You are on page 1of 13

การหาปริมาณสารที่ละลายได้ท้ังหมด (TDS) ในตัวอย่ างนา้

1. วัตถุประสงค์

เพื่อทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้้าผิวดิน น้้าเสีย และน้้าประปา


โดยวิธี Total Dissolved solids dried at 180C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และ dried at
103-105C ส้าหรับ น้้าเสีย

2. ขอบเขต

ใช้ส้าหรับการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้้าผิวดิน และน้้าประปา ช่วง


การทดสอบ 100-1000 มิ ล ลิ กรั มต่ อลิ ตร (mg/L) และน้้ าเสี ย ช่ ว งการทดสอบ 100-5000
มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/L)

3. ค้านิยาม
1.

3.1 น้้าผิ ว ดิน หมายถึง น้้ าที่เกิดตามธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้า ล้ าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ
อ่างเก็บน้้าและแหล่งน้้าสาธารณะอื่นๆที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน
3.2 น้้าเสีย หมายถึง น้้าที่มาจากกิจกรรรมต่างๆที่ส่งผลให้มีการปะปนหรือปนเปื้อนของมวล
สารอยู่ในน้้านั้น รวมถึงน้้าทิ้งหรือน้้าที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้้าก่อนระบายลงสู่
แหล่งน้้าสาธารณะ
3.3 น้้าประปา หมายถึง น้้าที่เกิดจากการน้าน้้าจากแหล่งธรรมชาติ ได้แก่ น้้าผิวดินหรือ
น้้าใต้ดินมาผ่านขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพ แล้วจ่ายน้้าที่ผลิตได้ให้แก่ประชาชน
4. หลักการ
2.

เป็นการทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดโดยกรองผ่านกระดาษกรองใยแก้ว GF/C
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 47 mm แล้วน้าน้้าที่ผ่านการกรองแล้วไปเทลงในชามระเหยที่ทราบ
น้้าหนักแน่นอน แล้วน้าไประเหยน้้าออกบนเครื่องอัง ไอน้้า (water bath) จนกระทั่งน้้าตัวอย่าง
ระเหยจนหมดแล้วน้าชามระเหยไปอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 180 + 2 oC ส้าหรับน้้าผิวดิน และ
น้้าประปา และที่อุณหภูมิ 104 + 1 oC ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นน้าไปเข้า
ตู้ดูดความชื้น แล้วน้ามาชั่งน้้าหนัก ส่วนของน้้าหนักที่เพิ่มขึ้นจากชามระเหยคือปริมาณสาร
ที่ละลายได้ทั้งหมด โดยคิดเทียบเป็นหน่วย mg/L

5. ข้อควรระวังและความปลอดภัย
3.

5.1 ปัจจัยที่ท้าให้น้าหนักคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงคือ น้้าตัวอย่างที่มีเกลือของธาตุปน


อยู่มาก เช่น เกลือของสารจ้าพวกแคลเซียม แมกนีเซียม คลอไรด์ และซัลเฟต ซึ่งมีความ
ว่องไวและดูดความชื้นสูงมาก
5.2 สภาพของชามระเหยมีส่วนท้าให้ค่าจากการทดสอบคลาดเคลื่อนคือ ชามระเหย
มีสภาพดูดความชื้นได้ดี เช่น พื้นผิวขรุขระไม่เรียบ
5.3 การรบกวนจากภายนอก เช่น ต้าแหน่งการวางเครื่องชั่งไม่เหมาะสม ท้าให้เครื่องชั่งไม่
นิ่งขณะชั่ง
5.4 สิ่งที่เหลือตกค้างบนชามระเหยต้องไม่น้อยกว่า 2.5 mg และไม่เกิน 200 mg
5.5 ไม่ควรเปิดประตูของตู้ควบคุมอุณหภูมิหลังจากที่ใส่ตัวอย่างเข้าตู้แล้ว
5.6 ระวังไม่ให้ชามระเหยถูกขีดข่วนหรือกระแทกขณะทดสอบ เพราะอาจท้าให้น้าหนัก
สูญหายไปได้
5.7 ห้ามใช้มือจับชามระเหย เนื่องจากไขมันจากมือจะติดที่ชามระเหย ท้าให้น้าหนัก
ที่ได้ไม่แน่นอน
6. ภาวะควบคุม
4.

6.1 ภาวะแวดล้อม
6.1.1 ควบคุมห้องทดสอบ ขณะท้าการกรองตัวอย่าง และห้องเครื่องชั่ง ขณะท้าการชั่ง
ถ้วยชามระเหย ที่อุณหภูมิ 255 oC ความชื้นสัมพัทธ์ 5020 %R.H. และท้า
การทวนสอบโดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงาน เรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องวัด
อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์
6.1.2 ท้าความสะอาดห้องทดสอบ/ห้องชั่งก่อนปฏิบัติงาน
6.1.3 แยกพื้นที่การเตรียมสารละลายมาตรฐาน ตัวอย่าง และอื่นๆ ให้เป็นสัดส่วนเพื่อ
ป้องกันการปนเปื้อน
6.2 ภาวะเครื่องมือ
6.2.1 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์
(Digital Thermometer)
6.2.2 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องชั่ง
6.2.3 ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การใช้และบ้ารุงรักษาตู้อบ (OVEN)
6.2.4 เครื่องแก้วและอุปกรณ์ต้องผ่านการล้างท้าความสะอาด

7. เครื่องมือและอุปกรณ์

5.
7.1 เครื่องชั่งชนิดละเอียดทศนิยม 4 ต้าแหน่ง/5 ต้าแหน่ง
7.2 ตู้อบ (OVEN)

7.3 ชุดกรองแบบสุญญากาศ (Vacuum pump)

7.4 ตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) พร้อมด้วยสารดูดความชื้น (Silica gel) (สารดูดความชื้น


ต้องอบไล่ความชื้นเมื่อมีสีจางหรือเปลี่ยนใหม่เมื่อหมดสภาพ) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติ
7.5 ชามระเหย (Evaporating dish) ขนาดความจุอย่างน้อย 90 mL

7.6 อ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water bath)

7.7 กระดาษกรองใยแก้ว (GF/C) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 47 mm


7.8 เครื่องกวนแม่เหล็ก (magnetic stirrer) พร้อมแท่งคนแม่เหล็ก (magnetic bar)
7.9 กระบอกตวง (Cylinder) Class A ชนิด TD ขนาด 10, 25, 50 และ 100 mL
7.10 คีมคีบ (Forcep)
7.11 ที่คีบ (Tongs)
7.12 Volumetric flask Class A ขนาด 100 และ 1000 mL
8. สารเคมี

8.1 น้าโซเดียมคลอไรด์ (NaCl), Secondary reference material อบที่อุณหภูมิ 103-105 C


เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ไปใส่ในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติ เพื่อ
ปรับอุณหภูมิให้เท่ากับอุณหภูมิห้องและชั่งโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จ้านวน 5 mg แล้วปรับ
ปริมาตร 100 mL ด้วยน้้ากลั่น
8.2 น้้ากลั่น

9. วิธกี ารทดสอบ

9.1 การเตรียมชามระเหยส้าหรับใส่ตัวอย่าง
9.1.1 เขียนหมายเลขที่ชามระเหยส้าหรับใส่ตัวอย่าง ใช้ปากกาสีน้าเงินเขียนหมายเลข
ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และใช้ปากกาสีแดงเขียนหมายเลขส้าหรับน้้าเสีย
เพื่อป้องกันการหยิบชามระเหยผิด เนื่องจากอบที่อุณหภูมิต่างกัน
9.1.2 น้าชามระเหยที่เตรียมไว้ไปอบในตู้อบ ยี่ห้อ Binder รุ่น FP240 /หรือตู้อบ ยี่ห้อ
Heraeus รุ่น T6120 โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติงานเรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาตู้อบ
(OVEN) (WI6.4-10) เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 180 + 2 oC ส้าหรับตัวอย่าง
น้้าผิวดินและน้้าประปา และอบที่อุณหภูมิ 104+1 oC ส้าหรับตัวอย่างน้้าเสีย และ
ท้า การทวนสอบอุ ณ หภู มิ โ ดยวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านเรื่ อ งการใช้ แ ละบ้ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ ง
ดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์ (Digital Thermometer)
9.1.3 น้ามาท้าให้เย็นในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติเพื่อ
ปรับอุณหภูมิให้เท่ากับอุณหภูมิห้อง
9.1.4 ชั่งน้้าหนั กชามระเหย ด้ว ยเครื่องชั่ง 4 ต้าแหน่ง /5 ต้าแหน่งโดยปฏิบัติตามวิธี
ปฏิบัติงานเรื่องการใช้และบ้ารุงรักษาเครื่องชั่ง
9.1.5 ท้าซ้้าตามข้อ 9.1.2 ถึง 9.1.4 จนได้น้าหนักคงที่หรือแตกต่างกันไม่เกิน 0.0004g
บันทึกน้้าหนักชามระเหย ลงสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ละลาย
ได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
9.1.6 เก็บชามระเหยที่ได้น้าหนักคงที่แล้วไว้ในตู้/โถดูดความชื้น (Desiccator) หรือ
ตู้ดูดความชื้นอัตโนมัติเพื่อเตรียมความพร้อมในการทดสอบต่อไป
9.2 การรักษาสภาพ การทดสอบตัวอย่างน้้า และการบันทึกผลการทดสอบ
9.2.1 การรักษาสภาพตัวอย่างน้้า
ตัวอย่างที่เข้ามายังห้องปฏิบัติการ หากไม่สามารถทดสอบได้ทันที ให้รักษาสภาพ
ตัวอย่างด้วยการแช่เย็นที่อุณหภูมิ 42 oC และต้องทดสอบให้เสร็จภายใน 7
วั น โดยก่ อ นท้ า การทดสอบต้ อ งท้ า ให้ ตั ว อย่ า งน้้ า มี อุ ณ หภู มิ ใ กล้ เ คี ย งกั บ
อุณหภูมิห้อง
9.2.2 การทดสอบตัวอย่างน้้า
1) ใช้คีมคีบ (forcep) คีบกระดาษกรองโดยหงายด้านขรุขระขึ้น แล้ววางลงบน
ชุดกรอง
2) ล้างกระดาษกรองด้วยน้้ากลั่ น ปริมาณ 20 mL จ้านวน 3 ครั้ง เปิดปั้ม
สุญญากาศขณะเท เพื่อดูดน้้าให้แห้ง
3) เทน้้าในขวดรองรับน้้าชุดกรองทิ้ง แล้วใช้น้ากลั่นล้างขวดรองรับอีกครั้ง
4) ท้าตัวอย่างน้้า ให้เป็นเนื้อเดียวกัน โดยเขย่าตัวอย่างน้้าในขวดเก็บตัวอย่างให้
ผสมกันก่อน เทลงในบีกเกอร์ในปริมาตรตามที่ต้องการแล้วใส่ magnetic
bar ลงไป หลังจากนั้นน้าไปวางบน magnetic stirrer แล้วเปิดเครื่อง
5) ตวงตั ว อย่ า งน้้ า ใส่ ก ระบอกตวงตามปริ ม าตรที่ เ หมาะสมด้ ว ยบี ก เกอร์
(ปริมาตรที่เหมาะสม ควรให้เหลือสิ่งตกค้างในชามระเหยไม่น้อยกว่า 2.5 mg
และไม่เกิน 200 mg) เทลงบนกระดาษกรอง เปิดปั๊มสุญญากาศเพื่อดูดน้้า
ให้แห้ง บันทึกปริมาตรตัวอย่างที่ใช้ลงสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณ
สารที่ละลายได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
6) ล้ า งภายในกระบอกตวงด้ ว ยน้้ า กลั่ น เล็ ก น้ อ ยประมาณ 3 ครั้ ง เทลงบน
กระดาษกรอง และใช้น้ากลั่นฉีดล้างบริเวณปากชุดกรองอีก 1 รอบ เมื่อดูด
น้้าจนกระดาษกรองแห้ง
7) ถ่ายตัว อย่ างที่กรองได้ใส่ล งในชามระเหยที่เตรียมพร้อมไว้บนอ่างควบคุม
อุณหภูมิ (Water bath) และใช้น้ากลั่นล้างซ้้าอีกครั้ง โดยปฏิบัติตามวิธี
ปฏิบัติงานการใช้และบ้ารุงรักษาอ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water bath) เมื่อ
ตัวอย่างน้้าแห้ง ให้ด้าเนินการตามข้อ 9.1.2 ถึง 9.1.5
9.2.3 การบันทึกผลการทดสอบ
1) น้าข้อมูลจากสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด
(Total Dissolved Solide, TDS) มาถ่ายโอนและค้านวณผล
( A - B) 6
ด้วยสูตร ปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (mg/L) = × 10
V
เมื่อ A = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)
B = น้้าหนักของชามระเหย (กรัม)
V = ปริมาตรของน้้าตัวอย่างที่ใช้ (มิลลิลิตร)
ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids) โดยรายงานผลการ
ทดสอบเป็นตัวเลขจ้านวนเต็ม (ให้ปฏิบัติตามภาคผนวกกฎการปัดเศษ) หน่วย
เป็น มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/L)
2) ด้าเนินการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการทดสอบและรายงานเป็นทศนิยม 2
ต้าแหน่ง (ให้ปฏิบัติตามภาคผนวกกฎการปัดเศษ) เมื่อผลการทดสอบมีค่า อยู่
ในช่ ว งขอบข่ า ยการรั บ รอง โดยปฏิ บั ติ ต ามวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน เรื่ อ งการประเมิ น
ค่าความไม่แน่นอนของวิธีทดสอบการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS)
ในตัวอย่างน้้า พร้อมบันทึกค่าความไม่แน่นอนของการทดสอบลงในแบบบันทึก
การค้านวณค่าความไม่แน่นอนของการหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS)
ในตัวอย่างน้้า และในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids)
3) พิมพ์ ตรวจทานความถูกต้อง พร้อมลงชื่อและวันที่ลงในบันทึกผลการทดสอบ
ปริ มาณของแข็ง (Solids) แล้ วส่ งบันทึกผลการทดสอบพร้อมเอกสาร/ข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบนั้นให้หัวหน้าทีมบริหารด้านวิชาการ เพื่อด้าเนินการ
รายงานผลการทดสอบตามวิธีด้าเนินการเรื่อง การรายงานผลการทดสอบ

ขั้นตอนการหาปริมาณสารทีล่ ะลายได้ทั้งหมด (TDS) ในตัวอย่างน้า้

อบชามระเหยที่อุณหภูมิ 180 + 2 ๐C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา และที่อุณหภูมิ 104 + 1 ๐C


ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

น้าเข้าตู้ดดู ความชื้น น้าไปชั่งน้้าหนักและบันทึกค่าที่ได้

อบชามระเหยและน้าเข้าตู้ความชืน้ ซ้้าอีก จนได้น้าหนักคงที่ หรือ


มีการเปลี่ยนแปลงของน้้าหนักไม่เกิน 0.0004 g

ตวงตัวอย่างน้้าให้มีปริมาณสารทีล่ ะลายได้ทั้งหมด อยู่ในช่วง 2.5 – 200 mg

กรองน้้าตัวอย่างด้วยชุดกรองสุญญากาศ ถ่ายน้้าตัวอย่างใส่ชามระเหย
ที่ชั่งน้้าหนักแล้วและน้าไประเหยด้วยอ่างควบคุมอุณหภูมิจนแห้ง

อบชามระเหยที่อุณหภูมิ 180 + 2 ๐C ส้าหรับน้้าผิวดินและน้้าประปา


และที่อุณหภูมิ 104 + 1 ๐C ส้าหรับน้้าเสีย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

น้าเข้าตู้ดดู ความชื้น น้าไปชั่งน้้าหนักบันทึกค่าที่ได้

อบชามระเหยและน้าเข้าตูด้ ูดความชื้นซ้้าอีก จนได้น้าหนักคงทีห่ รือ


มีการเปลี่ยนแปลงของน้้าหนักไม่เกิน 0.0004 g
10. การมั่นใจความใช้ได้ของผลการทดสอบ

10.1 การควบคุมคุณภาพภายใน
10.1.1 การทดสอบ Method blank เพื่อทดสอบดูการปนเปื้อน (Contamination)
ของวิธีการท้าทุกครั้งที่มีการทดสอบ โดยท้า 1 ตัวอย่าง ต่อ batch
1) ท้าการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.2 แต่ใช้น้ากลั่นแทนตัวอย่างน้้า
2) บันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3
ก้าหนดเกณฑ์ค่า Method blank ต้องไม่เกิน 5 mg/L กรณีค่า Method
blank มากกว่า 5 mg/L ให้ท้าการเปลี่ยนน้้ากลั่นใหม่ แล้วท้าการ
ทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง
10.1.2 การท้า Laboratory-fortified blank (LFB) ท้าทุกครั้งที่ท้าการทดสอบโดย
ท้าอย่างน้อย 1 ตัวอย่างในทุกๆ 20 ตัวอย่าง หรือ 1 ตัวอย่างต่อ batch ใน
กรณีที่ batch นั้นน้อยกว่า 20 ตัวอย่าง
1) ท้าการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.2 แต่ใช้สารละลาย ข้อ 8.1 แทน
ตัวอย่างน้้า ปริมาตร 100 mL
2) บันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3
3) น้าผลการทดสอบที่ได้ ค้านวณ %Recover
LFB % Recovery = measured conc
x 100
spiked conc
บันทึกค่าที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids)
ก้าหนดเกณฑ์ %Recovery ต้องอยู่ในช่วง 85-115 (กรณีไม่ผ่านเกณฑ์
ที่ก้าหนดให้เตรียมสารละลายจากข้อ 8.1 ใหม่ จากนั้นให้ด้าเนินการตาม
ข้อ 10.1.2 1) ถึง 3) แล้วทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง)
10.1.3 ทดสอบความเที่ยง (Precision) ด้วยการท้าซ้้า (Duplicate) ) ท้าทุกครั้ง
ที่ท้าการทดสอบ โดยท้าอย่างน้อย 1 ตัวอย่างในทุกๆ 20 ตัวอย่าง หรือ
1 ตัวอย่างต่อ batch ในกรณีที่ batch นั้นน้อยกว่า 20 ตัวอย่างเพื่อหา
%RPD
1. น้าตัวอย่างใน batch มาทดสอบซ้้า โดยด้าเนินการตามข้อ 9.2.2
2. น้าน้้าบันทึกผลการทดสอบโดยปฏิบัติตามข้อ 9.2.3 มาค้านวณ %RPD

เมื่อ X1 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)


ลบกับน้้าหนักของชามระเหย (กรัม) ครั้งที่ 1
X2 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมด (กรัม)
ลบกับ น้้าหนักของชามระเหย (กรัม) ครั้งที่ 2
= ค่าเฉลี่ยของ X1 และ X2 (กรัม)
3. บันทึกค่าที่ได้ลงในแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณของแข็ง (Solids) (FS7.2-03)
ก้าหนดเกณฑ์ %RPD ต้องมีค่า  5 (กรณีไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดให้ด้าเนินตามข้อ
11.1.3 1) ถึง 3) แล้วทดสอบตัวอย่างซ้้าใหม่ทั้ง batch อีกครั้ง)

10.2 การควบคุมคุณภาพภายนอก
การควบคุมคุณภาพภายนอก โดยการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
(Inter-Laboratory) ซึ่งเป็นการหาความแม่นย้าของวิธีและขั้นตอนการทดสอบด้วย
การเปรียบเทียบผลการทดสอบที่ได้กับห้องปฏิบัติการอื่นที่ทดสอบด้วยวิธีและตัวอย่าง
เหมือนกันหรือผลการทดสอบความช้านาญจากค่า Z-Score ควรมีค่าZอยู่ในช่วง  2
10.2.1 กรณีที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก้าหนด 2 < Z < 3 และ Z  3 ให้ด้าเนินการ
สืบค้นต้นเหตุของข้อผิดพลาด ดังนี้
1) ตรวจความถูกต้องของการค้านวณ และการบันทึกผล
2) ตรวจสอบระบบการควบคุมคุณภาพของห้องปฏิบัติการ เช่น เทคนิคของ
ห้องปฏิบัติการในการท้าตัวอย่างให้เป็นเนื้อเดียวกันก่อนการทดสอบ (ขณะ
เทตัวอย่าง) เทคนิคการกรอง การควบคุมอุณหภูมิและระยะเวลาที่ใช้ในการ
อบแห้ งของสารที่กรองได้ที่อุณหภูมิก้า หนด การใช้ตัว อย่างควบคุม การ
ป้ อ งกั น ผลกระทบขององค์ ป ระกอบในตั ว อย่ า งต่ อ การทดสอบ เกณฑ์
ก้าหนดของการทดสอบซ้้าในตัวอย่างเดียวกันตามวิธีที่ใช้ทดสอบ การเก็บ
รักษาตัวอย่างในสภาวะที่เหมาะสมกรณีที่ไม่สามารถทดสอบได้ทันที เกณฑ์
คุณ ภาพหรื อความบริ สุ ท ธิ์ ข องน้้ ากลั่ น ที่ใ ช้ ในการล้ า งตะกอนที่ ก รองได้
เป็นต้น
3) ตรวจสอบระบบการควบคุมสภาวะแวดล้อมของห้องปฏิบัติการ เช่น การ
ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นของห้องเครื่องชั่งน้้าหนัก การป้องกันการ
ปนเปื้อนจากสภาวะแวดล้อมข้างเคียงขณะท้าการทดสอบ เป็นต้น
4) ตรวจสอบอุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้ เช่น ตู้อบ(OVEN)/เครื่องชั่ง ว่าได้รับการ
สอบเทียบตามระยะเวลาที่ก้าหนดหรือไม่
5) ตรวจสอบการหาปริมาณ residue หลังอบจนน้้าหนักคงที่ว่ามีค่าความ
แตกต่างของน้้าหนักหลังการอบไม่เกิน 0.0004 g
6) ตรวจสอบปริ ม าตรของตั ว อย่ า งที่ ต้ อ งการทดสอบว่ า เหมาะสมและ
สอดคล้องกับความเข้มข้นของสารที่ละลายได้ทั้งหมด ในตัวอย่างหรือไม่
10.2.2 ปฏิบัติการแก้ไขตามแนวทางต่อไปนี้ตามความเหมาะสม เช่น
1) ค้านวณใหม่
2) ส่ ง เครื่ อ งมื อ สอบเที ย บ และทวนสอบผลการสอบเที ย บว่ า อยู่ ใ นเกณฑ์
ที่ก้าหนด
3) ใช้ปริมาตรของตัวอย่างที่ต้องการทดสอบให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
ความเข้มข้นของสารที่ละลายได้ทั้งหมดในตัวอย่าง
11. การตรวจสอบสารเคมี/วัสดุสนิ้ เปลืองก่อนน้าไปใช้งาน

การตรวจสอบคุณภาพของสารโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ก่อนน้าสารเคมีขวดใหม่มาใช้ในการ


ทดสอบให้ท้าการทดสอบคุณภาพของสารเคมีก่อนการใช้งาน ดังนี้
11.1 น้ า สารโซเดี ย มคลอไรด์ (NaCl) ขวดที่ ใ ช้ ง านอยู่ ปั จ จุ บั น และขวดใหม่ มาเตรี ย ม
สารละลายให้มีความเข้มข้น 50 mg/L (เตรียมโดยชั่งโซเดียมคลอไรด์ NaCl ที่ผ่าน
การอบที่อุณหภูมิ 103-105 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จ้านวน 50 mg ละลายในน้้ากลั่น
แล้ ว ปรั บ ปริ ม าตรให้ เ ป็น 1,000 mL) จากนั้น น้า สารละลายดัง กล่ าวมาใช้ ในการ
ทดสอบหาปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดตามวิธีทดสอบ ข้อ 9 ในแต่ละขวดอย่าง
น้อย 1 ซ้้า บัน ทึกผลลงในสมุดแบบบันทึกผลการทดสอบปริมาณสารที่ล ะลายได้
ทั้งหมด (Total Dissolved Solide, TDS)
11.2 ท้าการประเมินคุณภาพสารเคมี โดยก้าหนดให้ %Recovery ของการทดสอบหา
ปริมาณสารที่ละลายได้ทั้งหมดจะต้องอยู่ในช่วง 85-115 % น้าผลการทดสอบที่ได้มา
ค้านวณ % Recovery = measured conc
x 100
spiked conc

11.3 ท้าการประเมินคุณภาพสารเคมี โดยก้าหนดให้ %RPD ของการทดสอบหาปริมาณสาร


แขวนลอยทั้งหมดจะต้องมีค่า  5 น้าผลการทดสอบที่ได้มาค้านวณ

เมื่อ X1 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมดในสารโซเดียมคลอไรด์ (กรัม)


ลบกับน้้าหนักชามระเหย (กรัม) ขวดที่ใช้งานอยู่ปัจจุบัน
X2 = น้้าหนักของชามระเหย + สารที่ละลายได้ทั้งหมดในสารโซเดียมคลอไรด์ (กรัม)
ลบกับน้้าหนักถ้วย aluminium foil พร้อมกระดาษกรอง (กรัม) ขวดใหม่
= ค่าเฉลี่ยของ X1 และ X2 (กรัม)
11.4 บันทึกผลข้อ 11.1, 11.2 และ 11.3 ลงในแบบบันทึกการตรวจสอบสารเคมี/วัสดุ
สิ้นเปลือง ก่อนน้าไปใช้งาน และมีหัวหน้าทีมบริหารด้านวิชาการเป็นผู้ตรวจสอบ
11.5 สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองที่มีผลการทดสอบอยู่ในเกณฑ์ที่ก้าหนด (แสดงว่าสารเคมี/วัสดุ
สิ้ น เปลื อ ง มีความต่อเนื่องระหว่างสารเคมี /วัส ดุสิ้ นเปลื อ งที่ใช้ง านอยู่ปั จจุบันกั บ
สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองใหม่ที่ต้องการใช้งานแทน) สามารถน้าสารเคมี/วัสดุสิ้นเปลือ ง
นั้นไปใช้งานได้ ในกรณีที่ตรวจสอบสารเคมี/วัสดุสิ้นเปลือง แล้วผลที่ได้ไม่อยู่ในเกณฑ์
ที่ก้าหนด สารเคมี/วัสดุสิ้นเปลืองนี้ไม่สามารถน้าไปใช้งานได้ และแจ้งให้หัวหน้าทีม
บริหารด้านวิชาการทราบและด้าเนินการแก้ไขตามวิธีด้าเนินการเรื่องงานที่ไม่เป็นไป
ตามที่ก้าหนด
ภาคผนวก
กฎการปัดเศษ

การปัดเศษให้มีความละเอียดหนึ่งหน่วยในต้าแหน่งสุดท้ายที่คงไว้
กฎข้อที่ I ถ้าเศษตัวแรกมีค่าน้อยกว่า 5 ให้ปัดเศษทิ้งไป และคงตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่
ต้องการคงไว้
กฎข้อที่ II ถ้าเศษตัวแรกมีค่ามากกว่า 5 หรือเท่ากับ 5 แล้วตามด้วยตัวเลขอื่นที่ไม่ใช่ศูนย์ทั้งหมด
ให้ปัดเศษขึ้น คือเพิ่มค่าของตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้ขึ้นอีก 1
กฎข้อที่ III ถ้าเศษตัวแรกมีค่าเท่ากับ 5 โดยไม่มีตัวเลขอื่นต่อท้าย หรือเท่ากับ 5 แล้วตามด้วยเลข
ศูนย์ทั้งหมดให้ปฏิบัติดังนี้
- เมื่อตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้เป็นเลขคี่ ให้เพิ่มค่าของตัวเลขนี้ขึ้นอีก 1
- เมื่อตัวเลขตัวสุดท้ายในต้าแหน่งที่ต้องการคงไว้เป็นเลขคู่หรือเลขศูนย์ให้ปัดเศษทิ้ง

ตาราง ตัวอย่างการปัดเศษให้มีความละเอียดหนึ่งหน่วยในต้าแหน่งสุดท้ายที่คงไว้ตาม กฎข้อที่ I ถึง


กฎข้อที่ III
3) อบชามระเหยและนาเข้ าตู้
ความชื้นซ้าอีก จนได้ นา้ หนักคงที่
หรือมีการเปลีย่ นแปลงของนา้ หนัก
1) อบชามระเหยทีอ่ ุณหภูมิ 180 + 2 ๐C สาหรับ ไม่ เกิน 0.0004 g
2) นาเข้ าตู้ดูดความชืน้ นาไปชั่งนา้ หนัก
นา้ ผิวดินและนา้ ประปา และทีอ่ ณ
ุ หภูมิ
๐ และบันทึกค่ าทีไ่ ด้
104 + 1 C สาหรับนา้ เสีย เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง

6) อบชามระเหยทีอ่ ุณหภูมิ 180 + 2 ๐C สาหรับนา้ 4) ตวงตัวอย่ างนา้ ให้ มปี ริมาณสารทีล่ ะลายได้
ผิวดินและนา้ ประปา และทีอ่ ุณหภูมิ 104 + 1 ๐C 5) ถ่ ายนา้ ตัวอย่ างใส่ ชามระเหยทีช่ ั่งนา้ หนักแล้ ว ทั้งหมด อยู่ในช่ วง 2.5 – 200 mg กรองนา้ ตัวอย่ าง
สาหรับนา้ เสีย เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง และนาไประเหยด้ วยอ่ างควบคุมอุณหภูมจิ นแห้ ง ด้ วยชุดกรองสุ ญญากาศ

8) อบชามระเหยและนาเข้ าตู้ความชื้นซ้าอีก
จนได้ นา้ หนักคงที่ หรือมีการเปลีย่ นแปลง
ของนา้ หนักไม่ เกิน 0.0004 g
7) นาเข้ าตู้ดูดความชื้น นาไปชั่งนา้ หนักบันทึกค่ าทีไ่ ด้

You might also like