You are on page 1of 11

Tray Dryer

นำเสนอ
รศ.ดร. พัชรินทร์ วรธนกุล
นำงสำวจุติพร สำยหยุด 6201031620203
นำยณัฐวุฒิ ดีเมฆ 6201031620220
นำงสำวณิชำพัชร์ สุระเกษ 6201031620238
นำยธรรมวุฒิ ดีเจริญวิรุฬ 6201031620246
นำงสำวธัญกร แก้วเนตร 6201031620254
นำงสำวจุฑำทิพ ขันธวิสูตร 6201031620262
นำยฐิติพันธ์ ฐำนวิเศษ 6101032660048
ทำกำรทดลองวันที่ 24 มกรำคม พ.ศ.2565
ส่งรำยงำนวันที่ 31 มกรำคม พ.ศ.2565
รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ
Mechanical Engineering Unit Operation Lab 010313305
ภำคกำรศึกษำที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2564
ภำควิชำวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศำสตร์
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ
บทคัดย่อ

กำรทดลองเรื่องตู้อบแห้งแบบถำด (Tray dryer) กำรอบแห้งเป็นกระบวนกำรลดควำมชื้น โดยอำศัยกำร


ถ่ำยเทควำมร้อนไปยังวัสดุเพื่อกำจัดควำมชื้นออก กำรทดลองนี้จะปรับอุณหภูมิเครื่องทำควำมร้อน (Heater)
ทำงำนที่ 180°C และ 220°C และ Blower ที่ควำมเร็วลม 1 เมตรต่อวินำที ใช้ทรำย 50 ถึง 70 กรัม และน้ำ 5 ถึง
10 กรัม ตำมลำดับโดยค่ำตัวแปรที่ทำกำรวิเครำะห์ คือ อัตรำส่วนกำรอบแห้ง (Drying ratio) และเปอร์เซ็นต์
ควำมชื้น (%Humidity) โดยจะแสดงผลเปรียบเทียบระหว่ำงกำรอบแห้งที่อุณหภูมิ 180°C และ 220°C โดยใช้
กรำฟ 2 ชนิด ได้แก่ กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเปอร์เซ็นต์ควำมชื้นกับเวลำ ซึ่งพบว่ำที่อุณหภูมิ 220°C มีกำร
กำจัดควำมชื้นออกจำกวัสดุได้มำกกว่ำ และกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเปอร์เซ็นต์ควำมชื้นกับอัตรำส่วนกำร
อบแห้งแสดงให้เห็นว่ำทั้งสองอุณหภูมิในช่วงเริ่มต้นอัตรำกำรอบแห้งจะค่อยๆเพิ่มขึ้นจนถึงค่ำสูงสุด และอัตรำกำร
อบแห้งจะค่อยๆลดลง จนถึงจุดที่เรียกว่ำควำมชื้นสมดุล (Equilibrium moisture content)
บทนำ
กำรอบแห้ง (Drying) คือกำรเอำน้ำออกจำกวัสดุ เพื่อให้ปริมำณน้ำในวัสดุน้อยลง หรือเรียกว่ำควำมชื้น
น้อยลง วัสดุหรือสำรตัวอย่ำงในกำรอบแห้งส่วนใหญ่จะอยู่ในสถำนะของแข็ง กำรอบแห้งจะเริ่มต้น เมื่อมีกำร
เปลี่ยนแปลงอัตรำกำรทำให้แห้งจำกคงที่ไปเป็นลดลง โดยแบ่งเป็น 3 ช่วงหลักๆ คือ
- ช่วงที่ 1 ช่วงระยะเวลำก่อนให้ควำมร้อน จะเป็นช่วงที่พื้นผิวของวัสดุถูกให้ควำมร้อนจนอุณหภูมิคงที่
ใกล้เคียงกับอุณหภูมิที่ควำมชื้นในวัสดุถึงจุดเกิดกำรระเหย หรืออุณหภูมิกระเปำะเปียก (Twb)
- ช่วงที่ 2 ช่วงระยะเวลำอัตรำอบแห้งคงที่ เป็นช่วงที่อุณหภูมิพื้นผิวของวัสดุจะใกล้เคียงกับอุณหภูมิ
กระเปำะเปียกของอำกำศร้อน เนื่องจำกกำรถ่ำยเทควำมร้อนผ่ำนวัสดุที่มีกำรบังคับกำรระเหยควำมชื้นใน
วัสดุ ทำให้ช่วงเวลำนี้มีอัตรำกำรอบแห้งคงที่ และเมื่อควำมชื้นถึงจุดสิ้นสุด หรือที่เรียกว่ำ วิกฤตควำมชื้น
(moisture crisis) ควำมชื้นจะไปไม่ถึงพื้นผิววัสดุ ทำให้อุณหภูมิที่พื้นผิววัสดุนั้นเพิ่มขึ้น
- ช่วงที่ 3 ช่วงระยะเวลำอัตรำกำรอบแห้งลดลง เป็นช่วงหลังจำกอบแห้งจนจุดวิกฤตควำมชื้นเสร็จสิ้น อัตรำ
กำรอบแห้งจะลดลง เนื่องจำกควำมชื้นที่พื้นผิววัสดุน้อยลง ควำมร้อนที่ถูกใช้ในกำรระเหยน้อยลง ดังนั้น
ควำมร้อนที่เหลือจึงสำมำรถนำมำใช้เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของวัสดุได้เมื่อได้รับควำมร้อนจนควำมชื้นลดลงถึงจุด
หนึ่งที่ไม่สำมำรถลดลงไปมำกกว่ำนี้แล้ว เรำเรียกจุดนี้ว่ำ ไดนำมิกสมดุล (Dynamic equilibrium)
ในกำรอบแห้งนี้ จะแห้งมำกหรือน้อยขึ้นอยู่กับธรรมชำติของวัสดุหรือสำรตัวอย่ำงนั้นๆด้วย เช่น ควำมพรุน,
ขนำดช่องว่ำงภำยในวัสดุ, ประเภทวัสดุ เป็นต้น
กำรทดลองเรื่องกำรอบแห้ง (Tray dryer) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำสถำนกำรณ์ของกำรอบแห้งทั้งใน
ทฤษฎี และกำรทดลอง และเพื่อเข้ำใจสมกำรกำรถ่ำยโอนมวล (Mass transfer Equation) ในกำรทดลองนี้ วัสดุ
หรือสำรตัวอย่ำงที่ใช้ คือ ทรำยที่มีควำมชื้นจำกกำรพ่นเติมน้ำ ตัวแปรที่จะเก็บค่ำในกำรทดลอง คือ อุณหภูมิ
กระเปำะเปียก (Twb), อุณหภูมิกระเปำะแห้ง (Tdb), อุณหภูมิภำยนอก (Surrounding temperature), น้ำหนัก
ของถำด และน้ำหนักของสำรตัวอย่ำง
วิธีกำรทดลอง
1.ชั่งน้ำหนักถำดและบันทึกค่ำ

2.เทวัสดุตัวอย่ำงลงบนถำดประมำณ 50-70 กรัม จำกนั้นนำไปชั่งน้ำหนักและบันทึกค่ำ

3.เพิ่มควำมชื้นให้กับวัสดุตัวอย่ำงประมำณ 5-10 กรัม

4.เปิดแผงควบคุมด้วยกำรปรับแรงดันไฟฟ้ำให้มีค่ำ 220 โวลต์ จำกนั้นเปิดสวิตช์ main power

5.เปิด fan power จำกนั้นปรับ air flowrate ให้มีค่ำ 0.5 ถึง 1.0 เมตร/วินำที เป็นเวลำ 5 นำที

6.เปิดสวิตช์ Heater, เปิดเครื่องวัดอุณหภูมิกระเปำะแห้งและกระเปำะเปียก จำกนั้นปรับอุณหภูมิเป็น


100-200 องศำเซลเซียส เมื่อค่ำ Tdb และค่ำ Twb คงที่ ให้บันทึกค่ำอุณหภูมิ T1 นั้น ณ เวลำที่ 0

7.ใส่ถำดวัสดุตัวอย่ำงเข้ำไปในเครื่องอบและเริ่มจับเวลำจนกว่ำวัสดุตัวอย่ำงจะแห้ง บันทึกน้ำหนักถำดวัสดุตัวอย่ำง
, Percent of humid, Tdb และ Twb ทุก 5 นำทีลงในตำรำงจนกว่ำน้ำหนักจะไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อน้ำหนักคงที่แล้ว
ให้หยุดกำรทดลอง

8.ปรับอุณหภูมิกลับมำให้เป็น 0 องศำเซลเซียส, ปิดสวิตช์เครื่องวัดอุณหภูมิ, ปิด heater power จำกนั้นทิ้งไว้


5 นำที จึงค่อยปรับ air flowrate ให้มีค่ำ 0 เมตร/วินำที และปิด fan power

9.ปิด main power และ ปรับแรงดันไฟฟ้ำให้มีค่ำ 0 โวลต์


ผลกำรทดลอง
ผลกำรทดลองครั้งที่ 1

เป็นกำรคำนวณที่ Heater temperature 180 𝐶 0

Cross sectional area of the dryer = 0.09 𝑚2

Time Temp Weight Material Surrounding Air % Humidity Water Humidity dry
(min) (𝐶 0) tray + weight temperature velocity weight (wet ratio
Tbd Twb material(g) (g) (°C) (m/s) Input output on standard)
material
0 41.3 41.4 500.0 60.2 30.5 1 40.8 41.0 10.2 0.169 0.00
5 42.1 42.2 497.8 58.0 30.8 1 38.8 39.5 8.0 0.138 -0.46
10 42.9 42.1 495.4 55.6 30.8 1 37.3 39.2 5.6 0.101 -0.56
15 42.8 42.6 492.2 52.4 31.3 1 37.6 38.3 2.4 0.046 -0.38
20 43.4 43.2 491.6 51.8 31.4 1 36.7 37.5 1.8 0.035 -0.14
25 43.4 43.3 490.8 51.0 31.7 1 36.2 37.4 1.0 0.020 -0.16
30 43.7 43.2 490.0 50.2 31.9 1 36.2 37.4 0.2 0.004 -0.09
35 43.8 43.2 489.9 50.1 31.9 1 36.2 37.4 0.1 0.002 0.00

ตำรำงที่ 1 ข้อมูลกำรทดลองของ Tray dryer ที่ Heater temperature 180 𝐶 0

ชื่อตารางไม่ควรอยู่ล่างตาราง
กำรทดลองรอบที่ 2

Heater temperature 220 𝐶 0

Cross sectional area of the dryer = 0.09 𝑚2

Time Temp Weight Material Surrounding Air % Humidity Water Humidity dry
(min) (𝐶 0 ) tray + weight temperatur velocity weight (wet ratio
Tbd Twb material (g) e (°C) (m/s) Input output on standard)
(g) material
0 43.1 43.3 500.4 60.6 32.0 1 36.8 37.2 10.600 0.175 0.00
5 43.7 43.5 498.2 58.4 32.2 1 36.3 37.1 8.400 0.144 -0.48
10 43.8 43.9 495.6 55.8 32.5 1 35.7 36.4 5.800 0.104 -0.50
15 43.7 43.9 493.2 53.4 32.1 1 36.0 36.3 3.400 0.064 -0.36
20 44.2 43.9 492.0 52.2 32.4 1 35.4 36.1 2.200 0.042 -0.28
25 43.8 43.5 490.4 50.6 32.5 1 35.2 36.0 0.600 0.012 -0.22
30 44.4 43.7 489.8 50.0 32.7 1 34.9 35.9 0.000 0.00 -0.06
35 44.4 43.6 489.80 50.00 32.50 1 34.9 35.9 0.000 0.00 0.000

ตำรำงที่ 2 ข้อมูลกำรทดลองของ Tray dryer ที่ Heater temperature 220 𝐶 0


อภิปรำยผลทดลอง
จำกำรทดลองเรื่อง Tray dryer เพื่อเอำควำมชื้นออกจำกทรำย แบ่งกำรทดลองออกเป็น2 กำรทดลอง
โดยจำกกำรทดลองที่1 จะมีกำรตั้งค่ำ Heater temperature 180 𝐶 0 และกำหนดค่ำ Cross sectional area of
the dryer 0.09 𝑚2 และจำกกำรทดลองที่2 จะมีกำรตั้งค่ำ Heater temperature 220 𝐶 0 และกำหนดค่ำ
Cross sectional area of the dryer 0.09 𝑚2 นำข้อมูลของทั้งสองกำรทดลองมำพลอตในกรำฟเดียวกัน
กรำฟที่1 จะนำข้อมูลของ %Humidity กับ Time(min) มำพลอต และกรำฟที่2 จะนำข้อมูลของ Drying
ratio(g/min) กับ %Humidity มำพลอต
จำกกรำฟที่ 1 จะเห็นได้ว่ำช่วงแรกของกำรทดลอง %Humidity ของทั้งสองกำรทดลองจะลดลงอย่ำง
รวดเร็วในช่วง 20 นำทีแรก แต่หลังจำกนั้น %Humidity จะลดช้ำลงและเริ่มคงที่ เนื่องจำกในตอนแรกทรำยจะมี
ควำมชื้นอยู่มำก และพอเวลำผ่ำนไปควำมชื้นจะลงลด ก็เป็นไปตำมทฤษฎีที่ว่ำ เมื่อถึงจุด Equilibruim moisture
content ปริมำณของควำมชื้นของวัสดุจะลดลงจนถึงจุดที่มีค่ำคงที่ จำกนั้นถ้ำสังเกตควำมแตกต่ำงระหว่ำงสอง
กำรทดลองจะเห็นได้ว่ำกรำฟของกำรทดลองที่1 จะมีค่ำ %Humidity สูงกว่ำกรำฟของกำรทดลองที่2 เนื่องจำก
กำรทดลองที่1 นั้นมีค่ำ Heater temperature น้อยกว่ำ เมื่ออุณหภูมิน้อย จะทำให้ควำมชื้นที่สะสมในทรำยจะ
ลดลงได้น้อยกว่ำกำรทดลองที่2 ดังนั้นค่ำ %Humidity ของกำรทดลองที่1 จึงมำกกว่ำกำรทดลองที่2 เมื่อทำกำร
เทียบผลกำรทดลองกับทฤษฎีจะเป็นไปตำมทฤษฎี
ในกราฟมีแต่ Drying rate
จำกกรำฟที่ 2 จำกเส้นกรำฟทั้งสองกำรทดลองจะเห็นได้ว่ำที่ %Humidity ในตอนเริ่มของแต่ละกำร
ทดลอง จะมีค่ำ Drying ratio เป็นศูนย์เนื่องจำกควำมชื้นยังสูงและถ้ำดูจำกตำรำงที่1,2 ตอนเริ่มต้นเริ่มเวลำที่ 0
min กล่ำวคือยังไม่เริ่มจับเวลำดูกำรระเหยทำให้ค่ำ Drying ratio ยังคงเป็นศูนย์อยู่ แต่เมื่อจับเวลำแล้วจะมีค่ำ
Drying ratio ค่อยๆลดลงจนเริ่มคงที่ จำกนั้นจะกลับไปเป็นศูนย์อีกรอบ เนื่องจำกทรำยถึงจุดที่ไม่มีน้ำระเหยออก
มำแล้ว เป็นไปตำมทฤษฎีที่ว่ำ เมื่อถึงจุด Equilibrium moisture content ปริมำณของควำมชื้นของวัสดุจะลดลง
จนถึงจุดที่มีค่ำคงที่ เมื่อเปรียบเทียบกรำฟกำรทดลองที่1 และกรำฟกำรทดลองที่ 2 จะเห็นได้ว่ำช่วง %Humidity
ของกำรทดลองที่1 จะสูงกว่ำช่วง %Humidity ของกำรทดลองที่ 2 เนื่องจำก Heater temperature ของกำร
ทดลองที่1 มีค่ำน้อยกว่ำกำรทดลองที่ 2 ดังนั้นกำรทดลองที่ 1 จะลดควำมชื้นได้น้อยกว่ำกำรทดลองที่ 2 เมื่อทำ
กำรเทียบผลกำรทดลองกับทฤษฎีจะเป็นไปตำมทฤษฎี
สรุปผลกำรทดลอง
ในกำรทดลองนี่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ควำมชื้นที่อยู่ในเม็ดทรำยได้ถูกนำออกไปด้วยหลักกำรพำควำมร้อน
โดยมีกำรผสมหลัก mass transfer ด้วยโดยหลักกำรเรำสำมำรถดูได้จำกกรำฟ Humidity (wet standard) ต่อ
เวลำที่เป็นแกน x โดยค่ำ Humidity standard สำมำรถคำนวนได้จำก Wet content basis โดยทฤษฎีดังกล่ำว
มำจำกกรำฟ Saturation curve ซึ่งจะเห็นได้ว่ำกรำฟเป็นลักษณะเส้นโค้งเนื่องจำกว่ำมี slop คือ -s/λ โดยเมื่อ
อุณหภูมิเปลี่ยน จะมีผลต่อค่ำ λ (ค่ำ Latent heat) ทำให้อัตรำกำรระเหยของควำมชื้นไม่คงที่แต่ควำมชื้นจะถูก
ระเหยมำกขึ้นตำมเวลำที่นำนขึ้น โดยเมื่อวัสดุเริ่มมีควำมชื้นเหลืออยู่น้อย จนถึงจุดหนึ่งที่ควำมชื้นหยุดกำรระเหย
เรียกจุดนี้ว่ำ Dynamic equilibrium ซึ่งจุดนี้ยังคงมีควำมชื้นเหลืออยู่น้อยนิดที่ยังอยู่ในวัสดุ
อ้ำงอิง
Mechanical Unit Operation Laboratory 010313305, Department of Chemical Engineering,
Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 2/2564
ภำคผนวก
ตัวอย่ำงของกำรคำนวณ
Weight of tray (g) = 439.800
Dry material weight (g) = 50.000

เป็นกำรคำนวณที่ Heater temperature 180 𝐶 0 Cross sectional area of the dryer = 0.09 𝑚2

• กำรคำนวณหำ Water weight on material ที่เวลำ 5 นำที


Material weight - Dry material weight = Water weight on material
58.0– 50.0 = 8.0
∴ Water weight on material = 8.0 g

• กำรคำนวณหำค่ำ Humidity (wet standard) ที่เวลำ 5 นำที


Material weight − Dry material weight
= Humidity (wet standard)
Material weight
58.0 – 50.0
= 0.137
58.0

∴ Humidity (wet standard) = 0.137 g

• กำรคำนวณหำค่ำ Drying ratio ที่เวลำ 5 นำที


weight of water in sand in the next time − weight of water in sand in the previous time
next time − previous time
=drying ratio
5.6 – 10.2
10 − 0
= −0.46

∴ Drying ratio = -0.46 g/min

You might also like