You are on page 1of 15

เรือ ่

่ งอถุง งถุเพาะชำ
เรื งเพาะชำ
ถุงเพาะชำReuse
ในชุมชนอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เกษตรกรทีป ่ ลูกพริกมีปัญหาเรือ ่ งการฉีก
ถุงเพาะชำยากเมือ ่ ต ้องการนำต ้นกล ้าลงดินเพราะถุงเพาะชำมีความเหนียว ทำให ้
ต ้นกล ้าเกิดความเสยี หาย รากขาด ดินหลุดออกจากรากทำให ้ต ้นกล ้าต ้องใชเวลา ้
นานในการฟื้ นตัว เเละถุงเพาะชำทีใ่ ชเเล ้ ้วเม่อนำไปใชเเล ้ ้วเมือ่ นำไปเผาทำลาย
จะสร ้างมลพิษต่อสงิ่ เเวดล ้อมทำให ้เกิดภาวะเรือนกระจกทำให ้โลกร ้อนขึน ้ เเละถ ้า

ปล่อยให ้ย่อยสลายตามธรรมชาติต ้องใชระยะเวลานาน จึงต ้องการสร ้างถุงเพาะชำ
ทีฉ ้
่ ีกง่าย สะดวกในการใชสะดวกในการใช ้
เเละสามารถนำกลั บมาใชซ ้ ้ำ เพือ่ ลด
การทำลายถุงเพาะชำ
   จากความต ้องการถุงเพาะชำทีฉ ่ ีกง่ายเเละสามารถนำกลับมาใชซ ้ ้ำ จึงได ้
รวบรวมข ้อมูลประเ๓ทถุงเพาะชำเเละอุปกรณ์ทฉ ี่ ีกเเละสามารถติดต่อกลับไปที่
เดิมได ้ ดงั นี้
ประเภทของถุงเพาะชำ
 ถุงเพาะชำทีใ่ ชมี้ การเเยกประเภทตามสมบัตข
ิ องเนือ้ พลาสสตกคือ
    1.ถุงเพาะชำทำจากพลาสติกประเภท HDPE (high density polethylene)
มีความเเข็งเเรง ทนต่อสารเคมีเเละตัวทำลาย เนือ ้
้ ไม่เงา มีอายุการใชงาน
3-6 เดือน เหนียวไม่เเตกง่าย
2.ถุงเพาะชำทำจากพาลสติก LDPE (low density polethylene) มีความ
เหนียว ยืดหยุน ่ ได ้ดี ทนต่อความกรอบเเตก มีความลืน ้
่ มัน มีอายุการใชงาน
มากกว่า 2 ปี  
อุปกรณ์ทใี่ ชฉี้ ก 
  
 ตีนตุก
๊ เเก
การออกเเบบถุงเพาะชำโดยใชตี้ นตุก
๊ เเก

ลงมือสร ้างถุงเพาะชำโดยเลือกถุงเพาะชำทีทำ
่ จากพลาสติกประเภท
LDPE โดนใชเครื ้ อ ่ งปิ ดผนึกด ้วยความร ้อน เพือ ่ หลอดละลายถุงเพาะชำ
กับเทปตียตุก ๊ เเก ผลปรากฎว่าวัสดุทงั ้ สองไม่สามารถหลอดละลายติดกัน
ได ้เนือ
้ งจากจุดหลอมเหลวของวัสดุทงั ้ สองชนิดเเตกต่างกัน
    ปรับปรุงเเก ้ไขโดยการใชเเข็ ้ มเเละด ้ายเย็บเทปตีนตุก ๊ เเกติดกับถุง
เพาะชำ เมือ ่ นำไปทดสอบการฉีกถุงเพาะชำ ผลการทดสอบพบว่าบริเวณ
รอยเย็บเทปตีนตุก ี เเกเเก ้ปั ญหาไม่สำเร็จ
    จากปั ยหาดังกล่าว จึงต ้องย ้อนกลับไปรวบรวมข ้อมูลใหม่โดยการ
ค ้นหาวัสดุทส ี่ ามารถฉีกเเเล ้วสามารถติดกลับไปเป็ นสภาพเดิมได ้มีสมบัต ิ
ของวัสดุทเี่ หมือนกันกับถุงเพาะชำ เพือ ่ ให ้เนือ
้ วัสดุประสานเข ้าด ้วยกัน
เเละมีความเเข็งเเรงในการนำไปใชงาน ้ จากการรวบรวมข ้อมูลพบว่า
อุปกรณ์ทใี่ ชฉี้ กเเละสามารถติดกลับเข ้าไปใหม่ได ้คือการใชซ ้ ป
ิ ล็อค
การออกเเบบถุงเพาะชำโดยใชตี้ นตุก
๊ เเก
การออกเเบบถุงเพาะชำเเบบถุงเพาะชำทีต
่ ด ิ ล็อค
ิ ซป
   จากนัน้ ออกเเบบถุงเพาะชำทีต่ ดิ ซปิ ล็อคเป็ น 2 เเนวทาง ได ้เเก่

รูปแบบ ข้ อดี ข้ อเสีย


1.ใช้ ซิปล็อกสองด้ าน 1.ใช้ งานได้ ง่าย สะดวก 1.ต้ องใช้ งบประมาณและอุปกรณ์มากกว่าและ
2.นำกลับมาใช้ ซ้ำได้ ต้ องนำไปใช้ งานให้ ได้ ประมาณ 5 ครัง้ จึงจะคุ้ม
ทน
2.ใช้ เวลาในการติดและฉีกซิปล็อกมากกว่า

2.ใช้ ซิปล็อกด้ านเดียว 1.ฉีกถุงได้ ง่าย สะดวก


2.นำกลับมาใช้ ซ้ำได้
3.ต้ นทุนน้ อย
                                -
สรุปผลการวิเคราะห์
• เลือกถุงเพาะชำเเบบที่ 2 ใชซ้ ป
ิ ล็อกด ้านเดียว เพราะสามารถใชงานได
้ ้ง่าย

รวดเร็ว เเละใชงบประมาณน ้อยกว่า
• นำถุงเพาะชำทีเ่ ลือกมาออกเเบบเป็ นภาพ เพือ ่ ารลงมือสร ้างต่อ
่ นำไปสูก
ไป
ลงมือสร ้าถุงเพาะชำ

นำถุงเพาะชำทีส่ ร ้างเสร็จเเล ้วไปทดสอบ โดยบรรจุดน ิ ลงในถุง ซงึ่ พบว่า


ตำเเหน่ง การติดซป ิ ล็อกสน
ั ้ เกินไป ทำให ้ไม่สามารถฉีกถุงได ้กว ้างไม่สะดวก
ในการนำต ้นกล ้าออกจากถุง
• ปรัปปรุงเเก ้ไขโดยเพิม ิ ล็อกอีก 3 เซนติเมตรเเล ้วผนึกซป
่ ความยาว ซป ิ ล็อกให ้
ติดกับถุงเพาะชำ ทำให ้สามารถฉีกถุงเพาะชำได ้กว ้างขึน ้
้ เเละใชงานได ้สะดวก
ยิง่ ขึน

นำถุงเพาะชำทีส ่ ร ้างเสร็จเเล ้วไปทดสอบ โดยบรรจุดน ิ ลงในถุง ซงึ่ พบว่า


ตำเเหน่ง การติดซปิ ล็อกสน ั ้ เกินไป ทำให ้ไม่สามารถฉีกถุงได ้กว ้างไม่สะดวกใน
การนำต ้นกล ้าออกจากถุง
•   นำถุงเพาะชำไปทดสอบการบรรจุดน ิ อีกครัง้ โดยกำหนดประเด็นในการ
ทดสอบ คือ ความเเข็งเเรง เเละความสะดวกในการใชงาน ้ ดังนี้
• การทดสอบที่ 1 ความเเข็งเเรงของถุงเพาะชำ
•     ทดสอบโดยใสด ่ น
ิ เต็มถุงตามขนาดถุงเเละใชมื้ อกดจนเเน่นพบว่าถุงเพาะชำ
ขนาด 5 นิว้ × 9นิว้ รับน้ำหนักได ้250 กรัม ขนาด 6 นิว้ × 14 นิว้ รับน้ำหนักได ้ 360
กรัม ขนาด 6.5 นิว้ × 7 นิว้ รับน้ำหนักได ้ 700 กรัม ขนาด 13 นิว้ × 18 นิว้ รับน้ำ
หนักได ้ 1900 กรัม โดยถุงเพาะชำไม่เเตก คงสภาพเดิม เเละใชงานได ้ ้ตามปกติ
• การทดสอบที่ 2 ความสะดวกในการใชงาน ้
• ทดสอบโดยเปรียบเทียบความเร็วของการนำต ้นกล ้าออกจากถุงเพาะชำด ้วยวิธ ี
การต่างๆ จำนวน 10 ครัง้ เเล ้วหาค่าเฉลีย ้
่ พบว่าการบับใชเวลาประมาร 30

วินาที การฉีกใชเวลาประมาณ ้
40 วินาที การกรีด ใชเวลาประมาณ 25 วินาที
เเละการใชถุ้ งเพาะชำ reuse ใชเวลาประมาณ
้ 10วินาที จะเห็นได ้ว่าถุงเพาะชำ r

euse ใชเวลาน ้อยทีส ่ ด
ุ ไม่ทำให ้รากได ้รับความเสย ี หาย ใชเวลาในการนำต
้ ้น
กล ้าออกจากถุงน ้อยกว่าวิธรการเเบบอืน ่ ถึง 3 เท่า
การใชถุ้ งเพาะชำReuse
 

หลังจากฉีกถุงเพาะชำเเล ้ว สามารถนำไปล ้างน้ำเเละนำกลับมาใชใหม่
ได ้
•  หลังจากการปรัปปรุงเเก ้ไขถุงเพาะชำให ้ดีขน ึ้ เเล ้ว ก ้ได ้นำไปให ้กลุม
่ เกษตรกรทดลองใชจำนวน ้ 30 คน ประเมิณ
ความพึงพอใจต่อการทดลองใชถุ้ งเพาะชำในเรือ ่ ง ประสท ิ ธิภาพการใชงานในด
้ ้านความเเข็งเเรง ความปลอดภัย
ความสะดวก เเละราคาในการผลิตทีเ่ หมาะสม ผลปรากฎว่า ผู ้ใชงานส ้ ว่ นใหญ่มค
ี วามพอใจในระดับมากทีส ่ ด

•   ถุงเพาะชำ reuse ชว่ ยลดขัน้ ตอนการฉีกถุงเพาะชำ ทำได ้ง่าย สะดวก เเละต ้นกล ้าไม่เกิดความเสย ี หาย สามารถ
นำถุงมาเพาะชำ กลับมาใชใหม่้ ชว่ ยลดต ้นทุน ลดขยะพลาสติก เเละลดการทำลายสงิ่ เเวดล ้อม
• ทีม
่ าของผลงาน
• โรงเรียงพ ัทลุง จ ังหว ัดพ ัทลุง
• ผูจ้ ัดทำ1 ด.ช.ณั ฐนนท์ ไชยทองรักษ์ เลขที9่ 2.11
2 ด.ช. ณั ชนน ประทุมสุวรรณ เลขที8่ 2.11
3 ด.ช.เจตะนัย สงั ข์ทอง เลขที6่ 2.11
4 ด.ช.ชยพล พาป้ อง เลขที7่ 2.11
5 ด.ช.ธนวินท์ วัฒน์หนู เลขที1่ 0 2.11
เสนอ
คุณครู ติรณั นต์ ชูรักษ์

You might also like