ แล้วหาค่า Molarilty เฉลีย่ ของ HCl

Page 45 of 124
่2 ฐ NaOH Standardisation ด้ KHP
2.1 ฐ NaOH
ทาการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 M ปริมาตร 300 mL โดยการนา NaOH pallet
มาละลายด้วยน้ากลันในบี
่ กเกอร์ เก็บสารละลาย 0.1 M NaOH ทีเ่ ตรียมได้ในขวดพลาสติก (polyethylene)

นักศึกษาจะต้องแสดงวิธีการคานวณการเตรีย มสารละลาย HCl โดยอาศัยข้อมูล “ฉลาก”


ขวดสารเคมีในห้องปฏิบตั กิ าร

1.2 Standardisation NaOH ด้ KHP


1. ชัง่ A.R KHP (ผ่านการอบที่อุณ หภูม ิ 140-160 องศาเซลเซีย ส เป็ น ระยะเวลา 2
ชัวโมงแล้
่ วตัง้ ทิ้งไว้ให้เย็น ) ประมาณ 2 กรัม โดยใช้เครื่ องชังละเอี
่ ย ด ใส่ในบีกเกอร์ขนาด 50 mL (บัน ทึก
น้ า หนั ก ที่ได้ล ะเอีย ดถึง ทศนิ ย ม 4 ต าแหน่ ง) ** ่ KHP พ 1 ้ พ่ ็
**
2. เติมน้ากลันประมาณ
่ 20 – 30 mL เพือ่ ละลาย KHP ในบีกเกอร์
3. ถ่ายสารละลาย KHP ลงในขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 100 mL (ต้อง
“ชะ” สารละลาย KHP ที่ค้างอยู่ในบีกเกอร์และแท่งแก้ว โดยเทลงในขวดวัดปริมาตรให้หมด) จากนัน้ ปรับ
ปริมาตรให้ครบ 100 mL ด้วยน้ากลัน่ ปิ ดฝา แล้วเขย่าให้เข้ากัน
4. ปิ เปตสารละลายมาตรฐาน KHP ทีเ่ ตรียมได้จากข้อ 3 ปริมาตร 25.00 mL ใส่ลงใน
Erlenmeyer flask ขนาด 125 mL
5. เติม phenolphthalein จานวน 2-3 หยด
6. บรรจุ ส ารละลาย NaOH ใน burette แล้ว น าสารละลายจากข้อ 5 มาไทเทรตกับ
สารละลาย NaOH เมือ่ ใช้ phenolphthalein เป็ นอินดิเคเตอร์ จุดยุตจิ ะเปลีย่ นสีจากไม่มสี เี ป็ นสีชมพูออ่ น
7. จดปริมาตรของกรดทีใ่ ช้ในการไทเทรตทัง้ หมด จากนัน้ คานวณความเข้มข้นของ
NaOH ในหน่วย Molarilty จากสมการ

8. ทาการทดลองซ้าตัง้ แต่ขอ้ 4 – 7 อีก 2 ครัง้ แล้วหาค่า Molarilty เฉลีย่ ของ NaOH

** ** HCl NaOH ่ จ ่1 2จ ้ ไ ใ ้ ใ ่3

Page 46 of 124
่3 ไ ด - ใ ้ ด
3.1 Phenolphthalein Indicator

ปิ เปตสารละลาย 0.1 M HCl ที่เตรียมไว้ ปริม าตร 10 mL ลงใน Erlenmeyer flask ขนาด
125 mL เติม phenolphthalein indicator 2 - 3 หยด แล้วทาการไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH (บรรจุอยู่ใน
บิวเรต) จนถึงจุดยุติ จดปริมาตร NaOH ทีใ่ ช้ ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ แล้วหาปริมาตรเฉลีย่ ของ NaOH ที่
ใช้

3.2 Methyl Orange Indicator

ปิ เปตสารละลาย 0.1 M HCl ที่เตรียมไว้ ปริม าตร 10 mL ลงใน Erlenmeyer flask ขนาด
125 mL เติม methyl orange indicator 2 - 3 หยด แล้วทาการไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH (บรรจุอยู่ในบิว
เรต) จนถึงจุดยุติ จดปริมาตร NaOH ทีใ่ ช้ ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ แล้วหาปริมาตรเฉลีย่ ของ NaOH ทีใ่ ช้

**ทำกำรเปรียบเที ยบปริ มำตรของสำรละลำย NaOH ที ใ่ ช้ ในกำรไทเทรต เมือ่ ใช้อินดิ


เคเตอร์ต่ำงชนิ ดกัน

1. ในการไทเทรต HCl ด้ว ย NaOH นั น้ indicator ที่เหมาะสมส าหรับ การบอกจุ ด ยุ ติคือ indicator ชนิ ด ใด
เพราะเหตุใด

2. ถ้าทาการไทเทรต KHP ด้วย Na2CO3 ควรเลือกใช้ indicator ชนิดใด เพราะเหตุใด

Reference:

D.A. Skoog, D.M. West, F.J. Holler and S.R. Crouch, Analytical Chemistry: An Introduction, 7th ed.
Chapters 12 and 13, pp. 265-324.

Page 47 of 124
ผ ด ่3

่ Standard Solution (Primary, Secondary Standard) Standardisation

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์

่1 ฐ HCl Standardisation
1.1 ฐ HCl 300 mL

กาหนดให้: conc. HCl คือ HCl เข้มข้น 37% w/w density = 1.169 kg/L HCl mw = 36.46 g/mol

………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 Standardisation ฐ HCl


ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3
น้าหนักของ Na2CO3 (g)
ปริมาตรของ HCl ทีใ่ ช้ (mL)
ความเข้มข้นของ HCl (M)
ความเข้มข้นเฉลีย่ ของ HCl (M)

Page 48 of 124
การคานวณ (แสดงการคานวณให้ดู 1 ตัวอย่าง)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

่2 ฐ NaOH Standardisation
2.1 ฐ NaOH 300 mL

ดใ ้: NaOH mw = 39.9971 g/mol density (solid) = 2.1 kg/L solubility 111g/100 mL (20 C)

………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

2.2 ฐ NaOH

ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3


น้าหนักของ KHP(g)
ปริมาตรของสารละลาย KHP (mL)
ปริมาตรของ NaOH ทีใ่ ช้ (mL)
ความเข้มข้นของ NaOH (M)
ความเข้มข้นเฉลีย่ ของ NaOH (M)

Page 49 of 124
การคานวณ (แสดงการคานวณให้ดู 1 ตัวอย่าง)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

่3 ไ ด - ใ ้ ด

อินดิเคเตอร์ ปริมาตรสารละลาย (mL) ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 เฉลีย่
Phenolphthalein สารละลาย HCl
สารละลาย NaOH
Methyl Orange สารละลาย HCl
สารละลาย NaOH

ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 50 of 124
ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 51 of 124
ด ่4

่ ไ ดด้ Mohr’s Method Volhard’s Method

การไทเทรตแบบตกตะกอน (Precipitation Titration) คือ การไทเทรตทีอ่ าศัยการเกิดตะกอนมาใช้ใน


การหาปริมาณสาร การนาไปใช้งานของวิธีการวิเคราะห์แบบตกตะกอนมีไม่มากนัน้ และมักจะจากัด ที่การ
ไทเทรตทีเ่ กีย่ วข้องกับการตกตะกอนของ Ag+ กับ Halogen และ CN-

Argentometric (Latin, Silver) คือ การวิเคราะห์โดยอาศัยการไทเทรตด้วย Ag+ ซึ่งวิธกี ารวิเคราะห์


โดยอาศัยการไทเทรตด้วย Ag+ มีแพร่หลายอยู่ 3 วิธคี อื

1. Mohr’s method

เป็ น Argentometric method ที่เก่า แก่ท่ีสุ ด ใน 3 วิธี เป็ นการไทเทรตแบบ direct titration
โดยมี chromate (CrO42-) เป็ น indicator ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ คือ

Ag+ + Cl- AgCl(s) white precipitate Ksp = 1.2 x 10-10

2Ag+ + CrO42- Ag2CrO4(s) red-brown precipitate Ksp = 1.7 x 10-12

โดยในการไทเทรต สารละลายจะต้องมีสภาวะเป็ นกลาง pH = 7.0 0.1

2. Volhard’s method

เป็ นวิธกี ารวิเคราะห์โดยใช้การไทเทรตแบบ Back titration โดยในการวิเคราะห์หาปริมาณ


halide ในตัวอย่างเริม่ ด้วยการเติมสารละลายมาตรฐาน AgNO3 ปริมาณมากเกินพอลงในตัวอย่าง แล้วทาการ
ไทเทรตแบบย้อนกลับ (Back titration) เพือ่ หาปริมาณ AgNO3 ทีม่ ากเกินพอ ด้วยสารละลายมาตรฐาน KSCN
และใช้ ferric alum เป็ น indicator โดยทีจ่ ุดยุตจิ ะแสดงสีน้าตาลแดงของ Fe(SCN)2+

Ag+ + SCN- AgSCN(s) white precipitate Ksp = 1.1 x 10-12

Fe3+(aq) + SCN- (aq) Fe(SCN)2+(aq) brown solution

การวิเคราะห์ โ ดย Volhard’s method นี้ สารละลายจะต้อ งอยู่ ในสภาวะที่เป็ นกรด เพื่อ


ป้ องกันการเกิด Hydrolysis ของ Ferric Alum indicator นอกจากนี้เพื่อไม่ให้ตะกอน AgX (Silver Halide) มา
รบกวนการสังเกตจุดยุติ อาจต้องทาการกรองตะกอนก่อนทาการไทเทรต หรือทาการเติม nitrobenzene ลงไป
ในสารละลาย เพือ่ ให้ตะกอนสามารถแยกตัวออกจากสารละลายได้ดขี น้ึ

Page 52 of 124
3. Fajan’s method

indicator ที่ใช้คอื สารพวก Fluorescein เช่น Dichlorofluorescein (DCF) โดยการแสดงจุด


ยุตขิ อง indicator ชนิดนี้อาศัยการ adsorption ของ indicator บนตะกอนทีแ่ ตกต่างกัน ณ ก่อน และ หลัง จุด
สมมูล จึงมักเรียก indicator ชนิดนี้ว่า absorption indicator

ถ ด

1. เพือ่ เรียนรูถ้ งึ วิธวี เิ คราะห์แบบ Precipitation titration


2. เพือ่ ให้เข้าใจถึงหลักการของอินดิเคเตอร์ทใ่ี ช้ในการไทเทรตแบบตกตะกอน

NaCl primary std. grade AgNO3 KSCN

K2CrO4 indicator Ferric Alum indicator nitrobenzene

Page 53 of 124

่1 ฐ AgNO3 ้ ้ 0.02 M 500 mL


standardisation

1.1 ชัง่ AgNO3 (M.W. 169.87) หนั ก .................... g ละลายด้ ว ยน้ า กลัน่ ให้ ไ ด้
ปริมาตรประมาณ 500 mL เก็บสารละลายในขวดสีชา (หรือเก็บเข้าในตู้ เพือ่ เลีย่ งการสัมผัสกับแสง)
1.2 เตรียมสารละลายมาตรฐาน NaCl ซึ่งเตรียมได้จากการชัง่ NaCl 0.1xxx g ลงใน บีกเกอร์
100 mL โดยใช้เครื่องชังละเอี
่ ยดทีม่ ีทศนิยม 4 ตาแหน่ ง (บันทึกน้ าหนักละเอียดถึงทศนิยม 4 ตาแหน่ ง) เติม
น้ ากลันเพื
่ ่อให้ NaCl ละลาย แล้ว ถ่ายสารละลายที่ได้ลงใน volumetric flask ขนาด 100.00 mL ใช้น้ ากลัน่
กลัว้ สารละลายทีต่ ดิ ค้างในบีกเกอร์และแท่งแก้วลงใน volumetric flask ให้หมด จากนัน้ ปรับปริมาตรด้วยน้ า
กลันจนถึ
่ งขีดกาหนดปริมาตร
1.3 การ Standardisation AgNO3 ท าโดยปิ เปตสารละลายมาตรฐาน NaCl (จากข้อ 1.2) มา
10.00 mL ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 125 mL เติม indicator (5% K2CrO4) 1 mL แล้ว ทาการไทเทรต
ด้วยสารละลาย AgNO3 จนได้ตะกอนสีแดงอิฐของ Ag2CrO4 บันทึกปริมาตร AgNO3 ทีใ่ ช้ในการไทเทรตจน
เห็นจุดยุติ
1.4 ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
1.5 ทา Blank โดยใช้น้ากลันแทน ่ NaCl บันทึกปริมาตร AgNO3 ทีใ่ ช้ในการไทเทรตจนเห็นจุดยุติ
1.6 ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
1.7 คานวณความเข้มข้นทีแ่ น่นอนของ AgNO3

: AgNO3 ฤ ์ ด ผ ถ ผ

่2 ฐ KSCN ้ ้ 0.02 M 300 mL


standardisation

2.1 ชัง่ KSCN (M.W. 97.184) หนัก ประมาณ .................... g ละลายด้วยน้ ากลัน่ ให้ได้ป ริม าตร
ประมาณ 300 mL
2.2 การ Standardisation ของสารละลายมาตรฐาน KSCN สามารถท าได้โ ดยน ามาไทเทรตกับ
สารละลายมาตรฐาน AgNO3 โดยปิ เปตสารละลายมาตรฐาน AgNO3 10.00 mL ใส่ Erlenmeyer flask ขนาด
250 mL เติม HNO3 ความเข้มข้น 6 M ปริมาตร 1 mL และ ferric alum indicator 1 mL แล้วทาการไทเทรต

Page 54 of 124
ด้วยสารละลาย KSCN จนได้สารละลายที่มสี นี ้ าตาลอ่อน โดยจุดยุ ติสามารถสังเกตได้เมื่อทาการเขย่าแล้ว
สีน้าตาลอ่อนทีไ่ ด้ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง
2.3 ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
2.4 คานวณความเข้มข้นทีแ่ น่นอนของ KSCN

่3 ไ ดด้ Mohr’s method

3.1 ปิ เปตสารละลายตัวอย่างน้ าปลามา 1.00 mL ใส่ใน beaker ขนาด 100 mL เติมน้ ากลันประมาณ

10-20 mL เช็ค ค่ า pH ของสารละลายแล้ว ท าการปรับ pH ของสารละลายให้ เป็ นกลาง (pH = 7) โดยใช้
NaHCO3 0.5 M หรือ HNO3 0.5 M เมือ่ สารละลายเป็ นกลางแล้ว ถ่ายสารละลายลงใน volumetric flask ขนาด
100.00 mL ใช้น้ ากลันกลั่ ว้ สารละลายตัวอย่างทีต่ ดิ ค้างในบีกเกอร์และแท่งแก้วลงใน volumetric flask ให้หมด
จากนัน้ ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลันจนถึ
่ งขีดกาหนดปริมาตร วัด pH ของสารละลายตัวอย่างทีเ่ จือจางแล้วด้วย
pH paper
** เก็บสารละลายตัวอย่างนี้ไว้ใช้ในการทดลองตอนที่ 4 ด้วย**
3.2 ปิ เปตสารละลายทีเ่ ตรียมได้จากข้อ 3.1 มา 10.00 mL ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 125 mL
เติม indicator (5% K2CrO4) ลงไป 1 mL แล้วทาการไทเทรตกับสารละลายมาตรฐาน AgNO3 จนได้ตะกอนสี
แดงอิฐของ Ag2CrO4 บันทึกปริมาตร AgNO3 ทีใ่ ช้
3.3 ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
3.4 คานวณหาปริมาณคลอไรด์ในตัวอย่างด้วยหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (%w/v) และรายงาน
ยีห่ อ้ น้าปลาทีท่ าการไทเทรต พร้อมระบุปริมาณทีฉ่ ลากมาด้วย

่4 ไ ดด้ Volhard’s method


4.1 ปิ เปตสารละลายตัวอย่างทีเ่ ตรียมแล้วจากข้อ 3.1 มา 10.00 mL ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 250
mL
4.2 เติมสารละลาย AgNO3 ให้มากเกินพอ ( ้ ้ ่ ไ พ ด้ ) โดยสังเกตว่า
ไม่มตี ะกอนเกิดขึน้ อีกเมือ่ เติม AgNO3 ลงไป
: การเติม AgNO3 ลงในสารตัวอย่างให้มากเกินพอ ให้นักศึกษาใช้บิวเรตเติม AgNO3 ลงไป
เท่ากับปริมาตรทีใ่ ช้ไปในข้อ 3.2 และเพิม่ ไปอีก 5 mL

4.3 เติมสารละลายกรด HNO3 ความเข้มข้น 6 M ลงไป 5 mL


4.4 เติม nitrobenzene ลงไป 1.5 mL แล้ว ท าการเขย่า เป็ นเวลา 2 นาที แล้ว จึงเติม indicator (Ferric
Alum) 1 mL

Page 55 of 124
: nitrobenzene เป็ นสารก่อมะเร็งทีม่ กี ลิน่ เหม็นมาก ดังนัน้ ห้ามเติมทิง้ ไว้เด็ดขาดให้เติมเมื่อจะ
ทาการไทเทรตต่อแล้วเท่ านัน้ เมื่อทาการไทเทรตเสร็จให้นาไปทิ้งในขวดทิ้งสารทันที และ ห้ามนาบีกเกอร์
บรรจุ nitrobenzene ออกนอกตูด้ ดู ควัน

4.5 ไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน KSCN จนได้สารละลายทีม่ สี นี ้ าตาลอ่อนอย่างถาวร โดยจะต้องทา


การเขย่าสารละลายตลอดเวลาขณะทีท่ าการไทเทรต
4.6 ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
4.7 คานวณหาปริมาณคลอไรด์ในตัวอย่างด้วยหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (%w/v) และรายงานยีห่ อ้
น้าปลาทีท่ าการไทเทรต พร้อมระบุปริมาณทีฉ่ ลากมาด้วย

** เปรียบเทียบปริมาณคลอไรด์ในตัวอย่างทีห่ าได้ดว้ ยวิธขี อง Mohr และ วิธขี อง Volhard ว่ามีความแตกต่าง


กันหรือไม่ อย่างไร

1. ความเข้มข้นของอินดิเคเตอร์ K2CrO4 ทีใ่ ช้ใน Mohr’s method มีผลต่อความถูกต้องของการวิเคราะห์


อย่างไร
2. จงเปรียบเทียบวิธวี เิ คราะห์คลอไรด์ โดยวิธขี อง Mohr และ Volhard ว่ามีขอ้ ดีและข้อด้อย อย่างไร
3. การเติม Ag+ ให้เกินพอนัน้ ถ้าเราเติมน้อยไปจะมีผลอย่างไร จะแก้ไขได้อย่างไร

Page 56 of 124
ด ่5

่ ไ ซ้

Titration with Ethylene Diamine Tetra Acetic acid

การไทเทรตโดยใช้ EDTA เป็ นการไทเทรตทีใ่ ช้กนั มากวิธหี นึ่งในการหาปริมาณของโลหะทัง้ นี้เพราะ


EDTA ทาปฏิกริ ยิ าได้กบั โลหะเกือบทุกชนิดอย่าง stoichiometric, quantitative และรวดเร็ว นอกจากนี้
complex ของ EDTA กับโลหะก็มคี วามเสถียรมาก

เนื่องจาก EDTA ทาปฏิกริ ยิ าได้กบั โลหะหลายชนิดนี้เอง จึงทาให้ selectivity ของการวิเคราะห์ไม่


ดี ดัง นั ้น เพื่ อ ให้ ก ารไทเทรตด้ ว ย EDTA นี้ selective เฉพาะกับ โลหะที่เ ราต้ อ งการ จึง ต้ อ งเลื อ กใช้
condition ที่เหมาะสม คือเลือกใช้ indicator, pH , masking reagent ที่เหมาะสม EDTA มีสูตรโครงสร้าง
ดังนี้

EDTA เป็ น tetraprotic acid สามารถแตกตัวให้ H+ ได้ 4 ตัว จึงมักเขียน EDTA ใน


รูป ของ H4Y เพือ่ ความสะดวก

EDTA เป็ นกรดทีไ่ ม่คอ่ ยละลายน้า ดังนัน้ เราจึงใช้เกลือโซเดียมของ EDTA ซึง่ ละลายน้าได้ดี
และราคาถูกกว่า ในการเตรียมสารละลายมาตรฐาน EDTA

Page 57 of 124
pH EDTA

EDTA หรือ H4Y เป็ นสารประเภท tetraprotic acid ซึง่ มีการแตกตัวดังนี้

H + H 3Y −
H 4Y H+ + H 3Y − K1 = 1.0 10 −2 =
H 4Y

H + H 2Y 2−
H 3Y − H+ + H 2Y 2− K2 = 2.2 10 −3 =
H 3Y −

2− + 3− −7 H + HY 3−
H 2Y H + HY K3 = 6.9 10 =
H 2Y 2−

H + Y 4−
HY 3− H+ + Y 4− K4 = 5.5 10 −11 =
HY 3−

เมือ่ นามาเขียนเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับปริมาณ species ต่างๆ จะได้


ดังนี้

รูปที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH และปริมาณ species ต่างๆของ EDTA

Y4- หรือ ethylenediaminetetraacetate ion ทาปฏิกริ ยิ ากับอิออนของโลหะเกือบทุกตัวได้


complex ทีเ่ สถียร มีอตั ราส่วนของ Y4- ต่อ Mn+ เท่ากับ 1 : 1 โดยการ form coordinate bond กับ
metal ion ได้ตงั ้ แต่ 4 ถึง 6 bonds ดังตัวอย่างของ Co-EDTA complex ข้างล่างนี้

Page 58 of 124
รูปที่ 5.2 การเกิดสารเชิงซ้อนของ Metal-EDTA complex

โดยทัวไปปฏิ
่ กริ ยิ าการเกิด metal-EDTA complex สามารถเขียนได้ดงั นี้

Mn+ + Y4- MYn-4


Mg2+ + Y4- = MgY2- , Kf = MgY2- = 4.9 x 108
Mg2+ Y4-
Ca2+ + Y4- = CaY2- , Kf = CaY2- = 5 x 1010
Ca2+ Y4-

pH ่

ถ้าดูจากค่า Kf จะเห็นว่า complex ของ EDTA มีคา่ Kf สูงมาก ซึง่ แสดงว่า complex เกิดขึน้
ได้ดี แต่อนั ทีจ่ ริง ค่า Kf ในตารางนัน้ เป็ นค่า kf ของปฏิกริยา

Mn+ + Y4- MYn-4

ซึง่ ในการทดลองจริง ๆ เราไม่ได้ใช้ Y4- ในการทาปฏิกริ ยิ า แต่ใช้ Na2H2Y2 ซึง่ อาจละลายแตกตัว


อยูใ่ นรูป H4Y, H3Y- , H2Y2- , HY3- และ Y4- จะเกิด species ไหนมากก็ขน้ึ กับค่า pH ของสารละลาย
ดังกล่าวแล้วข้างต้น

Page 59 of 124
สมมติว่าเราเติม EDTA หรือ EDTA –Na salt ลงไปในสารละลาย Mg2+ ในปริมาณคิดเป็ นความ
เข้มข้นเท่ากับ [Y*] ซึง่ EDTA จะแตกตัวเกิด species ต่าง ๆ คือ Y4- , HY3- , H2Y2- , H3Y- และ H4Y
ขึน้ กับ pH ของสารละลาย (ดูรปู ที่ 4.1 ประกอบ)

-
Y* = Y4- + HY3-
H2Y2- + H3Y + H4Y +
2 4- + 3
= Y4- + H+ Y4- + H+ Y H+ Y4- + H+ 4 Y4-
K4 K4K3 K4K3K2 K4K3K2K1
2 3 4
= Y4- 1 + H+ + H+ + H+ + H+
K4 K4K3 K4K3K2 K4K3K2K1
= Y4- Q
เมือ่ Q แทนค่าในวงเล็บข้างต้น

ดังนัน้ การเกิด complex ในสารละลายทีส่ ภาวะ pH ต่างกัน จะเกิดได้ดหี รือไม่นนั ้ มักจะพิจารณาจากค่า


Effective formantion constant (K’f) ซึง่ ขึน้ กับ pH และสามารถคานวณได้ดงั นี้

Mg2+ + Y4- MgY2- ณ สภาวะ pH คงทีค่ า่ หนึ่ง

Kf = [MgY2-] = [MgY2-]
[Mg2+][Y4-] [Mg2+][Y*]/Q
Kf = K’f = [MgY2-]
Q [Mg2+][Y*]

ยกตัวอย่างเช่น กรณีของ Mg2+ + Y4- MgY2- ; Kf = 4.9 x 108

ถ้า pH = 10 Q = 2.9 ดังนัน้ K f = 1.7 x 108

pH = 6 Q = 2.5 x 104 Kf = 2.0 x 104

pH = 2 Q = 2.5 x 108 Kf = 2

จะเห็นได้ว่า ถ้า pH ต่ามาก complex จะเกิดไม่สมบูรณ์ เราจึงต้องเลือกไทเทรตที่ pH สูง ๆ


คือเรามักทา EDTA titration ในสารละลายทีเ่ ป็ นกลางหรือเป็ นด่าง ในสารละลายเป็ นกลางหรือด่างจาก
กราฟข้างต้น จะเห็นว่า species ทีม่ มี ากคือ H2Y2- หรือ HY3- ดังนัน้ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ กับ metal จึง
เป็ นดังสมการด้านล่าง คือ

Page 60 of 124
Mn+ + H2Y2- MYn-4 + 2H+

และ Mn+ + HY3- MYn-4 + H+

จะเห็นว่าถ้าเราให้ EDTA ทาปฏิกริ ยิ ากับ Mn+ จะเกิด H+ ขึน้ เรือ่ ย ๆ เมือ่ การไทเทรตดาเนินไป
จะทาให้ pH ของสารละลายลดลงเรือ่ ย ๆ ถ้าลดลงมากก็จะมีผลทาให้ effective formation constant ลดลง
ดังกล่าวข้างต้น เราจึงต้องรักษา pH ให้คงทีโ่ ดยเติม buffer solution เช่นการเติม ammonia-ammonium
salt buffer solution เพือ่ ควบคุม pH ให้เท่ากับ 10 (การเติม ammonium salt buffer นอกจากจะปรับ
pH แล้ว NH3 ยังทาหน้าทีป่ ้ องกันไม่ให้ metal ตกตะกอนอีกด้วย เช่น Cd2+ , Cu2+ , Ni2+ , และ Zn2+ จะ
ตกตะกอนได้ ไฮดรอกไซด์ท่ี pH > 7 แต่ถา้ เติม NH3 ลงไปจะไม่เกินตะกอน เพราะเกิดเป็ น ammonia
complex ซีง่ complex นี้มคี วามเสถียรน้อยกว่า EDTA complex จึงยังคงสามารถไทเทรต complex นี้
ด้วย EDTA ได้)

Titration curve
ถ้าเราเขียนกราฟระหว่าง pM (หรือ – log [Mn+]) กับปริมาณของ titrant (EDTA) ทีจ่ ะเห็นว่ามี
จุด reflexion เกิดทีจ่ ุด equivalence point ดังภาพข้างล่าง

รูปที่ 5.3 กราฟการไทเทรตเมื่อใช้ EDTA เป็ น Titrant

Page 61 of 124
จาก titiration curve เราจะทราบว่า equivalence point อยู่ท่ี pM เท่าไร หรือเราอาจจะคานวณ
pM ที่ end point ได้ เช่น ในการไทเทรตสารละลาย Mg2+ ความเข้มข้นประมาณ 0.1 M ด้วย 0.1 M
EDTA ที่ pH 10 ทีจ่ ุด end point

[Mg2+] = [Y*]

[MgY2-] = 0.05 (ถือว่าทาปฏิกริ ยิ าหมด เพราะ effective formation constant สูงมาก

ความเข้มข้นลดลงครึง่ หนึ่ง เนื่องจากปริมาณเพิม่ ขึน้ เท่าตัว)

MgY2− MgY2− 0.05


K 'f = = = = 1.7 10 8
Mg 2+ Y * Mg 2+ 2
Mg 2+ 2

Mg 2+ = 1.7 10 −5 M

pMg = 4.77

นันคื
่ อ end point , pMg มีค่า 4.77 (เมือ่ pH = 10)

Indicator

ใน acid – base titration เราจะใช้ pH indicator เพือ่ ชี้ end point แต่ใน complexometric
titration จะเห็นได้จากไทเทรชันเคิ
่ ฟว่าทีจ่ ุด end point pM จะเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว เราจึงใช้ metal-
ion sensitive indicator หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า metal indicator

metal indicator จะทาปฏิกริ ยิ ากับ metal ion ให้ complex ทีม่ สี ตี ่างไปจากเมือ่ เป็ น free indicator ทา
ให้ metal indicator ชีจ้ ุด end point ได้ ตัวอย่างเช่น Eriochrome Black T

(H2In-)

Eriochrome Black T

Page 62 of 124
เมือ่ เขียนแทน Eriochrome Black T ด้วย H2In- ที่ pH ต่างๆ จะมีการแตกตัวดังนี้

H2In- HIn2- In3-

pH < 6 pH 7 - 11 pH > 11

Red Blue Yellow

จะเห็นได้ว่า Erio BT มีคุณสมบัติเป็ น pH indicator และนอกจากนี้ยงั สามารถทาหน้ าที่เป็ น metal


indicator ได้ เพราะทาปฏิกริ ยิ ากับโลหะให้ complex ที่มสี แี ดงในช่วง pH 7-11 ขณะที่ free indicator มีสนี ้ า
เงิน ดังสมการ

pH 7-11 HIn2- + Mg2+ MgIn + H+

น้าเงิน แดง

MgIn- จะเกิด ขึ้น ดีห รือ ไม่ ข้นึ กับ ปริม าณของ Mg2+ , H+ และ HIn2- กราฟข้า งล่ า งนี้ แ สดง
ความสัมพันธ์ของ pMg และ pH ต่อการเกิดของ MgIn-

pMg

pH

รูปที่ 5.4 สีของ Erio BT ทีส่ ภาวะ pH และ pMg ต่างๆ

จะเห็นได้ว่าที่ pH 10 เมื่อ pMg มีค่า > 5 MgIn- จะไม่เกิดหรือเกิดน้อยมาก Erio BT ส่วน


ใหญ่จะอยู่ในรูป HIn2- ให้สนี ้ าเงิน ต่อเมื่อ pMg = 5 , MgIn- จึงเริม่ เกิดมากขึน้ สารละลายจะเปลีย่ นจากน้ า
เงินเป็ นแดง จึงสามารถใช้ Erio BT ในการชีจ้ ุด end point ของการไทเทรต Mg2+ ด้วย EDTA ได้

ดังนัน้ ในการพิจารณาเลือก indicator และ pH condition ต้องพิจารณาให้สอดคล้องควบคูก่ นั ไป


เช่น ถ้าพิจารณาจาก Kf ว่าแม้ pH = 6 ก็น่าจะใช้ได้กรณีการไทเทรต Mg2+ ด้วย EDTA แต่เมือ่ มา
พิจารณา indicator แล้วจะเห็นว่า pH 6 เราไม่อาจใช้ Erio BT เป็ น indicator

Page 63 of 124
ภ ไ ด้ EDTA

การไทเทรตด้วย EDTA มีหลายวิธดี ว้ ยกันคือ

1. Direct titration คือ นาสารละลายตัวอย่างมาเติม buffer solution ตาม pH ทีต่ อ้ งการ


เติม complexing agent เพื่อป้ องกันการตกตะกอนของโลหะ แล้วจึงนามาไทเทรตกับ EDTA โดยตรง โดย
ใช้ metal indicator ทีเ่ หมาะสม
2. Back titration โดยที่โลหะหลายชนิดไม่อาจไทเทรตกับ EDTA โดยตรง เช่น โลหะ
อาจตกตะกอนที่ pH ทีใ่ ช้ในการไทเทรต หรืออาจไม่ม ี indicator ทีเ่ หมาะสม กรณีน้ีเราใช้วธิ เี ติม Std. EDTA
ให้มากพอ แล้วไทเทรตกลับเพื่อหา EDTA ทีเ่ กินพอด้วยโลหะชนิดทีไ่ ทเทรตได้กบั EDTA โดยมากมักใช้
เป็ น Mg++

3. Replacement or substitution titration วิธนี ้ีใช้กบั โลหะทีห่ า indicator ทีเ่ หมาะสม


ไม่ได้ และเป็ นโลหะที่ให้ EDTA complex ที่เสถียรกว่า Mg-EDTA โดยให้โลหะนัน้ ทาปฏิกริ ยิ ากับ Mg-
EDTA แล้ว เราจะได้ free Mg2+ ดังสมการ

Mn+ + MgY2- MYn-4 + Mg2+

ปริมาณของ Mg2+ ทีไ่ ด้น้ีนาไปไทเทรตกับ Std. EDTA

4. Alkalimetric titration วิธนี ้ีทาโดยเติม EDTA ลงไปให้ทาปฏิกริ ยิ ากับ Mn+ แล้วหา


ปริมาณของ H+ ทีเ่ กิดขึน้ โดยการไทเทรตกับด่าง ดังสมการ

H2Y2- + Mn+ MYn-4 + 2H+

Page 64 of 124
ด ่ 5.1

่ ฐ EDTA Standardisation Mg2+

ถ ด

1. เพือ่ เตรียม primary std. EDTA และ secondary std. Mg2+ solution
2. เพือ่ เรียนรูถ้ งึ หลักการของการไทเทรตด้วย EDTA ความสาคัญของ pH และ indicator

1. EDTA ้ ้ ................ M 250 mL

ชัง่ Na2H2Y2·2H2O (M.W. 372.24) ทีผ่ ่านการอบที่ 80oC เป็ นเวลาอย่างน้อย 2 ชัวโมง
่ โดย
ใช้เครือ่ งชังละเอี
่ ยดทีม่ ที ศนิยม 4 ตาแหน่ ง หนัก 2.5xxx g ในบีกเกอร์ (บันทึกน้ าหนักละเอียด) ละลายด้วยน้ า
กลัน่ ถ่ายสารละลายลงใน volumetric flask แล้วใช้น้ ากลันกลั ่ ว้ สารละลายทีต่ ดิ ค้างในบีกเกอร์และแท่งแก้วลง
ใน volumetric flask ขนาด 250.00 mL ให้หมด จากนัน้ ปรับ ปริมาตรด้วยน้ ากลันจนถึ ่ งขีดกาหนดปริมาตร
คานวณความเข้มข้นทีแ่ น่นอนของสารละลาย EDTA

2. Mg2+ ่ ้ ้ …………. M 400 mL


standardisation ด้ EDTA
2.1 ชัง่ MgSO4.7H2O (M.W. 246.48) มาประมาณ 1 g (ด้วยเครื่องชังหยาบ
่ 2 ตาแหน่ ง)
ละลายน้ากลัน่ ทาให้เป็ นสารละลายปริมาตร 400 mL ในบีกเกอร์ขนาด 600 mL
2.2 ปิ เปตสารละลาย Mg2+ ที่เตรีย มได้ม า 10.00 mL ลงในขวดรูป ชมพู่ แล้ว เติม NH4Cl
buffer solution ลงไป 2 mL
2.3 วัดค่า pH ของสารละลาย ด้วยกระดาษวัด pH
2.4 เติม Erio BT ประมาณ 2-3 หยด
2.5 ทาการไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน EDTA สังเกต end point ที่เปลี่ยนจากสีแดง
เป็ นน้าเงิน (ถ้าเห็นม่วงแสดงว่ายังไม่ถงึ จุดยุต)ิ
2.6 ทาการทดลองซ้า อีก 2 ครัง้ แล้วคานวณหาค่าความเข้มข้น ที่แ น่ น อนของสารละลาย
Mg2+

Page 65 of 124

**ห้ ำมนำ NH4Cl buffer solution มำไว้ทีโ่ ต๊ะปฏิ บตั ิ กำร หำกต้ องกำรใช้ ให้ ไปเอำที ต่ ู้ดูด
ควัน
***เมือ่ เติ มสำรละลำย NH4Cl buffer solution และ indicator แล้วจะต้ องทำกำรไทเทรต
ทันที เพือ่ ป้ องกัน NH3 ระเหยไป***

3. ด พ่ ดผ ่ pH

เตรียมขวดรูปชมพูจ่ านวน 3 ขวด เพื่อดูผลของการเปลีย่ นแปลง pH เมือ่ ไม่มกี ารเติม NH4Cl


buffer solution ดังนี้

3.1 ขวดใบที่ 1: ปิ เปตสารละลาย Mg2+ (ทีเ่ ตรียมจากข้อ 2) ลงไป 10.00 mL เติมน้ ากลัน่ 2
mL ลงไป แล้วทาการทดลองตามข้อ 2.3 ถึง 2.5 (เมือ่ เสร็จสิน้ การไทเทรต ให้ทาการวัด pH ของสารละลายใน
ขวดรูปชมพูใ่ บที่ 1 นี้ดว้ ยกระดาษวัด pH อีกครัง้ พร้อมบันทึกผลลงในรายงาน)

3.2 ขวดใบที่ 2: ปิ เปตสารละลาย Mg2+ (ทีเ่ ตรียมจากข้อ 2) ลงไป 10.00 mL เติมน้ ากลัน่ 2
mL ลงไป แล้วหยด 0.5 M HCl ลงไป 1-2 หยด ทาการทดลองตามข้อ 2.3 ถึง 2.5

3.3 ขวดใบที่ 3: ปิ เปตสารละลาย Mg2+ (ทีเ่ ตรียมจากข้อ 2) ลงไป 10.00 mL ตวงน้ ากลัน่ 2
mL ลงไป แล้วหยด 0.5 M NaOH ลงไป 1-2 หยด ทาการทดลองตามข้อ 2.3 ถึง 2.5

3.4 วิจารณ์ผลการทดลองทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการทดลองตอนที่ 2 กับตอนที่ 3.1 – 3.2

** ่ 3** ในการไทเทรตเพื่อศึกษาผลการเปลีย่ นแปลง pH นัน้ หากใช้ปริมาตรสารละลาย


EDTA มากกว่าปริมาตรที่ใช้ในการทดลองข้อที่ 2 ไป 5 mL แล้วยังไม่ถึงจุดยุติ (สีไม่เปลี่ยน) ให้ ด
ไทเทรต

1. อธิบายถึงความสาคัญของ pH ของสารละลายในการไทเทรตด้วย EDTA


2. อธิบายถึงความสาคัญของการใช้ buffer solution ในการควบคุม pH และ ถ้านากรดหรือด่างธรรมดา
มาใช้ในการปรับ pH แทนการใช้ buffer สามารถทาได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

Page 66 of 124
ด ่ 5.2

่ Ca ด้ substitution titration

Ca ด ใ ้ Eriochrome BT ็ indicator

เนื่องจากสารประกอบเชิงซ้อนของ Ca กับ EDTA มีความเสถียรกว่า Mg-EDTA ทาให้สามารถทาการ


วิเคราะห์หาปริมาณ Ca โดยวิธี Substitution titration ได้ ซึง่ สามารถจาแนกวิธกี ารวิเคราะห์ออกเป็ น 2 วิธี คือ

1) เติม MgY2- ทีเ่ กินพอ (ไม่จาเป็ นต้องรูป้ ริมาณ) ลงไปในสารละลายทีต่ อ้ งการหา Ca


เติม Erio BT แล้วทาการไทเทรตด้วย EDTA standard solution
2) เติม Mg2+ standard solution ลงไปจานวนหนึ่ง (ต้องรูป้ ริมาณ) ในสารละลาย เติม
Erio BT แล้วทาการไทเทรตด้วย EDTA standard solution

ถ ด

1. เพือ่ ศึกษาถึงวิธกี ารวิเคราะห์แบบ substitution titration


2. เพือ่ ให้ทราบถึงเงือ่ นไขทีส่ าคัญของการวิเคราะห์แบบ substitution titration

1. ็ % Ca ใ ด้ Substitution Titration

- ชังน่ ้ าหนักตัวอย่าง อย่างละเอียดประมาณ 0.2xxx กรัม (ด้วยเครื่องชังละเอี


่ ยด 4 ตาแหน่ ง)
ละลายน้า ปรับปริมาตรให้เป็ น 100 mL โดยใช้ Volumetric flask
(ถ้าตัวอย่างละลายน้ายาก ให้หยด 6 M HCl ลงไปครัง้ ละ 1 หยดเพือ่ ช่วยการละลาย และเมือ่
sample ละลายหมด ทาการปรับสารละลายให้เป็ นกลางด้วยการหยด 6 M NaOH แล้วถ่ายสารละลายจากบีก
เกอร์น้ีลงใน Volumetric flask ขนาด 250 mL แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ากลันจนถึ
่ งขีดกาหนดปริมาตร)
- ปิ เปตสารละลายตัวอย่างทีเ่ ตรียมได้ 10.00 mL และสารละลายมาตรฐาน Mg2+ 10.00 mL ลง
ใน Erlenmeyer flask ขนาด 125 mL
- เติมสารละลาย NH4Cl buffer pH 10 ลงไป 2 mL แล้วเติม Erio BT 2-3 หยด

Page 67 of 124
- ทาการไทเทรต ด้วยสารละลายมาตรฐาน EDTA จนสารละลายเปลีย่ นสี จากสีแดงเป็ น
น้าเงิน
- ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ นาผลทีไ่ ด้มาคานวณหาปริมาณ Ca ในตัวอย่างเป็ น % w/w

2. ็ % Ca ใ ด้ Direct titration

- ปิ เปตสารละลายตัวอย่างทีเ่ ตรียมไว้ในข้อที่ 1 มา 10.00 mL ลงใน Erlenmeyer flask ขนาด


125 mL
- เติมสารละลาย NH4Cl buffer pH 10 ลงไป 2 mL แล้วเติม Erio BT 2-3 หยด
- ทาการไทเทรต ด้วยสารละลายมาตรฐาน EDTA จนสารละลายเปลีย่ นสี จากสีแดงเป็ น
น้าเงิน (ในการทดลองอาจเห็นสีมว่ งเป็ นน้าเงิน)
- ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ นาผลทีไ่ ด้มาคานวณหาปริมาณ Ca ในตัวอย่างเป็ น % w/w
- เปรียบเทียบผลการทดลองทีไ่ ด้จากการไทเทรตแบบ Substitution titration และแบบ Direct
titration ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร

้ !!!

ถ้าสารละลาย EDTA เหลือ < 60 mL ให้เตรียมเพิม่ โดยการชัง่ EDTA มา 1.2xxx กรัม (ด้วยเครือ่ ง
ชังละเอี
่ ยด 4 ตาแหน่ ง) แล้วทาให้เป็ น สารละลายปริม าตร 100 mL คานวณความเข้มข้น ที่แน่ น อนและใช้
สาหรับการทดลองที่ 4.3 และ 4.4 ต่อไป (ใช้แทนสารละลาย EDTA เดิม)

1. เขียนปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ กรณีการไทเทรตแบบ substitution titration และแบบ direct titration


2. จะสามารถใช้การไทเทรตแบบ substitution titration แทนการไทเทรตแบบ direct titration ในกรณีใด
ได้บา้ ง
3. สารละลาย HCl ช่วยการละลายของตัวอย่าง CaCO3 ได้อย่างไร

Page 68 of 124
ด ่ 5.3

่ Mg2+ Zn2+ ด ใ ้ Masking Agent

เมื่ อ ท าการไทเทรตของผสมของ Mg2+ และ Zn2+ ด้ ว ย EDTA ที่ pH 10 โดยใช้ Erio BT เป็ น
indicator จะสามารถหาปริมาณของ Mg2+ + Zn2+ ได้ และเมื่อเติม KCN ลงไปหลังการไทเทรต Zn2+ จะทา
ปฏิกริ ยิ ากับ CN- ได้สารประกอบเชิงซ้อน Zn-CN complex ทีเ่ สถียรกว่า Zn-EDTA complex ทาให้ม ี EDTA
อิสระเกิดขึน้ และเมือ่ ทาการไทเทรตหาปริมาณ EDTA อิสระด้วยสารละลายมาตรฐาน Mg2+ จะทาให้สามารถ
หาปริมาณของ Zn2+ ได้

ถ ด

1. เพือ่ ศึกษาถึงการใช้ EDTA titration กับของผสมของโลหะอิออน


2. เพือ่ ศึกษาถึงประโยชน์ของ masking agent ในการแยกวิเคราะห์สาร
3. เพือ่ หาปริมาณของ Mg2+ และ Zn2+ ในสารผสม

1. ปิ เปตสารละลายตัวอย่างทีจ่ ะทาการวิเคราะห์มา 10.00 mL เติมน้าให้เป็ น 25 mL แล้วเติมสารละลาย


NH4Cl buffer pH 10 ลงไป 2 mL ตามด้วย Erio BT 2-3 หยด แล้วทาการไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน
EDTA จนสารละลายเปลีย่ นจากสีแดงเป็ นน้าเงิน
2. นาสารละลายที่ไทเทรตแล้วนี้ มาเติม 10% KCN ลงไปประมาณ 2 mL แกว่งให้เข้ากัน แล้วทาการ
ไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน Mg2+ จนสารละลายเปลีย่ นสีจากน้าเงินเป็ นแดง
3. ทาการทดลองซ้ าอีก 2 ครัง้ แล้ว คานวณหาปริม าณของ Mg2+ และ Zn2+ ในสารละลายตัวอย่างใน
หน่วยความเข้มข้นเป็ น Molar (M)

1. การทีเ่ ราสามารถหาปริมาณของ Zn2+ โดยวิธขี า้ งต้นได้ เนื่องจาก Zn2+ มีคุณสมบัตทิ ส่ี าคัญอย่างไร
บ้าง
2. วิธกี ารทดลองนี้สามารถนาไปใช้หาปริมาณของโลหะอิออนตัวอืน่ ได้หรือไม่ เช่น Ca2+, Fe2+ และ Cu2+

Page 69 of 124
ด ่ 5.4
่ Ca + Mg ใ ้

Ca Mg ใ ้

การวิเคราะห์ Ca + Mg ในน้านม มีปัญหายุง่ ยากเนื่องจากโปรตีน และ orthophosphate ion ในน้านม


โดยจะทาให้ Ca และ Mg ตกตะกอนเมือ่ pH สูง (pH ทีใ่ ช้ในการไทเทรตคือ pH = 10) ซึง่ อาจแก้ปัญหาได้โดย
การก าจัด โปรตี น และ orthophosphate ion ออกไปก่ อ น โดยการท าให้ ต กตะกอนด้ ว ย potassium meta
tannate แล้วทาการกรอง แต่กจ็ ะเสียเวลาในการกรองมากและการกรองอาจทาให้เกิดการสูญหายของ Ca และ
Mg ในน้ านมด้วย อีกวิธหี นึ่งทีส่ ามารถใช้กาจัด PO43- คือการใช้ anion exchanger โดยกาจัดโปรตีนออกไป
ก่อนโดยการกรองแล้ว ใช้ anion exchanger มาก าจัด PO43- ซึ่งการวิเคราะห์โดยวิธีน้ี จ ะใช้เวลานานมาก
Kamal ได้เสนอวิธี Back titration ในการวิเคราะห์หาปริมาณ Ca + Mg ในน้านม โดยทาการเติม EDTA ลงไป
ให้มากเกินพอลงในสารละลายของ Ca2+, Mg2+ และ phosphate ion โดยสารละลายมีสภาพ pH = 10 แล้วทา
การ Back titration หาปริมาณ EDTA ทีม่ ากเกินพอด้วยสารละลายมาตรฐาน Mg2+ ซึง่ วิธกี ารนี้จะต้องควบคุม
pH ของสารละลายให้ดเี นื่องจากถ้า pH ของสารละลายมีคา่ สูง (pH 12 หรือสูงกว่า) จะทาให้ Mg2+ แยกตัวออก
จาก EDTA เกิดเป็ น Mg(OH)2 และ Mg3(PO4)2

ถ ด
เพือ่ นาวิธี EDTA-titration ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์น้านม

1. ปิ เปตตัวอย่างน้านมมา 5.00 mL ลงใน Erlenmeryer flask ขนาด 125 หรือ 250 mL
2. เติมสารละลายมาตรฐาน EDTA จากบิวเรต ปริมาตร 10.00 mL เขย่าให้ผสมกันดีแล้วเติม
NH4Cl buffer solution pH 10 ลงไป 20 mL ด้วยกระบอกตวง และ Erio BT 3-4 หยด สีข องสารละลายจะ
เปลีย่ นจากขาวของน้านมเป็ นน้าเงินอ่อน
3. ทาการไทเทรต ด้วยสารละลายมาตรฐาน Mg2+ จนกว่าสีจะเปลีย่ นจากน้าเงินเป็ นสีม่วง
4. ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้
5. ทา blank titration โดยการใช้น้ากลันแทนน
่ ้านม (ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ )
6. คานวณหาปริมาณของ Ca + Mg ในน้านม เทียบกับฉลากระบุของกล่องนม
***เมือ่ เติ มสำรละลำย NH4Cl buffer solution และ indicator แล้วจะต้ องทำกำรไทเทรต
ทันที เพือ่ ป้ องกัน NH3 ระเหยไป***

Page 70 of 124
ด ่6

่ ไ Iodimetry Iodometry

Iodimetry หมายถึง การไทเทรตทีใ่ ช้สารละลายมาตรฐานไอโอดีนเพือ่ วิเคราะห์หาปริมาณของสารอืน่


ซึง่ เป็ น reducing agent

Iodometry หมายถึง การไทเทรตหาปริมาณไอโอดีนทีเ่ กิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี วิธนี ้ีใช้หาปริมาณ


ของสารทีเ่ ป็ น oxidising agent โดยใช้ไอโอไดด์ออิ อนเป็ น reducing agent ไป reduce สารออกซิไดซ์ท่ี
ต้อ งการหาจะได้ไอโอดีน (I2) เกิด ขึ้น มา ไทเทรตหาปริม าณ I2 ที่เกิด ขึ้น โดยใช้ส ารละลายมาตรฐาน
NaS2O3 จะคานวณหาปริมาณ oxidising agent ทีต่ อ้ งการได้

I2(s) + 2 e 2 I- Eo = 0.54 V

ในสารละลายทีม่ ไี อโอไดด์ออิ อน ไอโอดีนจะทาปฏิกริ ยิ ากับ I- ได้เป็ น I3-

I2(aq) + I- I3-

ในการเตรียมสารละลายไอโอดีนนัน้ มักเตรียมเป็ นสารละลายไอโอดีนในไอโอไดด์ ฉะนัน้ ปฏิกริ ยิ า


reduction ทีเ่ กิดขึน้ จึงควรจะเขียนเป็ น

I3 - + 2 e 3 I-

ซึง่ มีค่า reduction potential = 0.54 V แต่เรามักจะเห็นเขียนเป็ นปฏิกริ ยิ าแรกเสมอเพื่อความ


สะดวก จากค่า reduction potential เราทราบว่าไอโอดีนเป็ น สารออกซิไดซิงที่อ่อนกว่า KMnO4 , K2Cr2O7
และ Ce(SO4)2

สารรีดวิ ซ์ทส่ี ามารถทาปฏิกริ ยิ ากับ I2 หรือ I-3 ได้เช่น

SnCl2 , H2SO3 , H2S , Na2S2O3 เป็ นสารรีดวิ ซิงทีแ่ รง ทาปฏิกริ ยิ ากับ I2 ได้แม้ในสารละลายกรด
(ดูปฏิกริ ยิ าเคมีขา้ งล่าง)

As3+, Sb3+ ซึ่งเป็ นสารรีดวิ ซ์ท่อี ่อน จะทาปฏิกริ ยิ ากับกรด I2 ได้ดกี ต็ ่อเมื่ออยู่ในสารละลายเป็ น
กลางหรือเป็ นกรดเล็กน้อย

Page 71 of 124
ดังตัวอย่างปฏิกริ ยิ าข้างล่าง

Sn2+ + I2 Sn4+ + 2 I- ------(1)

SO32- + I2 + H2O SO42- + 2 H+ + 2 I- ------(2)

H2 S + I2 S + 2 H+ + 2 I- ------(3)

2 S2O32- + I2 S4O6 2- + 2 I- ------(4)

H3AsO3 + I2 + H2O H3AsO4 + 2 H+ + 2 I- ------(5)

ดังนัน้ สารตัวแรกในปฏิกริ ยิ าตัวอย่างที่ (1) – (5) ซึง่ เป็ นสารรีดวิ ซ์ จึงใช้วธิ ี Iodimetry เพือ่ วิเคราะห์
ปริมาณได้

ในการหาปริมาณของสารออกซิไดซ์ โดยใช้ Iodometry เราจะให้สารออกซิไดซ์นนั ้ ทาปฏิกริ ยิ ากับไอโอ


ไดด์ อิอ อน (I-) ในสารละลายที่เป็ นกลางหรือ เป็ นกรด แล้ว ไทเทรตหา I2 ที่เกิด ขึ้น จากปฏิกิร ิย า โดยใช้
สารละลายมาตรฐาน Na2S2O3 ดังตัวอย่างจากสมการการเกิด I2 ดังต่อไปนี้

2 MnO4- + 16 H+ + 10 I- 2 Mn2+ + 5 I2 + 8 H2O ------(6)

Cr2O72- + 14 H+ + 6I- 2 Cr3+ + 3 I 2 + 7 H2 O ------(7)

H2O2 + 2 H+ + 2 I- 2 H2O + I2 ------(8)

BrO3- + 6 H+ + 6 I- Br- + 3I2 + 3 H2O ------(9)

IO3- + 6 H+ + 5 I- 3 I2 + H2 O -------(10)

ClO- + 2 H+ + 2 I- Cl- + I2 + H 2O ------(11)

2 HNO2 + 2 H+ + 2 I- 2 NO + I2 + 2 H2O -----(12)

2 Cu2+ + 4 I- 2 CuI + I2 -----(13)

Cl2 + 2 I- 2 Cl- + I2 -----(14)

ดังนัน้ สารตัวแรกในปฏิกริ ยิ าตัวอย่างที่ (6) – (14) ซึ่งเป็ นสารออกซิไดซ์ จึงใช้วธิ ี Iodometry ใน


การวิเคราะห์ปริมาณได้ และไทเทรต I2 ทีเ่ กิดขึน้ ด้วย Na2S2O3 เป็ นไปตามสมการ

I2 + 2 Na2S2O3 2 I- + S4O62-

Page 72 of 124
ที่ pH ต่ากว่า 8 ค่า reduction potential ของ I2 I- จะไม่เปลี่ยนแปลงตาม pH แต่ถ้า
pH สูงกว่า 8 I2 จะทาปฏิกริ ยิ ากับ OH- ดังสมการ

I2 + OH- I- + IO- + H 2O

IO- ไม่เสถียรจะเกิด self oxidation-reduction ดังสมการ

3 IO- 2 I- + IO3-

ในการไทเทรตโดยใช้ไอโอดีนนัน้ อาจเกิด error ได้จากสาเหตุต่อไปนี้คอื

1. เกิดการสูญเสีย I2 เนื่องจากสารละลาย I2 ระเหยได้


2. ในสารละลายกรดไอโอไดด์จะถูก oxidise โดยออกซิเจนในอากาศ ดังสมการ

I- + O2 + 4 H+ 2 I2 + 2 H2O

การป้ องกันการสูญเสีย I2 ทาได้โดยละลาย I2 ในสารละลาย I- ทาให้รวมตัวเป็ น I3- ซึง่ ละลายน้ า


ได้ ดี ท่ี อุ ณ หภู ม ิ ห้ อ ง ถ้ า ละลาย I2 ในสารละลาย I- 4% การสู ญ เสี ย ของ I2 จะเกื อ บเท่ า กั บ ศู น ย์
การไทเทรตควรทาในทีเ่ ย็นและใช้ขวดปากแคบ ส่วน error ในข้อสอง ถ้าสารละลายเป็ นกลางก็อาจเกิดน้อย
มาก แต่ถา้ pH ลดต่าลงปฏิกริ ยิ าจะเกิดเร็วขึน้ โดยเฉพาะถ้ามีตวั คะตะไลส์บางตัว เช่น Cu , NO2- หรือถ้า
ถูกแสง ดังนัน้ การไทเทรตจึงควรทาในที่ทไ่ี ม่ถูกแสงโดยตรง และสารละลาย I- ก็ควรจะเก็บไว้ในขวดสีชา
นอกจากนัน้ สารละลายทีม่ ี I- และกรดอยู่ ไม่ควรตัง้ ทิง้ ไว้นาน

Indicator
อัน ที่จ ริงแล้ว สารละลายไอโอดีน สามารถทาหน้ าที่เป็ น self indicator ได้เนื่ องจาก สารละลาย
ไอโอดีนเข้มข้น 0.1 M แม้เพียงหยดเดียวในสารละลาย 100 ml ก็จะยังให้สเี หลืองอ่อนของไอโอดีน ดังนัน้
ถ้าสารละลายที่ถูกไทเทรตไม่ม ีส ี เราก็สามารถใช้สขี องไอโอดีน ที่ไทเทรตเป็ น ตัวชี้จุด end point ได้ แต่
อย่างไรก็ต าม ปกตินิ ย มใช้น้ าแป้ งเป็ น indicator เพราะสามารถชี้จุด end point ได้ชดั เจนกว่ า แป้ งจะท า
ปฏิกริ ยิ ากับไอโอดีนในสารละลายไอโอไดด์ให้ complex สีน้าเงินเข้ม แม้จะมีไอโอดีนเพียง 2 x 10-5 M และ
ไอโอไดด์ม ากกว่า 4 x 10-4 M ที่ 20 oC ก็จะยังเห็น สีน้ าเงิน complex ได้แ ต่ sensitivity จะลดลงเมื่อ
อุณหภูมสิ งู ขึน้ หรือถ้าเติม solvent อื่น ๆ เช่น EtOH ลงไป และน้าแป้ งไม่สามารถนามาใช้ในสารละลายกรด
แก่ เพราะจะเกิดปฏิกริ ยิ า Hydrolysis ของแป้ งขึน้ น้ าแป้ งยังมีขอ้ เสียอื่น ๆ คือ ละลายน้ าได้ยากมาก น้ า
แป้ งทีเ่ ตรียมได้มกั ไม่อยูต่ วั complex ของแป้ งกับไอโอดีนไม่ละลายน้า ทาให้จาเป็ นต้องเติมน้าแป้ ง เมือ่ การ
ไทเทรตใกล้ ๆ ถึง end point แล้ว (ในกรณีการไทเทรตหาไอโอดีน) โดยดูจากสีของไอโอดีนทีจ่ างลงเมื่อ
ใกล้ end point

Page 73 of 124
จากข้อเสียของน้าแป้ งในการปฏิบตั จิ งึ ใช้ sodium starch glycollate แทน เพราะละลายได้ในน้ าอุ่น
และเก็บไว้ใช้ได้นานหลายเดือน complex ทีเ่ กิดขึน้ ละลายน้ าได้ สีของ indicator จะเปลีย่ นจากสีเขียวอ่อน
เป็ นสีน้าเงินเข้มทีจ่ ุด end point

indicator

กรณีใช้ starch ให้กวนแป้ ง 1 g กับน้าเล็กน้อยเทลงในน้ าเดือดประมาณ 100 ml พร้อมกับคน


ไปด้วย ต้องให้เดือดประมาณ 1 นาที ทิง้ ให้เย็นแล้วเติม KI 3 g (ถ้าต้องการเก็บนานหลายเดือนต้องเติม
HgI2 ลงไป 5 mg) เวลาใช้เติม indicator นี้ 2 ml ต่อสารละลายทีถ่ กู ไทเทรต 100 ml

กรณี ใช้ sodium starch glycollate ให้ผสมสารนี้ 5 g ลงไป EtOH 1-2 ml แล้ว เติม น้ าเย็น
100 ml ต้มให้รอ้ นจนเดือด 2-3 นาที พร้อมกับคนไปด้วยจะได้ส ารละลายสีเขียวอ่อน นาไป เจือจางเป็ น
สารละลาย 1% เวลาใช้ให้เติม indicator เข้มข้น 1 % นี้ 1 ml ต่อสารละลายทีถ่ กู ไทเทรต 100 ml

Page 74 of 124
ด ่ 6.1

่ Na2S2O3, I2 Standardization

Na2S2O3.H2O เป็ นสารทีท่ าให้บริสทุ ธิ ์ได้ แต่เนื่องจากมีปริมาณน้าในผลึกโมเลกุลไม่แน่นอน ทาให้


ไม่สามารถใช้เป็ น primary standard จาเป็ นต้อง standardise ในทีน่ ้ีใช้ KIO3 (potassium iodate) ใน
การ standardise สารละลาย Na2S2O3

สารละลายโซเดียมไธโอซัลเฟต อาจเกิดการ Decompose ดังสมการ

S2O32- + H+ HSO3- + S

S2O32- + 2O2 + H2O 2SO42- + 2H+

ซึง่ สามารถแก้ไขได้โดยการใช้น้าต้ม (เพือ่ ไล่ CO2) เติม CHCl3 ลงไปในสารละลายทีเ่ ตรียม 2-3 หยด
และเก็บสารละลายนี้ในทีม่ ดื

ถ ด

1. เพือ่ ศึกษาถึงหลักการของ iodimetry และ iodometry


2. เพื่อเรียนรูถ้ งึ วิธกี ารเตรียมและ standardise สารละลาย Na2S2O3 และ I2 สาหรับใช้ใน iodimetry
และ iodometry
3. เพือ่ รูถ้ งึ วิธกี ารใช้น้าแป้ งเป็ น indicator

่1 Na2S2O3 ้ ้ .......... M 400 mL Standardization

1. ชัง่ Na2S2O3 (M.W. 158.18) หนักประมาณ 1.5 – 1.7 g (เครือ่ งชัง่ 2 ตาแหน่ ง) ทาให้เป็ นสารละลาย
ปริมาตร 400 mL ด้วยน้ากลัน่ ในบีกเกอร์ขนาด 500 mL เก็บสารละลายไว้ในทีม่ ดื
2. ชัง่ KIO3 มา 0.08xx g (เครื่องชังละเอี
่ ยดและบันทึกน้ าหนักด้วยทศนิยม 4 ตาแหน่ ง) ละลายน้ ากลัน่
แล้วปรับปริมาตรเป็ น 100.00 mL ใน volumetric flask
3. ปิ เปตสารละลาย KIO3 ที่เตรียมได้มา 10.00 mL ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 125 หรือ 250 mL
แล้วเติม 10% KI ลงไป 10 mL และ H2SO4 ความเข้มข้น 1 M ปริมาตร 5 mL ไ I2 ่ ได้ โดย
ใช้ Na2S2O3 ทีเ่ ตรียมไว้ (บรรจุในบิวเรต) เมื่อสีของไอโอดีนจางลงมาก (เปลีย่ นจากสีน้ าตาลเป็ นเหลืองอ่อน)
จึงเติมน้าแป้ งลงไป 2 mL แล้วทาการไทเทรตต่อไปจนไม่มสี ี
Page 75 of 124
** ** ใ ้ 3 ไ พ้ จไ พ่ 1 M H2SO4 ไ
Erelenmeyer flask ใ ไ พ่ ด ไ I2 **

4. ทาการทดลองซ้าอีก 2 ครัง้ แล้วคานวณหาความเข้มข้นทีแ่ น่ นอนของสารละลาย Na2S2O3 ในหน่ วย


Molarity

้ ้ Na2S2O3

ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ คือ

IO3- + 5I- + 6H+ 3I2 + 3H2O

และ I2 + 2Na2S2O3 2I- + S4O62-

่2 I2 ้ ้ 0.01 M 300 mL Standardization

1. ชังผลึ
่ ก I2 (M.W. 253.809) หนักประมาณ ...................... g (ด้วยเครื่องชัง่ 2 ตาแหน่ ง ห้ามใช้
เครือ่ งชังละเอี
่ ยด เนื่องจาก I2 เป็ นของแข็งทีร่ ะเหิดได้สามารถรวมตัวกับความชืน้ เกิดเป็ น HI จะทาให้เครือ่ งชัง่
เสียได้)
2. เติมสารละลาย KI เข้มข้น 10% ประมาณ 8-10 mL ลงไปบนผลึก I2 อย่างช้า ๆ พร้อมกับคนให้ I2
ละลายหมด (ถ้า I2 ยังไม่ละลาย ให้เติมสารละลาย KI เพิม่ อีกประมาณ 1-2 mL เพือ่ ละลายให้มากทีส่ ดุ ) แล้วจึง
เติมน้ ากลันลงไปภายหลั
่ งจนได้ปริมาตรสุทธิ 300 mL ในบีกเกอร์ แล้วเทเฉพาะสารละลายเก็บลงในขวดสีชา
แล้วปิ ดฝา (**ห้ามเทผลึก I2 ทีไ่ ม่ละลายลงไป ผลึก I2 ทีเ่ หลือให้ทง้ิ ในขวดทิง้ I2**)
3. ปิ เปตสารละลาย I2 ทีเ่ ตรียมได้ 25.00 mL ทาการไทเทรตด้วยสารละลาย Na2S2O3 (บรรจุอยูใ่ นบิว
เรต) โดยเมือ่ สีของ I2 จางลงเป็ นสีเหลืองอ่อน ๆ จึงเติมน้าแป้ งลงไป 2 mL แล้วทาการไทเทรตต่อจนถึงจุดยุติ
** ไ ้ 3ไ flask **
4. ทาการทดลองซ้า 2 ครัง้ แล้วคานวณหาความเข้มข้นทีแ่ น่นอนของสารละลาย I2 ในหน่วย Molarity

1. ทาไมจึงเลือกใช้ KIO3 ในการ standardise สารละลาย Na2S2O3 เราใช้สารอืน่ แทนได้หรือไม่


2. As2O3 เป็ นสารอีกตัวหนึ่งทีส่ ามารถใช้ในการ standardise สารละลาย I2 จงเขียนปฏิกริ ยิ าที่
เกิดขึน้ ถ้าใช้สารละลาย As2O3 ทีเ่ ตรียมได้มาใช้แทน Na2S2O3 ผลทีไ่ ด้จะต่างกันหรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย

Page 76 of 124
ด ่ 6.2

่ ซ

เนื่องจาก Ascorbic acid (วิตามินซี) เป็ น reducing agent สามารถถูกออกซิไดซ์ดว้ ยไอโอดีนเกิดเป็ น


dehydroascorbic acid

ซึ่ ง ปฏิ กิร ิย าที่ เกิด ขึ้น นี้ ด าเนิ น ไปอย่ า งรวดเร็ว และ Stoichiometric ดัง นั ้น จึง ท าให้ ส ามารถใช้
สารละลายมาตรฐานไอโอดีนในการไทเทรตเพือ่ หาปริมาณของ Ascorbic acid ได้

เนื่องจาก Ascorbic acid สามารถถูกออกซิไดซ์โดยออกซิเจนในอากาศได้งา่ ย ในการทดลองจึงต้อง


ระวังไม่ให้ถกู อากาศนานๆ นอกจากนี้ในการไทเทรตไม่ควรแกว่ง flask โดยไม่จาเป็ นเนื่องจากการแกว่ง flask
จะทาให้ออกซิเจนในอากาศไปทาปฏิกริ ยิ ากับ Ascorbic acid ในสารละลายได้ดขี น้ึ

ถ ด

เพือ่ ให้เห็นถึงการใช้หลักการ iodimetry ในการหาปริมาณของวิตามินซี

1. ชังวิ
่ ตามินซี 2 เม็ดในบีกเกอร์บนเครือ่ งชังละเอี
่ ยด (บันทึกน้าหนักรวมกันด้วยทศนิยม 4 ตาแหน่ง)
- หากตัวอย่างวิตามินซีทน่ี ามาระบุปริมาณวิตามินซีมากกว่า 200 mg ให้ชงเพี
ั ่ ยง 1
เม็ดสาหรับทาการทดลอง และทาตามคาแนะนาเพิม่ เติมจากอาจารย์ผคู้ มุ ปฏิบตั กิ าร

Page 77 of 124
2. เติมน้ ากลันประมาณ
่ 20 mL เพื่อแช่ให้เม็ดวิตามินละลาย แล้วเทสารละลายวิตามินซีผ่านกระดาษ
กรองเบอร์ 1 ลงใน volumetric flask ขนาด 100.00 mL หรือ 250.00 mL เพื่อแยกแป้ งในเม็ดวิตามินซีออก
จากสารละลาย (อย่าลืม “ ” วิตามินซีบางส่วนทีต่ ดิ ค้างอยู่บนกระดาษกรองด้วยน้ ากลันลงใน
่ volumetric
flask ด้วย) จากนัน้ ปรับปริมาตรสารละลายวิตามินซีให้เป็ น 100.00 mL ใน volumetric flask
** ดษ ด ่ใ ***
3. ปิ เปตสารละลายวิตามินซี 25.00 mL ใส่ใน Erlenmeyer flask ขนาด 125 หรือ 250 mL
4. เติมสารละลายกรด H2SO4 ความเข้มข้น 1 M ปริมาตร 25 mL
5. เติมน้าแป้ ง 2 mL
6. ทาการไทเทรต ด้วยสารละลายมาตรฐาน I2 ความเข้มข้น 0.01 M จนถึงจุดยุติ (สีน้าเงิน)
7. ทาการทดลองตัง้ แต่ขอ้ 3-6 ซ้าอีก 2 ครัง้ แล้วคานวณหาปริมาณของ ascorbic acid ในวิตามินซี 1
เม็ด

: ในการไทเทรตครัง้ แรก ให้พ ิจารณาปริมาณสารละลายไอโอดีน ที่ใช้ ในการไทเทรต ถ้ามี


ปริมาณสารละลายไอโอดีนเหลือเพียงพอสาหรับการทาซ้าอีก 2 ครัง้ ให้ทาการทดลองซ้าด้วยวิธกี ารเดิม แต่ถา้
ปริมาณไอโอดีนไม่พอ ให้ลดปริมาตรวิตามินซีสาหรับการทาซ้าครัง้ ที่ 2 และ 3 ลง จาก 25.00 mL เป็ น 10.00
mL

Page 78 of 124
ด ่7

่ ใ ้ ่ ไฟฟ้ (Electrochemical Technique)

ใ ด ็ ด- – pH meter

ด ด ็ ด-

ในทางเคมีพน้ื ฐาน ระดับความเป็ นกรด-เบส (pH) จะหมายถึง ค่าทีใ่ ช้ระบุถงึ ระดับของความสามารถ


ในการทาปฏิกริ ยิ าของไฮโดรเนียมอิออนทีม่ อี ยู่ในสารละลาย (activity of hydronium ions) ซึ่งสามารถเขียน
เป็ นสมการได้ดงั นี้

pH = - log(aH)

โดย aH คือ ความสามารถในการทาปฏิกริ ยิ าของไฮโดรเนียมอิออน (H+ หรือ H3O+)

ซึง่ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับค่าความเข้มข้นดังนี้
+
aH = H.[H ]

โดย H คือ ค่าสัมประสิทธิ ์ของความสามารถในการทาปฏิกริ ยิ าของไฮโดรเนี ยมอิออน ซึ่งจะมีค่า


เท่ากับ 1 เมือ่ ความเข้มข้นของสารละลายมีคา่ ไม่สงู มากนัก

เนื่องจากค่าระดับของการเป็ นกรด-เบส (pH-value) เป็ นค่าในเชิงเปรียบเทียบ และสัมประสิทธิ ์ของ


ความสามารถในการทาปฏิกริ ยิ าสาหรับไอออนเดีย่ ว ไม่สามารถหาค่าได้โดยตรงจากการทดลอง ดังนัน้ การวัด
ค่า pH ทีถ่ กู ต้อง จะต้องคานึงถึงข้อมูลต่อไปนี้เสมอ

1. ชนิดสารละลายมาตรฐาน หรือสารละลายบัฟเฟอร์ทใ่ี ช้ปรับมาตรวัด (pH meter)


2. ความแรงไอออนิก (ionic strength) จะต้องมีคา่ คงทีห่ รือไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงมาก
3. ความเข้มข้นของสารละลายจะต้องไม่สงู เกินไป
4. ข้อจากัดของวิธกี ารวัดแต่ละวิธี

เพื่อ ความสะดวกในการทดลองทัว่ ๆ ไป มัก ใช้ค วามเข้ม ข้น ของไฮโดรเนี ย มไอออน H+ แทนค่ า


ความสามารถในการทาปฏิกริ ยิ าของมัน ความสัมพันธ์ทใ่ี ช้ในการหาค่า pH จึงเขียนได้ดงั นี้

Page 79 of 124
pH = - log[H+]

ซึง่ ความสัมพันธ์ดงั กล่าวจะใช้ได้ดกี ต็ ่อเมือ่ สารละลายเจือจาง (มีคา่ H เท่ากับ 1) และสารละลายมีค่า


ionic strength คงที่

การวัดค่า pH สามารถทาได้หลายวิธี เช่น ดูการเปลี่ยนแปลงสีของกระดาษวัด pH (pH paper) ซึ่ง


วิธกี ารนี้จะทาให้ทราบค่า pH อย่างคร่าวๆ โดยการเปรียบเทียบสีทอ่ี ยู่บนกล่ องของกระดาษวัด นอกจากนี้ยงั
สามารถทาได้โดยการใช้มาตรวัด pH (pH meter) ซึง่ ใช้เทคนิคทางเคมีไฟฟ้ า โดยวิธกี ารวัดค่า pH โดยใช้ pH
meter จะให้ผลค่า pH ออกมาได้ถกู ต้องและแม่นยามากกว่า ถ้าใช้อปุ กรณ์อย่างถูกต้อง

(ก) (ข)

่ 7.1 กระดาษวัด pH (ก) และ pH meter (ข)

Glass membrane electrode (รูปที่ 7.2) เป็ นขัว้ เมมเบรนแบบแรกทีพ่ ฒ


ั นาขึน้ (~ ค.ศ.1909) เพือ่ การ
วัดความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย ประกอบด้วย glass membrane แบบพิเศษ ทีส่ ามารถตอบสนองจาเพาะ
ต่อ H+ ทีส่ มั ผัสกับผิว glass membrane การตอบสนองของอิเล็กโทรดนี้เป็ นการวัดค่าความต่างศักย์ทเ่ี กิดขึน้
ระหว่างภายในและภายนอกเยื่อแก้ว (ศักย์บาวดารี; Eb) ซึ่งค่าความต่างศักย์น้ีเป็ นผลต่างของค่าความเป็ น
กรด-เบสระหว่างสารละลายทีอ่ ยู่ในอิเล็กโทรดและสารตัวอย่าง ดังนัน้ “Eb เป็ นตัววัดความเข้มข้นของ H+ จาก
สารละลายตัวอย่าง”

่ 7.2 ส่วนประกอบของ combination glass membrane electrode และการตอบสนองต่อ pH ของ


สารละลาย

Page 80 of 124
** ใ ้ ่ ดพ **
1. การวัด pH ให้ถูกต้อง จาเป็ นต้องมีการปรับเทียบ (Calibration) electrode กับสารละลายมาตรฐาน
บัฟเฟอร์ ซึ่งควรปรับเทียบบัฟเฟอร์อย่างน้อย 2 จุด และบัฟเฟอร์ทใ่ี ช้ควรมี pH ครอบคลุมช่วงตัวอย่างทีจ่ ะ
วิเคราะห์ จะยิง่ ได้ค่าที่แม่นยาขึ้น เช่น บัฟ เฟอร์ pH 4-7 สาหรับตัวอย่างที่เป็ นกรด หรือ บัฟ เฟอร์ pH 7-9
สาหรับตัวอย่างทีเ่ ป็ นเบส
2. สารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร์ทใ่ี ช้ปรับเทียบ และสารละลายตัวอย่าง ควรมีอณ ุ หภูมเิ ท่ากัน

** ้ ด ษ **
- ้ ขัดถูหรือใช้น้ิวสัมผัสบริเวณขัว้ กระเปาะแก้วของ electrode เด็ดขาด
- เมื่อไม่ได้ใช้งาน electrode ชัวคราว
่ ให้จุ่มไว้ในน้ าประปาหรือสารละลายบัฟเฟอร์ pH 7.00 ให้ท่วม
ปลายกระเปาะแก้ว ไม่ควรทิง้ ให้แห้งและไม่ควรจุ่มในน้ากลัน่
- เมื่อเสร็จสิ้นการทางาน ต้องล้างปลายกระเปาะแก้วของ electrode ด้วยน้ ากลัน่ แล้วใช้กระดาษทิชชู
ซับน้าบริเวณผิวขัว้ แก้วเบา ๆ และเก็บใน storage solution

ใ ้ ่ pH meter

Denver 215 225

1. เปิ ดเครือ่ ง pH meter


2. ทาการ clear buffers โดยกดปุ่ ม Standardize > 3 (clear buffer)
> 1 (yes)
3. กดปุ่ม 2 เพือ่ ทา Manual buffer entry
4. ใส่คา่ pH ของ Buffer (pH 7.0) แล้วกด enter
5. ใช้น้ากลันล้่ าง electrode แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้าบริเวณผิว electrode แล้วจุ่ม electrode ลงใน
buffer pH 7.0
6. กดปุ่ม enter แล้วรอประมาณ 20 วินาที จะปรากฏค่า pH ทีห่ น้าจอ
7. ใช้น้ากลันล้ ่ าง electrode แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้าบริเวณผิว electrode แล้วจุ่ม electrode ลงใน
buffer pH 4.01
8. กด Standardize > 2 (Manuanl buffer entry)
9. ใส่ ค่ า pH ของ Buffer (pH 4.01) แล้ว กด enter แล้ว รอประมาณ 20 วิน าทีจ ะปรากฏค่ า pH ที่
หน้าจอ
10. กดปุ่ม Cal data เพือ่ ดูคา่ slope ซึง่ ควรอยูใ่ นช่วง 90-105% จึงสามารถใช้งานได้
11. กดปุ่ม enter เพือ่ กลับสูห่ น้าจอหลัก และเครือ่ งพร้อมสาหรับวัดค่า pH ในสารละลายตัวอย่าง

Page 81 of 124
Metrohm 827

1. กด power on
2. กด CAL
3. จุ่ม electrode ใน buffer pH 7.00 แล้วกด OK
4. กด OK อีกครัง้
5. ล้าง electrode ด้วยน้ากลัน่ แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้ า
บริเวณผิว electrode แล้ว จุ่ ม electrode ลงใน buffer pH
4.01 แล้วกด OK
6. กด OK อีกครัง้ จะปรากฏค่า slope ทีห่ น้าจอ
7. กด OK, พร้อมใช้งานได้ทนั ที

Consort 860

1. กด power on
2. กด MODE เลือกไปที่ [pH] จากนัน้ กด CAL
3. กด CAL อีกครัง้ เลือกบัฟเฟอร์ pH ทีต่ อ้ งการ standardize เช่น pH 7.00
4. กดปุ่ม CAL อีกครัง้ แล้วปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนทีป่ รากฏบนหน้าจอ คือ ล้าง electrode ด้วยน้ ากลัน่
แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้า บริเวณผิว electrode แล้วจุ่ม electrode ลงในบัฟเฟอร์ pH 7.00
5. กด CAL จะปรากฏค่า pH บนหน้าจอ รอจนกว่าเครือ่ งจะสังให้ ่ เปลีย่ นเป็ นบัฟเฟอร์ตวั ถัดไป
6. กดปุ่ม CAL อีกครัง้ แล้วปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนทีป่ รากฏบนหน้าจอ คือ ล้าง electrode ด้วยน้ ากลัน่
แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้า บริเวณผิว electrode แล้วจุ่ม electrode ลงในบัฟเฟอร์ pH 4.01
7. กด CAL จะปรากฏค่า pH บนหน้าจอ
8. เมื่อทาการ calibrate เสร็จ เครื่องจะปรากฏคาว่า Calibration Successful ให้กดปุ่ ม CAL เพื่อ
กลับสูห่ น้าหลัก เครือ่ งจะพร้อมใช้วดั ค่า pH ในตัวอย่าง
9. ทาการล้าง electrode ด้วยน้ ากลัน่ แล้วใช้กระดาษชาระ ซ น้ าบริเวณผิว electrode ก่อนจุ่ ม
electrode ลงในสารละลายตัวอย่าง

Page 82 of 124
ด ่ 7.1

่ ด ็ ด- ด pH

ถ ด

1. ศึกษาถึงส่วนประกอบต่างๆ และวิธกี ารบารุงรักษา pH meter และ glass membrane electrode


2. ศึกษาวิธกี ารปรับมาตรวัดให้ได้มาตรฐานโดยใช้สารละลายบัฟเฟอร์ทเ่ี ตรียมให้
3. วัดระดับความเป็ นกรด-เบสของสารละลายทีก่ าหนดให้ โดยเปรียบเทียบค่าทีว่ ดั ได้กบั การวัด pH
โดยการเทียบสีของอินดิเคเตอร์

1. ให้นกั ศึกษาเตรียมเครือ่ งวัด pH ให้พร้อมใช้งาน


2. ใช้เครือ่ งวัด pH และกระดาษวัด pH ทาการวัดค่า pH ของสารตัวอย่างชนิดต่างๆ ดังนี้ น้ ากลัน,

น้ าประปา, 0.1 M HCl, 0.1 M CH3COOH, 0.1 M NaOH, 0.1 M Na2CO3 และน้ าอัด ลมโคล่ า
โดยนาสารละลายตัวอย่างมาประมาณ 20 - 30 mL ใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 mL (ให้สารละลาย
สูงท่วมกระเปาะล่างของอิเลคโทรด)
3. อ่านค่า pH และบันทึกผล แล้วเปรียบเทียบค่า pH ทีไ่ ด้จากวิธที งั ้ สอง

Page 83 of 124
ด ่ 7.1

่ ด ็ ด- ด pH

ถ ด

1. ศึกษาถึงส่วนประกอบต่างๆ และวิธกี ารบารุงรักษา pH meter และ glass membrane electrode


2. ศึกษาวิธกี ารปรับมาตรวัดให้ได้มาตรฐานโดยใช้สารละลายบัฟเฟอร์ทเ่ี ตรียมให้
3. วัดระดับความเป็ นกรด-เบสของสารละลายทีก่ าหนดให้ โดยเปรียบเทียบค่าทีว่ ดั ได้กบั การวัด pH
โดยการเทียบสีของอินดิเคเตอร์

1. ให้นกั ศึกษาเตรียมเครือ่ งวัด pH ให้พร้อมใช้งาน


2. ใช้เครือ่ งวัด pH และกระดาษวัด pH ทาการวัดค่า pH ของสารตัวอย่างชนิดต่างๆ ดังนี้ น้ ากลัน,

น้ าประปา, 0.1 M HCl, 0.1 M CH3COOH, 0.1 M NaOH, 0.1 M Na2CO3 และน้ าอัด ลมโคล่ า
โดยนาสารละลายตัวอย่างมาประมาณ 20 - 30 mL ใส่ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 mL (ให้สารละลาย
สูงท่วมกระเปาะล่างของอิเลคโทรด)
3. อ่านค่า pH และบันทึกผล แล้วเปรียบเทียบค่า pH ทีไ่ ด้จากวิธที งั ้ สอง

Page 83 of 124
ด ่ 7.2

่ Ionization Constant ด

1. ปิ เปตสารละลายตัวอย่างกรดอ่อน 25.00 mLใส่ในบีกเกอร์ขนาด 150 mL แล้วจัดอุปกรณ์ เพื่อทา


การไทเทรตโดยใช้ pH meter เป็ น indicator ดังรูปที่ 7.3 (หากสารละลายตัวอย่างไม่ท่วมหัววัดอิเล็กโทรด ให้
ทาการเติมน้ากลันลงไปอี
่ ก 25.00 mL)

่ 7.3 การจัดอุปกรณ์แบบวิธกี ารไทเทรตด้วยวิธกี ารวัดศักย์ไฟฟ้ า (Potentiometric titration)

2. ทาการไทเทรตสารละลายตัวอย่างกรดอ่อนด้วยสารละลาย 0.1 M NaOH โดยการไทเทรตจะต้อง


ท าการเติม NaOH ลงไปทีล ะ 0.5 mL โดยเมื่อเติม NaOH ลงไปในแต่ ล ะครัง้ จะต้องรอจนให้ค่ า pH ของ
สารละลายมีค่าคงที่ (อาจใช้เวลาประมาณ 30 วินาที) จึงค่อยบัน ทึกค่า pH และเติม NaOH ลงไปเรื่อย ๆ
จนกว่าจะได้ pH 10-11 แล้วจึงเปลีย่ นเป็ นเติม NaOH ทีละ 1 หรือ 2 mL ต่อไปจนกระทังครบ
่ 10 mL
3. เมือ่ ทาการไทเทรตเสร็จ ล้าง electrode ด้วยน้ากลัน่ แล้วแช่ในสารละลาย buffer pH 7.0
4. จากผลการทดลองที่ได้ จงระบุชนิดของกรดอ่อนตัวอย่างจากค่า pKa ที่ได้ และความเข้มข้นของ
กรดอ่อนนัน้

Page 84 of 124
ด ่ 7.2

่ Ionization Constant ด

1. ปิ เปตสารละลายตัวอย่างกรดอ่อน 25.00 mLใส่ในบีกเกอร์ขนาด 150 mL แล้วจัดอุปกรณ์ เพื่อทา


การไทเทรตโดยใช้ pH meter เป็ น indicator ดังรูปที่ 7.3 (หากสารละลายตัวอย่างไม่ท่วมหัววัดอิเล็กโทรด ให้
ทาการเติมน้ากลันลงไปอี
่ ก 25.00 mL)

่ 7.3 การจัดอุปกรณ์แบบวิธกี ารไทเทรตด้วยวิธกี ารวัดศักย์ไฟฟ้ า (Potentiometric titration)

2. ทาการไทเทรตสารละลายตัวอย่างกรดอ่อนด้วยสารละลาย 0.1 M NaOH โดยการไทเทรตจะต้อง


ท าการเติม NaOH ลงไปทีล ะ 0.5 mL โดยเมื่อเติม NaOH ลงไปในแต่ ล ะครัง้ จะต้องรอจนให้ค่ า pH ของ
สารละลายมีค่าคงที่ (อาจใช้เวลาประมาณ 30 วินาที) จึงค่อยบัน ทึกค่า pH และเติม NaOH ลงไปเรื่อย ๆ
จนกว่าจะได้ pH 10-11 แล้วจึงเปลีย่ นเป็ นเติม NaOH ทีละ 1 หรือ 2 mL ต่อไปจนกระทังครบ
่ 10 mL
3. เมือ่ ทาการไทเทรตเสร็จ ล้าง electrode ด้วยน้ากลัน่ แล้วแช่ในสารละลาย buffer pH 7.0
4. จากผลการทดลองที่ได้ จงระบุชนิดของกรดอ่อนตัวอย่างจากค่า pKa ที่ได้ และความเข้มข้นของ
กรดอ่อนนัน้

Page 84 of 124
้ ด

ชือ่ สูตร pKa Ka


Acetic acid CH3COOH 4.754 1.76x10-5
Boric acid H3BO3 9.236 (pKa1) 5.81x10-10
12.74 (pKa2) 1.8x10-13
13.80 (pKa3) 1.6x10-14
Carbonic acid H2CO3 1.352 (pKa1) 4.45x10-7
10.329 (pKa1) 4.69x10-11
Formic acid HCOOH 3.745 1.8x10-4


1. จงหาค่า pH ที่ equivalent point ในการไทเทรตนัน้ ตรงกับ equivalent point ในทางทฤษฎีทค่ี านวณ
ได้หรือไม่
2. End point ของการไทเทรตข้างต้นอยู่ท่ไี หนบ้าง หากไม่ม ี pH มิเตอร์ เราจะต้องใช้อนิ ดิเคเตอร์ ตัว
ไหนในการบอก end point

Page 85 of 124
ผ ด ่7
่ ใ ้ ่ ไฟฟ้ ใ ด ็ ด- – pH meter

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์
ทาการทดลองร่วมกับกลุ่มที่

ด ่ 7.1

ึ pH
ค่า pH จาก ค่า pH จาก
สารละลาย ชือ่ สารเคมี
pH paper pH meter
1. น้ากลัน่

2. น้าประปา

3. 0.1M HCl

4. 0.1 M CH3COOH

5. 0.1 M NaOH

6. 0.1 M Na2CO3

7. น้าอัดลมโคล่า

ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 86 of 124
ด ่ 7.2

ให้บนั ทึกค่า pH และปริมาตรของ NaOH ที่เติมลงไป แล้วนาข้อมูลที่ได้มาสร้างเป็ น titration curve


เพือ่ ใช้ในการหาค่า pKa ของกรดอ่อน และค่า pH ณ จุด end point

NaOH NaOH NaOH NaOH NaOH


pH pH pH pH pH
(mL) (mL) (mL) (mL) (mL)

Page 87 of 124
Titration Curve

ชนิดของกรดอ่อน คือ ................................................................................................................................

ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 88 of 124
ด ่8

่ ด้ ด ดด

(Colorimetric Analysis)

เมือ่ แสง visible light ไปกระทบทีว่ ตั ถุ ถ้าวัตถุนนั ้ สามารถดูดกลืนแสงได้หมด จะเห็นวัตถุนนั ้ เป็ นสีดา
แต่ถา้ วัตถุนัน้ ดูดกลืนแสงไม่หมดหรือดูดกลืนแสงเพียงบางช่วงคลื่น จะเห็นวัตถุนัน้ เป็ นสีต่างๆ เช่น ถ้าวัตถุ
ดูดกลืนแสงสีน้าเงิน จะเห็นวัตถุเป็ นสีเหลือง ถ้าวัตถุดดู กลืนแสงสีเขียว จะเห็นวัตถุเป็ นสีแดง เป็ นต้น โดยวัตถุ
ต่างชนิดกันจะมีการดูดกลืนแสงทีช่ ว่ งต่างกัน และวัตถุชนิดเดียวกันแต่ปริมาณต่างกันจะมีการดูดกลืนแสงช่ วง
เดียวกันในปริมาณทีแ่ ตกต่างกัน คุณสมบัตกิ ารดูดกลืนแสงของวัตถุ นอกจากจะใช้ในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
ของสารแล้ว ยังสามารถใช้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณได้ดว้ ย นันคื ่ อ เราสามารถใช้การสังเกตสีเพือ่ บอกว่าสาร
นัน้ คืออะไร และใช้การสังเกตความเข้มของสีเพือ่ บ่งบอกว่าสารนัน้ มีปริมาณเท่าใด ซึง่ วิธกี ารวิเคราะห์โดยการ
เปรียบเทียบสีน้ีเรียกว่า colorimetric analysis

ในการเปรียบเทียบสีของสารทีต่ ้องการวิเคราะห์ กบั สารมาตรฐาน (standard) นัน้ สามารถใช้สายตา


เป็ นเครือ่ งตัดสินได้ แต่จะได้ผลออกมาในระดับคร่าวๆเท่านัน้ สาหรับงานทีต่ อ้ งการความถูกต้องมากขึน้ จะใช้
เครื่องมือวัด ที่เรีย กว่ า photometer หรือ spectrophotometer ในการวัด ปริม าณการดูด กลืน แสง ซึ่งในการ
วิเคราะห์ จะต้องทาการเตรียมสารละลายมาตรฐานชนิดเดียวกับสารทีต่ อ้ งการวิเคราะห์ขน้ึ มาจานวนหนึ่งทีม่ ี
ความเข้มข้นแตกต่างกัน จากนัน้ ทาการวัดค่ าความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารละลายนัน้ แล้วนาค่าที่
ได้มาสร้าง standard curve หรือ calibration curve ซึ่งเป็ นกราฟทีแ่ สดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืน
แสงกับความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานทีค่ วามเข้มข้นต่าง ๆ จากนัน้ นากราฟทีไ่ ด้ไปใช้หาความเข้มข้น
ของสารทีต่ อ้ งการวิเคราะห์ในตัวอย่างได้ต่อไป

Absorption Law (Beer-Lambert’s Law)

Lamber และ Beer ได้แสดงความสัมพันธ์ของค่าการดูดกลืนแสง กับ ความเข้มข้นของสารละลาย


ดัง นี้ “ความเข้ม ของแสงที่ถู ก ดู ด กลืน (A) ขึ้น อยู่ก ับ ความเข้ม ข้น (C) และระยะทางที่แ สงเดิน ทางผ่ า น
สารละลาย” หรือ A = kbC หรือ A = bC

เมือ่ b คือ ระยะทางทีแ่ สงเดินทางผ่านสารละลาย หรือความกว้างของคิวเวตบรรจุสารละลาย (cm)


C คือ ความเข้มข้นของสารละลาย (โมลาร์ หรือ หน่วยเข้มข้นอืน่ ๆ)

Page 89 of 124
k คือ ค่าคงทีเ่ ฉพาะตัวของสารทีด่ ูดกลืน เรียก absorptivity (ใช้เมื่อความเข้มข้นของสารละลายไม่ใช่
หน่วยโมลาร์)
คือ ค่ า คงที่ เ ฉพาะตั ว ของสารที่ ดู ด กลื น เรีย ก Molar absorptivity (ใช้ เ มื่ อ ความเข้ ม ข้น ของ
สารละลายอยูใ่ นหน่วยโมลาร์)

** ด Colorimetry ด้ ้ ด ด **

ดังนี้

1. ่ ่ใ ้ ดด ด( max)
เตรี ย มสารละลายมาตรฐานของสารที่
ต้ อ งการตรวจวัด 1 ความเข้ ม ข้ น เพื่ อ น าไปสแกน
สเปกตรัม การดูด กลืน (ยกตัว อย่า ง รูป ที่ 8.1) โดย
ปกตินั้นจะเลือกความยาวคลื่นสูงสุด ( max)
ซึ่งเป็ น
ความยาวคลื่น ที่ส ารมีความสามารถในการดูด กลืน
แสงได้มากทีส่ ดุ

่ 8.1 สเปกตรัมการดูดกลืนแสงของสารประกอบเชิงซ้อน [Fe(o-phen)3]3+ และ [Fe(o-phen)3]2+ (ทีค่ วาม


เข้มข้นของเหล็ก 10-4 M) J. Braz. Chem. Soc., Vol. 29, No. 4, 831-837, 2018.

2. ้ ฟ ฐ
2.1 เตรียมสารละลายมาตรฐานที่มคี วามเข้มข้นต่างกัน จานวน 4 – 5 ความเข้มข้น และ
เตรียมสารละลายแบลงค์
2.2 เทสารละลายแบลงค์ลงในคิวเวต เพื่อนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ max โดยทัวไปจะ่
นิยมกดให้เครือ่ งสเปกโทรโฟโตมิเตอร์อา่ นค่าสารละลายแบลงค์เป็ นศูนย์ เพือ่ ความสะดวก
2.3 เทสารละลายมาตรฐานลงในคิวเวต เพื่อวัดค่าการดูดกลืนแสง โดยทาทีละความเข้มข้น
จากสารละลายมาตรฐานเข้มข้นต่าไปสูง
2.4 พล๊ อ ตกราฟระหว่ า งค่ า การดู ด กลืน แสง (แกน y) และความเข้ม ข้น ของสารละลาย
มาตรฐาน (แกน x) จะได้ก ราฟมาตรฐานเส้น ตรงสาหรับ ใช้เทีย บวิเคราะห์ป ริม าณสารที่ส นใจใน
สารละลายตัวอย่างได้

Page 90 of 124
่ 8.2 ตัวอย่างกราฟมาตรฐาน

3. การวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายตัวอย่าง
3.1 สารละลายตัวอย่างจะต้องเป็ นสารละลายเนื้อเดียว (เช่น ไม่มสี ารแขวนลอย ไม่มฟี อง
เป็ นต้น)
3.2 ปิ เปตสารละลายตัวอย่างลงในขวดวัดปริมาตร ปรับปริมาตรด้วยทาละลายชนิดเดียวกับ
ทีเ่ ตรียมสารละลายมาตรฐาน
3.3 เทสารละลายตัว อย่ า งลงในคิว เวต เพื่อวัด ค่ าการดูด กลืน แสง ที่ค วามยาวคลื่น และ
อุณหภูมเิ ดียวกับทีส่ ารมาตรฐาน
3.4 นาค่าการดูดกลืนแสงทีไ่ ด้ไปเทียบในกราฟมาตรฐาน ด้วยการแทนค่าการดูดกลืนแสงลง
ในค่า y ของสมการเส้น ตรงที่ได้ หรือ เทีย บจากกราฟโดยตรง เพื่อหาความเข้มข้นสารที่สนใจใน
ตัวอย่างต่อไป

1) กรณีสารทีต่ อ้ งการตรวจวัดไม่มสี ี จะต้องเติมรีเอเจนท์เพือ่ ให้เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีให้กลายเป็ น


สารมีสขี น้ึ และต้องรออย่า งน้อย 10 นาที หรือรอจนปฎิกริ ยิ าเข้าสู่สมดุลถึงจะทาการตรวจวัดค่าการดูดกลืน
แสงวิซเิ บิลได้
2) การใช้ควิ เวตบรรจุสารละลายมาตรฐาน จะต้องกลัว้ คิวเวตด้วยสารละลายมาตรฐานที่
ความเข้มข้นสูงขึน้ ลาดับต่อไปก่อนเสมอ เพือ่ กาจัดสารละลายก่อนหน้าออกไป
3) การใช้คิว เวตบรรจุส ารละลายตัวอย่า ง จะต้องกลัว้ คิว เวตด้ว ยน้ ากลันก่ ่ อน แล้ว จึงใช้
สารละลายตัวอย่างกลัว้ คิวเวตอีก 3-4 ครัง้ ก่อนบรรจุตวั อย่างลงคิวเวตเพือ่ วัดค่าการดูดกลืนแสง

รูปที่ 8.3 แผนผังองค์ประกอบเครือ่ งคัลเลอร์รมิ เิ ตอร์อย่างง่าย

Page 91 of 124
ใ ้ ่ spectrophotometer
Mapada V-1100

1. เปิ ดฝาเครือ่ ง เพือ่ นาถุงดูดความชืน้ ออก


จากบริเวณช่องใส่ cuvette แล้วปิ ดฝาให้
เรียบร้อย
2. power on, warm ประมาณ 20 นาที หรือ
รอจนปรากฏหน้าจอใน mode ตรวจวัด
3. กดปุ่ม MODE เพือ่ เลือกใช้งานใน mode วัดค่าการดูดกลืนแสง หรือ A (Absorbance)
4. หมุนปุ่มปรับเลือก wavelength (nm) จนได้ตามต้องการ
5. ใส่ blank ลงในช่องสาหรับวัดค่า ปิ ดฝา และกดปุ่ม 0 Abs หรือ 100%T เพือ่ ตัง้ ค่า 0
Abs
6. เริม่ ใช้งานได้

Mapada V-1200

1. เปิ ดฝาเครือ่ ง เพือ่ นาถุงดูดความชืน้ ออกจากบริเวณช่องใส่


cuvette แล้วปิ ดฝาให้เรียบร้อย
2. power on, warm ประมาณ 20 นาที หรือ รอจนปรากฏ
หน้าจอใน mode ตรวจวัด
3. กดปุ่ม MODE เพือ่ เลือกใช้งานใน mode วัดค่าการ
ดูดกลืนแสง หรือ A (Absorbance)
4. เลือก wavelength (nm) โดยการกดปุ่ม “GOTO ” จากนัน้ กดปุ่มลูกศรขึน้ หรือ ลูกศร
ลง จนได้ความยาวคลื่นทีต่ อ้ งการ แล้วกด ok เพือ่ ยืนยัน (ใช้ป่ ุม select key)
5. ใส่ blank ลงในช่องสาหรับวัดค่า ปิ ดฝา และกดปุ่ม 0 Abs หรือ 100%T เพือ่ ตัง้ ค่า 0
Abs
6. เริม่ ใช้งานได้

** ้ ใ ใ ้ ่ spectrophotometer**
- เปิ ด power on เพือ่ warm แหล่งกาเนิดแสงก่อนใช้งานประมาณ 20 นาที เพือ่ ให้แสงมีความเข้มคงที่
- อย่าเปิ ดฝาครอบช่องใส่ตวั อย่างทิง้ ไว้ เพราะจะทาให้ detector เกิดอาการล้า (fatigue)
- ห้ามสัมผัสโดน window ภายในช่องบรรจุสารตัวอย่าง และ ระมัดระวังอย่าให้สารละลายหกอยูภ่ ายใน

Page 92 of 124
็ ด Colorimetric analysis

Fe2+ สามารถท าปฏิ กิ ร ิย ากั บ 1,10-o-phenanthroline (o-phen) ได้ ส ารประกอบเชิ ง ซ้ อ นสี แ ดง


(สมการที่ 1) แต่สารประกอบเชิงซ้อนของ Fe3+ จะไม่มสี ี ดังนัน้ ในการหาปริมาณเหล็ก (Fe) จะต้องทาให้ Fe
อยูใ่ นรูปของ Fe2+ ให้หมดเสียก่อน
Fe(H2O6)2+ + 3(phen) Fe(phen)32+ + 6H2O k = 2x1021 ----- (1)
สีแดง

โดยปฏิ กิ ร ิย านี้ จ ะเกิ ด ขึ้น ได้ ดี เ มื่ อ pH ของสารละลายอยู่ ร ะหว่ า ง 3-9 โดยถ้ า ค่ า pH < 3 จะ
เกิดปฏิกริ ยิ าดังสมการที่ 2
o-phen + 2H+ H2-o-phen k=8.32x104 ----- (2)

และหากสารละลายมี pH > 9 จะเกิดปฏิกริ ยิ าดังสมการที่ (3) ทาให้เกิดตะกอนของ Fe(OH)3 ส่งผลให้


ปริมาณสารทีจ่ ะวิเคราะห์หายไป
Fe2+ + OH- Fe(OH)- Fe(OH)2 + O2 Fe(OH)3 ------ (3)

ดังนัน้ pH ทีเ่ หมาะสมในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนสีแดงระหว่าง Fe-Ophen จึงอยูร่ ะหว่าง pH 3-9


โดยการวิเคราะห์หาปริมาณ Fe ด้วย colorimetric analysis จาเป็ นต้องทาให้อยู่ในรูปของ Fe2+ ก่อน ด้วยการ
เติ ม reducing agent ล งไป ซึ่ ง reducing agent ที่ ส าม ารถ reduce Fe3+ ที่ pH 3-9 ที่ เห ม าะส ม คื อ
hydroxylamine

สาหรับความยาวคลื่นสูงสุดทีใ่ ช้สาหรับติดตามวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง
Fe-ophen นัน้ สามารถพิจารณาได้จากสเปกตรัมการดูดกลืน (ดังแสดงไว้ในตัวอย่างรูปที่ 8.1) ซึง่ จะเห็นได้ว่า
สารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง Fe2+ กับ o-phen (ตามสมการที่ 1) จะมีปรากฏสเปกตรัมการดูดกลืนแสงย่านวิซิ
เบิลและมีความยาวคลื่นทีเ่ กิดการดูดกลืนแสงสูงสุด ( max) ที่ 510 nm ในขณะทีส่ ารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง
Fe3+ กับ o-phen ซึง่ ได้สารประกอบเชิงซ้อนทีไ่ ม่มสี นี นั ้ จะไม่พบสเปกตรัมการดูดกลืนแสงย่านวิซเิ บิลแต่อย่าง
ใด

Page 93 of 124
ถ ด

1. เพือ่ เรียนรูถ้ งึ หลักการของการวิเคราะห์โดยวิธี colorimetry


2. เพือ่ ศึกษาถึงวิธกี ารวิเคราะห์หาปริมาณของเหล็กโดยวิธนี ้ี
3. ทดลองหาปริมาณของเหล็กในน้าตัวอย่าง

่1 ด พ่ ด พ pH ่ ดด (Abs.)

1.1 ปิ เปตสารละลายมาตรฐาน 5x10-4 M Fe2+ ปริมาตร 5.00 mL ลงใน volumetric flask ขนาด
50.00 mL จานวน 4 ใบ จากนัน้ เติม 10% Hydroxylamine hydrochloride ลงไป 2.0 mL และสารละลาย 10-3
M 1,10-o-phenanthroline ปริมาตร 8.0 mL
1.2 Volumetric flask ใบที่ 1 เติมสารละลาย 0.1 M H2SO4 ประมาณ 0.5-1 mL เพื่อปรับให้ได้
ค่า pH ประมาณ 2-3 (โดยใช้กระดาษวัด pH) แล้วทาการปรับปริมาตรด้วยน้ ากลัน่ ตัง้ ทิ้งไว้ 10 นาที แล้วจึง
ทาการวัดค่า Abs. โดยใช้น้ากลันเป็ ่ น reference
1.3 Volumetric flask ใบที่ 2 เติม สารละลาย buffer pH 5 ปริม าตร 5 mL จากนั น้ ทาการปรับ
ปริมาตรด้วยน้ากลัน่ ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้วนาไปวัดค่า Abs. ทีค่ วามยาวคลื่น 510 nm
1.4 Volumetric flask ใบที่ 3 - 4 ให้เติม 1 M NaOH ปริมาตร 2 และ 4 mL ตามลาดับ เพื่อปรับ
ให้ได้ค่า pH ประมาณ 8 และ 12 (โดยใช้กระดาษวัด pH) แล้วทาการปรับปริมาตรด้วยน้ ากลัน่ ตัง้ ทิ้งไว้ 10
นาที แล้วจึงทาการวัดค่า Abs.
1.5 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH กับ Abs. โดยให้ค่า Abs. เป็ นแกนตัง้ (แกน y)
และค่า pH เป็ นแกนนอน (แกน x)
1.6 อภิปรายผลของ pH ทีม่ ตี ่อค่าการดูดกลืนแสงของสารเชิงซ้อนทีศ่ กึ ษา และอธิบายถึงสภาวะ
ทีเ่ หมาะสมของการหาปริมาณเหล็ก

Page 94 of 124
่ 1 การเตรีย มสารละลายที่ pH ต่าง ๆ เพื่อศึกษาอิทธิพ ลของ pH ต่อค่าการดูด กลืน แสงของสาร
เชิงซ้อน
ขวด volumetric flask ขนาด 50 mL
ปริมาตรสารละลาย (mL)
ขวดที่ 1 ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 4

5 x 10-4 M Fe2+ 5.00 5.00 5.00 5.00

10% hydroxylamine 2.0 2.0 2.0 2.0

10-3 M o-phen 8.0 8.0 8.0 8.0

Buffer pH 5 - 5.0 - -

0.1 M H2SO4 0.5 – 1.0 - - -

1 M NaOH - - 1.5 – 2.0 4.0

เติมน้ากลันลงไปในแต่
่ ละขวดจนถึงขีดกาหนดปริมาตร 50.00 mL ปิ ดจุก แล้วผสม
สารละลายในแต่ละขวดให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

วัด pH ในแต่ละขวดด้วยกระดาษวัด pH → บันทึกค่า pH ทีไ่ ด้ (ตามจริง) → ตัง้


สารละลายไว้ 10 นาที → วัดค่าการดูดกลืนแสงทีค่ วามยาวคลื่น 510 nm

*ใช้น้ากลันเป็
่ น blank

่2 ด พ่ ด พ ้ ้ o-phen ่ ดด

2.1 ปิ เปตสารละลายมาตรฐาน 5x10-4 M Fe2+ มา 5.00 mL ใส่ลงใน volumetric flask ขนาด 50 mL


จานวน 4 ใบ เติมสารละลาย hydroxylamine 2.0 mL จากนัน้ เติมสารละลาย 1,10-o-phenanthroline ปริมาตร
5.0, 8.0, 10.0 และ 12.0 mL ลงใน volumetric flask แต่ละใบตามลาดับ
2.2 เติมสารละลาย buffer pH 5 จานวน 5 mL ปรับปริมาตรเป็ น 50.0 mL ตัง้ ทิ้งไว้ 10 นาที แล้วจึง
วัดค่า abs. ที่ 510 nm
2.3 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Abs. กับความเข้มข้นของ 1,10-o-phenanthroline โดยให้
Abs. เป็ นแกนตัง้ (แกน y) และความเข้มข้นของ 1,10-o-phenanthroline เป็ นแกนนอน (แกน y)

Page 95 of 124
2.4 จากกราฟทีไ่ ด้ควรใช้ปริมาณ 1,10-o-phenanthroline เท่าใดในการทดลอง ให้ใช้ความเข้มข้นของ
1,10-o-phenanthroline ที่เหมาะสมจากการทดลองนี้ ไปใช้สร้างกราฟมาตรฐานและการหาปริม าณ Fe ใน
ตัวอย่างต่อไป

่ 2 การเตรียมสารละลายทีค่ วามเข้มข้นของ o-phen ต่าง ๆเพือ่ ศึกษาอิทธิพลทีม่ ตี ่อค่าการดูดกลืนแสง


ของสารเชิงซ้อน
ปริม าตรสารละลาย ขวด volumetric flask ขนาด 50 mL
(mL) ขวดที่ 1 ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 4

5 x 10-4 M Fe2+ 5.00 5.00 5.00 5.00

10% hydroxylamine 2.0 2.0 2.0 2.0

10-3 M o-phen 5.0 8.0 10.0 12.0

Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0

เติมน้ากลันลงไปในแต่
่ ละขวดจนถึงขีดกาหนดปริมาตร 50.00 mL ปิ ดจุก แล้วผสม
สารละลายในแต่ละขวดให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

ตัง้ สารละลายไว้ 10 นาที → วัดค่าการดูดกลืนแสงทีค่ วามยาวคลื่น 510 nm

*ใช้น้ากลันเป็
่ น blank

่3 ้ ฟ ฐ (Calibration curve)

ต้องใช้ปริมาณทีเ่ หมาะสมของ 1,10-o-phenanthroline (ที่ได้จากการทดลองที่ 2) มาใช้ในการสร้าง


กราฟมาตรฐาน
3.1 ทาการปิ เปตสารละลายมาตรฐาน 5x10-4 M Fe2+ มา 0.00, 1.00, 2.00, 3.00, 5.00 ลงใน
volumetric flask ขนาด 50 mL ใบที่ 1 – 5 ตามลาดับ
3.2 เติม hydroxylamine ลงไป 2.0 mL
3.3 เติมสารละลาย 1,10-o-phenanthroline ปริมาณทีเ่ หมาะสมจากการทดลองที่ 2
3.4 ปรับ pH ด้วยสารละลายบัฟเฟอร์ pH 5 ปริมาตร 5 mL ลงไป
3.5 ทาการปรับปริมาตรให้เป็ น 50.00 mL ด้วยน้ ากลัน่ ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้วนาไปวัดค่า Abs.
โดยใช้สารละลายในขวดที่ 1 ของการทดลองนี้เป็ น reference

Page 96 of 124
3.6 จากผลการทดลองที่ได้ นามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Abs กับความเข้มข้นของ
Fe2+
3.7 จากกราฟมาตรฐาน จงหาค่า molar absorptivity ของ Fe-o-phen complex

่4 Fe ใ ้
4.1 ปิ เปตตัวอย่างน้ามา ….. mL (ด้วยปริมาตรทีเ่ หมาะสม)
4.2 เติมสารละลาย Hydroxylamine 2 mL
4.3 เติมสารละลาย 1,10-o-phenanthroline ปริมาตรทีเ่ หมาะสมจากการทดลองที่ 2
4.4 ปรับ pH โดยการเติมบัฟเฟอร์ pH 5 ลงไปปริมาตร 5 mL
4.5 ปรับปริมาตรให้ครบ 50 mL ด้วยน้ากลัน่ ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาทีแล้วจึงนาไปวัดค่า Abs.
4.6 หาความเข้ม ข้น ของ Fe ในน้ า ตัว อย่ างในหน่ ว ย Molarity (M) และ ppm (mg Fe / L) โดยใช้
calibration curve ทีไ่ ด้จากการทดลองตอนที่ 3
่ 3 การเตรียมสารละลายสาหรับสร้างกราฟมาตรฐาน (calibration curve) และสารละลายตัวอย่าง
ขวด volumetric flask ขนาด 50 mL
ปริม าตรสารละลาย
(mL) ขวดที่ 1** ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 4 ขวดที่ 5 ขวดที่ 6
(reagent blank) (ตัวอย่าง)
5 x 10-4 M Fe2+ 0.00 1.00 2.00 3.00 5.00 -

น้าตัวอย่าง - - - - - ???

10%
2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0
hydroxylamine

10-3 M o-phen เลือกใช้ปริมาตรจากผลการทดลองตอนที่ 2

Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

เติมน้ากลันลงไปในแต่
่ ละขวดจนถึงขีดกาหนดปริมาตร 50.00 mL ปิ ดจุก แล้วผสม
สารละลายในแต่ละขวดให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

ตัง้ สารละลายไว้ 10 นาที → วัดค่าการดูดกลืนแสงทีค่ วามยาวคลื่น 510 nm

** ให้ใช้สารละลายในขวดที่ 1 เป็ น reagent blank

Page 97 of 124
คำแนะนำ: การปิ เปตปริมาตรน้าตัวอย่างมาให้เหมาะสมนัน้ ต้องมีค่าการดูดกลืนแสงทีเ่ กิดขึน้ อยูใ่ นช่วงของ
กราฟมาตรฐานที่เป็ นเส้นตรง คือ ต้องมีค่าการดูดกลืนแสงอยู่ระหว่างค่าการดูดกลืนแสงของสารมาตรฐาน
ความเข้ม ข้น ต่ า สุด และค่าการดูดกลืน แสงของสารมาตรฐานความเข้มข้น สูงสุด ของกราฟมาตรฐาน หรือ
พิจารณาง่าย ๆ ว่า สีของสารละลายตัวอย่างทีเ่ ตรียมขึน้ นัน้ จะต้องมีความเข้มสีอยู่ในช่วงความเข้มสีของขวด
สารละลายมาตรฐาน

หากน้ าตัวอย่างทีท่ าการศึกษานี้เป็ นน้ าตัวอย่างทีม่ คี วามขุน่ และมีส ี นักศึกษาคิดว่าจะนามาวิเคราะห์


ปริมาณเหล็กด้วยวิธี colorimetry ได้หรือไม่ และหากตอบว่าไม่ได้ นักศึกษาจะมีวธิ กี ารแก้ไขเพื่อหลีกเลีย่ งผล
ของความขุน่ และสีของตัวอย่างได้อย่างไร


D.C. Harris, Quantitative Chemical Analysis, 5th Edition, 1999.

Page 98 of 124
ผ ด ่8
่ ็ ด้ 1,10-Phenanthroline ด ฟ

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์
ทาการทดลองร่วมกับกลุ่มที่

่1 ด พ่ ด พ pH ่ ดด (Abs.)

ค่าการดูดกลืนแสง ทีค่ วามยาวคลื่น ......... นาโนเมตร (n = 3)


pH
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ค่าเฉลีย่ SD

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง pH และค่าการดูดกลืนแสง

pH ทีเ่ หมาะสม คือ ...................เนื่องจาก......................................................................................................


.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

Page 99 of 124
่2 ด พ่ ด พ ้ ้ o-phen ่ ดด

ความเข้มข้น ค่าการดูดกลืนแสง ทีค่ วามยาวคลื่น ......... นาโนเมตร (n = 3)


ของ o-phen, M ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ค่าเฉลีย่ SD

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารละลาย 1,10-o-phenanthroline และค่าการดูดกลืนแสง

Absorbance

Concentration of Fe(II) (x10^4)

ปริมาณทีเ่ หมาะสมของสารละลาย 1,10-o-phenanthroline คือ ................................................................ mL


เนื่องจาก.......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

Page 100 of 124


่3 ้ ฟ ฐ (Calibration curve) Fe ใ ้

ค่าการดูดกลืนแสง (A) ที่ 510 nm


ความเข้มข้นของ Fe, M
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 เฉลีย่ SD

…………………………… …………… …………… …………… ……………


…………………………… …………… …………… …………… ……………
…………………………… …………… …………… …………… ……………
…………………………… …………… …………… …………… ……………
…………………………… …………… …………… …………… ……………
…………………………… …………… …………… …………… ……………

สารละลายตัวอย่าง …………… …………… …………… ……………


(ปริมาตรสารละลายตัวอย่างที่
ปิ เปตมา = ………………mL)

ฟ ฐ

ค่า Molar absorptivity ของ Fe-o-phen complex คือ ....................................................................................

ความเข้มข้นของ Fe ในน้าตัวอย่าง หมายเลข ....................... คือ.......................M หรือ....................... ppm

Page 101 of 124


ภ ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 103 of 124


ด ่9

่ Stoichiometry ซ้ ด
Spectrophotometry

เทคนิ ค Spectrophotometry ใช้ ห าความสัม พั น ธ์ ใ นเชิ ง ปริม าณระหว่ า งองค์ ป ระกอบของสาร


(stoichiometry) และหา formation constant (Kf) ของสารเชิงซ้อน (complex ions) ในสารละลายได้ เนื่องจาก
เราสามารถวัด ปริม าณการดู ด กลืน รังสีได้ โ ดยไม่ ร บกวนสมดุ ล โดยปฏิบ ัติก ารนี้ จ ะประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคนิ ค
spectrophotometry สาหรับการหา stoichiometry ของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง Fe2+ และ o-phen เป็ น
ตัวแทนในการศึกษา
วิธที ใ่ี ช้กนั มากทีส่ ดุ ในการศึกษา stoichiometry ของสารเชิงซ้อน (complex ions) มี 3 วิธี คือ
1. Continuous variations method
2. Mole-ratio method
3. Slope-ratio method

Continuous variations method

๏ ผสมสารละลาย cation (M) และ ligand (L) ทีม่ คี วามเข้มข้นเท่ากัน โดยให้ปริมาตรรวมของสารผสม


คงที่ แต่อตั ราส่วนโดยปริมาตรของ สารละลาย M และ L ต่างๆ กัน
๏ วัด absorbance (A) ของแต่ละสารละลายทีค่ วามยาวคลื่นทีเ่ หมาะสม
๏ สร้างกราฟระหว่าง A กับเศษส่วนปริมาตรของ M หรือ L (VM / VM + VL หรือ VL / VM + VL)
๏ จุดสูงสุด (หรือจุดต่าสุด ถ้าสารเชิงซ้อนดูดกลืนน้อยกว่าตัวทาปฏิกริ ยิ า) เกิดขึน้ ที่ VM/VL เท่ากับ
อัตราส่วนของ cation และ ligand ในสารเชิงซ้อน

Page 104 of 124


VM /(VM+ VL) = 0.33

VL /(VM+ VL) = 0.66

VM/VL= 0.33/ 0.66 = 1/2

สูตรของสารเชิงซ้อนคือ ML2

รูปที่ 9.1 แสดง Continuous-variation plot สาหรับสารเชิงซ้อนทีม่ อี ตั ราส่วนของโลหะต่อลิแกนด์เป็ น 1:1


และ 1:2 (ML และ ML2).

Mole-Ratio method
❑ เตรียมสารละลายผสมโดยให้ความเข้มข้นของ metal ion คงที่ และความเข้มข้นของ ligand
ต่างๆ กัน
❑ วัด absorbance ของแต่ละสารละลายทีค่ วามยาวคลื่นทีเ่ หมาะสม
❑ สร้างกราฟระหว่าง A กับอัตราส่วนโดยโมลของ M และ L จะได้เส้นตรง 2 เส้นที่ม ี slope
ต่างกัน เมือ่ ต่อเส้นตรงทัง้ สองจะตัดกันทีอ่ ตั ราส่วนโดยโมลของสารเชิงซ้อน

รูปที่ 9.2 แสดง Mole-ratio plots ของสารเชิงซ้อนทีม่ อี ตั ราส่วนโดยโมล 1:1 และ 1:2

Page 105 of 124


Slop-ratio Method
วิธนี ้ีมปี ระโยชน์สาหรับ weak complexes แต่สามารถใช้ได้เฉพาะระบบทีเ่ กิดสารเชิงซ้อนเพียงชนิด
เดียวโดยสมมุตวิ ่า
(1) สามารถทาให้ปฏิกริ ยิ าการเกิดสารเชิงซ้อนสมบูรณ์โดยใช้ตวั ทาปฎิกริ ยิ าชนิดใดชนิดหนึ่งมาก
เกินพอ
(2) สารเชิงซ้อนดูดกลืนรังสี
(3) เป็ นไปตาม Beer’s law

พิจารณาปฏิกริ ยิ าซึง่ เกิดสารเชิงซ้อน MxLy จากปฏิกริ ยิ าของ ไอออนของโลหะ M x โมล กับลิแกนด์ L y โมล
xM+yL MxLy
mass-balance expression ของระบบนี้คอื
molar concentration of cation M = CM = [M] + x [MxLy] (1)
molar concentration of ligand L = CL = [L] + y [MxLy] (2)

เมือ่ analytical concentration ของ L สูงมำก สมดุลจะเลื่อนไปทางขวามาก ทาให้ [M] << x [MxLy]
ดังนัน้
จาก (1) CM = x [MxLy]
ถ้าระบบเป็ นไปตาม Beer’s law
A1 = b [MxLy] = b CM/x
= molar absorptivity ของ MxLy
b = path length
ดังนัน้ เมือ่ ความเข้มข้นของ L สูง ถ้า plot absorbance กับ CM จะได้เส้นตรง
slope = b /x
เมือ่ analytical concentration ของ M สูงมำก สมดุลจะเลื่อนไปทางขวามาก สมมุตวิ า่ [L] << y [MxLy]
จาก (2) CL = y [MxLy]

Page 106 of 124


จาก Beer’s law A2 = b [MxLy] = b CL/y
ดังนัน้ ถ้าความเข้มข้นของ M สูง เมือ่ plot absorbance กับ CL จะได้เส้นตรง
slope = b /y
อัตราส่วนของ slope ของเส้นตรงทัง้ สองจะแสดงอัตราส่วนในการรวมตัวของ M และ L
slope ratio = ( b /x) / ( b /y) = y/x

ดังนัน้ การทดลองเพือ่ หา Stoichiometry ด้วยวิธี slop-method ทาได้โดย


1. เตรียมสารละลาย 2 ชุด คือ M และ L ทีค่ วามเข้มข้นต่างๆ
2. แต่ละชุดเติมสารทีท่ าปฏิกริ ยิ าให้มากเกินพอ
3. ปรับปริมาตรให้เท่ากันในขวดวัดปริมาตร
4. วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ max

5. หาความชันของแต่ละ set ดังนัน้ จึงหาค่า y/x ได้

ถ ด
1. เพือ่ ศึกษาวิธกี ารหา Stochiometry แบบต่างๆ
2. เพือ่ หา Stoichiometry ของสารประกอบเชิงซ้อน Iron-Phenanthroline

่ (Apparatus)
เครือ่ ง Colorimeter และ Absorption cell

(Regents and Solution)


สารละลาย Fe(NH4)2(SO4)2.6H2O ความเข้มข้น 7.00x10-4 M (110 ml)
สารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้มข้น 7.00x10-4 M (140 ml)
สารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้มข้น 2.10x10-3 M (50 ml)
สารละลาย CH3COOH/CH3COONa buffer, pH 5.0, total acetate 0.10 M (155 ml)
สารละลาย Hydroxylamine hydrochloride ความเข้มข้น 0.7 M (31 ml)

Page 107 of 124


่ 1: Continuous variations method

1. ปิ เปตสารละลาย Fe(II) ปริม าตร 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 ml ของ ลงใน volumetric


flasks ขนาด 25 ml แยกกัน, เติม acetate buffer 5 ml และสารละลาย hydroxylamine hydrochloride 1 ml
ลงในแต่ ล ะ flaskในแต่ ล ะ flask เรีย งตามล าดับ ให้ ปิ เปตสารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้ม ข้น
7.00x10-4 M ปริมาตร 10, 9, 8, 7, 6, 5, 4, 3, 2, 1,และ 0 ml ตามลาดับ

2. ปรับปริมาตรให้ครบ 25 mL ด้วยน้ากลันและเขย่
่ าให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

3. ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายแต่ละ flask ทีค่ วามยาวคลืน่ 510 nm


โดยใช้น้ากลันเป็
่ น Blank

4. สร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง (แกน Y) กับ Mole fraction ของ Fe(II) (แกน


X) โดยลากเส้นตรงเชือ่ มจุดเพือ่ หาจุดตัด แล้วรายงานค่า stoichiometry

่ 1 การเตรียมสารละลายสาหรับหา stoichiometry ด้วย continuous variation method

ปริมาตรสารละลาย Volumetric flask ขนาด 25 mL


(mL)
ขวดที1่ ขวดที2่ ขวดที3่ ขวดที4่ ขวดที5่ ขวดที6่ ขวดที7่ ขวดที8่ ขวดที9่ ขวดที1่ 0 ขวดที1่ 1

7 x 10-4 M Fe2+ 0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00

Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

10%hydroxylamine 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0

7 x 10-4 M o-phen 10.00 9.00 8.00 7.00 6.00 5.00 4.00 3.00 2.00 1.00 0.00

ปรับปริมาตรด้วยน้ากลันจนถึ
่ งขีดกาหนดปริมาตร ปิ ดจุก เพือ่ ผสมให้สารละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน แล้วตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าการ
ดูดกลืนแสงทีค่ วามยาวคลืน่ 510 nm

** ใช้น้ากลันเป็
่ น blank

Page 108 of 124


่ 2: Mole-Ratio Method

1. ปิ เปตสารละลายมาตรฐาน Fe(II) ปริม าตร 2 ml ใส่ ใ น volumetric flask ขนาด 25 ml


จ านวน 10 ใบ เติม acetate buffer 5 ml ตามด้ว ย 1 ml ของ สารละลาย hydroxylamine hydrochloride,
เขย่าเบาๆ ให้เข้ากัน

2. ปิ เปตสารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้มข้น 7.00x10-4 M ปริมาตร 1, 2, 3, 4, 5,


6, 8, 10, 12 และ 15 ml ใส่ลงใน flask แต่ละใบ ตามลาดับ

3. ปรับปริมาตรให้ครบ 25 mL ด้วยน้ากลันและเขย่
่ าให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

4. ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายแต่ละ flask ทีค่ วามยาวคลื่น 510


nm โดยใช้น้ากลันเป็
่ น Blank

5. สร้างกราฟความสัม พัน ธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง (แกน Y) กับ อัตราส่วนจานวน mole


ของ phenanthroline ต่ อ mole ของ Fe(II) แล้ ว ลากเส้ น ตรงเชื่ อ มจุ ด เพื่ อ หาจุ ด ตั ด และรายงานค่ า
stoichiometry

่ 2 การเตรียมสารละลายสาหรับหา stoichiometry ด้วย Mole-Ratio method

ปริมาตรสารละลาย Volumetric flask ขนาด 25 mL


(mL)
ขวดที1่ ขวดที2่ ขวดที3่ ขวดที4่ ขวดที5่ ขวดที6่ ขวดที7่ ขวดที8่ ขวดที9่ ขวดที1่ 0

7 x 10-4 M Fe2+ 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00

Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

10%hydroxylamine 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0

7 x 10-4 M o-phen 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 8.00 10.00 12.00 15.00

ปรับปริมาตรด้วยน้ากลันจนถึ
่ งขีดกาหนดปริมาตร ปิ ดจุก เพือ่ ผสมให้สารละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน แล้วตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที
แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงทีค่ วามยาวคลืน่ 510 nm

** ใช้น้ากลันเป็
่ น blank

Page 109 of 124


่ 3: Slope-Ratio Method

1. ปิ เปตสารละลาย Fe(II) ปริม าตร 5 ml ลงใน volumetric flask ขนาด 25 ml จานวน 5 ใบ


เติม acetate buffer 5 ml ตามด้วย สารละลาย hydroxylamine hydrochloride 1 ml เขย่าให้สารละลายเป็ น
เนื้อเดียวกัน

2. ปิ เปตสารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้มข้น 7.00x10-4 M ปริมาตร 1, 2, 3, 4, และ


5 ml ใส่ในแต่ละ flask ตามลาดับ

3. ปรับปริมาตรให้ครบ 25 mL ด้วยน้ากลันและเขย่
่ าให้เป็ นเนื้อเดียวกัน

4. ตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายแต่ละ flask ทีค่ วามยาวคลื่น 510


nm โดยใช้น้ ากลันเป็
่ น Blank แล้วสร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่ างค่าการดูดกลืน แสง (แกน Y) กับ ความ
เข้มข้นของ Fe(II) (แกน x)

5. ทาซ้าข้อ 1 ถึง 4 โดยเปลี่ยนมาใช้สารละลาย 1,10-phenanthroline ความเข้มข้น 2.10x10-3


M ปริมาตร 10 ml และสารละลาย Fe(II) ปริมาตร 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 ml เพือ่ สร้างกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง (แกน Y) กับความเข้มข้นของ phenanthroline (แกน x)

6. จาก slope ของทัง้ 2 graph จะสามารถคานวณหา stoichiometry ได้

่ 3 การเตรียมสารละลายสาหรับหา stoichiometry ด้วย Slope-Ratio method

สารละลายชุดที่ 1 เตรียมให้มคี วามเข้มข้นโลหะสูง สารละลายชุดที่ 2 เตรียมให้มคี วามเข้มข้นลิแกนด์สงู


ป ริ ม า ต ร Volumetric flask ขนาด 25 mL ป ริ ม า ต ร Volumetric flask ขนาด 25 mL
สารละลาย (mL) สารละลาย (mL)
ขวดที1่ ขวดที2่ ขวดที3่ ขวดที4่ ขวดที5่ ขวดที1่ ขวดที2่ ขวดที3่ ขวดที4่ ขวดที5่

7 x 10-4 M Fe2+ 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 7 x 10-4 M Fe2+ 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50

Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0 Buffer pH 5 5.0 5.0 5.0 5.0 5.0

hydroxylamine 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 hydroxylamine 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
7 x 10-4 M 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 2.1 x 10-3 M 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00
o-phen o-phen

ปรับปริมาตรด้วยน้ากลันจนถึ ่ งขีด ปิ ดจุก เพื่อผสมให้สารละลายเป็ นเนื้อ ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลันจนถึ


่ งขีดกาหนดปริมาตร ปิ ดจุก เพื่อผสมให้
เดีย วกัน แล้วตัง้ ทิ้งไว้ 10 นาที แล้ว วัดค่ าการดูดกลืน แสงที่ค วามยาว สารละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน แล้วตัง้ ทิง้ ไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืน
คลืน่ 510 nm แสงทีค่ วามยาวคลืน่ 510 nm

Page 110 of 124


ผ ด ่9
่ Stoichiometry ซ้ ด spectrophotometry

ผูท้ าการทดลอง ______ เลขทะเบียน ______


ผูร้ ว่ มทาการทดลอง______________________________________เลขทะเบียน ______
วันทีท่ าการทดลอง ___กลุ่มที่ สารตัวอย่างเบอร์
ทาการทดลองร่วมกับกลุ่มที่

นักศึกษาต้องแสดงข้อมูลจากการทดลอง และสร้างกราฟเพื่อหาค่า Stoichiometry ทัง้ 3 วิธี รวมทัง้


แสดงวิธคี านวณค่า Mole fraction of Fe(II), Molephe: MoleFe(II), ความเข้มข้น [Fe(II)] และ [phenanthroline]
ของวิธที ่ี 1 - 3 ด้วย

Methods Mole fraction of Fe(II) Absorbance at 510 nm


1. Continuous variations method
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. ………………………………….
………………………………….. …………………………………..
.

Page 111 of 124


Methods Mole phe: Mole Fe(II) Absorbance at 510 nm
2. Mole-Ratio method
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..

Methods Concentration Absorbance at 510 nm


3. Slope-Ratio method [Fe(II)] [Fe(II)]

………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
[Phenanthroline] [Phenanthroline]

………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..
………………………………….. …………………………………..

Page 112 of 124


วิจารณ์ผลการทดลองทีไ่ ด้ว่า Stoichiometry ของ complex ทีไ่ ด้จากทัง้ 3 วิธี เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
รวมทัง้ เปรียบเทียบกับหนังสืออ้างอิงด้วย
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

ผ ด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

Page 113 of 124


ด ่ 10

ใ ้ Microsoft Excel ้ ใ ด้

้พ้ ฐ ่ (Microsoft Excel)

Microsoft Excel เป็ นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคานวณอิเล็กทรอนิกส์ท่ี


ใช้เก็บ บันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มกั เก็บข้อมูลประเภทการคานวณ โดยจะเก็บข้อมูลลงใน
ตารางสี่เหลี่ย มที่เรีย กว่า เซล (Cell) ที่สามารถน าเอาเซลมาอ้างอิงใส่ในสูตร เพื่อให้โปรแกรมคานวณหา
ผลลัพธ์จากข้อมูลทีบ่ นั ทึกไว้ได้

ฟ ้ ้

ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
Operator ใ ้
+ บวก 4+7
- ลบ 15-3 หรือ -6
* คูณ 8*3.5
/ หาร 9/4
% เปอร์เซ็นต์ 3%(มีคา่ เท่ากับ 0.03)
^ ยกกาลัง 2^3(หมายถึง 2 ยกกาลัง3)

้ วิธที ง่ี า่ ยทีส่ ุดในการสร้างสูตรก็คอื พิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็ นชือ่ เซล


ตัวเลข หรือเครือ่ งคานวณต่างๆ ดังรูปตัวอย่างข้างล่างนี้

Page 114 of 124


ฟ ่ Microsoft Excel ช่วยสร้างฟั งก์ชนขึ
ั ่ น้ มาช่วยในการคานวณ กรณีทท่ี าการ
คานวณยากๆ การเขียนสูตรในแถบสูตรจะยาวมาก ซึง่ เป็ นการไม่สะดวกเสียเวลา ดังนัน ฟั งก์ชนั ่ จึงมีหน้าที่
คล้ายกับแถบสูตร ทีส่ ามารถในการทาการคานวณยากๆ ให้มคี วามสะดวกรวดเร็วขึน้ ตัวอย่างการเรียกใช้งาน
ฟั งก์ชนแสดงดั
ั่ งรูปข้างล่าง

ผ (SUM)
1. เลือกเซลทีต่ อ้ งการให้เมือ่ ทาการคานวณเสร็จแล้วผลลัพธ์แสดงในเซลนัน้ ๆ ในรูปคือเซล E2

2. ที่ Tab Home คลิกปุ่ม (อยูบ่ นแถบ Toolbar) หรือกด Shift+ F3 จะปรากฏหน้าต่าง
Insert Function ดังรูปข้างล่างนี้ จากนัน้ คลิกเลือกประเภทของฟั งก์ชนจากเมนู
ั่ ของช่อง
select a category เช่น ในทีน่ ้ีตอ้ งการหาผลรวมจึงเลือก SUM

3. เมือ่ เลือกฟั งก์ชนการค


ั่ านวณทีต่ อ้ งการแล้ว กดตกลงจะปรากฏหน้าต่างการทางาน Function
Arguments เพือ่ กาหนดช่วงข้อมูลในตาแหน่งเซลทีต่ อ้ งการคานวณ ให้ใส่ชว่ งของการ
คานวณให้ถกู ต้อง
- ถ้าเซลข้อมูลเรียงกันก็ใส่ (ตาแหน่งแรก:ตาแหน่งสุดท้าย) เช่น B2:D2
- ถ้าเซลข้อมูลไม่เรียงกันก็ให้คนด้
ั ่ วย comma (,) เช่น B2,D2 ก็คอื เซล C2 จะไม่ถกู
นามาคานวณ

Page 115 of 124


สาหรับฟั งก์ชนอื
ั ่ น่ ๆ ก็ทาเช่นเดียวกันกับการหาผลรวม ตัวอย่างฟั งก์ชนที
ั ่ ใ่ ช้บ่อยสรุปไว้ดงั ตาราง
ข้างล่างนี้
่ ฟ ่ ไ ใ ้

SUM หาผลรวมของข้อมูล
AVERAGE หาค่าเฉลีย่
STDEV หาค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD)
VAR หาค่าความแปรปรวน
MIN หาค่าต่าสุดของข้อมูล
MAX หาค่าสูงสุดของข้อมูล
MEDIAN หาค่ากลาง

ใช้ปัดเศษเลขทศนิยม
ROUND
โดยถ้าน้อยกว่า 0.5 ให้ปัดลงนอกนัน้ ให้ปัดขึน้
FLOOR ใช้ปัดเศษเลขทศนิยมทิง้

ทีก่ ล่าวมาข้างตัน้ นัน้ เป็ นการใช้งานสาหรับการคานวณเบื้องต้น นอกจากนัน้ แล้ว Excel ยังสามารถ


ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ เช่น F-test และ t-test เป็ นต้น ซึง่ ในทีน่ ้ีจะกล่าวถึงวิธกี ารคานวณของแต่ละ
การทดสอบอย่างคร่าวๆ ดังนี้

1) ด F-test
เป็ นการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบความแปรปรวนของข้อมูล 2 ชุด ทีไ่ ด้จากสภาวะการทดลองต่างกัน
เช่น วิธที ดสอบ ผูท้ ดสอบ หรือเครื่องมือ เป็ นต้น การทดสอบนี้เพื่อใช้บอกถึงความเที่ยงของข้อมูล 2 ชุดว่า
จากการใช้สองวิธใี นการวิเคราะห์ มีค่าการกระจาย หรือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
หรือไม่
วิธที ดสอบ

Page 116 of 124


1. คานวณค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation, SD) ของข้อมูลแต่ละชุดเสียก่อน
2. คานวณค่า F โดยใช้ค่า variance (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกาลังสอง) ของชุดข้อมูลทีม่ ี
ค่า variance มากกว่าหารด้วยค่า variance ทีน่ ้อยกว่า ค่า F จึงมีคา่ มากกว่าหรือเท่ากับ 1 เสมอ
3. เปรียบเทีย บกับ ค่า F ในตารางที่ degree of freedoms ของตัวเศษ (อยู่ในคอลัม น์ ของ
ตาราง) และของตัวส่วน (อยูใ่ นแถวของตาราง) ตามชุดข้อมูลนัน้ ๆ (ตารางค่า F-critical สามารถดูได้
จากหนังสือสถิติ หรือที่ http://www.geocities.ws/chalong_sri/f_table.htm)

degree of freedom; d.f. (ปกติมกั แทนด้วยสัญลักษณ์ ) = จานวนครัง้ ในการทดลองหรือจานวนข้อมูล – 1

4. นา F จากการคานวณไปเทียบกับ F-critical จากตาราง หากค่าทีค่ านวณมากกว่าค่าจาก


ตาราง แสดงว่าข้อมูล 2 ชุดมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ

2) ด t-test
เป็ นการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูล เช่น ค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้จากการวัดตัวอย่าง (จากการ
ทดลอง)กับค่าจริงหรือค่าทีย่ อมรับได้ หรือค่า เฉลี่ยของข้อมูล 2 ชุดทีไ่ ด้จากการวัดด้วยสภาวะทีต่ ่างกัน การ
ทดสอบนี้ใช้ในการทดสอบความถูกต้องของวิธี การคานวณค่า t มี 2 กรณีดว้ ยกัน คือ
1. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ จากการทดลองกับค่าจริง (Student’s t-test)

2. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ จากการทดลองสองชุด (Paired t-test)

ทัง้ 2 กรณีจะมีวธิ คี านวณค่า t ทีแ่ ตกต่างกัน ซึ่งเมื่อได้ค่า t แล้วจึงเปรียบเทียบกับค่า t ในตารางที่


d.f. และ confident level (CL) ที่ต้ อ งการ อย่ า งไรก็ต ามการทดสอบค่ า t นี้ มัก ใช้ confidence level 95%
เพราะถ้าใช้ท่ี 80%CL จะเกิดความผิดพลาดทีส่ รุปว่ า 2 วิธมี คี วามแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญได้มากเพราะ
ช่วงของข้อมูลแคบไป และถ้าใช้มากกว่า 99% โอกาสทีจ่ ะแตกต่างกันจะน้อยเพราะค่าอยู่ในช่วงกว้าง ถ้าค่า t
ที่คานวณได้ม ีค่าน้ อยกว่ าค่าในตารางมากๆ ก็มนใจได้ ั่ ว่ าสองวิธีน้ี ไม่แ ตกต่างกัน โดยปกติแ ล้วถ้าค่า t ที่
คานวณได้มคี า่ ใกล้เคียงกับค่า t ในตารางจะต้องทาการทดลองเพิม่ แล้วคานวณค่า t ใหม่โดยใช้จานวนข้อมูลที่
มากขึน้ ก็จะทาให้การสรุปมีความมันใจมากขึ
่ น้
สาหรับรายละเอียดเกีย่ วกับการคานวณค่า t ของแต่ละกรณีนนั ้ สามารถศึกษาเพิม่ เติมในวิชาบรรยาย
ในทีน่ ้ีจะกล่าวถึงการใช้ Microsoft Excel มาช่วยในการวิเคราะห์ทางสถิติ

Page 117 of 124


ใ ้ Microsoft Excel ใ ถ
ก่อนเริม่ ต้น จะต้องทาการติด ตัง้ Data Analysis Tool ก่อน ซึ่งถือเป็ น Function ทางการวิเคราะห์
ข้อมูลทีซ่ บั ซ้อนโดยเฉพาะของโปรแกรม Microsoft Excel โดยปกติเมื่อเราทาการติดตัง้ โปรแกรม Microsoft
Excel ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ Data Analysis Tools นี้จะไม่ถูกติดตัง้ ด้วย เราจึงต้องติดตัง้ เอง ดังขัน้ ตอน
ต่อไปนี้
1. เมื่อเปิ ด Microsoft Excel ขึน้ มา ให้คลิกที่ป่ ุม Office button จะปรากฏหน้ าต่างดังรูป ให้
คลิกเลือก Excel Options

2. หลังจากเลือก Excel Options แล้วจะปรากฏหน้าต่างใหม่ ดังรูปข้างล่างนี้ ให้คลิกที่ Tab Add-Ins


แล้วเลือก Analysis ToolPak จากนัน้ ที่ Manage: Excel Add-Ins คลิก Go

3. จะปรากฏหน้าต่างใหม่ดงั รูปข้างล่าง ให้เลือก ✓ ที่ Analysis ToolPak แล้วคลิก OK

Page 118 of 124


4. จากนัน้ ให้สงั เกตที่ Ribbon ที่ Tab Data จะปรากฎ Data Analysis ดังรูป

5. เมื่อคลิกที่ Data Analysis ก็จะปรากฏหน้ าต่างวิธที ดสอบทางสถิติ (Analysis Tools) ให้เลือกใช้


ตามต้องการ ดังรูป

ใ ้ Data Analysis Tools ด Pair t-test

ตัวอย่าง การวิเคราะห์หาปริมาณฟอสเฟตในตัวอย่างน้ า 6 แหล่ง โดยใช้วธิ วี เิ คราะห์ 2 วิธที แ่ี ตกต่างกัน คือ วิธี
ทีป่ รับปรุงขึน้ และวิธมี าตรฐาน ได้ผลการวิเคราะห์ดงั นี้
ปริมาณฟอสเฟต (mg/L)
ตัวอย่าง
วิธที ป่ี รับปรุง วิธมี าตรฐาน
1 9.5 8.9
2 12.3 12.8
3 11.3 11.7

Page 119 of 124


4 10.8 10.2
5 11.2 11.0
6 15.9 15.1

ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ดว้ ย Microsoft Excel เป็ นดังนี้


1. เข้า Tools>Data Analysis แล้วเลือก Tools ที่จะใช้ดงั รูป (ในที่น้ีคอื t-test: Paired Two Sample
for Means) แล้วกด OK

2. จะปรากฏหน้าต่าง ขึน้ มาดังรูปต่อไปนี้

ในส่วนของ Input
- Variable 1 Range: ให้เลือกช่วงของข้อมูลชุดที่ 1 สาหรับวิธที ป่ี รับปรุง
- Variable 2 Range: ให้เลือกช่วงของข้อมูลชุดที่ 2 สาหรับวิธมี าตรฐาน
- กาหนดค่าเฉลีย่ ของความแตกต่างทีต่ อ้ งการทดสอบ ในทีน่ ้ี µd = 0 จึง
กาหนดให้ Hypothesized Mean Difference : 0
- คลิก ✓ หน้า Labels เพราะมีการรวมชือ่ ตัวแปรไว้ในช่วงของข้อมูล
- Alpha : 0.05 หมายถึงระดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ต่ี อ้ งการ
ในส่วนของ Output options
- ให้เลือก New Worksheet Ply: เมือ่ โปรแกรมคานวณเสร็จจะนาผลทีไ่ ด้ไปไว้ใน Worksheet ใหม่
Page 120 of 124
หรือเลือก Output Range และใส่ชว่ งทีจ่ ะบันทึกผลลัพธ์ทจ่ี ะเกิดขึน้

3. กด OK จะได้ผลการวิเคราะห์ ตาราง t-Test : Paired Two-Sample for Means ดังรูป

พิ จ ารณ า ค่ า P-value โดย P(T<=t)


two-tail = 0.38117 มี ค่ า น้ อ ยกว่ า ค่ า t Critical two-tail = 2.57058 ดั ง นั ้น จึ ง สรุ ป ว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของผลการ
วิเคราะห์ทงั ้ 2 วิธี ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ

นอกจากจะใช้ในการคานวณแล้ว Microsoft Excel ยังมีประโยชน์ในการเขียนกราฟชนิดต่างๆ ในทาง


วิทยาศาสตร์กราฟชนิด XY (Scatter) มักจะถูกใช้บ่อย เนื่องจากใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรใดๆ
เช่น ระหว่างความเข้มข้นกับค่าการดูดกลืนแสง

้ ้ ฟ
1. เลือกเซลข้อมูลทีต่ ้องการสร้างกราฟ ในตัวอย่างจะสร้างกราฟระหว่างความเข้มข้นของ Al กับค่า
การดูดกลืนแสง

Page 121 of 124


2. คลิก Tab Insert เลือกประเภทของกราฟจากหัวข้อ Chart จากตัวอย่างเลือกแบบ Scatter

3. จะได้หน้าต่างของกราฟออกมาดังรูป ซึง่ สามารถใส่รายละเอียดเพิม่ เติมโดยคลิกทีก่ ราฟแล้วเลือก


Tab Layout ทีอ่ ยูบ่ น Ribbon

▪ Chart Titles ตัวเลือกเพื่อเพิ่มชื่อแผนภูม ิ ชื่อแกนตามแนวนอน และชื่อแกนตาม


แนวตัง้
▪ Axes Titles ตัวเลือกเกีย่ วกับการปรับแต่งกราฟ
▪ Legend ตัวเลือกว่าต้องการแสดงคาอธิบายแผนภูมหิ รือไม่และตรงตาแหน่งใด
▪ Data Labels ตัวเลือกว่าต้องการแสดงค่าของจุดข้อมูลแต่ละจุดอย่างไร
▪ Error Bars ตัวเลือกเพือ่ ให้กราฟมีการแสดง error bar หรือไม่

Page 122 of 124


4. เพิม่ เส้นแนวโน้ม เลือกตัวเลือกแสดงสมการเส้นตรงและ R2 บนกราฟ โดยใช้เม้าส์ช้ที จ่ี ุดแล้วคลิก
ขวา เลือก Add Trendline และ option ให้แสดงสมการและค่า R2

ด ใ ด ่ 10
(ใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ในการคานวณ)

1. ในการหาปริม าณคลอไรด์ด้วยวิธีวิเคราะห์โดยน้ าหนัก (Gravimetric Determination of Chloride)


เมือ่ ทาการทดลองจนได้ตะกอนอยูใ่ น crucible นาไปอบ และชังน่ ้าหนัก ได้ผลการทดลองดังตาราง ให้
หาน้ าหนักตะกอนทีไ่ ด้, ค่าเฉลีย่ (Mean) ของน้ าหนักตะกอนทีไ่ ด้, ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard
deviation) ของน้าหนักตะกอนทีไ่ ด้ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (RSD)

ด ่1 ด ่2 ด ่3
น้าหนัก crucible + ตะกอน 21.4296 23.4915 21.8323
น้าหนัก crucible 20.7926 22.8311 21.2483
น้าหนักตะกอนทีไ่ ด้ ………………….. ………………….. …………………..
Mean ของน้าหนักตะกอนทีไ่ ด้ ………………….. ………………….. …………………..
Standard deviation ของน้าหนัก
………………….. ………………….. …………………..
ตะกอนทีไ่ ด้
RSD, ppt ………………….. ………………….. …………………..

2. ในการพัฒ นาวิธีทางเคมีไฟฟ้ าเพื่อวิเคราะห์หาปริม าณตะกัวในตั ่ ว อย่างสารสกัด กรดอะซีติกของ


ภาชนะเคลื อ บเซรามิก 6 ตัว อย่ า ง เปรีย บเที ย บกับ วิธี flame atomic absorption spectrometry

Page 123 of 124


(FAAS) ได้ผลดังตาราง จากข้อมูลต่อไปนี้ให้พสิ จู น์ว่าค่าเฉลี่ยของข้อมูลทัง้ สองวิธนี ้ีมคี วามแตกต่าง
อย่างมีนยั สาคัญหรือไม่

่ พ่ บ (µg L-1)
ปริมาณตะกัวที
ตัวอย่างที่
วิธที างเคมีไฟฟ้ า วิธี FAAS
1 22.2 25.0
2 19.2 19.5
3 15.7 16.6
4 20.4 21.3
5 19.6 20.7
6 15.7 16.8
3. ในการทดลองหาปริมาณไนไตรท์ดว้ ยวิธี colorimetry ทาการเตรียมสารละลายมาตรฐานไนไตรท์
เข้มข้น 0.02, 0.04, 0.06, 0.08 และ 0.10 mg L-1 แล้วทาปฏิกริ ยิ ากับ reagent นาไปวัดค่าการ
ดูดกลืนแสงได้ผลดังตาราง

ค่าการดูดกลืนแสง (abs.)
ความเข้มข้นไนไตรท์ (n = 3)
(mg L-1) ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
(Mean) (SD)
0.02 0.15 0.03
0.04 0.35 0.02
0.06 0.52 0.02
0.08 0.67 0.03
0.10 0.82 0.04

ให้สร้างกราฟมาตรฐาน, สมการเส้นตรงและ R2 ของข้อมูลในตาราง

Page 124 of 124

You might also like