You are on page 1of 49

รายงานผลการดำเนินงานการผลิตสื่อ

ส่งเสริมการสื่อสารเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development)
โครงการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

เสนออาจารย์สุวัฒนา ดีวงษ์
กลุ่ม สารคดีปลาล้า
รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ท้องถิ่น
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
บทสรุปผู้บริหาร

สรุปงานทั้งหมดภายใน 1 หน้า
คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาวิถีชีวิตและถ่ายทอดวิถีชีวิตของ
ชาวบ้านชุมชนคอนสาย ตำบลคอนสาย อำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี
กลุ่มสตรีที่ผลิตปลาร้าจากวัตถุดิบในชุมชน มีการทำการประมงหาปลา
โดยวิธีการยกยอ เพื่อนำปลาที่ได้มาทำการหมักปลาร้าและทำปลาร้าบอง

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ


นักศึกษา ที่กำลังสนใจหรือหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิด
พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทำ

คณะสารคดีเรื่องปลาล้า

ตุลาคม 2566
สารบัญ


น้า
ที่มาของการผลิต ๑
สื่อ…………………………………………………………………………………………
……………………..
วัตถุประสงค์………………………………………………………………………… ๓
………………………………………………..
ผลการดำเนิน ๔
งาน………………………………………………………………………………………
……………………………
หลักการทฤษฎีหรือเนื้อหาจากการเรียนที่นำมาประยุกต์ ๕
ใช้………………………………………………………….
กระบวนการผลิต ๙
สื่อ…………………………………………………………………………………………
……………………..
ผลการเผยแพร่ ๑
สื่อ………………………………………………………………………………………… ๑
………………………..
สิ่งที่นักศึกษาได้เรียน ๑
รู้…………………………………………………………………………………………… ๒
………………..
ภาคผนวก ๒

ภาคผนวก ๒
ก………………………………………………………………………………………… ๕
…………………………….
ภาคผนวก ๒
ข………………………………………………………………………………………… ๖
…………………………….
ภาคผนวก ๒
ค………………………………………………………………………………………… ๙
…………………………….
ภาคผนวก ๓
ง…………………………………………………………………………………………… ๑
………………………….
1

รายงานผลการดำเนินงานการผลิตสื่อ

ส่งเสริมการสื่อสารเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable


Development)
โครงการสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
กลุ่ม สารคดีปลาล้า

ที่มาของการผลิตสื่อและความสอดคล้องกับเป้ าหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืน (SDGs)
SDGs ย่อมาจากคำว่า “Sustainable Development Goal”
หรือ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” คือเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ
สหประชาชาติ (United Nations: UN) เพื่อทำให้โลกดีขึ้นภายในปี
2030 ด้วยการพัฒนาที่คำนึงถึงความเป็ นองค์รวมของทุก ๆ ด้านอย่าง
สมดุลบนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปั ญญาและวัฒนธรรมด้วย
การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกกลุ่ม ด้วยความเอื้ออาทร เคารพซึ่งกัน
และกัน เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเอง และคุณภาพชีวิตที่อย่างเท่า
เทียม ซึ่งหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นสถานศึกษา หน่วยงานราชการ
หรือบริษัทเอกชนต่างก็นำแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน มาปรับใช้และ
วางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับเป้ าหมายที่อยู่ในระดับสากล
และนานาชาติ
แม้ในประเทศไทยหลายคนอาจจะยังไม่รู้จักคำนี้ แต่เชื่อไหมว่าเรื่อง
SDGs เป็ นหนึ่งในเนื้อหาข้อสอบสำหรับสอบเข้ามัธยมศึกษาตอนต้นใน
2

ประเทศญี่ปุ่น เรียกว่ายิ่งกว่าวาระแห่งชาติ เพราะทั้งโลกต่างให้ความ


สนใจ ว่าแต่มันคืออะไร แล้วทำไมถึงสำคัญขนาดนี้ ไปรู้จัก SDGs กันเลย
ดังนั้น กลุ่มสารคดีเรื่อง ปลาล้า จึงมีวัตถุประสงค์ตรงกันที่อยาก
ถ่ายทอดวิถีชีวิตการเป็ นอยู่ของชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่แก้ว
จังหวัดอุดรธานี วิธีการทำปลาร้ารวมไปถึงการหาเลี้ยงชีพด้วยวิธีการ
ตามธรรมชาติของชาวบ้าน สารคดีเรื่อง ปลาล้า มีความสอดคล้องกับ
เป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ทั้งหมด 3 เป้ าหมายดังนี้
สารคดีเรื่อง ปลาล้า มีการศึกษาเรื่องการหมักปลาร้าและนำปลาร้า
มาแปรรูป ซึ่งตรงกับเป้ าหมายข้อที่ 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคง
ทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน
(End hunger, achieve food security and improved nutrition
and promote sustainable agriculture) ความมั่นคงทางอาหารและ
โภชนาการมีความจำเป็ นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกคน เนื่องจากการ
มีพัฒนาการทางร่างกายและสติปั ญญาที่เหมาะสมตามวัย และการมี
สุขภาพที่ดี จะช่วยสนับสนุนให้สามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยอาหารที่บริโภคต้องมีความปลอดภัย
และมีโภชนาการจำเป็ นในระดับที่เหมาะสม โดยเฉพาะในกลุ่มคนยากจน
และผู้ที่อยู่ในสถานการณ์เปราะบาง อาทิ คนพิการ คนชรา และทารก
เนื่องจากเป็ นกลุ่มที่มีความท้าทายในการเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยและมี
โภชนาการในปริมาณที่เพียงพอ นอกจากนี้ ภาคเกษตรที่เป็ นแหล่งผลิต
อาหารสำคัญมีบทบาทอย่างมากในการสนับสนุนให้เกิดความมั่นคงทาง
อาหาร จึงควรสนับสนุนให้มีระบบเกษตรกรรมยั่งยืนที่คำนึงถึงคุณภาพ
ชีวิตของเกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย ความปลอดภัยของผู้
3

บริโภค การเพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตร และความสมดุลของระบบนิเวศ


เนื่องจากชาวบ้านมีการหมักปลาร้าเอง ด้วยวัตถุดิบที่ได้หาได้จาก
ธรรมชาติแหล่งน้ำในชุมชน ไม่ต้องซื้อ และปลาร้ายังเป็ นส่วนประกอบที่
สำคัญมากในการปรุงอาหารของคนอีสาน เพราะหมักครั้งเดียวสามารถ
เก็บไว้ได้นานและมีรสชาติที่กลมกล่อม ที่สำคัญยังสามารถทำขายได้อีก
ด้วย
อีกยังสอดคล้องกับเป้ าหมายที่ 13 ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้
กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น (Take
urgent action to combat climate change and its impactsa) การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์
สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบของฤดูกาล การเกิดภัยพิบัติ การสูญพันธุ์ของสิ่งมี
ชีวิต ตลอดจนการเปลี่ยนรูปแบบการกระจายของเชื้อโรคและพาหะนำ
โรค โดยปั จจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ
ก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และมีเทน (CH4) ที่
มีแหล่งกำเนิดหลักมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลจากการดำเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ เป็ นองค์ประกอบสำคัญ นอกจากนี้ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็ นหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติ หมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี ในช่วงฤดู
แล้งชีวิตการเป็ นอยู่โดยการทำมาหากินของชาวบ้านค่อนข้างสะดวก
เนื่องจากฤดูแล้ง ปลาในคลองจะขึ้น ทำให้จับปลาได้ง่ายและมากพอต่อ
การดำรงชีพ แต่พอเป็ นฤดูฝนน้ำในคลองจะเพิ่มมากขึ้นทำให้การจับปลา
มาเลี้ยงชีพเต็มไปด้วยความยากลำบากและที่สำคัญหาปลาได้ค่อนข้าง
4

น้อยเนื่องจากว่าช่วงฤดูฝนเป็ นช่วงที่ปลาวางไข่พอดี ยังไม่พอชาวบ้า


นระแวกนั้นยังมีการทำไร่ทำนา ปลูกผัก เลี้ยงควาย เมื่อฤดูกาลเปลี่ยน
สภาพอากาศเปลี่ยน ทำให้มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของชาวบ้านค่อน
ข้างมาก
และสุดท้ายสอคล้องกับเป้ าหมายที่ 15 ปกป้ อง ฟื้ นฟู และ
สนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่ าไม้อย่างยั่งยืน
ต่อสู้การกลายสภาพเป็ นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้ น
สภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
(Protect, restore and promote sustainable use of terrestrial
ecosystems, sustainably manage forests, combat
desertification, and halt and reverse land degradation and
halt biodiversity loss) โดยชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่แก้ว
จังหวัดอุดรธานี เท้าความไปเมื่อ 20 ปี ก่อน ชาวบ้านเล่าว่าคลองน้ำที่ใช้
ในการทำมาหากินในปั จจุบัน เมื่อก่อนเป็ นคลองดินที่ไม่สามารถเก็บน้ำ
ได้นาน เมื่อถึงเวลาฤดูแล้งก็จะทำให้ไม่มีน้ำใช้ และทำการประมงไม่ได้
เนื่องจากไม่มีปลา ปั จจุบันได้ทำการลอกคลองเพื่อปรับสมดุลระบบนิเวศ
ทำให้ระบบนิเวศอุดรสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และชาวบ้านยังให้ความสำคัญ
กับระบบนิเวศและการทำนาที่ปลอดสารพิษมากขึ้น โดยปกติชาวบ้านจะ
เลี้ยงควายกันอยู่แล้วเป็ นจำนวนมาก ชาวบ้านจึงเลือกใช้ปุ๋ยจากมูลสัตว์
(ขี้ควาย) มาใช้ในการทำนา ปลูกพืชผักมากขึ้น หลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยสาร
เคมี
5

วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย และผลที่คาดว่าจะได้รับจากสื่อ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการทำปลาร้าของชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่
แก้ว จังหวัดอุดรธานี
2. เพื่อศึกษาการหาเลี้ยงชีพด้วยวิธีการตามธรรมชาติของชาวบ้าน
หมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี
3. เพื่อถ่ายทอดวิถีชีวิตการเป็ นอยู่ของชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย
อำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี

กลุ่มเป้ าหมาย
1. ประชาชนทั่วไปที่กำลังศึกษาและชื่นชอบวิธีการทำปลาร้า

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงวิธีการทำปลาร้าของชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่
แก้ว จังหวัดอุดรธานี
2. ได้ทราบถึงการหาเลี้ยงชีพด้วยวิธีการตามธรรมชาติของชาวบ้าน
หมู่บ้านคอนสาย อำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี
3. ได้ทราบถึงวิถีชีวิตการเป็ นอยู่ของชาวบ้านหมู่บ้านคอนสาย อำเภอ
กู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี
6

ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์การผลิตสื่อ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์
7

หลักการทฤษฎีหรือเนื้อหาจากการเรียนที่นำมาประยุกต์ใช้ (เขียน
อธิบายด้วยว่าใช้อย่างไรไม่ต่ำกว่า 5 หน้า)
8
9
10
11
12
13

กระบวนการผลิตสื่อ (อธิบายให้เห็นกระบวนการ ๓ P) (ไม่ต่ำกว่า 2


หน้า)
14
15
16

ผลการเผยแพร่สื่อ (ทำเป็ นตารางหรือกราฟ และอธิบาย)


17

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
“ปลาร้า” เป็ นอีกหนึ่งอาหารของไทยที่มีกลิ่นและรสชาติที่เป็ น
เอกลักษณ์และยากจะหาอาหารอื่นๆ มาทดแทนได้ สามารถนำมา
ประกอบอาหารได้หลายอย่าง และหลายคนเมื่อได้ลิ้มลองก็จะติดใจจนไม่
อาจหยุดกินได้
กลุ่มของดิฉันได้มีการลงพื้นที่ไปยังสถานที่จริงและเรียนรู้ขั้นตอนใน
การทำ ปลาร้า ได้ทำการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปล้าร้าสำหรับคนใน
ชุมชน ปลาร้าสำหรับคนในชุมชนคือสิ่งที่ขาดไม่ได้ และยังสามารถนำมา
ต่อยอดอาชีพได้หลากหลายอย่าง เพราะปลาร้าคือส่วนประกอบหนึ่งของ
การทำอาหารในภาคอีสาน และเป็ นผลิตภัณฑ์พื้นเมืองของไทย

ลักษณะของปลาร้าอีสานคือมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น
ปลาสร้อยขาว ปลากระดี่มาหมักกับรำข้าวและเกลือ แล้วบรรจุใส่ไห จะ
หมักไว้ประมาณ 7-8 เดือน แล้วนำมารับประทานได้
ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไปจะให้รสชาติที่ดี ถ้าปลาช่อนตัวใหญ่
อาจต้องใช้เวลาถึงหนึ่งปี สิ่งที่บ่งชี้คุณภาพของปลาร้า คือ คุณค่าด้านสาร
18

อาหาร รส กลิ่น สี นักโภชนาการยอมรับกันว่า เมื่อเปรียบเทียบปลาร้า


กับอาหารหมักดองประเภทอื่น เช่น ปลาจ่อม ปลาส้มฟั ก กะปิ ปลาร้าให้
คุณค่าด้านสารอาหารค่อนข้างสูง คือ ให้โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ โดย
เฉพาะปลาร้าที่ทำมาจากปลาช่อน ส่วนรสชาติ กลิ่น สีของปลาร้านั้นขึ้น
อยู่กับปลาร้าที่ได้สัดส่วนระหว่างปลา เกลือและอุณหภูมิ

นางสาวประภาวรินทร์ แสนพิมพ์ ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๐๓


13

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
นางสาวณริศรา ขุนค้า ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๑๑
14

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
สิ่งที่ได้จากการถ่ายทำสารคดีในครั้งนี้ คือ ได้เรียนรู้การทำงานเป็ น
ทีม ต้องมีการวางแผนและแบ่งหน้าที่กันให้ชัดเจนก่อนเริ่มงาน การ
ทำงานเป็ นทีมเป็ นสิ่งที่ท้าทายมากเพราะต้องมีเวลา ความพร้อม ความ
เข้าใจ และการยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง ซึ่งมันยากมากๆแต่เราก็
สามารถทำมันออกมาให้ดีที่สุด การถ่ายทำสารคดีถือว่าเป็ นงานที่แปลก
ใหม่มาก เพราะงานนี้คืองานแรกที่ได้ทำสารคดี แล้วการถ่ายทำสารคดี
คือ เรื่องที่เขียนขึ้นจากเค้าความจริง มิใช่เรื่องที่เกิดจากจินตนาการ
งานเขียนสารคดีจึงต้องการรายงานข้อเท็จจริงแก่ผู้ที่รับชม โดยไม่ใช้
จินตนาการและอารมณ์ผสมผสานลงไป ต้องมีการเตรียมหาข้อมูล เรียบ
เรียงภาพและเสียงให้ออกมามีความน่าสนใจและสร้างสรรค์ ซึ่งสามารถ
ทำให้ผู้ที่ได้ชมเกิดความรู้สึกนึกคิดและอารมณ์ร่วมตาม

ในส่วนของสตอรี่บอร์ดเราแบ่งออกเป็ น 6 shots ดังนี้ shot 1


long shot ถ่ายภาพมุมสูงชุมชนให้เห็นบริบทชุมชนให้มากที่สุด shot 2
close up พูดคุยกับชาวบ้าน เรื่องเนื้อหาเกี่ยวกับปลาร้าให้ได้เนื้อหาที่ดี
ที่สุด shot 3 medium shot ถ่ายปลาร้าให้เห็นภาพ CU,MS,LS,ECU
ให้เห็นภาพหลากหลายมุม shot 3 long shot ถ่ายภาพชาวบ้านหาปลา
ที่ลำคลองเก็บภาพ CU,MS,LS ให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำ
shot 4 medium shot ถ่ายภาพบรรยากาศตอนเย็นให้มีความอบอุ่น
ของการเป็ นอยู่ของชาวบ้านกับแหล่งน้ำ shot 5 full shot ถ่ายภาพมุม
สูงของแหล่งน้ำให้เห็นคลองยาวเห็นอุปกรณ์ทำมาหากินของชาวบ้าน
15

ในส่วนของการลงพื้นที่ในการถ่ายทำเราได้มีการวางแผนการถ่าย
ออกเป็ น 3 วัน โดยวันแรกได้ทำการถ่ายสัมภาษณ์หัวหน้ากลุ่มการทำ
ปลาร้า ถ่ายการหมักปลาร้า ถ่ายสัมภาษณ์ชาวบ้านในหมู่บ้านที่ผลิต
ปลาร้าขายและที่ใช้คลองคอนสายในการหาปลามาทำปลาร้า แต่ก็ค่อน
ข้างยากลำบากเพราะฝนตกทั้งวันในวันที่ลงพื้นที่ครั้งแรก ทำให้การเดิน
ทางเต็มไปด้วยความทุรักทุเล แต่ผลลัพธ์ก็ออกมาค่อนข้างดี อาจจะมี
บาง shots ที่เราไม่สารถถ่ายทำได้จริงและเราก็พยายามหา shots อื่นๆ
หรือมุมอื่นๆมาทดแทนเพื่อให้งานออกมาสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ วัน
ที่ 2 เราได้ออกเดินทางตั้งแต่ตี 4 เพื่อไปทำการถ่ายทำลงพื้นที่ ในวันนี้ฝน
ก็ตกหนักมาก พายุเข้าทำให้เราไม่สามารถทำการถ่ายทำได้เยอะมากนัก
มีการผิดแผนเพราะตอนแรกในแผนวางไว้ว่าจะถ่ายโดยการใช้โดรน
เพราะเก็บภาพมุมสูง แต่ฝนตกไม่สามารถบินโดรนได้ทำให้เปลี่ยนแผนมา
ถ่ายวิถีชีวิตชาวบ้านตอนเช้าแทน การทำบุญใส่บาตร และวันที่ 3 ได้
ทำการลงพื้นที่อีกครั้ง ฟ้ าเปิ ดมาก แสงดี ทำให้เราเก็บ shots ค่อนข้าง
ครบ และสวยมากเราได้ถ่าย footage ถ่ายสัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทน
กลุ่ม และชาวบ้าน จากประสบการณ์การลงพื้นที่ทั้ง 3 วันนี้ สิ่งที่สำคัญ
ที่สุดในงานนี้คือ การได้ลงพื้นที่ไปพูดคุย สอบถามชาวบ้านสอบถามชาว
บ้าน ได้ใกล้ชิดชาวบ้านวิถีอีสาน แม่ๆกลุ่มที่รวมไปถึงชาวบ้านคอนสาย
อัธยาศัยดีมาก และยังได้นำความรู้ที่ในห้องเรียนไม่เคยสอนมาปรับใช้ใน
ชีวิตประจำวันอีกด้วย อย่างเรื่องปลาร้าโดยปกติแล้วกินเป็ นประจำ มัน
ใกล้ตัวมากๆแต่ไม่เคยรู้เลยว่ากรรมวิธีการทำเป็ นแบบไหน ไม่รู้เลยว่าการ
หมักปลาร้าใช้เวลาหลายปี ขนาดนี้จนได้มาลงพื้นที่ไปถ่ายสารคดีเกี่ยวกับ
ปลาร้า ถึงได้รู้ว่าปลาร้าเป็ นอาหารพื้นบ้านของคนอีสานที่มีคุณค่าสืบต่อ
16

กันมารุ่นสู่รุ่น มีกรรมวิธีบ้านๆเรียบง่ายแต่ถือว่าเป็ นเครื่องปรุงที่ไม่


สามารถขาดได้เลยของคนอีสาน ถือว่าเป็ นประสบการณ์ครั้งแรกที่ดีและ
ประทับใจมากค่ะ ถ้ามีโอกาสทำสารคดีอีกก็จะนำไปต่อยอดในอนาคต
แน่นอนค่ะ

นางสาวสุกัญญา พิมพ์ศร ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๒๒


17

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
นายธวลธรรม นาทันใจ ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๒๔
18

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
นายสหรัฐ ทับทิมใส ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๓๐
19

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
นายศตนันต์ ฝอยทอง ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๓๖
20

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
นายวิทวัส อาษานาม ๖๒๗๔๗๗๗๒๑๓๙
21

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการทำงานเป็ นทีม ซึ่งมันทำให้การ
ทำงานเป็ นระบบดีขึ้นมีการแบ่งงานออกตามหน้าที่และความรับผิดชอบ
ทำให้งานบรรลุตามเป้ าหมายตามกลุ่มและทีมงานที่ต้องการ แถมยังช่วย
ให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มและ ได้รู้จักว่าเราต้องทำยังไงทำให้รู้เขารู้เรา
และทีมงานจะสามารถดำเนินไปได้อย่างสอดคล้องถึงจะประสบความ
สำเร็จได้ และยังช่วยให้เกิดความสามัคคีระหว่างสมาชิกในทีม และยัง
ช่วยให้การทำงานบรรลุเป้ าหมายเพราะทีมงานมีการแบ่งงาน แบ่งหน้าที่
กันตามความสามารถและความชำนาญ จึงเมื่อลงมือทำจะสามารถดำเนิน
งานได้อย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยำมีคุณภาพและทำให้งานประสบความ
สำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการทำงานเป็ นทีมยังช่วยเพิ่มพูนความ
รู้สึกในการยอมรับนับถือในการทำงานเพราะทีมต้องมีการกำหนด
ตำแหน่งและหน้าที่ของบุคคล มีหัวหน้า มีทีมงาน มีผู้ประสานงานของทีม
และสมาชิกในทีมก็ต้องยอมรับนับถือกันในแต่ละตำแหน่งและอำนาจ
หน้าที่รวมถึงบุคคลที่ร่วมทีมงานเพื่อการรับรู้และมีความเข้าใจต่อกันเป็ น
ประโยชน์ต่อการทำงานร่วมกัน จึงจะทำให้ผลงานที่สร้างออกมามี
คุณภาพและสามารถพัฒนาต่อยอดไปในภายภาคหน้าได้และอีกอย่างคือ
ทำให้การปฏิบัติงานมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นเพราะทีมงานจะต้องอาศัย
ข้อเท็จจริงเป็ นหลักและช่วยการตัดสินใจจากข้อมูลที่ได้ให้งานออกมา
สมบูรณ์แบบมากที่สุดซึ่งต้องการจากการพูดการเขียนและการทำงานเป็ น
ทีม
22

ได้เรียนรู้ภูมิปั ญญาหรือวัฒนธรรมความเป็ นอยู่ของชาวบ้านใน


แต่ละท้องถิ่นที่ตัวเองอาศัยอยู่ และยังได้รับสารหลักความรู้เกี่ยวกับการ
ถนอมอาหารโดยการนำอาหารมาแปลรูป เพื่อให้คงอยู่หรือเพื่อที่จะนำ
อาหารชนิดนั้นเก็บไว้ให้กินได้นานนาน และยังได้รับสาระความรู้และ
ความเพลิดเพลินที่เป็ นเบื้องหลังและได้รับรู้เรื่องราวของเหตุการณ์หรือ
ประวัติเกี่ยวกับแม่น้ำลำคลองที่ชาวบ้านอาศัยอยู่ และได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
การทำปลาร้าว่าต้องทำยังไงและต้องใช้เวลาเวลานานแค่ไหนถึงจะกลาย
เป็ นปลาร้าที่เรากินในปั จจุบัน และอีกอย่างคือได้รู้จักว่าแม่น้ำลำคลองใน
หมู่บ้านที่ชาวบ้านใช้เป็ นแหล่งทำมาหากินนั้นเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
หรือทำให้มันเกิดขึ้นเองโดยฝี มือของชาวบ้านในแหล่งของที่อยู่อาศัย

นายเกรียงไกร บุญภา ๖๒๗๔๗๗๗๓๑๐๓


23

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
ได้เรียนรู้และฝึ กในการวางแผนกระบวนการผลิตสารคดี
ประสบการณ์ในกระบวนการผลิตสารคดีในครั้งนี้ก็จะเริ่มจากการวางแผน
ในการลงพื้นที่ไปขอถ่ายทำและสัมภาษณ์เรื่องปลาล้าจากชาวบ้านใน
หมู่บ้านคอนสาย โดยติดต่อขออนุญาติจากพ่อผู้ใหญ่บ้านให้ช่วยพูดคุยกับ
ชาวบ้านเพื่อจะได้เข้าถึงชาวบ้านได้ง่ายมากขึ้น และวันลงพื้นที่รอบแรกก็
จะได้หาโลเคชั่นในการถ่ายอินเสิร์ชไปในตัว แล้วก็จะเป็ นการพูดคุยกับ
พ่อผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้านเพื่อให้เกิดความคุ้นชิน

ในวันถ่ายจริงจะเป็ นการลงพื้นที่ในรอบที่สองก็จะมีการเตรียม
คำถามเกี่ยวกับการทำปลาล้าและวิถีชีวิตของชาวบ้านบ้านคอนสายใน
การกินปลาล้าและก็จะมีการถ่ายขั้นตอนในการยกสะดุ้งและขั้นตอนใน
การทำปลาล้า และสัมภาษณ์เกี่ยวกับความผูกพันกับการใช้วิถีชีวิตแบบ
เรียบง่ายของชาวบ้านคอนสายเพราะเป็ นหมู่บ้านที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำจึงจะมี
การยกสดุ้งเพื่อหาปลาและช่วงหน้าแร้งก็จะมีการทำนาเกลือและเกลือ
จากหมู่บ้านคอนสายก็จะมีรสชาติและคุณสมบัติที่เฉาะตัวในการหมักปลา
ล้าทำให้ปลาล้ามีกลิ่นและรถชาติที่ออกมานัว เนื้อปลาร้าก็จะมีเนื้อที่แน่น
และอร่อยนี้จึงเป็ นวิถีชีวิตของชาวคอนสาย

การลงพื้นที่ถ่ายสารคดีในครั้งนี้ก็ยังทำให้ผมได้เรียนรู้วิถีชีวิตของ
ชาวบ้านในบ้านคอนสายได้เรียนรู้วิถีชีวิตที่เรียบง่ายของชาวบ้าน ที่มี
ความผูกผันกันอย่างอบอุ่นและให้แง่คิดในการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายที่ไม่
จำเป็ นต้องพึ่งเทคโนโลยีเสมอไปสามารถอยู่กับสายน้ำและธรรมชาติและ
การนำสิ่งที่มีอยู่รอบๆตัวของคนในหมู่บ้านคอนสายนำมาประยุกต์และ
24

เพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบที่มีอยู่แล้วให้เกิดคุณค่ามากขึ้นและทำให้ผมได้
เข้าใจถึงคำว่าภูมิปั ญญาชาวบ้าน และสุดท้ายนี้ผมจะนำสิ่งที่ได้จากการ
ถ่ายสารคดีในครั้งนี้ไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของผม ให้ดียิ่งขึ้น

นายอรุณวิชญ์ จิระตระกลูภัสร์ ๖๒๗๔๗๗๗๓๑๑๑

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสารคดีเกี่ยวกับการทำปลาร้าในครั้งนี้
การทำสารคดี “ปลาร้า” ในครั้งนี้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของ
คนในท้องถิ่น หมู่บ้านคอนสาย จังหวัดอุดรธานี จากการลงพื้นที่ไปถ่าย
ทำเห็นได้ชัดเจนว่า คนในชุมชนใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ปลูกผัก เลี้ยงปลา ทำนา บางบ้านเลี้ยงกบ เพื่อนำไปจำหน่ายเป็ นรายได้
เสริม อย่างการนำ ปลา ที่ชาวบ้านได้มาจากการยกยอ (ตึกสดุ้ง) นำปลา
มาแปรรูปเป็ น ปลาร้า คุณยายในชุมชนเล่าให้ฟั งว่า อดีตตนมีอาชีพทำนา
พออยู่พอกิน ปลาที่ยกยอมาได้มีจำนวนมากจึงต้องแปรรูปเพื่อให้ถนอม
เนื้อปลาให้เก็บรักษาได้นาน ได้เรียนรู้ถึงขั้นตอนการทำปลาร้า วัสดุ
อุปกรณ์ที่นำมาทำ เทคนิคการทำปลาร้าให้อร่อย รวมถึงวิถีชีวิตคนใน
25

ชุมชน พึ่งพาอาศัยกัน อยู่ร่วมกันแบบครอบครัว อาชีพการทำปลาร้าจึง


เป็ นอาชีพที่สามารถส่งเสริมรายได้ให้ชุมชนอีกหนึ่งอาชีพ

เทคนิคการทำปลาร้าให้อร่อยที่ได้เรียนรู้มาคือ การเลือกปลาคือ
ปลาที่นำมาทำปลาร้านั้นจะต้องเป็ นปลาไทย เช่น ปลาสร้อย ปลา
ตะเพียนปลาช่อน แต่ไม่ควรนำปลาที่เลี้ยงมาทำ เพราะจะมีกลิ่นของ
อาหารปลาออกมา หากนำมาทำปลาร้าก็จะไม่อร่อย เป็ นความรู้ที่ได้มา
จากคุณยาย ปลาร้าเป็ นอาหารท้องถิ่นของชาวภาคอีสาน เพราะไม่ว่าจะ
หันมองไปที่ส้มตำ ยำ หลน แกงต่าง ๆ ก็จะเห็นได้ว่า มีปลาร้าและ
น้ำปลาร้าเป็ นส่วนประกอบกันทั้งนั้น รู้ว่าลักษณะปลาร้าที่หมักได้ที่จะ
ต้องลำตัว และเนื้อปลาอ่อนนุ่ม ไม่แข็งทู่หรือเปื่ อยยุ่ย เนื้อปลาด้านในมีสี
น้ำตาลหรือสีแดงอมชมพู มีกลิ่นหอมของการหมัก ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า
เนื้อปลามีรสเค็ม สิ่งหนึ่งที่เห็นคือการแบ่งปั่ น มีน้ำใจ ในวันที่ทีมงานไป
ถ่ายทำเป็ นวันที่ฝนตก การถ่ายทำค่อนข้างมีอุปสรรคในการทำงาน ร่มมี
ไม่พอสำหรับทีมงาน แต่คุณยายในชุมชนหาร่มมาให้ หารถมาให้เพื่อ
สะดวกในการเดินทางไปถ่ายทำในหมู่บ้าน

ได้เรียนรู้ถึงการทำงานเป็ นกลุ่ม ทั้งสภาพอากาศเป็ นอุปสรรคในการ


ทำงาน สารคดีเรื่องนี้เป็ นการทำงานร่วมกันของแขนงวิทยุกระจายเสียง
และแขนงประชาสัมพันธ์โดยร่วมกันทำงาน เพื่อให้บรรลุถึงเป้ าหมายที่
วางไว้เป็ นเป้ าหมายเดียวกัน มีการแบ่งหน้าที่ในการทำงานชัดเจน เรียนรู้
ถึงความสามัคคีและการมีน้ำใจ ได้มีส่วนร่วมในการทำงาน ประสบการณ์
ในการทำสารคดีในครั้งนี้ ถือเป็ นประโยชน์กับตัวดิฉันมากเพราะได้ทั้ง
26

ความรู้ในการทำปลาร้า ได้ฟั งคุณยายเล่าประวัติความเป็ นมาของปลาร้า


วัฒนธรรมการอยู่การกินของชาวบ้านชุมชนคอนสาย สะท้อนให้เห็นถึง
วิถีชีวิตที่เรียบง่ายแม้ยุคสมัยสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปแต่ยังคงวัฒนธรรม
ดั้งเดิมให้ลูกหลานได้สืบทอดต่อไป

นางสาว รัตติยากร แสนโชติ ๖๒๗๔๗๗๗๓๑๑๒


ภาคผนวก
25

ภาคผนวก ก

ชื่อ-สกุล รหัสนักศึกษา
1. นางสาวประภาวรินทร์ แสน ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๓๐
พิมพ์
2. นางสาวณริศรา ขุนค้า ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๑๑
3. นางสาวสุกัญญา พิมพ์ศร ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๒๒
4. นายธวลธรรม นาทันใจ ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๓๔
5. นายสหรัฐ ทับทิมใส ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๓๐
6. .นายศตนันต์ ฝอยทอง ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๓๖
7. นายวิทวัส อาษานาม ๖๓๐๔๐๐๐๒๑๓๙
8. นายเกรียงไกร บุญภา ๖๓๐๔๐๐๐๓๑๐๓
9. นายอรุณวิชญ์ จิระตระ ๖๓๐๔๐๐๐๓๑๑๑
กลูภัสร์
10. นางสาวรัตติยากร ๖๓๐๔๐๐๐๓๑๑๒
แสนโชติ
26

ภาคผนวก ข
ลำ ภาพ บรรยาย / Sound Effects
ดับ
1 MS : ไห้ปลาร้าวาง แม่ดวง : ถ้าจะให้แม่ คิดว่า EF: ชื่อแม่ดวง
เรียงในบ้าน เครื่องปรุงที่ขาดไม่ได้ใน
CU : ในไห้เห็น อีสานบ้านเฮาคือจะเป็ น
ปลาร้า เป็ นตัว ปลาร้า หรือปลาแดก (พูด
เป็ นภาษาถิ่น)
Sound :
2 LS ,MS , มุมสูง ลงเสียงบรรยาย เกี่ยวกับ c ชุมชนมุนข
ชุมชน (โดรน) ชุมชน วา
LS ,MS , รินคลอง - วิถีชีวิต
แม่ หาปลา - ความเป็ นอยู่ของชุมชน
LS ,MS , ทุ่งนา - แหล่งสำคัญการดำรงชีวิต
27

ข้าว ไร่สวนผัก Sound :


LS ,MS ,CU
ตักบาตรเช้า
MS ,CU ชาวบ้าน
ยืนพูดคุยกันในตอน
เช้า รอยยิ้ม เด็ก ผู้
สูงอายุ ชาวบ้าน
3 LS ,MS คำถามคนในชุมชน เกี่ยวกับ EF : Text
LS ,MS ,CU ปลาร้า EF : Text
MS ,CU - เครื่องปรุงที่ขาดไม่ได้ของ
ภาคอีสานคืออะไร ?
- ทำไมคนอีสานถึงชอบกิน
ปลาร้า
Sound :
4 LS ,MS ลงเสียงบรรยาย เกี่ยวกับ EF: ชื่อแม่ดวง
LS ,MS ,CU ปลาร้าของภาคอีสาน / EF: แม่ไร
MS ,CU ปลาร้าชุมชนคอสาย ประธานกลุ่ม
Sound :
สัมภาษณ์ : กลุ่มสตรี ปลาร้า
หมู่ 8 (พูดเป็ นภาษาถิ่น)
- เกลือ
- แกลบ โรงสีข้าวในชุมนม
- ปลา
- ปลาร้าส่งออก
Sound :
28

5 LS ,MS สัมภาษณ์ : กลุ่มคนหาปลา EF : ชื่อคลอง


LS ,MS ,CU ริมคลองไพจานใหญ่ (พูดเป็ น
MS ,CU ภาษาถิ่น)
- การหากินรินคลองไพจาน EF : Text
ใหญ่
- ชนิดปลาในการทำปลาร้า
- ความสำคัญของแหล่งน้ำ EF : Text
- อุปกรณ์ในการหาปลา
Sound :
6 LS ,MS คำถามคนในชุมชน เกี่ยวกับ EF : Text
LS ,MS ,CU คลองแม่
MS ,CU - คลองน้ำมีคนสำคัญกับ
คนในชุมชนอย่างไร
-
- EF : Text
Sound :
7 LS ,MS ทำอาหารโดยมีปลาร้าเป็ น
LS ,MS ,CU วัตถุดิบ
MS ,CU (โลชั่นเป็ นบ้านที่มีใต้ถุง)
คำถาม : ทำไมอาหารอีสาน
ถึงขาดปลาร้าเป็ นเครื่องปรุง
หลักไม่ได้ ?
คำถาม : ทำไมแม่ๆชอบ
ปลาร้า
29

Sound :
8 LS ,MS บ้านของ คำถาม แม่คิดยังไงกับคนที่ EF : Text EF
คนในชุมชนที่เป็ น ไปทำงานต่างถิ่นที่คิดถึงแม่ : Text
บ้านไม้ แม่อยากบอกอะไรกับพวก
,MS ,CU ผู้สูงอายุ เขา
นั่งทำกับข้าว
MS ,CU นั่งกินข้าว
กับลูก หลาน
MS ,CU พาข้าวที่มี -ความสามารถที่แท้จริงมันคือ
ปลาร้าเป็ นส่วน การเราได้กลับมาใช้วิถีชีวิต
ประกอบ แบบอีสานบ้านเราการได้
CU รอยยิ้ม เด็ก ผู้ กลับมากินของพื้นบ้านกิน
สูงอายุ คนในชุมชน ข้าวพร้อมหน้าพร้อมตากับ
ครอบครัวและใช้วิถีชีวิตแบบ
ตั้งหาปูหาปาทำเกษตรนั่น EF : Text
แหละคือความสุขที่แท้จริง

Sound :

Story board
30
31

ภาคผนวก ค
32

ภาคผนวก ง Link หรือ URL ของสื่อ

You might also like