You are on page 1of 10

รายงานปฏิบัติการ

เรื่อง Tray dryer


นำเสนอ
รศ.ดร.พัชรินทร์ วรธนกุล
โดย
1. นางสาวณัฐวรรณ ตันพิริยะกุล รหัสนักศึกษา 6201031620122
2. นายเดชอมร ธรรมสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 6201031620131
3. นายธนิตสวัสดิ์ ศิริรัตน์ รหัสนักศึกษา6201031620157
4. นางสาวธศินี ธนวุฒิคติวรกุล รหัสนักศึกษา 6201031620165
5. นางสาวธัญทิพ เฉิ่งธนภัทรกุล รหัสนักศึกษา 6201031620173
6. นางสาวกณิศ แสงพยับ รหัสนักศึกษา 6201031620181
7. นายจิรวัฒน์ ลิม้ ประสิทธิศักดิ์ รหัสนักศึกษา 6201031620190
8. นายธณกร กีรณานันท์ รหัสนักศึกษา6101032660013
9.นาย.สิทธิพร พฤกษ์มหาชัยกุล รหัสนักศึกษา6201032663054
ทำการทดลองวันที่ 24 มกราคม2565
ส่งรายงานวันที่ 30 มกราคม2565
ทำการตรวจและบันทึกคะแนนแล้ว
............................................อาจารย์ /ผู้ช่วยสอน
ส่งคืนวันที่..........................................................
บทคัดย่อ
ในการทดลองเรื่องตูอ้ บแห้งแบบถาด (Tray Dryer) มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาหลักการทางานของเครื่องอบแห้งและ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในสมการถ่ายเทมวลสาร โดยการทดลองคือ นาตัวอย่างทรายที่เตรียมไว้ไปให้ความชืน้ แล้วนามาอบใน
ตูอ้ บ ณ อุณหภูมิประมาณ 50 – 250 องศาเซลเซียส จากนัน้ ให้ช่งั นา้ หนักของสารหลังการอบทุกๆ 5 นาที เพื่อคานวณหาอัตรา
การอบแห้ง จากการทดลองสามารถแสดงให้เห็นว่าความชืน้ ของสารจะลดลงตามเวลาที่เพิ่มขึน้ และยังพบว่าอัตราการอบแห้ง
จะลดลงตามความชืน้ ของวัสดุท่ลี ดลงได้จากกราฟ Humidity with time เหตุผลก็คือ เมื่อความชืน้ ของวัสดุนอ้ ยลงความร้อน
ที่วสั ดุจะถูกนาไปใช้ในการระเหยความชืน้ จะลดน้อยลงจนกระทัง้ ถึงจุดที่พนื ้ ผิวของวัสดุมคี ่าใกล้เคียงหรือเท่ากับอุณหภูมิ
กระเปาะเปี ยก ซึ่งส่งผลให้อตั ราการอบแห้งมีคา่ คงที่ ผลการทดลองโดยรวมแล้วเป็ นไปตามทฤษฎี แต่อาจจะเกิดข้อผิดพลาด
ขึน้ ได้บางประการเช่น ทรายอาจถูกลมพัดไปในอากาศบางส่วน ซึง่ ส่งผลให้เกิดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลอง
บทนำ
การอบแห้งเป็นการเอาน้ำออกจากวัสดุที่ต้องการ ทำให้ปริมาณน้ำในวัสดุนั้นลดลง (ความชื้นลดลง) โดย
ส่วนใหญ่วัสดุนั้นจะอยู่ในสถานะของแข็ง น้ำที่ระเหยออกจากวัสดุนั้นอาจจะไม่ต้องระเหยที่จุดเดือด แต่ใช้อากาศ
พัดผ่านวัสดุนั้นเพื่อดึงน้ำออกมา วัสดุจะแห้งได้มาก-น้อยจะขึ้นอยู่กับธรรมชาติของมันด้วยในการอบ เมื่อทำให้
ของเหลวในวัตถุดิบระเหยเป็นไอ จะได้ผลิตภัณฑ์ของแข็งที่มีสัดส่วนของของเหลวต่ำลง โดยการอบแห้งมี
ความสำคัญมากในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่มชนิดผง ยา อุตสาหกรรมสีย้อม
อุตสาหกรรมไม้ เป็นต้น ซึ่งในการทดลองนี้เป็นการทดลองเรื่องการอบแห้ง (Tray Dryer) โดยการทดลองนี้มี
วัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู้ปรากฎการณ์ของการอบแห้งจากทฤษฎีและการทดลอง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในสมการ
การถ่ายเทมวลสาร โดยในการทดลองจะทำการชั่งน้ำหนักของถาด และชั่งน้ำหนักของทรายที่มีปรมาณ 50-70 กรัม
ทำการพรมน้ำปริมาณ 5-10 กรัมลงบนทราย จากนั้นนำไปทำการอบแห้ง โดยควบคุม Blower ด้วยความเร็วลม
0.5-1.0 m/s เป็นเวลา 5 นาที ทำการบันทึกค่า Tin และ Tout ของอากาศ หลังจากนั้นทำการเปิด Heater โดย
ทำการปรับอุณหภูมิเป็น 100-200°C และรอให้ Tdb และ Twb มีค่าคงที่ ทำการบันทึก Tin ของอากาศ หลังจากนั้น
ทำการจับเวลา และบันทึกค่าน้ำหนักของทราย เก็บค่า Tdb และ Twb ทุกๆ 5 นาที จนกว่าน้ำหนักของทรายจะไม่
มีการเปลี่ยนแปลง จากนั้นทำการปิด Heater โดยปรับอุณหภูมิเป็น 0°C เป็นเวลา 5 นาที และปิดแผงควบคุม
Blower เป็น 0 m/s ปิดเครื่อง Tray Dryer โดยผลจากการทดลองจะถูกนำไปพลอตกราฟและคำนวณหา
ความสัมพันธ์ต่อไป
วิธีการทดลอง

1. การเตรี ยมตัวอย่าง ชัง่ น้ าหนักถาดด้วยเครื่ องชัง่ น้ าหนัก และบันทึกผล

2. ใส่ sample material ลงในถาดที่อยูบ่ นตาชัง่ และชัง่ น้ าหนักของ sample material


ให้อยูท่ ี่ 50 – 70 กรัม บันทึกน้ าหนักก่อนอบ

3. พรมน้ าลงบน sample material ประมาณ 5 - 10 กรัม

4. เปิ ดแผงควบคุม ปรับแรงดันไฟฟ้าเป็ น 220 โวลต์ และเปิ ด Main Power

5. เปิ ด control panel ของ Blower drying ให้มีความเร็วลมอยูท่ ี่ 0.5 - 1 m/s เป็ นเวลา 5 นาที

6. เปิ ด control panel ของ Heater dryer และปรับอุณหภูมิเป็ น 100 – 200 องศาเซสเซียส
จนค่า Tdb และ Twb คงที่ จากนั้นบันทึกผล Tin ของอากาศ

7. นาถาดที่ใส่ sample material จากข้อ 3 ใส่เข้าเครื่ อง dryer เริ่ มจับเวลา และบันทึกน้ าหนัก
ของ sample material, Tdb, Twb ทุกๆ 5 นาที จนกว่าน้ าหนักจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง

8. นาถาดที่ใส่ sample material จากข้อ 6 ออกจากเครื่ อง dryer เพื่อชัง่ น้ าหนัก


และบันทึกน้ าหนักหลังจากการอบ

9. ปรับอุณหภูมิของ Heater เป็ น 0 องศาเซสเซียส ทิ้งไว้ 5 นาทีและปิ ด Heater dryer ที่ control panel

10. ปรับให้มีความเร็วลมอยู่ที่ 0 m/s และปิ ด control panel ของ Blower drying

11. ปิ ดเครื่ องและเก็บอุปกรณ์


ผลการทดลอง
ตารางการทดลองที1่ อุณหภูมิฮีทเตอร์ 180˚C
Time (min) Humidity (wet standard) Drying Rate (g/min)
0 0.1544 0
5 0.0935 -0.7
10 0.0418 -0.46
15 0.0118 -0.22
20 0 -0.06
25 0 0
30 0 0
35 0 0

ตารางการทดลองที2่ อุณหภูมิฮีทเตอร์ 220˚C


Time (min) Humidity (wet standard) Drying Rate (g/min)
0 0.1650 0
5 0.0866 -0.8
10 0.0380 -0.48
15 0 -0.2
20 0 0
25 0 0
30 0 0
35 0 0
วิเคราะห์ผลการทดลอง
อภิปรายการทดลอง
จากการทดลองการอบทรายด้วยเครื่ องอบแห้งแบบถาด (Tray dryer) โดยจะตั้งอุณหภูมิฮีทเตอร์ ของการ
ทดลองที่ 1 และ 2 เป็ น 180 และ 220 องศาเซลเซียสตามลาดับ ใช้เวลาในการอบแห้งในแต่ละครั้งประมาณ 5 นาที
ซึ่งสามารถนามาวิเคราะห์สภาวะในการอบแห้งของทรายได้ ในที่น้ ีเราจะทาการเปรี ยบเทียบค่าการทดลองที่ 1
และ 2 ที่มีการใช้อุณหภูมิที่ต่างกัน ทั้งนี้เพื่อต้องการให้เห็นความต่างของอุณหภูมิที่มีผลต่ออัตราการแห้งของ
ทราย โดยจากการทดลองที่ 1 (ที่มีการใช้อุณหภูมิฮีทเตอร์ที่ 180 องศาเซลเซียส) จะเห็นว่าทุกๆ 5 นาทีที่ผา่ นไป
ค่า Humidity จะลดลงเรื่ อยๆและมีค่าเป็ นศูนย์ในที่สุด ส่วนค่า Drying Rate จะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆจนเข้าใกล้ศูนย์
ในที่สุด เช่นเดียวกับการทดลองที่ 2 (ที่มีการใช้อุณหภูมิฮีทเตอร์ที่ 220 องศาเซลเซียส) เพียงแต่การทดลองที่ 2
ความชื้นของทรายจะหมดไปก่อน ดังจะเห็นได้จากตารางการทดลองที่ 1 ค่าความชื้นของทรายจะเท่ากับศูนย์เมื่อ
เวลาผ่านไป 20 นาที และตารางการทดลองที่ 2 ค่าความชื้นของทรายเท่ากับศูนย์เมื่อเวลาผ่านไปเพียง 15 นาที นัน่
จึงแสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิแปรผกผันกับค่าความชื้น กล่าวคือ ที่อุณหภูมิสูงๆ ค่าความชื้นก็จะลดลง และนัน่ จึง
เป็ นสาเหตุให้อตั ราการแห้งของทรายมีโอกาสเพิ่มขึ้นสู งนัน่ เอง นอกจากนี้ยงั สามารถสังเกตได้อีกว่า ปริ มาณ
ของน้ าในทรายหลังการอบมีมวลรวมที่เปลี่ยนแปลงไป จนเมื่อระยะเวลาหนึ่งถึงคงที่ ทาให้ทราบได้วา่ ค่า
ความชื้นจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่สม่าเสมอและปริ มาณความร้อนที่ได้รับทั้งหมดจะถูกใช้ไปกับการระเหย
ความชื้นของทรายเท่านั้น

สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองการอบทรายด้วยเครื่ องอบแห้งแบบถาด (Tray dryer) เมื่อนาค่าที่ได้จากการทดลองมาคานวณและนาไปplot
เมื่อดูค่าความสัมพันธ์จากกราฟจะพบว่าเมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้น อุณหภูมิมากขึ้น ทำให้ความชื้นในทรายเกิดการ
ระเหยและมีค่าลดลง สังเกตุได้จากค่า%Humidityที่มีค่าน้อยลงเมื่อเวลาผ่านไปและจะลดลงอีกครั้งเมื่อผ่าน
ความชื้นวิกฤตส่งผลให้%Humidityมีค่าคงที่
เอกสารอ้างอิง
- Chemical Engineering Unit Operation Laboratory 010313305, Department of Chemical Engineering,
Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 2/256
ภาคผนวก
ตารางการทดลองที1่ อุณหภูมฮิ ีทเตอร์ 180˚C
พื้นที่หน้าตัดของ Tray dryer = 0.09 m2
น้ำหนักของ Tray = 328.6 g
น้ำหนักของ Dry material = 50.4 g
Temp (°C) Air % Humidity Water
Time Weight tray + Material Surrounding
velocity weight
(min) Tdb Twb material(g) weight (g) temperature (°C) Input Output
(m/s) (g)
0 43.5 43.9 388.2 59.6 32.9 1 35.1 36 9.2
5 43.9 44 384.2 55.6 32.9 1 34.1 34.9 5.2
10 44 44 381.2 52.6 33.2 1 33.7 34.2 2.2
15 44.2 44.3 379.6 51 33.1 1 33.3 33.6 0.6
20 44.2 44.1 379 50.4 33.1 1 33.3 33.6 0
25 44.3 44.4 379 50.4 33.3 1 33.6 33.8 0
30 44.3 44 379 50.4 33.4 1 33 33.7 0
35 44.7 45 379 50.4 33.5 1 32.2 33.2 0

ตารางการทดลองที2่ อุณหภูมฮิ ีทเตอร์ 220˚C


พื้นที่หน้าตัดของ Tray dryer = 0.09 m2
น้ำหนักของ Tray = 328.6 g
น้ำหนักของ Dry material = 50.6 g

Time Temp (°C) Weight tray + Material Surrounding Air % Humidity Water
(min) Tdb Twb material(g) weight (g) temperature (°C) velocity Input Output weight
(m/s) (g)
0 44.8 45.2 389.2 60.6 33.9 1 31.6 32.6 10
5 44.7 45.2 384 55.4 33.9 1 31.1 32.4 4.8
10 44.8 45.1 381.2 52.6 33.8 1 30.8 31.6 2
15 45.2 45 379.2 50.6 33.9 1 30.8 31.1 0
20 45.3 45.1 379.2 50.6 33.7 1 30.7 30.8 0
25 45.1 45 379.2 50.6 33.9 1 30.8 30.6 0
30 45.2 45 379.2 50.6 33.9 1 31 30.3 0
35 45.1 45.1 379.2 50.6 33.9 1 30.9 30.2 0
ตัวอย่างการคำนวณ
1. น้ำหนักของน้ำในทราย
อุณหภูมิฮีทเตอร์ 180˚C
น้ำหนักของทรายก่อนเข้าเตาอบ 55.6 กรัม
น้ำหนักของทรายแห้ง 50.4 กรัม
น้ำหนักของน้ำในทราย = น้ำหนักของทรายก่อนเข้าเตาอบ - น้ำหนักของทรายแห้ง
น้ำหนักของน้ำในทราย = 55.6 – 50.4 = 5.2
2. Humidity (wet standard)
อุณหภูมิฮีทเตอร์ 180˚C
น้ำหนักของทรายก่อนเข้าเตาอบ 55.6 กรัม
ที่เวลา 5 นาที น้ำหนักของน้ำในทราย 5.2 กรัม
น้ำหนักของน้ำในทราย 5.2
Humidity (wet standard) = = = 0.0935
น้ำหนักของทรายก่อนเข้าเตาอบ 55.6

3. Drying Rate
อุณหภูมิฮีทเตอร์ 180˚C
0 นาที น้ำหนักของน้ำในทราย 9.2 กรัม
5 นาที น้ำหนักของน้ำในทราย 5.2 กรัม
10 นาที น้ำหนักของน้ำในทราย 2.2 กรัม
น้ำหนักของน้ำในทรายเวลาถัดไป − น้ำหนักของน้ำในทรายเวลาก่อนหน้า
ที่เวลา 5 นาที ค่า Drying Rate =
เวลาถัดไป − เวลาก่อนหน้า
2.2−9.2
Drying Rate = = -0.7 กรัม/นาที
10−0

You might also like