You are on page 1of 11

รายงานเรื่อง

Tray dryer

นําเสนอ
รศ.ดร.พัชรินทร วรธนกุล

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา
Chemical Unit Operation Lab 010313305
ภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2564

โดย
1. นายรชต กลิ่นหอม รหัสนักศึกษา 6201031620289
2. นางสาวกมลชนก ทรัพยสุนทร รหัสนักศึกษา 6201031630012
3. นายกรภพ ทองปรางคนอก รหัสนักศึกษา 6201031630021
4. นางสาวกันตพร สําราญฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 6201031630039
5. นางสาวขวัญฤดี นนตะแสน รหัสนักศึกษา 6201031630055
6. นายชนาธิป สุธรรมปวง รหัสนักศึกษา 6201031630063
7. นายภูวิศ วงษเอี่ยม รหัสนักศึกษา 6101032660056

ทําการทดลองวันที่ 14 กุมภาพันธ 2565


สงรายงานวันที่ 20 กุมภาพันธ 2565

ทําการตรวจและบันทึกคะแนนแลว
.............................................................................
สงคืนวันที่...............................................................
บทคัดยอ
การทดลองเรื่องการอบแหง (Tray dryer) เปนการทดลองที่มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปรากฏการณใ นทาง
ทฤษฎีและการทดลองของการอบแหงเพื่อทําความเขาใจสมการการถายโอนมวลโดยวิธีการทดลองเราจะชั่งน้ํา
หนักของทราย 50-70 กรัม และน้ํา 5-10 กรัม นําไปเขาเครื่องอบแหงและปรับอุณหภูมิที่ 180°C และ 220°C
โดยจะทํ า การเก็ บ ค า ตั ว แปรที่ สํ า คั ญ คื อ อุ ณ หภู มิ ก ระเปาะแห ง (Tdb), อุ ณ หภู มิ ก ระเปาะเป ย ก (T wb),
น้ํ า หนั ก ของถาดและทรายซึ่ ง อ า นค า ได จ ากเครื่ อ งชั่ ง น้ํ า หนั ก และอั ต ราไหล (Average velocity)
จากนั้ น นํ า ค า ที่ ไ ด ม าคํ า นวณกราฟความสั ม พั น ธ ร ะหว า งค า เปอร เ ซ็ น ต ค วามชื้ น กั บ เวลา และอั ต ราอบแห ง
กับเปอรเซ็นต ความชื้นโดยจากการทดลองพบวาเมื่ออุณหภูมิลดลงคาเปอรเซ็นตความชื้นของทรายจะลดลง
เรื่อยๆจนกระทั่งมีคาคงที่
บทนํา
การอบแหง ( Drying ) เปนกระบวนการการนําน้ําออกจากวัสดุ เพื่อใหปริมาณน้ําในวัสดุนอยลงหรือมี
ความชื้นลดลง โดยใชอากาศพัดผานวัสดุนั้นใหดึงน้ําออกมา ซึ่งสวนใหญวัสดุที่ใชในการอบแหงมักจะเปนของแข็ง
วัสดุจะสามารถแหงไดมากหรือนอยนั้นมีปจจัยคือธรรมชาติของวัสดุชนิดนั้น เมื่อทําใหของเหลวในวัสดุระเหยออก
เปนไอแลวเราจะไดผลิตภัณฑของแข็งที่มีอัตราสวนของของเหลวที่ต่ําลง นอกจากกรณีที่วัสดุเปนของแข็งที่เปยก
ชื้นแลวยังมีกรณีที่อบของเหลวขน ( Slurry ) เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่เปนผงอีกดวยโดยการทดลองการอบแหงนี้เราจะ
ใชทรายที่มีความชื้นนําไปเขาเครื่องอบแหงความรอนจะไหลผานตัวทรายไปเรื่อยๆ จนสงผลใหความชื้นในทรายลด
ลงนอกจากนี้การอบแหงยังมีความสําคัญในอุตสาหกรรมอื่นๆอีกเชนอุตสาหกรรมอาหาร,อุตสาหกรรมยา,อุตสาห
กรรมเครื่องดื่มชนิดผงตางๆ เปนตน
วิธีการทดลอง

ชั่งนํา้ หนักถาดใส่สารตัวอย่าง และบันทึกค่า

นําสารตัวอย่างใส่ถาดที่ช่ งั แล้ว 50-70 กรัม ให้ท่วั ถาด

นําสารตัวอย่างใส่ถาดที่ช่ งั แล้ว 50-70 กรัม ให้ท่วั ถาด

พรมนํา้ ลงสารตัวอย่าง 5-10 กรัม แล้วชั่งนํา้ หนัก

เปิ ดmain switch โดยให้มีไฟเขียวสว่างขึน้ มา 1ดวง แล้วเปิ ดปุ่ มBlower


จะเห็นว่ามีไฟสีเขียวเพิ่มมาอีก1ดวงโดยตัง้ ความเร็วลมไว้ท่ี 0.5-1.0 m/s
เป็ นเวลา5นาทีแล้วบันทึกค่าอุณหภูมิ Tin และ Tout

เปิ ด Heater สังเกตุวา่ มีไฟสีเขียวสว่างเพิ่มขึน้ มาอีก1ดวงจากนัน้ ปรับอุณหภูมิ


ไปที่ 110-200℃ รอจนอุณหภูมิTdb และ Twb คงที่แล้วจึงบันทึกค่า

นําถาดที่ใส่ตวั อย่างในขัน้ ตอนที่ 3 มาเข้าเครื่อง Tray Dryer แล้วจับเวลาทุก 5 นาทีและบันทึก


ค่า Tdb และ Twb แล้วนําถาดที่ใส่สารตัวอย่างมาชั่งนํา้ หนัก ทําไปจนกว่านํา้ หนักที่ช่ งั ได้จะคงที่

ปิ ดปุ่ ม Heater แล้วปรับอุณหภูมิเป็ น 0 °C แล้วทิง้ ไว้เป็ นเวลา 5 นาที

ปิ ด Blower แล้วปรับความเร็วลมเป็ น 0 m/s


ผลการทดลอง

กราฟที่ 1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง % Humidity


ของอุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียสและ 220 องศาเซลเซียส

กราฟที่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง % Humidity และ Drying ratio(g/min)

ได้เช็คหรือเปล่าว่าชื่อไม่เหมือนกัน
วิเคราะหผลการทดลอง
จากการทดลอง นําผลที่ไดจากการทดลองมาพล็อตกราฟระหวางคาเปอรเซ็นตความชื้นกับเวลา ที่อุณหภูมิ
180°C และ 220°C จะพบวาเมื่อเวลาผานไปคาเปอรเซ็นตความชื้นจะลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่งหลังจาก 20 นาที
คาเปอรเซ็นตความชื้นจะลดลงอยางชาๆเนื่องจากตอนแรกมีความชื้นในทรายอยูมากทําใหคาเปอรเซ็นตความชื้น
ลดลงอย า งมาก แต เ มื่ อ ทํ า การอบแห ง ไปเรื่ อ ยๆ ความชื้ น ในทรายจะลดลง ค า เปอร เ ซ็ น ต ค วามชื้ น
จึงลดลงอยางชาๆจนกระทั่งคงที่ และที่อุณหภูมิ 180°C จะมีคาเปอรเซ็นตความชื้นมากกวาที่อุณหภูมิ 220°C
เพราะที่อุณหภูมิ 180°C ความชื้นระเหยออกมาไดนอยกวาอุณหภูมิที่ 220°C
จากกราฟที่ 2 เปนกราฟความสัมพันธระหวางอัตราการอบแหงและคาเปอรเซ็นตความชื้นที่อุณหภูมิ 180°C
และ 220°C จะพบวาในชวงแรกคาอั ตราการอบแหงจะเพิ่ม ขึ้นและคาเปอร เซ็นตค วามชื้นสู งจนเมื่อถึงจุดที่
อัตราการอบแหงสูงสุดจะเปนชวงที่คาอัตราการอบแหงคงที่เนื่องจากพื้นที่ผิวของทรายเริ่มแหงเมื่อความชื้นของทร
ายลดลงจะเหลือนอยคาเปอรเซ็นตความชื้นก็จะเริ่มมีคาคงที่คาอัตราการอบแหงจะลดลงจนเปนศูนยกลาวคือ
น้ําในทรายไมสามารถระเหยเพิ่มไดอีกแลว
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองเรื่องการอบแหง Tray dryer หลังจากนําคาที่ไดจากการทดลองไปพล็อตกราฟ พบวาเมื่อ
เวลาผานไป อุณหภูมิท่ีสูงขึ้น สงผลใหความชื้นในทรายมีการระเหยอัตราสวนของความชื้นจะลดลงเรื่อยๆ โดยที่
อัตราการอบแหงมีคาคงที่ และเมื่ออัตราสวนของความชื้นมีคาต่ํากวาอัตราสวนความชื้นวิกฤต อัตราการอบแหงจะ
มีคาคอยๆลดลงจนเหลือศูนย ดั งนั้ นจึ งสรุ ปไดวาความชื้นจะสามารถเขาสูส มดุ ลไดเร็ วขึ้นเมื่ออัตราสวนของ
ความชื้นมีคาต่ํากวาอัตราสวนความชื้นวิกฤต
เอกสารอางอิง
- Chemical Engineering Unit Operation Laboratory 010313305, Department of Chemical
Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology North
Bangkok, 2/2564
- Warren L. McCabe, Julian C. Smith and Peter Harriott, Unit operations of chemical
engineering, Edition,McGraw-Hill,Inc.,2005
ภาคผนวก
ตารางแสดงผลการทดลอง

Heater temperature : 180℃ cross sectional area of the dryer = 0.09 𝑚𝑚2

Heater temperature : 220℃ cross sectional area of the dryer = 0.09 m2


ตัวอยางการคํานวณ

คํานวณที่ 180℃ , cross section area of the dryer = 0.09 m2


1. วิธีคํานวณหาน้ําหนักของน้ําในทรายที่เวลา 5 นาที
น้ําหนักของน้ําในทราย = น้ําหนักของทรายกอนเขาตูอบ - น้ําหนักขอทรายแหง
น้ําหนักของทรายกอนเขาตูอบ = 55.6 กรัม
น้ําหนักของทรายแหง = 50.4 กรัม

∴ น้ําหนักของน้ําในทราย = 55.6 - 50.4 = 5.2 กรัม


2. วิธีคํานวณหา Humidity (wet standard) ที่เวลา 5 นาที
นํา้ หนักของนํา้ ในทราย
Humidity (wet standard) =
นํา้ หนักของทรายก่ อนเข้ าตู้อบ
หนั
น กของทรายกอนเขาตูอบ = 55.6 กรัม
น้ําหนักของน้ําในทราย = 5.2 กรัม
5.2
∴ Humidity (wet standard) = = 0.094
55.6

3. วิธีคํานวณหา Drying ratio ที่เวลา 5 นาที


ที่เวลา 0 นาที น้ําหนักของน้ําในทราย = 9.2 กรัม
ที่เวลา 5 นาที น้ําหนักของน้ําในทราย = 5.2 กรัม
ที่เวลา 10 นาที น้ําหนักของน้ําในทราย = 2.2 กรัม
น้ําหนักของน้ําในทรายในเวลาถัดไป−น้าํ หนักของน้ําในทรายที่เวลากอนหนนา
คํานวณหาคา Drying ratio =
เวลาถัดไป−เวลากอนหนา
2.2 กรัม−9.2กรัม
=
10นาที−0นาที

= - 0.7

You might also like