You are on page 1of 85

บทที่ 3 วิธีดำเนิน

การวิจัย
การดำเนินการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงแรม... รวม
ทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการใช้บริการ
โรงแรม........ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งผู้วิจัยได้
ศึกษาและออกแบบตามกระบวนการดังต่อไปนี้
3.1 ระเบียบวิธีวิจัย
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การประเมินความเที่ยงและความตรงของ
แทรกเรื่องสถิติ

ประเภทของสถิติที่ใช้ในการวิจัย
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็ นสถิติ
ที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
โดยไม่สามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่นๆ ก็คืออธิบายเฉพาะตัวมัน
เองได้ เช่น ความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่า
เฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
แทรกเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)


ในการวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมและประสบการณ์ในการตัดสินใจในการ
เลือกใช้ บริการที่พักประเภทโรงแรมและรีสอร์ทของนักท่องเที่ยวชาวไทย
และข้อมูลลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง โดยศึกษาและ
นำเสนอในรูปแบบตารางแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation)
แทรกเรื่องสถิติ
ความถี่ เช่น คะแนนสอบวิชาการวิจัยเพื่อการโรงแรมของ
นักเรียน 10 คน เป็ นดังนี้
ร้อยละ คือการคิดจากฐาน 100 ว่าได้เท่าไหร่
คะแ รอย ความ ร้อย
นน ขีด ถี่ ละ
17  3 30
16  3 30
15  1 10
14  1 10
13  2 20
รวม N=10 100
แทรกเรื่องสถิติ

ค่าเฉลี่ย เป็ นการหาค่ากลางหรือที่เรียก


ว่า การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (measure
of central tendency) ของข้อมูล นิยมใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
(arithmetic mean) หรือเรียกสั้นๆว่า ค่าเฉลี่ย (mean) (ชัชวาล
, 2543) หากเป็นค่าเฉลี่ยประชากร (population mean) ใช้
สัญลักษณ์ (อ่านว่า มิว) หากเป็นค่าเฉลี่ยตัวอย่าง (sample
mean) ใช้สัญลักษณ์ (อ่านว่า เอ๊กซ์บาร์) คำนวณได้โดยหา
ผลรวมของข้อมูลทุกค่า แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด
แทรกเรื่องสถิติ

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (เบี่ยงเบนจาก
เกณท์มาตรฐาน) เป็ นวิธีวัดการกระจาย
(Measure of Dispersion) หากเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ประชากร (Population Standard Deviation, S.D.) ใช้
สัญลักษณ์ (อ่านว่า ซิกม่า)
หากเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง (Sample;
S.D.) ใช้สัญลักษณ์ (อ่านว่า เอส)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทาง
สถิติ เพราะเป็นค่าที่ใช้บอกถึงการกระจายของข้อมูล
แทรกเรื่องสถิติ

- ค่าเฉลี่ยของ การเบี่ยงเบน จาก ค่าเฉลี่ยอีกที สมมติว่ามี Data อยู่ 3 ค่า


x1 = 10
x2 = 12
x3= 14
ดังนั้น ค่าเฉลี่ย ของ 3 ค่า คือ = 12 และจะมีค่าเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยของแต่ละค่าคือ
S1 = 10-12 =-2
S2= 12-12 =0
S3 = 14-12 = 2
ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานคือ = 1.3333 หมายความว่า ค่าทุกค่าห่างจากค่าเฉลี่ยโดย
เฉลี่ย 1.3333
- ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ตัวเลข ตัวหนึ่ง ตัวเลขนี้ บอกเราว่า ข้อมูลที่มีอยู่
ทุกตัวนั้น "โดยเฉลี่ยแล้ว" มันต่างกับค่า mean เท่าใด
แทรกเรื่องสถิติ
- แปลว่า ค่ามันเกาะกลุ่มมากน้อยแค่ไหน
“กระจุก” ถ้าค่าต่ำๆ แปลว่าค่ามันเกาะกลุ่มมาก
เช่น 36 39 38 37 37 36 38 39 36
“กระจาย” ถ้าค่าสูงๆ แปลว่าค่าสวิงขึ้น-ลงออกไปคนละ
ทิศละทาง เช่น 34 52 17 -5 6 21 39 81

มีส้ม 400 ลูก มีคนเอามากองๆได้เป็ น 100 กอง ได้


ค่าเฉลี่ยคือ 40

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะบอกคร่าวๆว่าแต่ละกอง
มันใกล้กับ 40 ลูกมั้ย

ถ้าเบี่ยงมาก แสดงว่ามีกองที่ไม่ใช่ 40 อยู่


แทรกเรื่องสถิติ

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็ นสถิติที่


ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
หรือหลายกลุ่ม แล้วสามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรได้ แบ่ง
เป็ น 2 ประเภท
2.1 เชิงปริมาณ เป็ นตัวเลขเชิงปริมาณ คำนวณได้ เช่น
t-test, F-test , Anova เป็ นต้น
แทรกเรื่องสถิติ

2.2 เชิงคุณภาพ- ไม่เป็นตัวเลข คำนวณไม่ได้ เช่น


Chi-square เป็ นต้น
เป็ นเชิง
ปริมาณ
หรือเชิง
คุณภาพ?
เป็ นเชิง
ปริมาณ
หรือเชิง
คุณภาพ?
เป็ นเชิง
ปริมาณ
หรือเชิง
คุณภาพ?
เป็ นเชิง
ปริมาณ
หรือเชิง
คุณภาพ?
3.1 ระเบียบวิธีวิจัย
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจ
ของผู้ใช้บริการโรงแรม... รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการใช้บริการ โรงแรม........ จังหวัด
อุดรธานี งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดย
ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และเก็บรวบรวมข้อมูลผ่าน
ทางการตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) จาก กลุ่มเป้ าหมาย โดย
ปัจจัยที่ทำการศึกษา คือ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ได้แก่
ปัจจัยด้าน ผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านทำเลที่ตั้ง ปัจจัยทาง
ด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยทางด้านบุคลากร ปัจจัยทางด้านการ
สร้างและการนำเสนอทางกายภาพ และปัจจัยด้านกระบวนการบริการ
กรณีทราบขนาด
3.2 ประชากรและกลุ่ม
ประชากร
ตัวอย่าง
ประชากร (Population) ในการวิจัยนี้คือ กลุ่มผู้ใช้บริการชาวไทยที่เคย
เดินทางไป ท่องเที่ยวในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
ซึ่งผู้วิจัยทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ผู้วิจัยได้เลือกใช้การอ้างอิง
Yamane’s formula of sample size ของ Yamane (1967) เพื่อ
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสมมติฐานที่กำหนดว่าข้อมูลมีการกระ
จายตัวแบบปกติ (Normal Distribution) มี ระดับความเชื่อมั่น
(Confidence Interval) ที่ระดับ 95%, ค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ ที่
± 5% โดยทั้งนี้สามารถคำนวณได้ดังนี้
𝑁
n = 2
1+ 𝑁𝑒

โดยที่:
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
N = ขนาดของประชากร
e = ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่ม
ตัวอย่างที่ยอมรับได้โดยต้องการให้ผลวิจัยมี
ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5%
(e = 0.05)
n=

n=

n=

n = 333.33 ปัดเป็น 334

จากการคำนวณข้างต้นพบว่า จำนวน
กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นตัวแทนบอกถึง
ประชากร ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% จะ
กรณีไม่ทราบขนาด
3.2 ประชากรและกลุ่ม ประชากร
ตัวอย่าง
ประชากร (Population) ในการวิจัยนี้คือ กลุ่มผู้ใช้บริการชาวไทยที่เคย
เดินทางไป ท่องเที่ยวในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งผู้วิจัยไม่
สามารถทราบกลุ่มประชากรที่แน่นอนได้ ผู้วิจัยได้เลือกใช้การอ้างอิง
Yamane’s formula of sample size ของ Yamane (1967) เพื่อ
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสมมติฐานที่กำหนดว่าข้อมูลมีการกระ
จายตัวแบบปกติ (Normal Distribution) มี ระดับความเชื่อมั่น
(Confidence Interval) ที่ระดับ 95%, ค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ ที่
± 5% โดยทั้งนี้สามารถคำนวณได้ดังนี้
2
𝑧 𝑝𝑞
n = 2
𝑒

โดยที่: n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
Z = ระดับความเชื่อมั่น (Z = 1.96)
p = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์หรือสัดส่วนของคุณลักษณะที่สนใจในกลุ่ม

ตัวอย่าง (p = 0.5)
q = โอกาสที่จะไม่เกิดเหตุการณ์ ซึ่งเท่ากับ 1 - p ในกรณีของกลุ่มตัวอย่า
(q = 0.5)
e = ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ โดยต้องการ
ให้ผลวิจัยมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% (e = 0.05)
เมื่อแทนค่าในสมการจะได้ว่า
n=

จากการคำนวณข้างต้นพบว่า จำนวน
กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นตัวแทนบอกถึง
ประชากร ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% จะ
ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
เท่ากับ 385 ตัวอย่าง
แทรกเรื่องสถิติ

1. ความหมาย

ประชากร หมายถึง คน สัตว์ และสิ่งของต่างๆที่มี


คุณสมบัติตามที่ผู้วิจัยกำหนดและสนใจศึกษาตามเงื่อนไข

กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง กลุ่มของสิ่งของต่างๆที่เป็ นส่วน


หนึ่งของประชากรที่ศึกษาเพื่อนำข้อสรุปไปอ้างอิง
สู่ประชากรทั้งหมด
แทรกเรื่องสถิติ

2. ประเภทของประชากร
2.1 จำแนกตามขอบเขตของประชากร
2.1.1 ประชากรแบบจำกัด คือ สามารถระบุขอบเขตหรือ
นับจำนวนได้ทั้งหมด เช่น จำนวนนักเรียนในห้องเรียน บธ.บ.การ
โรงแรม 3/4และ3/5 คือมี 65 คน
2.1.2 ประชากรแบบไม่จำกัด ไม่สามารถระบุขอบเขต
หรือนับจำนวนได้ เช่น จำนวนปลาในแม่น้ำ
แทรกเรื่องสถิติ

2.2 จำแนกตามลักษณะของประชากร
2.2.1 มีลักษณะเป็ นเอกพันธ์ หมาย
ถึง ประชากรมีคุณลักษณะ/โครงสร้างที่
คล้ายคลึงกัน เช่น ครูเพศเดียวกัน อาชีพ
เดียวกัน หรือพืชชนิดเดียวกัน
2.2.2 มีลักษณะเป็ นวิวิธพันธ์ หมาย
ถึง ประชากรมีคุณลักษณะ/โครงสร้างที่
แตกต่างกัน งูต่างเพศกัน คนทำงานอาชีพ
ต่างกัน หรือพืชคนละชนิดกัน
แทรกเรื่องสถิติ

3. เหตุผลที่จำเป็นจะต้องใช้กลุ่มตัวอย่างแทนที่จะใช้ทั้งประชากร
3.1 ประชากรทั้งหมด จำนวนมาก ระยะไกล อันตราย มีเวลา
จำกัด
3.2 ประหยัดเวลา ประหยัดงบประมาณ
3.4 กลุ่มตัวอย่างควรมีลักษณะต่างๆ สอดคล้องครอบคลุม
คุณลักษณะทุกประการของประชากร ซึ่งหมายถึงว่ากลุ่มตัวอย่างนั้นต้อง
เลือกมาจากประชากร โดยปราศจากความลำเอียง
3.5 มีขนาดพอเหมาะหรือพอเพียงที่จะทดสอบความเชื่อมั่นทาง
สถิติได้ เพื่อที่ว่าผลที่ได้จะได้สามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรอย่างชื่อถือได้
แทรกเรื่องสถิติ

4. การสุ่มตัวอย่าง
หมายถึง วิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่างจาก
ประชากรที่มีความเป็ นตัวแทนที่ดี โดยในการ
ดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจะมีวิธีการสุ่ม
หลากหลายที่นำมาใช้ สอดคล้องกับ
คุณลักษณะของประชากร
แทรกเรื่องสถิติ

4.1 ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง
4.1.1 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ความน่าจะเป็ น
เป็ นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่สมาชิกทุกๆหน่วยของ
ประชากรมีโอกาสอย่างเท่าเทียมกันที่จะเป็ น
ตัวแทนที่ดีที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย โดยข้อมูล
ที่รวบรวมแล้วนำมาทดสอบนัยสำคัญทางสถิติที่ใช้
สถิติเชิงอ้างอิงแล้วผลการวิจัยสามารถอ้างอิงไปสู่
ประชากรของการวิจัยได้
วิธีการสุ่มมีดังนี้
(1) การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ใช้วิธีการจับฉลาก ใช้คอมพิวเตอร์Random
(2) การสุ่มตัวอย่างแบบชั้น โดยการแบ่งประชากรออกเป็นพวกย่อยๆ หรือ
เรียกว่าแบ่งชั้น (Strata) แล้วสุ่มตัวอย่างจากทุกพวกออกมาตามสัดส่วน
มากน้อยของแต่ละพวกโดยต้องใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายในขั้นสุ่มจริง วิธีนี้เป็น
แทรกเรื่องสถิติ

ตัวอย่าง
ถ้ามีประชากรนักศึกษาชั้นปี ที่ 4 ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งจำนวนรวม
1,500 คน จำแนกเป็นพวกตามคณะที่เรียน มีครุศาสตร์ 250 คน
วิทยาศาสตร์ 320 คน มนุษยศาสตร์ 500 คน และวิทยาการจัดการ 430 คน
เมื่อเทียบขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรได้ 300 คน จะได้กลุ่ม
ตัวอย่างตามสัดส่วนแต่ละคณะดังนี้ (เทียบบัญญัติไตรยางศ์)
ครุศาสตร์ (250 คน จาก 1500 คน ถ้า 300 คน) ได้ = 50 คน
วิทยาศาสตร์ (320 คน) ได้ = 64 คน
มนุษยศาสตร์ (500 คน) ได้ = 100 คน
วิทยาการจัดการ (430 คน) ได้ = 86 คน
แทรกเรื่องสถิติ

(3) การสุ่มแบบมีระบบ (Systematic Random Sampling) ใช้ใน


กรณีที่ประชากรมีการลงทะเบียน และให้หมายเลขไว้ตามลำดับอย่างมี
ระเบียบ(หรือถ้าไม่ได้จัดทำไว้ นักวิจัยอาจจะนำมาจัดทำเองได้) เช่น
ประชากร นักเรียน นักศึกษา พนักงานห้างร้าน คนงานโรงงาน ประชาชนที่ตั้ง
บ้านเรือนในพื้นที่ซึ่งมีบ้านเลขที่ตามสำเนาทะเบียนบ้าน วิธีการสุ่มทำดังนี้
(3.1) หาช่วงของการสุ่มตัวอย่าง โดยนำเอาจำนวนประชากรมาหาร
ด้วยจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ถ้ามีเศษให้พิจารณาปัดเศษเป็นจำนวนเต็ม เช่น ถ้า
มีประชากร 1,400 คน ต้องการกลุ่มตัวอย่าง 300 คน จะได้ช่วงของการสุ่ม
1,400/300 = 4.67 ปัดเป็น 5
แทรกเรื่องสถิติ

(3.2) หน่วยตัวอย่างในประชากร 5 ลำดับแรก


มาสุ่มหมายเลขตั้งต้น (Random Start) โดยวิธีสุ่ม
อย่างง่ายได้เลขที่ 3 คือ เขียน เลข 1 ถึง เลข 5 แล้วจับฉลาก
ปรากฏว่าได้เลข 3
(3.3) ระบุหน่วยที่จะเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยเริ่มจากเลขที่ตั้งต้น
และเลขที่ต่อไปให้นำเลขที่ตั้งต้นบวกด้วยเลขบอกช่วงการสุ่ม
ดังนี้ 3, 8, 13, 18, 23, 28,… จนครบ 300 ตัวอย่าง ถ้าระบุไป
จนถึงคนสุดท้ายแล้วยังไม่ครบ 300 คน เนื่องจากการคำนวณช่วง
การสุ่มมีการปัดเศษ ก็ให้บวกเลขวนกลับมาผ่านเลขที่ 1 อีกรอบ
ถ้าซ้ำเลขที่เดิมให้ข้ามไป
แทรกเรื่องสถิติ
(4) การสุ่มหลายขั้นตอน (Multi–stage Random Sampling) ใช้
ในกรณีที่ประชากรมีขนาดใหญ่มาก อยู่ในพื้นที่กว้าง และ
ประชากรสามารถแบ่งระดับที่แตกต่างกันหลายระดับ จำเป็นต้อง
ใช้วิธีสุ่มหลายวิธีประกอบกัน เช่น ใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งกลุ่มก่อน และ
ในขั้นตอนเกือบสุดท้ายอาจใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น และขั้นสุดท้ายใช้
วิธีสุ่มแบบง่าย เช่น ต้องการทำวิจัยปัญหาหนึ่ง โดยใช้ประชากร
คนจังหวัดนครปฐมกำหนดกลุ่มตัวอย่าง 900 คน กำหนดวิธีสุ่ม
หลายขั้นตอนดังนี้ สุ่มอำเภอมา 4 อำเภอ จาก 7 อำเภอ ใน 4
อำเภอ สุ่มมาอำเภอละ 3 ตำบล แต่ละตำบลสุ่มมา 5 หมู่บ้าน
แต่ละหมู่บ้านสุ่มครัวเรือนมา 15 ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนสุ่ม
สมาชิกมา 1 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง 4 x 3 x 5 x 15 x 1 = 900 คน
แทรกเรื่องสถิติ

4.1.2 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็ น
เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช้หลักการของความน่าจะเป็น
ที่อาจจะเกิดเนื่องจากเป็นการวิจัยที่ศึกษาจากกลุ่มที่เฉพาะ
เจาะจงหรือมีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับประเด็นหรือ
เงื่อนไขที่กำหนดไว้ ในบางครั้งเรียกการสุ่มประเภทนี้ว่า
“การคัดเลือก (Selection) มีวิธีดังนี้
แทรกเรื่องสถิติ

(1) วิธีการคัดเลือกแบบมีจุดประสงค์/เฉพาะเจาะจง (Purposive


Selection) เป็นการคัดเลือกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ตามหลักการของเหตุผลโดยให้มีความสอดคล้อง
กับปัญหาการวิจัย/จุดประสงค์การวิจัย เช่น การเก็บความพึงพอใจการใช้
บริการโรงแรมของกลุ่มบริษัทเอกชนเท่านั้น
(2) วิธีการคัดเลือกแบบกำหนดโควต้า (Quota Selection) เป็ นการ
คัดเลือกลุ่มตัวอย่างโดยการกำหนดสัดส่วนของจำนวนกลุ่มตัวอย่างแต่ละ
กลุ่มตามคุณลักษณะที่กำหนดไว้ล่วงหน้าอย่างชัดเจน แล้วเลือกตัวอย่าง
ที่มีลักษณะดังกล่าวให้ครบตามจำนวนที่กำหนดให้เท่านั้นเช่นเดียวกับการ
เลือกแบบบังเอิญ อาทิ กำหนดสัดส่วนของนศ.ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูล
จำแนกตามชั้นปี เป็นปี ที่1:ปี ที่2: ปี ที่ 3: ปี ที่4 ดังนี้ 35:30:20:15 เป็นต้น
แทรกเรื่องสถิติ

(3) วิธีการคัดเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Selection) เป็นการคัด


เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยบังเอิญพบหรือไม่เฉพาะเจาะจง แต่กลุ่มตัวอย่างมี
ลักษณะเบื้องต้นบางประการที่สอดคล้องกับลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่
กำหนดไว้ เช่น การสำรวจเหตุผลการมาโรงแรมแต่เช้าของนศ. ก็ไปยืนเก็บ
จาก นศ.ที่มาแต่เช้า
(4) วิธีการคัดเลือกแบบลูกโซ่ (Snowball Selection) หมายถึง การเลือก
ตัวอย่างในลักษณะแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวอย่างแรกจะเป็นผู้ให้คำแนะนำ
ในการเลือกตัวอย่างถัดไป และมีการแนะนำต่อไปจนกระทั่งได้ขนาด
ตัวอย่างตามที่ผู้วิจัยต้องการ เช่น ในการวิจัยเรื่องการทุจริตคอรัปชั่น เรื่อง
หนี้สินนอกระบบ การปราบปรามยาเสพติด โดยที่ผู้วิจัยจะทำการเลือก
ตัวอย่างแรกขึ้นมาก่อน จากนั้นตัวอย่างแรกที่ได้เลือกมาก็จะเป็นผู้ให้ชื่อ
ของตัวอย่างที่สองต่อไป และตัวอย่างที่สองก็จะเป็นผู้ให้ชื่อของตัวอย่างที่
สามต่อไป ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกระทั่งได้ขนาดตัวอย่างตามที่ผู้วิจัยต้องการ
แทรกเรื่องสถิติ

(5) วิธีการคัดเลือกแบบตามสะดวก (Convenience Selection)


เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่คำนึงความสะดวกในการเก็บข้อมูล หา
หรือพบได้ง่าย เช่น กลุ่มตัวอย่างอยู่ใกล้ เดินทางสะดวก มีผู้ช่วยเก็บ
ข้อมูลแทนได้

(6) วิธีการคัดเลือกแบบอาสาสมัคร (Voluntary Selection)


เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างจากสมาชิกที่อาสาเข้ามามีส่วนร่วมเป็น
หน่วยตัวอย่างด้วยความเต็มใจที่มีเหตุผลแตกต่างกัน เช่น ต้องการได้
รับสิ่งตอบแทน/ความเต็มใจ เป็นต้น
แทรกเรื่องสถิติ

5. การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

5.1 การกําหนดเกณฑ์ในกรณีนี้ผู้วิจัยต้องทราบจํา
นวนประชากรที่แน่นอนก่อนแล้วใช้เกณฑ์โดย
กำหนดเป็ นร้อยละของประชากรในการพิจารณา
ดังนี้ (ธีรวุฒิ เอกะกุ, 2543)
ถ้าขนาดประชากรเป็ นหลักร้อย ควรใช้กลุ่ม
ตัวอย่างอย่างน้อย 25%
ถ้าขนาดประชากรเป็ นหลักพัน ควรใช้กลุ่มตัวอย่าง
อย่างน้อย 10%
ถ้าขนาดประชากรเป็ นหลักหมื่น ควรใช้กลุ่ม
แทรกเรื่องสถิติ

5.2 การใช้ตารางสำเร็จรูป
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูป
มีอยู่หลายประเภท ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้วิจัย
ตารางสำเร็จรูปที่นิยมใช้กันในงานวิจัยเชิงสำรวจ ได้แก่
ตารางสำเร็จรูปของทาโร ยามาเน่ และตารางสำเร็จรูป
ของเครจซี่และเมอร์แกน
แทรกเรื่องสถิติ

- ตารางสำเร็จรูปของทารโร ยามาเน่
ตารางสำเร็จรูปของทาโร ยามาเน่(Yamane, 1973 อ้างในธีรวุฒิ เอกะกุล,
2543) เป็นตารางที่ใช้หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วนของ
ประชากร โดยคาดว่าสัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 และ
ระดับความเชื่อมั่น 95% ดังตารางที่ 1 วิธีการอ่านตารางผู้วิจัยจะต้องทราบ
ขนาดของประชากร และกําหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ เช่น
ต้องการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่มีขนาดเท่ากับ 2,000 คน
ความคลาดเคลื่อนที่ผู้วิจัยยอมรับได้เท่ากับ 5% ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่
ต้องการจะเท่ากับ 333 คน เป็นต้น
แทรกเรื่องสถิติ

ที่มา : (Yamane, 1973 อ้างใน จักรกฤษณ์ สําราญ


ทรกเรื่องสถิติ

5.3 การใช้สูตรคำนวณ
แม้การใช้ตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะง่ายและ
สะดวกกับผู้วิจัย แต่บางครั้งผู้วิจัยอาจจำเป็นที่จะต้อง
คำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ขนาดประชากรหรือระดับ
ความเชื่อมั่นอื่นๆ ที่แตกต่างกันออกไปจากตาราง ผู้วิจัย
จำเป็นต้องการการคำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากสูตร
คำนวณ ซึ่งสูตรคำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีหลาก
หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นสูตรของทาโร ยามาเน่(Yamane,
1973) สูตรนี้จำเป็นต้องทราบขนาดของประชากร แต่ถ้าไม่
ทราบขนาดของประชากรก็อาจใช้สูตรของYamane’s
formula of sample size ของ Yamane (1967) ราย
ละเอียดมีดังนี้
แทรกเรื่องสถิติ

5.3.1 กรณีทราบขนาดประชากร

5.3.1.1 สูตรของทาโร ยามาเน่ (Yamane, 1973 อ้างในธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543)


แทรกเรื่องสถิติ
วิธีการคำนวณสูตรนี้ผู้ วิจัยต้องทราบขนาดของประชากรที่ต้องการ
ศึกษา (N) และกำหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่การสุ่มตัวอย่าง
ยอมรับได้ (e) เช่น ถ้าประชากรที่ใช้ในการวิจัยมีจำนวน
2,000 หน่วย ยอมรับให้เกิดความคลาดเคลื่อนจากตัวอย่างได้ 5%
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการเท่ากับ

0.05*0.05 = 0.0025 * 2,000 = 5 เอา 5+1 = 6


2,000/6 = 333.333
แทรกเรื่องสถิติ

5.3.2 กรณีไม่ทราบขนาดของประชากร
สูตรของ Yamane’s formula of sample size ของ Yamane (1967)
2
𝑧 𝑝𝑞
n = 2
𝑒
โดยที่: n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
Z = ระดับความเชื่อมั่น (Z = 1.96)
p = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์หรือสัดส่วนของคุณลักษณะที่สนใจในกลุ่ม

ตัวอย่าง (p = 0.5)
q = โอกาสที่จะไม่เกิดเหตุการณ์ ซึ่งเท่ากับ 1 - p ในกรณีของกลุ่มตัวอย่า
(q = 0.5)
e = ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ โดยต้องการ
ให้ผลวิจัยมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% (e = 0.05)
แทรกเรื่องสถิติ

5.3.2 กรณีไม่ทราบขนาดของประชากร (ต่อ)


โดยที่: n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
Z = ระดับความเชื่อมั่น (ความเชื่อมั่น 95% ค่า Z = 1.96, e = 0.05/ ความเชื่อ
มั่น 99% ค่า Z = 2.58, e = 0.01)
p = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์หรือสัดส่วนของคุณลักษณะที่สนใจในกลุ่ม
ตัวอย่าง (p = 0.5)
q = โอกาสที่จะไม่เกิดเหตุการณ์ ซึ่งเท่ากับ 1 - p ในกรณีของกลุ่มตัวอย่า
(q = 0.5)
e = ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ โดยต้องการ
ให้ผลวิจัยมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% (e = 0.05) / ความคลาดเคลื่อน
ลองเปลี่ยนตัวเลขค่าต่างๆ
ดูระดับ Z ความ p q e จำนวน
ความ โอกา โอกาส ความคลาด แบบสอบถามที่
เชื่อมั่น เชื่อมั่น สเกิด ไม่เกิด เคลื่อน ต้องเก็บ
0.95 1.96 0.3 0.7 0.05 322.6944
0.95 1.96 0.4 0.6 0.05 368.7936
0.95 1.96 0.5 0.5 0.05 384.16
0.99 2.58 0.3 0.7 0.01 13,978.44
0.99 2.58 0.4 0.6 0.01 15,975.36
0.99 2.58 0.5 0.5 0.01 16,641.00
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
งานวิจัยนี้ผู้ วิจัยได้ออกแบบ แบบสอบถาม
(Questionnaire) โดยแบ่งแบบสอบถาม เป็น 3 ส่วน คือ
แบบสอบถามส่วนที่ 1 เป็ นข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถามซึ่งเป็นปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของผู้
ตอบแบบสอบถามที่ถูกเก็บรวบรวมมา
แบบสอบถามส่วนที่ 2 เป็ นข้อมูลเกี่ยวกับ
พฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้บริการโรงแรมระดับ 3 ดาว
แบบสอบถามส่วนที่ 3 เป็ นข้อมูลเกี่ยว
กับระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของ
โรงแรม........ จังหวัดอุดรธานี เกี่ยวกับ
ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านทำเลที่
ตั้ง ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้าน
บุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ และ
ด้านกระบวนการ โดยแบบสอบถามใน
ส่วนนี้เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ซึ่งมีเกณฑ์การกำหนดค่าน้ำหนักการ
ประเมิน 5 ระดับคำตอบตามวิธีไลเคอร์ทสเกล (Likert
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม

โครงร่าง
แบบสอบถาม
1. ระบุชื่อเรื่องวิจัย
2. ระบุคำชี้แจงเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์การทำวิจัย
3. ระบุคำชี้แจงเกี่ยวกับการตอบ
แบบสอบถาม
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม
ระบุชื่อเรื่องวิจัย

ระบุคำชี้แจงเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์การทำ
วิจัย

ระบุคำชี้แจงเกี่ยว
กับการตอบ
แบบสอบถาม
โครงร่าง
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม แบบสอบถาม (ต่อ)

ส่วนที่ 1 เป็นลักษณะคำถามเกี่ยว
กับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ง
มีลักษณะแบบตรวจสอบรายการ
(Check List) ได้แก่ เพศ อายุ
อาชีพ ระดับการศึกษาและรายได้-
เชิงคุณภาพ
แทรกเรื่องโครงร่าง โครงร่าง
แบบสอบถาม แบบสอบถาม (ต่อ)
ส่วนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค ซึ่งมีลักษณะแบบตรวจสอบ
รายการ (Check List) โดยอย่างน้อยต้องมีประเด็นข้อคำถามดังต่อไปนี้
- ซื้ออะไร (ชนิดสินค้าและบริการที่ซื้อ)
- ซื้อทำไม (เหตุผลหรือวัตถุประสงค์ในการซื้อ)
- ซื้ออย่างไร (วิธีการซื้อ)
- ซื้อเมื่อไหร่ (ช่วงเวลาการซื้อ)
- ซื้อที่ไหน/ซื้อกับใคร (สถานที่หรือ Brand ที่ซื้อ)
- ซื้อเท่าไหร่ (จำนวนหรือปริมาณในการซื้อ)
- ซื้อบ่อยเพียงใด (ความถี่ในการซ้อ)
ซื้อเท่าไหร่ (จำนวนหรือปริมาณ
ในการซื้อ)

ซื้อเท่าไหร่ (จำนวนหรือปริมาณใน
การซื้อ)
ซื้อทำไม
(เหตุผลหรือ
วัตถุประสงค์ใน
การซื้อ)
ซื้อเท่าไหร่
(จำนวนหรือ
ปริมาณในการ
ซื้อ)
ซื้ออะไร (ชนิด
สินค้าและ
บริการที่ซื้อ)
ซื้อที่ไหน/ซื้อกับ
ใคร (สถานที่หรือ
Brand ที่ซื้อ)

ซื้อเท่าไหร
่ (จำนวนหรือ
ปริมาณในการ
ซื้อ)
ซื้อเท่าไหร
่ (จำนวนหรือ
ปริมาณในการ
ซื้อ)
ซื้อเท่าไหร
่ (จำนวนหรือ
ปริมาณในการ
ซื้อ)

ซื้อทำไม
(เหตุผลหรือ
วัตถุประสงค์ใน
การซื้อ)
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม
โครงร่าง
แบบสอบถาม (ต่อ) 3 เป็ นข้อมูลเกี่ยว
แบบสอบถามส่วนที่
กับระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อ
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของ
โรงแรม........ จังหวัดอุดรธานี เกี่ยวกับด้าน
ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านทำเลที่ตั้ง ด้าน
การส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้าน
ลักษณะทางกายภาพ และด้าน
กระบวนการ
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม

Rating Scale
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ระดับ 1-5
แบบสอบถามส่วน
ที่ 3
ความพึงพอใจ
ต่อปัจจัยส่วน
ประสมทางการ
ตลาด
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม

งานนักศึกษาให้ไปหาแบบสอบถามจากงานวิจัยของ
คนอื่นๆมาซัก 5-10 คน
1. แล้วทำเป็นตาราง
2. เสร็จแล้ว Check –list ว่าคำถามในแบบสอบถามใน
ส่วนที่ 2 พฤติกรรม กับส่วนที่ 3 ความพึงพอใจ
เค้าถามอะไรบ้างที่เหมือนกัน พอเหมือนกันก็ให้ 
ที่ช่องนั้น อะไรที่ไม่เหมือนกันก็ไม่ต้องติ๊ก
แทรกเรื่องโครงร่าง ตัวอย่างงาน Check list แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
ส่วนที่ 3 ด้าน
ความพึง
พอใจต่อ
ปัจจัยส่วน
ประสมการ
ตลาด
แทรกเรื่องโครงร่าง
แบบสอบถาม
เสร็จแล้วให้
ออกแบบ
แบบสอบถาม
แบบสอบถามใน
ส่วนที่ 1
ประชากรศาสตร์
ส่วนที่ 2
พฤติกรรม ควรมี
คำถามอย่างน้อย
10 ข้อ กับส่วนที่ 3
ความพึงพอใจ
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
งานวิจัยนี้ผู้ วิจัยได้ออกแบบ แบบสอบถาม (Questionnaire) โดยแบ่ง
แบบสอบถาม เป็น 3 ส่วน คือ
แบบสอบถามส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยด้าน
ประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถามที่ถูกเก็บรวบรวมมา
แบบสอบถามส่วนที่ 2 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
บริการโรงแรมระดับ 3 ดาว
แบบสอบถามส่วนที่ 3เป็นข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้
ใช้บริการต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของโรงแรม........ จังหวัด
อุดรธานี เกี่ยวกับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านทำเลที่ตั้ง ด้านการส่งเสริม
การตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ
ตารางที่ 3.1 เกณฑ์การกำหนดค่าน้ำหนักคะแนน
สำหรับระดับความพึงพอใจต่อการใช้บริการระดับ
ต่าง ๆ

ระดับความพึงพอใจ ค่าน้ำหนักคะแนนของตัว
เลือกที่ตอบ
พึงพอใจมากที่สุด 5
พึงพอใจมาก 4
พึงพอใจปานกลาง 3
พึงพอใจน้อย 2
พึงพอใจน้อยที่สุด 1
ในการแปลความหมาย ผู้วิจัยจะใช้วิธีของ
ช่วงของคะแนนจากการหาอัตราภาคชั้น
มาแบ่งเป็ นช่องของระดับความพึงพอใจ
( ค่ ามากที่สุด −ค่าน้อยที่สุด )
ต่อการใช้บริการดังนี้
วามกว้างของอัตราภาคชั้น = จำนวนชั้น
=
= 0.8

ผลที่ได้จากการหาอันตรภาคชั้นนี้ สามารถ
แบ่งค่าเฉลี่ยของผลลัพธ์คะแนนในระดับ
ต่างๆ ตามตารางที่ 3.2 ได้ดังนี้
ตารางที่ 3.2 เกณฑ์ในการประเมินจากค่าเฉลี่ย
ของผลลัพธ์ในแบบสอบถามแบบ Likert Scale
5 ระดับ
ช่วงของคะแนนค่าเฉลี่ยจาก ระดับความพึง
ผลลัพธ์ พอใจ
4.21-5.00 พึงพอใจมากที่สุด
3.41-4.20 พึงพอใจมาก
2.61-3.40 พึงพอใจปาน
กลาง
1.81-2.60 พึงพอใจน้อย
3.4 วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็ นการวิจัยเชิงสำรวจ
(Survey Research) ในเรื่องพฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้
บริการโรงแรม... จังหวัดอุดรธานี รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการใช้บริการ
โรงแรม........ จังหวัดอุดรธานี ผู้วิจัยได้ทำการรวบรวมเก็บข้อมูลจาก
กลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง จากสถานประกอบการชื่อ......... ตั้งอยู่เลข
ที่... ถนน....... ตำบล.......... อำเภอ............. จังหวัด.......... ใน
ระหว่างเดือน……….. 2563 ถึง เดือน........... 2564
3.5 การประเมินความเที่ยงและความ
ตรงของเครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้การวิจัยนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยออกแบบเอง โดยแบ่ง
รายละเอียด ตามหัวข้อได้ดังนี้
1. ผู้วิจัยได้มีการทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อ
ถือได้(Reliability) ของแบบสอบถามก่อนนำไปใช้งานจริง โดยวิธีที่ใช้ใน
การตรวจสอบจะเป็นการใช้ Literature Review มาใช้ในการอ้างอิงความ
สอดคล้องของเนื้อหาและทฤษฎีเพื่อเป็นการยืนยันว่าตัววัดนั้นครอบคลุม
เนื้อหาของตัวแปรที่ต้องการวัดอย่างถูกต้อง
2. ผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบขั้นพื้นฐานเพื่อให้แบบสอบถามมีความ
ครอบคลุมในปัจจัย ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด และได้ แบบสอบถามไป
ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง (Pilot Test) เพื่อ ทดสอบความเข้าใจและนำ
ข้อเสนอแนะต่างๆ มาปรับปรุงเนื้อหาเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ
เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน และจัดส่งแบบสอบถามให้อาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อตรวจสอบความ ครอบคลุมของเนื้อหา การจัดเรียงคำถาม ลักษณะ
คำถาม รวมถึงภาษาที่ใช้ในแบบสอบถาม และนำมาปรับปรุง จน
แบบสอบถามมีความสอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จึงจัดส่ง
แบบสอบถามไปยัง กลุ่มตัวอย่างเป้ าหมายต่อไป
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อถือ


ได้(Reliability)
การทดสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล (Reliability) ของ
แบบสอบถามโดยใช้ Cronbach’s Alpha การทดสอบความเชื่อถือ
ได้ของข้อมูล (Reliability test) ของแบบสอบถามโดยใช้ค่า
สัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach (Cronbach’s Alpha) หากค่าที่
ได้จากการวิเคราะห์มีค่าตั้งแต่ 0.7 ขึ้นไป แสดงว่าแบบสอบถามที่จัด
ขึ้นนั้นมีความน่าเชื่อถือ สามารถนำไปทดสอบสมมติฐานและนำไป
ใช้ใน กระบวนการวิจัยต่อไปได้ ส่วนใหญ่จะลองไปเก็บจากกลุ่ม
ตัวอย่าง ประมาณ 30 ชุดดูก่อน
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ทำไมต้อง 30 ชุด
William S.Gosset ใช้นามแฝงชื่อ Student เขียนบทความชื่อ “The
Probable Error of a Mean" ในปี 1908 ลงในวารสาร Biometrika
โดยสรุปแล้ว Gosset ได้กำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กที่สุด
ที่จะทำการวิเคราะห์ทางสถิติใดๆ เป็นจำนวน 30 คน เนื่องจาก (1)
เป็นจำนวนน้อยที่สุดที่สร้างโค้งปกติได้ (2) โค้งปกตินั้นสามารถให้
ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
เท่าที่ยอมรับได้ (3) โค้งปกตินั้นสามารถแจกแจงข้อเท็จจริงที่ได้ค่อน
ข้างดี (fairly) แม้จะใช้สถิติที่ไม่จำเป็นต้องใช้การกระจายแบบโค้ง
ปกติ
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ในการออกแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย มักจะประกอบด้วยข้อคําถามที่
เป็นแบบให้เลือกตอบ (Choice) และข้อคําถามที่เป็นการ ให้โอกาสผู้
ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นในรูปมาตราลิเกิรท์(Likert’s
scale) มาตรา 1-5 (1-ไม่เห็นด้วยเลย 2- เห็นด้วยบ้าง 3- เห็นด้วยปาน
กลาง 4-เห็น ด้วยค่อนข้างมาก 5- เห็นด้วยมากที่สุด ) นักวิจัยต้องทํา
การทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างส่วนหนึ่งเพื่อตรวจสอบดูว่า แบบสอบถามนี้
มีโครงสร้าง(Construct )ที่ประกอบด้วยข้อคําถามที่บ่งบอกมิติเดียวกัน
และวัดสิ่งที่ต้องการวัดหรือไม่ เพราะหากนําแบบสอบถามที่ ประกอบ
ด้วยข้อคําถามที่มิได้อยู่ในมิติเดียวกันมาใช้ในงานวิจัยจริง ผู้ตอบแบบ
สอบอาจเกิดความสับสน ผู้วิจัยเองก็อาจได้ข้อมูลที่ผิดเพี้ยน
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ลองพิจารณาตัวอย่างโครงสร้างแบบสอบถามเป็นส่วนที่ 3
ของแบบสอบถามที่ใช้ในการหาปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด
ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการที่พักแรมของนัก
ท่องเที่ยวชาวไทยในเขตอุดรธานี Scale 1-5
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ปัจจัยผลิตภัณฑ์
..................................................
..................................................
ปัจจัยราคา
..................................................
..................................................
ปัจจัยด้านสถานที่
..................................................
..................................................
ปัจจัยด้านส่งเสริมการ
ตลาด
..................................................
..................................................
ปัจจัยด้านบุคลากร
..................................................
..................................................
ปัจจัยด้านการสร้าง
และนำเสนอลักษณะ
ทางกายภาพ
..................................................
..................................................
ปัจจัยด้าน
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

วิธีการคำนวณใน SPSS
โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social
Science for Windows) เป็ นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูง
ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
เรื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

1. การหาค่าความน่า
เชื่อถือของเครื่อง
มือที่ใช้ในการ
วิจัย (Reliability)
จากกลุ่มตัวอย่าง
30 ชุด
- Analyze
- Scale
- Reliability
Analysis
- เลือกหัวข้อที่เรา
จะหาค่า
Reliability
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

คลิ๊กที่ปุ่ ม Statistics ในส่วน descriptive ให้เลือก Item


Scale และ Scale if item deleted

คลิ๊ก Continue และคลิ๊ก OK


รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

Computer Output จะขึ้นหน้าใหม่ประมวลผลมาให้


โดยดูที่ Column ค่าCronbach’s Alpha if Item Deleted
ซึ่งต้องเกิน 0.7 ถ้าต่ำกว่าต้องแก้ไขแบบสอบถามแล้วออกไป
เก็บข้อมูล 30 ชุดใหม่
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ผลการทดสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล (Reliability) ของ


แบบสอบถามโดยใช้ Cronbach’s Alpha
1 ปัจจัยผลิตภัณฑ์ 0.750
2 ปัจจัยราคา 0.788
3 ปัจจัยด้านสถานที่ 0.769 แบบสอบถามส่วนที่ 3
4
ปัจจัยด้านส่งเสริมการ ปัจจัยส่วนประสม
ตลาด 0.705 ทางการตลาดที่มีผล
5 ปัจจัยด้านบุคลากร 0.882
ต่อการตัดสินใจใน
ปัจจัยด้านการสร้างและ
6 นำเสนอลักษณะทาง การเลือกใช้บริการ
กายภาพ 0.689 ที่พักแรมของ
7 ปัจจัยด้านกระบวนการ 0.805 นทท.ชาวไทยใน
ภาพรวม 0.940
อุดรธานี
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

จะเห็นว่าปัจจัยด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทาง
กายภาพ ไม่ถึง 0.7 ได้0.689
ก็ต้องเอามาวิเคราะห์เนื้อหาในข้อคำถามว่ามีตรงไหนที่
บกพร่อง ไม่สัมพันธ์กันไหม
พบว่ามีคำถาม ข้อ 6.1 สภาพแวดล้อมของที่พักมีความ
ปลอดภัยสูง กับ 6.5 มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่คำถาม
มีความซ้ำซ้อนกันอยู่ ก็ต้องแก้ไข (ให้อาจารย์ดู)
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

ความเที่ยงตรง (Validity)
การหาค่า IOC ของผู้เชี่ยวชาญจากการให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
แบบสอบถามการวิจัย IOC คือ ค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม
หรือค่าสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา
(IOC : Index of item objective congruence) ปกติแล้วจะให้ผู้
เชี่ยวชาญตรวจสอบ ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปในการตรวจสอบโดยให้เกณฑ์ใน
การตรวจพิจารณาข้อคำถาม ดังนี้
ให้คะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ให้คะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ให้คะแนน -1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

แล้วนำผลคะแนนที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญมา
คำนวณหาค่า IOC ตามสูตร

เกณฑ์
1. ข้อคำถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50-1.00 มีค่าความเที่ยง
ตรง ใช้ได้
2. ข้อคำถามที่มีค่า IOC ต่ำกว่า 0.50 ต้องปรับปรุง ยังใช้ไม่
ได้
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

วิธีการหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC)
ตัวอย่างเช่น ข้อคำถาม ข้อ 1 ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน แต่ละท่าน ให้คะแนนมา
คือ +1 ทั้ง 3 ท่าน การหาค่าIOC คือ หาผลรวมของคะแนนในข้อ 1 โดยการ
บวก 1+1+1เท่ากับ 3 คะแนน
แล้วนำมาหารด้วยจำนวนผู้เชี่ยวชาญ คือ ผลรวมคะแนน/จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
เท่ากับ 3/3= 1.00
จากนั้นนำผลไปเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จากผลการหาค่าความเที่ยงตรงของ
แบบสอบถาม IOC
แสดงว่า ข้อคำถามมีความเที่ยงตรงสูงนำไปใช้ได้ส่วนข้ออื่น ๆ
ก็ทำหลักการเดียวกันทั้งหมดทุกข้อคำถาม
รื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม

กรณีผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตัวอย่าง เช่น

ผลคะแนน ทั้ง 3 ท่าน ได้3 คะแนน = 1.00 มีค่าความ


เที่ยงตรง ใช้ได้
ผลคะแนน ทั้ง 3 ท่าน ได้2 คะแนน = +1+1+0 = 2 เอาไป
หาร 3 คน = 2/3 = 0.67 ค่า
ความเที่ยงตรงสูงกว่า0.50
ใช้ได้
ผลคะแนน ทั้ง 3 ท่าน ได้1 คะแนน = +1+0+0 = 1 เอาไป
หาร 3 คน = 1/3 = 0.33 ค่า
3.6 การวิเคราะห์
ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบ
สมมติฐานของงานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่ง
ผลต่อการ ตัดสินใจในการเลือกใช้
บริการที่พัก ประเภทโรงแรมและ
รีสอร์ทของนักท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่
เศรษฐกิจ อำเภอแม่สาย จังหวัด
เชียงราย สามารถแบ่งได้2 ส่วน ดังนี้
3.6.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ใน
การวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมและประสบการณ์ในการตัดสินใจใน
การเลือกใช้ บริการที่พักประเภทโรงแรมและรีสอร์ทของนักท่อง
เที่ยวชาวไทย และข้อมูลลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ของกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยศึกษาและนำเสนอในรูปแบบตารางแจกแจงความถี่
(Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3.6.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
เป็นการนำผลข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ
เพื่อใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่อง
เที่ยวแหล่งท่องเที่ยวทะเลบัวแดง โดยใช้สถิติการทดสอบไคสแคว
ร์ (Chi-Square Test)

You might also like