You are on page 1of 35

โครงงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย

โดย

1.นาย วุฒิกร - เลขที่ 5

2.นาย อชิระ วัฒนกุล เลขที่ 6

3.นาย สุเทพ ภูทิพย์ เลขที่ 8

4.นายศุกลวัฒน์ อุ๊ตจิ๋ว เลขที่ 10


รายงานวิชานี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา การศึกษาค้นคว้า
และสร้างองค์ความรู้ I30202

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร

ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 ปี การศึกษา 25566


โครงงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
โดย

1.นาย วุฒิกร - เลขที่ 5

2.นาย อชิระ วัฒนกุล เลขที่ 6

3.นาย สุเทพ ภูทิพย์ เลขที่ 8

4.นายศุกลวัฒน์ อุ๊ตจิ๋ว เลขที่ 10

ครูที่ปรึกษา

อาจารย์ชัชวาล มโนวงศ์

อาจารย์ณัฐพงศ์ จิตรบรรจง
รายงานวิชานี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา การศึกษาค้นคว้า
และสร้างองค์ความรู้ I30202

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร

ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 ปี การศึกษา 2566


บทคัดย่อ
โครงงานเคมี เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน คือ เพื่อศึกษาวิธีการสกัดน้ำมัน
หอมระเหยของดอกการเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อนและด้วยตัวทำ
ละลายเอทานอล และเพื่อเปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพกลิ่นของ
น้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกจากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน้ำ
ร้อน และการสกัดด้วยตัวท้าละลายเอทานอล เพื่อให้ได้สีที่สวยงาน
และกลิ่นที่สามารถนำมาใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพ เพราะ
กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยนอกจากจะช่วยในเรื่องของการดับกลิ่น
ได้แล้ว ยังช่วยให้ผู้ที่ได้รับกลิ่นมีความรู้สึกผ่อนคลาย โดยสำรวจ
ความพงพอใจจากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
จำนวน 5 คน

กิตติกรรมประกาศ
ในการทำโครงงาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ประสิทธิภาพ
การสกัดน้ำมันหอมระเหย เป็ นโครงงานที่จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการ
สกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อนและด้วยตัวทำ
ละลายเอทานอลและนำมาเปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพเพื่อหา
ว่าการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิธีใด จะทำให้ได้น้ำมันหอมสีที่
สวยงานและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งผู้ที่ต้องการศึกษาสามารถ
ศึกษาจากโครงงานที่คณะผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นได้

การจัดทำโครงงานในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ได้รับความ
อนุเคราะห์และการสนับสนุนด้วยดีจาก อาจารย์ชัชวาล มโนวงศ์
และอาจารย์ณัฐพงศ์ จิตรบรรจง ครูที่ปรึกษาที่ได้ให้คำแนะนำต่างๆ
ในการทำโครงงานเคมีให้ถูกต้องตามหลักการ และขอขอบใจ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ

กรุงเทพมหานครที่ได้ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือให้โครงงาน
สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

สุดท้ายนี้ขออุทิศความดีที่มีในการศึกษาโครงงานนี้ให้กับ คุณ
พ่อ คุณแม่ ครอบครัวของคณะผู้จัดทำ และขอขอบคุณเพื่อน
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ
กรุงเทพมหานครทุกคน ที่ให้ความช่วยเหลือและให้กำลังใจมาโดย
ตลอด

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

บทคัดย่อ........................................................................................................................................ ก

กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ ข

สารบัญ.......................................................................................................................................... ค

สารบัญตาราง............................................................................................................................... ง

สารบัญรูปภาพ............................................................................................................................. จ

บทที่1............................................................................................................................................. 1

1.1 ที่มาและความสำคัญ...............................................................................................................1

1.2 วัตถุประสงค์..............................................................................................................................1

1.3 ขอบเขตการศึกษา....................................................................................................................2

1.4 สมมติฐาน..................................................................................................................................2

1.5 ตัวแปรที่ศึกษา..........................................................................................................................2

1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ.................................................................................................................2

บทที่ 2........................................................................................................................................... 3

2.1 การเวก.......................................................................................................................................3

2.2 เอทานอล...................................................................................................................................5

2.3 การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน...........................................................6

2.4 การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยตัวทำละลาย........................................................................6

บทที่ 3........................................................................................................................................... 7

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง..........................................................................7

3.2 ขั้นตอนกำรทดลอง...................................................................................................................8

บทที่ 4......................................................................................................................................... 10

บทที่ 5......................................................................................................................................... 12

5.1 สรุปผล......................................................................................................................................12

5.2 อภิปรายผล..............................................................................................................................12

5.3 ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................12

บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 13

ภาคผนวก.................................................................................................................................... 14

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลกลิ่น หลังจากการทดลอง 1 วัน 10

ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลกลิ่น หลังจากการทดลอง 3 วัน 11

ตารางที่ 3 ตารางบันทึกผลจากการสังเกตสี หลังจากการทดลองวัน


ที่ 1 และ 311

สารบัญรูปภาพ
ภาพที่ 1 เตรียมดอกกระเวกสะอาดมาหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ15

ภาพที่ 2 ใช้ตะเกียบคนสาร15

ภาพที่ 3 น้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำ
ร้อน16

ภาพที่ 4 น้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยตัวทำละลายเอทา
นอล16

1

บทที่1
บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
ปั จจุบันนี้น้ำมันหอมระเหยเป็ นที่นิยมมากในบุคคลช่วงอายุ
ของวัยรุ่น หรือ วัยทำงาน เพราะคุณสมบัติที่สำคัญของน้ำมันหอม
ระเหย คือ กลิ่นหอม ที่ช่วยท้าให้รู้สึกผ่อนคลาย ทำให้สดชื่น เพราะ
ในแต่ละวัน ผู้คนต่างเจอเรื่องราวต่างๆที่ท้าให้เครียด น้ำมันหอม
ระเหยจึงเป็ นหนึ่งในตัวเลือกที่ผู้คนมักเลือก เพื่อทำให้ตนเองรู้สึก
ผ่อนคลายจากสิ่งที่เจอมา แต่ในยุคสมัยนี้น้ำมันหอมละเหยของ
แต่ละบริษัทก็มีกระบวนการในการผลิตที่แตกต่างกัน เพื่อให้ได้
น้ำมันหอมระเหยที่มีกลิ่นหอมมากๆบางบริษัทจึงต้องใช้ส่วนผสมที่
จะทำให้น้ำมันหอมระเหยมีกลิ่นที่หอมและทน ซึ่งสิ่งที่จะเกิดตาม
มา คือ ราคาที่ค่อนข้างสูง ซึ่งอาจทำให้หลายๆคนเข้าถึงยาก

คณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงปั ญหาของน้ำมันหอมระเหยใน
ปั จจุบัน ซึ่งนั่นก็คือราคาที่ค่อนข้างสูง โดยคณะผู้จัดทำจะสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากดอกการเวก เพราะการเวกนั้นออกดอกทั้งปี มี
กลิ่นที่หอมและมีปลูกมาในประเทศไทย แต่ผู้คนไม่นิยมนำมาใช้ให้
เกิดประโยชน์ คณะผู้จัดท้าจึงเลือกดอกการเวกมาสกัดน้ำมันหอม
ระเหย และเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหอมระเหย ที่ต้นทุนต่ำ
สามารถทำได้ง่าย และมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก คณะผู้จัดท้าจึงจัดทำ
2

โครงงาน เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อให้


บุคคลที่มีความสนใจ ได้ทำตามอย่างง่ายดาย โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
จำนวนมาก และคณะผู้จัดทำได้นำการสกัดน้ำมันหอมระเหยทั้ง 2
วิธีมาจัดทำเป็ นโครงงานเพื่อเปรียบเทียบหาวิธีที่จะให้น้ำมันหอม
ระเหยที่มีสีและกลิ่นหอมให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาวิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกการเวก
ด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อนและด้วยตัวทำละลายเอทานอล

1.2.2 เพื่อเปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพกลิ่นของน้ำมัน
หอมระเหยของดอกการเวกจากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน
และด้วยตัวทำละลายเอทานอล

1.3 ขอบเขตการศึกษา
วิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวทด้วยการกลั่น

ด้วยน้ำร้อน และด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

1.4 สมมติฐาน
1.4.1 หลังจากสกัด 1 วัน การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอก
กระเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อนจะได้สีที่ใสและกลิ่นที่ชัดเจนกว่า
สกัดด้วยตัวทำละลายเอทานอล
3

1.4.2 หลังจากสกัด 3 วัน การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอก


กระเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อนจะได้สีที่ใสและกลิ่นที่หอมกว่าสกัด
ด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

1.5 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น : การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน้ำ
ร้อน และการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยตัวท้าละลายเอทานอล

ตัวแปรตาม : สีและประสิทธิภาพกลิ่นของน้ำมันหอมระเหย

ตัวแปรควบคุม : ผู้ทดสอบกลิ่น ปริมาณของดอกกระเวท


ปริมาณของของเหลว

ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ
1.6.1 น้ำมันหอมระเหย คือ เป็ นน้ำมันที่สกัดได้มาจากพืชเช่น
ส่วนดอก ใบ ผล ลำต้น มีกลิ่นหอมของสารหอมในพืช

1.6.2 การกลั่น คือ น้ำร้อนหรือน้ำเข้าไปแยก น้ำมันหอม


ระเหย ออกมาจากพืช โดยการแทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อพืช

1.6.3 การสกัด คือ เป็ นกระบวนการที่แยกองค์ประกอบที่มี


ในวัตถุดิบหรือสารออกมา

1.6.4 สารละลายเอทานอล คือ เป็ นสารแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง


ที่ผลิตได้จากการนำพืชผลทางการเกษตรจำพวกแป้ งและน้ำตาล
4

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ในการจัดทำโครงงานเคมี เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมัน
หอมระเหย คณะผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซต์ต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้

2.1 การเวก
2.1.1 ลักษณะ

เป็ นไม้รอเลื้อยที่นิยมปลูกมากในเมืองใหญ่ โดยเฉพาะ


กรุงเทพมหานคร เพราะเป็ นไม้ที่แตกกิ่งมาก ให้ใบดกเขียวทั้งปี
และมีอายุยืนนาน รวมถึงทนต่อสภาพอากาศร้อน และทนต่อภาวะ
มลพิษทางอากาศได้สูง จึงนิยมปลูกเพื่อให้ร่มเงา และช่วยลดมลพิษ
ทางอากาศ รวมถึงเป็ นได้ประดับดอกด้วย การเวก มีถิ่นกำเนิดใน
ประเทศอินเดียตอนใต้ และศรีลังกา สันนิษฐานว่าถูกนำเข้ามาเผย
แพร่ และนำเมล็ดเข้ามาปลูกผ่านทางพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงสมัย
อยุธยาในหมวดสินค้าที่เกี่ยวกับน้ำหอมหรือพืชที่ให้ความหอม

2.1.1.1 ลำต้น

กระดังงา/การเวก เป็ นไม้เลื้อยเนื้อแข็งที่มีเถาขนาดใหญ่ และ


มีอายุยืนนานหลายปี ลำต้นมีผิวเรียบสีเทาจนถึงดำ โดยเฉพาะต้นที่
5

มีอายุมากจะมีลำต้นสีดำ และมีปุ่มนูนสลับกันตามความสูงของ
ลำต้น โดยแตกกิ่งเลื้อยยาวจำนวนมากบริเวณส่วนปลายของต้น กิ่ง
อ่อนหรือยอดอ่อนมีสีเขียว

2.1.1.2 ใบ

ใบกระดังงา/การเวก แทงออกเป็ นใบเดี่ยว เยื้องสลับข้างกัน


บนกิ่ง แผ่นใบเรียบ มีรูปทรงรีปลายใบแหลม โคนใบมน ขนาดกว้าง
4-8 ซม. ยาว 12-18 ซม. ใบค่อนข้างหนา และเหนียว ใบอ่อนมีสี
เขียวสด ใบแก่ด้านบนมีสีเขียวเข้ม ใต้ใบมีสีอ่อนกว่า และมีขนตาม
เส้นใบ

2.1.1.3 ดอกการเวก

ดอกการเวก อาจแทงออกเป็ นดอกเดี่ยวหรือออกเป็ นกลุ่ม


หลายดอก 2-5 ดอก มีก้านดอกโค้งงอ สีเขียว ดอกอ่อนหรือดอกตูม
ที่ยังไม่บานจะมีรูปทรงกรวย ปลายดอกแหลม เมื่อบานจะกลีบดอก
จะแผ่ออก และมีกลิ่นหอม จำนวนกลีบดอก 6 กลีบ

• วงศ์ : Annonaceae

• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artabotrys hexapetalus (Linn.f.)


Bhandari.

• ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ : Artabotrys siamensis Miq.

• ชื่อสามัญ :Ylang-Ylang

• ชื่อพื้นเมือง : ภาคกลาง การเวก


6

ภาคเหนือ สะบันงาเครือ

ภาคใต้ กระดังงาเถา

ภาคตะวันตก หนามควายนอน

2.1.2 ประโยชน์และสรรพคุณการเวก

1.เป็ นไม้ดอกไม้ประดับให้ร่มเงาให้ดอกตลอดปี มีกลิ่นหอมใช้ทำ


เครื่องหอม

2.ดอกใช้สกัดน้ำมันหอมระเหยที่นิยมใช้ทำน้ำหอม และยาหอม ใช้


ทานวด และใช้ในด้านความสวยความงาม

3.ดอกนำมาห่อรวมกันในใบ และสูดดม ช่วยในการผ่อนคลาย

4.ปลูกเพื่อเป็ นไม้เลื้อยให้ร่มเงาได้อย่างดี

5.ปลูกเพื่อใช้เป็ นแนวรั้วหรือเขตแดนได้

6.ช่วยบำบัดมลพิษทางอากาศ

7.ปลูกเป็ นไม้ประดับต้น และประดับดอก


7

2.2 เอทานอล
2.2.1 ลักษณะ

เป็ นแอลกอฮอล์ปฐมภูมิ สูตร CH3CH2OH สามารถผลิตได้


จากกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมี และกระบวนการหมักวัตถุดิบ
จำพวกแป้ ง และน้ำตาลด้วยจุลินทรีย์ นิยมนำมาใช้เป็ นสารตั้งต้น
สำหรับผลิตสารเคมีอื่นๆหรือนำมาใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น ใช้เป็ น
ตัวทำละลาย เครื่องดื่ม และเชื้อเพลิง เป็ นต้น

2.2.2 ลักษณะเฉพาะ

สถานะ : ของเหลวใส ไม่มีสี ระเหยง่าย และมีกลิ่นเฉพาะตัว

สูตร : CH3CH2OH

น้ำหนักโมเลกุล : 46.07 กรัม/โมล

จุดเยือกแข็ง : -114.1 องศาเซลเซียส

จุดเดือด : 78.32 องศาเซลเซียส

จุดวาบไฟ : 14 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิวิกฤต : 243.1 องศาเซลเซียส

ความดันวิกฤต : 6383.48 kpa

2.2.3 ประโยชน์ของเอทานอล

1. ใช้เป็ นสารตั้งต้นหรือตัวทำละลาย เช่น การผลิตเครื่องสำอาง ยา


น้ำหอม เป็ นต้น
8

2. ใช้ผสมในเชื้อเพลิงเพื่อเพิ่มค่าออกเทน และลดปริมาณเชื้อเพลิง
บางชนิด เช่น น้ำมันแก๊สโซฮอล์ E10 (แอลกอฮอล์ 1 ส่วน น้ำมัน
เบนซิน 9 ส่วน) E20 (แอลกอฮอล์ 2 ส่วน น้ำมันเบนซิน 8 ส่วน)

3. เป็ นส่วนผสมของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่างๆ

4. ใช้สำหรับการฆ่าเชื้อหรือล้างแผล เช่น แอลกอฮอล์ 75%

5. ใช้สำหรับการทำความสะอาด และฆ่าเชื้อในส่วนผสมของน้ำยา
ฆ่าเชื้อ

2.3 การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน
การกลั่นด้วยน้ำร้อน (Water distillation & Hydro-
distillation) เป็ นวิธีที่ง่ายที่สุดของการกลั่นน้ำมันหอมระเหย
การกลั่นโดยวิธีนี้ พื้นที่กลั่นต้องจุ่มในน้ำเดือดทั้งหมด อาจพบพิ
ชบางชนิดเบา หรือให้ท่อไอน้ำผ่านการกลั่น น้ำมันหอมระเหยนี้ใช้
กับของที่ติดกันง่ายๆ เช่น ใบไม้บางๆ กลีบดอกไม้อ่อนๆ ข้อควร
ระวัง ในการกลั่นโดยวิธีนี้ คือ พืชจะได้รับความร้อนไม่สม่ำเสมอ
ตรงกลางมักจะได้ความร้อนมากกว่าด้านข้าง จะมีปั ญหาในการไหม้
ของตัวอย่าง กลิ่นไหม้จะปนมากับน้ำมันหอมระเหยและมีสารไม่พึง
ประสงค์ติดมาในน้ำมันหอมระเหยได้ วิธีแก้ไข คือ ใช้ไอน้ำ หรือ
อาจใช้ closed steam coil จุ่มในหม้อต้ม แต่การใช้ steam coil
นี้ไม่เหมาะกับดอกไม้บางชนิด เพราะเมื่อกลีบดอกไม้ถูก steam
coil จะหดกลายเป็ น glutinous mass จึงต้องใช้วิธีใส่ลงไปในน้ำ
กลีบดอกไม้จะสามารถหมุนเวียนไปอย่างอสระในการกลั่น เปลือก
9

ไม้ก็เช่นกัน ถ้าใช้วิธีกลั่นด้วยน้ำ น้ำจะซึมเข้าไปและนำกลิ่นออกมา


หรือกลิ่นจะแพร่กระจายออกจากเปลือกไม้ได้ง่ายขึ้น ดังนั้น การ
เลือกใช้วิธีการกลั่นจึงขึ้นกับชนิดของพืชที่นำกลั่นด้วย

2.4 การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย (sovent extraction) เป็ นวิธีที่ใช้
กันอย่างกว้างขวาง ในอุตสาหกรรม เช่น การสกัดน้ำมันพืชเพื่อใช้
ประกอบอาหาร โดยนำวัตถุดิบมาจากเมล็ดของพืชชนิดต่าง ๆ
ได้แก่ เมล็ดทานตะวัน ถั่วเหลือง ปาล์ม ข้าวโพด เมล็ดบัว และร้า
ข้าว ในการสกัดน้ำมันพืชนิยมใช้เฮกเชนเป็ นตัวทำละลาย หลังการ
สกัดจะได้สารละลายที่มีน้ำมันพืชละลายอยู่ในเฮกเซน จากนั้นนำ
ไปกรองเอากากเมล็ดพืชออก แล้วนำสารละลายไปกลั่นแยกล้าดับ
ส่วนเพื่อแยกเฮกเซนจะได้น้ำมันพืช ซึ่งต้องน้าไป ฟอกสี ดูดกลิ่น
และกำจัดสารอื่นๆ ออกก่อน จึงจะได้น้ำมันพืชสำหรับใช้ปรุง
อาหารทั้งนี้ การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็ นวิธีการแยกสารที่ใช้มาก
ในชีวิตประจำวัน เป็ นการแยกสาร ที่ต้องการออกจากส่วนต่าง ๆ
ของพืชหรือจากของผสมต้องเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมในการ
สกัดสารที่ต้องการ
10

บทที่ 3

วิธีดําเนินการทดลอง
ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอม
ระเหย มีวิธีดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง


1.1) การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยการก
ลั่นด้วยน้ำร้อน

ดอกการเวก 50 กรัม

น้ำกลั่น 100 มิลลิลิตร

ตะเกียบ 1 แท่ง

โหลแก้ว 500 มิลลิลิตร 1 โหล

เตาแก๊ส 1 เครื่อง

หม้อ 1 ใบ

ถ้วยสแตนเลส 1 ใบ

1.2) การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยตัวทำ
ละลายเอทานอล

ดอกการเวก 50 กรัม
11

น้ำกลั่น 50 มิลลิลิตร

เอทานอล 50 มิลลิลิตร

ตะเกียบ 1 แท่ง

แก้วน้ำสแตนเลส 1 ใบ

โหลแก้ว 500 มิลลิลิตร 1 โหล

3.2 ขั้นตอนกำรทดลอง
ตอนที่ 1 วิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกด้วย
การกลั่นด้วยน้ำร้อนและด้วยตัวทำละลายเอทานอล

3.2.1 การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกด้วย
การกลั่นด้วยน้ำร้อน

1) เตรียมดอกการเวกสะอาดมาหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ จำนวน 50


กรัม

2) นำน้ำกลั่น 100 มิลลิตรใส่ลงในถ้วยสแตนเลส

3) นำถ้วยสแตนเลสที่มีน้ำกลั่นขึ้นเตาแก๊สให้ความร้อน

4) เมื่อน้ำเดือดให้นำดอกกระเวกที่เตรียมไว้ใส่ลงในถ้วยสแตน
เลส

5) แล้วใช้ตะเกียบคนสารเป็ นเวลา 30 นาทีแล้วปิ ดแก๊ส พัก


ให้ดอกการเวกที่ อุณหภูมิเย็นลง

6) นำตัวทดลองที่ได้มากรองของเหลวออก
12

7) นำของเหลวที่ได้ ใส่ในโหลแก้ว 500 มิลลิลิตร

8) ทำความสะอาดสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
ทั้งหมด

3.2.2 การสกัดน้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกด้วย
ตัวทำละลายเอทานอล

1) เตรียมดอกการเวกสะอาดมาหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ จำนวน 50


กรัม

2) นำดอกการเวกที่หั่นแล้วใส่ในแก้วน้ำสแตนเลส

3) เทสารละลายเอทานอล 50 มิลลิตร และน้ำกลั่น 50


มิลลิลิตร ลงในแก้วน้ำสแตนเลส

4) ใช้ตะเกียบคนสาร คนเป็ นเวลา 30 นาที

5) นำตัวทดลองที่ได้มากรองของเหลวออก

6) นำของเหลวที่ได้ ใส่ในโหลแก้ว 500 มิลลิลิตร

7) ทำความสะอาดสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
ทั้งหมด

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพกลิ่นของน้ำมัน
หอมระเหยของดอกการเวกจากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน
และด้วยตัวทำละลายเอทานอล
13

1) นำน้ำมันหอมระเหยที่ได้ทำการทดลองจากทั้ง 2 วิธี ให้


กลุ่มตัวอย่าง หรือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 ของโรงเรียน
นวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานครทุกคน จำนวน 10 คน ทดสอบ
กลิ่นและสี โดยให้ทดสอบกลิ่นและสีจากโหลแก้วทั้งสองโหล

2) รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสอบถามโดยตรงกับกลุ่มตัวอย่าง

3) บันทึกผลข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง แล้วนำมาบันทึกลง
ในรูปเล่มรายงานในบทที่ 4
14

บทที่ 4

ผลการทดลอง
จากการศึกษาค้นคว้า และจัดทำโครงงาน เรื่อง ประสิทธิภาพ
การสกัดน้ำมันหอมระเหย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสกัด
น้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน และตัว
ทำละลายเอทานอล และเปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพกลิ่นของ
น้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกจากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน้ำ
ร้อน และด้วยตัวทำละลายเอทานอล

ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามวิธีที่ทำให้กลิ่นหอม
ที่สุด จาก 2 วิธี หลังจากการทดลอง 1 วัน ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 จำนวน 5 คน
15

น้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกหลังจาก
รายชื่อนักเรียนชั้น ทำการทดลอง 1 วัน
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 สกัดด้วยการกลั่น สกัดด้วยตัวทำละลาย
ด้วยน้ำร้อน เอทานอล
นายปั ณณธร

กล่อมจิตต์
นาย วุฒิกร - 
นาย อชิระ วัฒนกุล 
นาย สุเทพ ภูทิพย์ 
นายศุกลวัฒน์ อุ๊ต

จิ๋ว

จากตารางที่ 1 พบว่าในวันที่ 1 หลังจากทำการทดลองของ


น้ำมันหอมระเหย ที่ได้จากกลั่นด้วยน้ำร้อนจะมีความหอมมากกว่า
จากการสกัดด้วยตัวทำละลายเอทานอล อัตราส่วนของผู้ทดสอบ
กลิ่นน้ำมันหอมระเหยจากการกลั่นด้วยน้ำร้อนต่อตัวท้าละลายเอ
ทานอลเป็ น 4 : 1
16

ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลจากการสอบถามวิธีที่ทำให้กลิ่นหอม
ที่สุด จาก 2 วิธี หลังจากการทดลอง 3 วัน ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 จำนวน 5 คน

น้ำมันหอมระเหยของดอกการเวกหลังจาก
รายชื่อนักเรียนชั้น ทำการทดลอง 3 วัน
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 สกัดด้วยการกลั่น สกัดด้วยตัวทำละลาย
ด้วยน้ำร้อน เอทานอล
นายปั ณณธร

กล่อมจิตต์
นาย วุฒิกร - 
นาย อชิระ วัฒนกุล 
นาย สุเทพ ภูทิพย์ 
นายศุกลวัฒน์ อุ๊ต

จิ๋ว

จากตารางที่ 2 พบว่าในวันที่ 3 หลังจากทำการทดลองของ


น้ำมันหอมระเหย ที่ได้จากกลั่นด้วยน้ำร้อนจะมีความหอมมากกว่า
จากการสกัดด้วยตัวทำละลายเอทานอล อัตราส่วนของผู้ทดสอบ
กลิ่นน้ำมันหอมระเหยจากการกลั่นด้วยน้ำร้อนต่อตัวท้าละลายเอ
ทานอลเป็ น 0 : 5
17

ตารางที่ 3 ตารางบันทึกผลจากการสังเกตสีของน้ำมันหอมละเหย
หลังจากการทดลองวันที่ 1 และ 3 จาก 2 วิธี

สีที่ได้
หลังจากวันทดลอง สกัดด้วยการกลั่น สกัดด้วยตัวทำละลาย
ด้วยน้ำร้อน เอทานอล
วันที่ 1 ขาวขุ่น ขาวขุ่น
วันที่ 3 เหลืองขุ่น เหลืองขุ่น

จากตารางที่ 3 พบว่าในวันที่ 1 หลังจากการทดลองของ


น้ำมันหอมละเหยที่ได้จากกลั่นด้วยน้ำร้อนจะมีสีขาวใส และสกัดตัว
ทำละลายเอทานอลจะมีสีเหลืองขุ่น และในวันที่ 3 สีไม่มีการเปลื่
ยนแปลง

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


5.1 สรุปผล
จากเปรียบเทียบสีและประสิทธิภาพกลิ่นของน้ำมันหอม
ระเหยของดอกการเวกจากการสกัดด้วยการกลั่นด้วยน้ำร้อน และ
ด้วยตัวทำละลายเอทานอล สีที่ได้มีความสวยงามและสามารถทำ
น้ำมันหอมระเหยออกมาได้จริงและสามารถนำไปใช้งานได้จริงใน
ชีวิตประจำวัน
18

5.2 อภิปรายผล
จากผลการทดลองที่คณะผู้จัดทำได้บันทึกผลจากกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 จำนวน 5 คน ผลการทดลองไม่
เป็ นไปตามที่คาดไว้ เนื่องจากพบว่าการสกัดน้ำมันหอมระเหยของ
ดอกการเวกจากการกลั่นด้วยน้ำร้อน หากผ่านไป 1 วัน กลิ่นที่ได้จะ
หอมกว่าและสีใสกว่าน้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากตัวท้าละลายเอทา
นอล และเมื่อผ่านไป 3 วัน กลิ่นที่ได้จากการสกัดด้วยตัวท้าละลาย
เอทานอล จะมีกลิ่นที่หอมมากกว่าน้ำามันหอมระเหยที่สกัดด้วย
การกลั่นด้วยน้ำร้อนแต่สีที่ได้ยังคงเหมือนเดิม จึงสรุปได้ว่าวิธีการ
สกัดและระยะเวลาในการจัดเก็บน้ำมันหอมระเหย มีผลกับกลิ่นที่
ได้จากตัวน้ำมันหอมระเหย แต่สีที่ได้จะไม่มีการเปลื่ยนแปลง

5.3 ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีระยะเวลาในการใช้น้ำมันหอมระเหยอย่างชัดเจนเพื่อ
ผลที่แน่นอน

2.ควรใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์เพื่อได้ผลที่แน่นอน
19

บรรณานุกรม
ทวี อินสุระ. (2561). สรรพคุณและการปลูกกระเวกม, [ออนไลน์].
9 กันยายน 2566.

จาก https://puechkaset.com

นิตยสารหมอชาวบ้าน. (ม.ป.ป.). การเวกมากมายด้วยสรรพคุณ,


[ออนไลน์]. 9 กันยายน 2566.

จาก https://kaset.today.com

เคมีอตสาหกรรม. (ม.ป.ป.). เอทำนอล/เอทิลแอลกอฮอล,


[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566. จาก
https://www.siamchemi.com

เทคโนโลยีชาวบ้าน. (2560). การสกัดน้ำมันหอมระเหย, [ออนไลน์].


สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566. จาก
https://www.technologychaoban.com

อนุภาคของสาร. (ม.ป.ป.). การสกัดด้วยตัวทำละลาย, [ออนไลน์].


สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566.

จาก https://sites.google.com
20
21

ภาคผนวก
22

ภาพที่ 1 เตรียมดอกกระเวกสะอาดมาหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ

ภาพที่ 2 ใช้ตะเกียบคนสาร
23

ภาพที่ 3 น้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยการกลั่นด้วยน้ำ
ร้อน
24

ภาพที่ 4 น้ำมันหอมระเหยของดอกกระเวกด้วยตัวทำละลายเอทา
นอล

You might also like