You are on page 1of 9

50-407-014-202 ปฏิบตั กิ ารกลศาสตร์ของไหล

(FLUIDS MECHANICS LABORATORY)


ประจาภาคเรียนการศึกษาที่ 1/2565

ปฏิบตั กิ ารที่ 2
เรือ่ ง Fluid pressure and head and demonstration of Archimedes' principle
จัดทาโดย นางสาว กาญจกมล แก่นดี
รหัสนักศึกษา 64522210191-0 กลุ่มปฏิบตั กิ ารที่ 2
นาเสนอ อาจารย์ โกวิท บุญรอด

ทาการทดลองในห้องปฏิบตั กิ ารเมือ่ วันที่ 5 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565


ส่งรายงานปฏิบตั กิ ารเมือ่ วันที่ 19 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565

ผลการประเมิ น

 คะแนนทีไ่ ด้............................. คะแนน


 ให้นากลับไปแก้ไข (Reject)
โดยให้นากลับมาอีกครัง้ ก่อน วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ...............
หมายเหตุ

ผูท้ าการประเมิน วันที.่ ........เดือน...........................พ.ศ....................


ปฎิ บตั ิ การที่ 2 เรื่อง
Fluid pressure and head and demonstration of Archimedes' principle
2.1 Fluid pressure and head
วัตถุประสงค์ ; ศึกษาเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องความดัน กับความสูงในหลอดแก้วทีร่ ปู ทรงต่างกัน
ทฤษฎี ;

อุปกรณ์และเครื่องมือ ;

1.หลอดแก้วรูปทรงต่างๆ

3.เครือ่ งมือวัดระดับของเหลวของ Pascal 4.Graduated cylinder


4.บีกเกอร์ 5.ตุม้ น้าหนัก

วิ ธีการปฏิ บตั ิ งาน ;


1.ประกอบหลอดแก้วเข้ากับฐานยางของเครือ่ งมือทดลอง
2.ใส่ตุม้ น้าหนักทีแ่ ขนของเครือ่ งมือ
3.เติมน้าทีห่ ลอดแก้วจนแผ่นปิ ดกาลังจะเปิ ดเลื่อนเข็มแสดงตาแหน่งทีก่ าหนดตาแหน่งไว้
4.เปลีย่ นหลอดแก้วเติมน้าใหม่
ผลการทดลอง ;

ความสูงน้า (mm)
ครัง้ ที่ ตุม้ น้าหนัก (g)
แบบที1่ แบบที2่ แบบที3่
1 40 90 87 85
2 50 93 99 96
3 60 115 109.5 110
4 70 137.5 120.5 122

ความสูง ความสูง ความสูง

วิ เคราะห์การทดลอง ;
จากทฤษฎีระดับความสูงน้าไม่ได้ขน้ึ อยูก่ บั ขนาดรูปทรงของหลอดแก้ว ดังสมการ P = ρ g h
แต่ขน้ึ อยูก่ บั ความดันและความหนาแน่น
แต่จากทดลองพบว่า ค่าความสูงของน้าทีว่ ดั จะมีคา่ ไม่เท่ากันดังทฤษฎีทไ่ี ด้กล่าว แต่จะมีคา่
ใกล้เคียงกัน
สรุปผลการทดลอง ;
จากสมการ P = ρ g h จะสังเกตได้วา่ ความสูงของเหลวในหลอดแก้วจะแปรผันตรงกับความ
ดันแต่จะแปรผกผันกับความความหนาแน่น ซึง่ เมือ่ เทียบกับค่าทีไ่ ด้จากการทดลองกลับไม่เป็ นไปตาม
ทฤษฎี แต่เมือ่ เปรียบเทียบค่าทีไ่ ด้จากการทดลองแล้วมีความใกล้เคียงกัน ซึง่ ความคลาดเคลื่อนที่
เกิดขึน้ อาจเกินจากทัง้ อุปกรณ์หรือตัวผูท้ ดลองเอง

2.2 Demonstration of Archimedes’ principle


วัตถุประสงค์ ; เพือ่ ศึกษาเกีย่ วกับหลักของอาร์คมิ ดิ สี (Archimedes) หรือแรงลอยตัว
ทฤษฎี ; อาร์คมิ ดิ สี กล่าวว่า วัตถุใด ๆ ทีจ่ มอยูใ่ นของไหลทัง้ ก้อนหรือจมเพียงบางส่วนจะถูกแรงลอยตัว
กระทาและขนาดของแรงลอยตัวนัน้ จะมีคา่ เท่ากับน้าหนักของของไหลทีถ่ ูกวัตถุแทนที่ ซึง่ สามารถเขียน
เป็ นสมการได้วา่
FB = mg (1)
เมือ่ FB คือ แรงลอยตัว หรือ Buoyant force (N)
m คือ มวลของวัตถุ (kg)
g คือ ความเร่งโน้มถ่วงของโลก มีคา่ เท่ากับ 9.8 หรือ 10 m/s2
ดังนัน้ แรงลอยตัวจะขึน้ กับความหนาแน่นของของไหลนัน้ และปริมาตรของวัตถุสว่ นทีจ่ มจาก
m = ρV (2)
เมือ่ V คือ ปริมาตรส่วนทีจ่ ม (m3)
จะได้วา่ FB = ρVg (3)

อุปกรณ์และเครื่องมือ ;

1.เครือ่ งมือวัดระดับของเหลวของ Pascal 2.บีกเกอร์


3. Hanging Scale 4.กระบอกพลาสติก , โลหะทรงกระบอก

วิ ธีการปฎิ บตั ิ งาน ;


1.ชังโลหะทรงกระบอกอ่
่ านค่า
2.นาโลหะทรงกระบอกจุ่มลงในน้าาอ่านค่าน้าหนัก
3.ชังกระบอกพลาสติ
่ กเปล่า
4.นาน้าเติมลงในกระบอกพาสติกแล้วนาไปชัง่
5.เปรียบเทียบค่าน้าหนัก
ผลการทดลอง ;

NO Description กรัม
1 นน.กระบอก 0.9
2 นน.กระบอก+น้า 1.2
3 นน.น้า 0.3
4 นน.แท่งเหล็ก 2.4
5 นน.แท่งเหล็ก.ในน้า 2.1

วิ เคราะห์การทดลอง ;
น้าหนักของวัตถุทจ่ี มลงในน้าจะเท่ากับน้าหนักของ ของเหลวทีถ่ ูกแทนทีด่ ว้ ยน้า
สรุปผลการทดลอง ;
จากการทดลองพบว่าค่าน้าหนักของวัตถุทจ่ี มลงในน้าจะมีคา่ เท่ากับน้าหนักของน้าทีถ่ ูกวัตถุ
อื่นแทนทีซ่ ง่ึ ตรงตามทฤษฎีของ Archimedes
2.3 Viscosity test
วัตถุประสงค์ ; ศึกษาเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องของไหล ความหนืดทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามอุณหภูมิ โดยใช้
เครือ่ งมือ U-tube Viscometer
ทฤษฎี ; . ความหนืด (Viscosity) ความหนืด หรือความหนืดสมบูรณ์ (Absolute viscosity) หมายถึง
ค่า ความต้านทานต่อการไหลหรือแรงเฉือน ในเนื้อของไหล แทนด้วยสัญลักษณ์ “µ ” ซึง่ การเฉือนหรือ
แรงเฉือนจะ เกิดขึน้ ระหว่างชัน้ ของการไหลเมือ่ ของไหลนัน้ เกิดการไหลขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด ความต้านทานการเฉือนและความเร็วในการไหลของของไหล จะใช้รปู
และชุดสมการต่อไปนี้ในการอธิบาย

ความหนืดจลน์ (Kinematic Viscosity) หมายถึง อัตราส่วนของความหนืดสัมบูรณ์ (µ ) ต่อค่า


ความหนาแน่น (ρ) ของของไหล นัน้ แทนด้วยสัญลักษณ์ “ν” เมือ่
อุปกรณ์และเครื่องมือ ;

1. U-tube Viscometer 2. Dropping pipette

3.บีกเกอร์ 4. เทอร์โมมิเตอร์

วิ ธีการปฎิ บตั ิ งาน ;


1. เติมของเหลวท่อ L ให้อยูร่ ะดับ G
2. ดูดของเหลวขึน้ ไปเหนือระดับ E เล็กน้อย
3. ปล่อยของเหลว จับเวลาเมือ่ ผ่าน จาก E ไป F
4. บันทึกค่า เปลีย่ นอุณหภูมขิ องเหลว แล้วทา
ตามข้อ1-3
ผลการทดลอง ;

อุณหภูมิ การวัด Time(sec.) C  (mm2/s) avg (mm2/s)


ครัง้ ที1่ 77.58 0.008 0.621
69 0.624
ครัง้ ที2่ 78.44 0.008 0.628
ครัง้ ที1่ 83.69 0.008 0.669
54 0.676
ครัง้ ที2่ 85.24 0.008 0.682
ครัง้ ที1่ 90.27 0.008 0.722
46 0.724
ครัง้ ที2่ 90.59 0.008 0.725
ครัง้ ที1่ 93.04 0.008 0.744
36 0.746
ครัง้ ที2่ 93.60 0.008 0.748

ตัวอย่างการคานวณทีอ่ ุณหภูมิ 69


หาความหนืด
 = Cxt

1 = 0.008 x 77.58 = 0.621 mm2/s

2 = 0.008 x 78.44 = 0.628 mm2/s


หาความหนืดเฉลีย่
0.621 + 0.628
avg = = 0.624 mm2/s
2
วิ เคราะห์การทดลอง ;

อุณหภูมิ กับความหนืดความหนืดจลน์
0.76 0.746
0.74 0.724
0.72

0.7
0.676
avg (mm2/s)

0.68

0.66

0.64 0.624
0.62

0.6

0.58

0.56
69° 54° 46° 36°
อุณหภูมิ

จากการทดลองพบว่าเมือ่ อุณหภูมขิ องไหลลดต่าลง ความหนืดของไหลจะมีคา่ เพิม่ ขึน้

สรุปผลการทดลอง ;
เมือ่ ทาการทดลองทีอ่ ุณหภูมดิ งั ต่อไปนี้ 69 54 46และ36 ได้คา่ ความหนืดเฉลีย่ ดังนี้
0.624 0.676 0.724 และ 0.746 ตามลาดับ ซึง่ จะสังเกตได้วา่ อุณหภูมทิ ล่ี ดแต่คา่ ความหนืดกลับเพิง่ ขีน้
ดังนัน้ จึงสรุปได้วา่ อุณหภูมมิ ผี ลต่อความหนืดแบบแปรผกผัน

You might also like