You are on page 1of 224

1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กิจการของลูกเสือโลกและความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูกเสือโลกและ
นานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ
ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ วันนี้ยินดี ”
3. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือสนทนาเกี่ยวกับการจัดองค์การลูกเสือโลก
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 4 ฐาน
6. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา ใบความรู้ เรื่อง กิจการองค์การ
7. ลูกเสือโลกและความสัมพันธ์กับลูกเสือนานาชาติ ตามฐานดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สมัชชาลูกเสือโลก
ฐานที่ 2 เรื่อง คณะกรรมการลูกเสือโลก
ฐานที่ 3 เรื่อง สำนักงานลูกเสือโลก
ฐานที่ 4 เรื่อง การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูก
2
เสือในวันรุ่งขึ้น
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ วันนี้ยินดี ”
3. ใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
3
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
4
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/.........
5
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
6

เพลง วันนี้ยินดี

วันนี้ยินดีที่เราได้มาพบกัน (ซ้ำ)
ยินดี ยินดี ยินดี
มาเถิดมา เรามาร่วมสนุก
ปลดเปลื้องความทุกข์ให้มันสิ้นไป
มาเถิดมา เรามาร่วมจิต
7

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference)
สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันมี
สมาชิกทั้งหมด 131 ประเทศ
สมัชชาลูกเสือโลกประชุมกันทุก 2 ปี จะเป็นประเทศใดนั้นต้องเป็นไปตามมติของที่
ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องเป็นตัวแทนของประเทศที่เป็นสมาชิก ประเทศละ 6 คน
สมาชิกดังกล่าวนี้ จะเป็นผู้ออกเสียงลงคะแนนลับเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลกต่อไป
หน้าที่ของสมัชชาลูกเสือโลก
1. กำหนดนโยบายทั่วไปของคณะลูกเสือโลก
2. พิจารณารับสมาชิกใหม่และตัดสินชี้ขาดการขับออกจากสมาชิกภาพ
3. เลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก
4. พิจารณารายงานและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาแก้ไขธรรมนูญและข้อบังคับของคณะลูกเสือโลก
8

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลกประกอบด้วยบุคคล 12 คน จากประเทศสมาชิก 12
ประเทศ เลือกตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกอยู่ในตำแหน่งวาระ 6 ปี
ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงที่ได้เป็นเจ้าภาพ ในการประชุมสมัชชาลูกเสือ
โลก ครั้งที่ 33 ระหว่างวันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2536 ณ โรงแรมอิมพิเรียล ควีนส์ปาร์ค

หน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือโลก
1. ส่งเสริมกิจการลูกเสือโลก
2. แต่งตั้ง เลขาธิการและรองเลขาธิการของสำนักงานลูกเสือโลก
3. ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก
4. จัดหาเงินทุนสำหรับส่งเสริมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาให้เครื่องหมาย ลูกเสือสดุดี แก่ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนกิจการลูก
เสือโลก
ผู้แทนคณะกรรมการลูกเสือไทย ที่ได้รับเลือกให้เป็นคณะกรรมการลูกเสือโลก มี 2
ท่าน ดังนี้
1. นายอภัย จันทวิมล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายแพทย์บุญสม มาร์ติน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

สำนักงานลูกเสือโลก
สำนักงานลูกเสือโลกทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขาธิการปฏิบัติตามคำสั่ง หรือมติของ
สมัชชาลูกเสือโลกและคณะกรรมการลูกเสือโลก ค.ศ. 1968 ได้ย้ายไปอยู่เมืองเจนีวา ประเทศสวิต
9
เซอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน
นอกจากนี้ยังมีสำนักงานอีก 5 เขต คือ
เขตอินเตอร์ – อเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองซานโฮเซ ประเทศคอสตาริกา
เขตเอเชีย – แปซิฟิ ก ตั้งอยู่เมือง มะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
เขตอาหรับ ตั้งอยู่ที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์
เขตยุโรป ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
เขตแอฟริกา ตั้งอยู่ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา
ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติกับกิจการลูกเสือของทุกประเทศ มีหลักการที่
สำคัญอย่างเดียวกัน ดังนี้
1.ความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
2.มีความศรัทธาในมิตรภาพ และความเป็นพี่น้องของลูกเสือทั่วโลก
3.การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
4.การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
5.การเข้าเป็นสมาชิกด้วยความสมัครใจ
6.มีความเป็นอิสระต่ออิทธิพลทางการเมือง
7.มีกำหนดการพิเศษสำหรับการฝึ กอบรมโดยอาศัย
–ระบบหมู่ / กลุ่ม
–การทดสอบเป็นขั้น ๆ
–เครื่องหมายวิชาพิเศษ
–กิจกรรมกลางแจ้ง
10

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก
คณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิก
ลูกเสือภาคฯที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 10 คนและอยู่ในตำแหน่งได้เทอมละ 6 ปี คณะ
กรรมการลูกเสือภาค ฯ จะดำเนินการเลือกประธานและรองประธานกันเอง ในการประชุมสมัชชา
ลูกเสือภาคฯ ทุกครั้ง กรรมการ 5 คน จะพ้นจากตำแหน่งตามวาระ และจะมีการเลือกตั้งกรรมการ
คนใหม่ จำนวน 5 คน เข้ามาแทนที่ผู้ออกหรือลาออก หรือ ถึงแก่กรรม
ประเทศไทยได้มีหลายท่านที่ได้รับเลือก เป็นกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย –
แปซิฟิ ก ในยุโรปมีลูกเสือ 1.5 ล้านคน แม้ว่าจำนวนลูกเสือจะไม่เพิ่มพูน แต่ก็ยังสามารถยืนหยัด
จำนวนคงที่อยู่ได้ และเน้นในทางสมาคมร่วมกันระหว่างลูกเสือกับลูกเสือหญิงซึ่งเป็นความมุ่ง
ประสงค์และวิธีการของลูกเสือ
ในเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก เป็นเขตที่มีความเจริญงอกงามมากที่สุดกว่าทุกเขต มี
ประชากรลูกเสือเกินกว่า 5 ล้านคน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการลูกเสือได้ตอบสนองความต้องการ
ของประเทศ ที่กำลังพัฒนาได้ตรงเป้ าหมาย

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ผู้นำวัยรุ่น “

กบฝูงหนึ่ง มีกบหนุ่มเป็นหัวหน้า หากินอยู่ที่สระชายป่ าแห่งหนึ่ง


นานวันอาหารหมดจึงปรึกษากันว่าควรอพยพไปหากินในที่ใหม่ ขณะนั้นนกยางเจ้า
11
เล่ห์บินผ่านมา ก็แนะนำว่า “ ข้าพบสระในป่ าไกลออกไปมีอาหารของพวกเจ้ามากมาย
ถ้าจะไปที่นั่น ข้าจะอาสาคาบพวกเจ้าไปส่งให้”
กบหนุ่มหัวหน้าไม่มีความยั้งคิดก็ตอบตกลงไปนกยางก็คาบพวกกบ
ไปทีละตัวและมันก็กินเสีย ทีละตัวจนหมดฝูง
นกยางบินกลับมาที่สระนั้นเห็นมีปูมากก็อยากกินปูอีกจึงออกอุบายบอกปูว่า “ พวกเจ้า
ไม่อพยพไปอยู่สระใหม่เช่นเดียวกับพวกกบหรือ”
ปูเฒ่าหัวหน้าปูในสระนั้นรู้ทันเล่ห์กลของนกยาง จึงออกอุบายว่า
“ ข้าอยากไปตรวจดูก่อน แต่เจ้าต้องให้ข้ากอดคอเจ้าไปนะ ข้าจึงไป”
นกยางหลงกลปูเฒ่า จึงให้ปูกอดคอไป พอนกยางก้มคอให้ปูกอด
ปูเฒ่าได้โอกาสก็พูดว่า “ เจ้าหลอกกินพวกกบหมดแล้ว จะมาหลอกกินพวกข้าอีก แต่ข้านี่แหละ
จะกินเจ้าเสียก่อน” ว่าแล้วปูเฒ่าก็เอาก้ามอันแข็งแรงทั้งสองหนีบคอนกยางจนตาย

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––
12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กิจการของลูกเสือโลกและความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูกเสือโลกและ
นานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ
ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ แข่งเรือบก ”
3. ทำกิจกรรมต่อจากชั่วโมงที่แล้ว โดยให้ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกัน
ที่ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
10. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
11. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
12. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้อง
ลูกเสือในวันรุ่งขึ้น
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
14. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “เรืออับปาง”
13
3. ใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
14
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
15
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/.........
16
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เกม “แข่งเรือบก”

วิธีเล่น
17
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่เข้าแถวตอน หันหลังให้เส้นเริ่มต้น นายหมู่อยู่หัวแถวหันหน้า
เข้าหาลูกหมู่เป็นนายท้ายเรือ แล้วเอาไม้พลอง 2 อัน สอดเข้าใต้ระหว่างขาของทุก ๆ คน ลูกเสือ
จับไม้พลองเป็นหมู่ ๆ ไป (เปรียบเหมือนเรือ) พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้ทุกคนวิ่งถอยหลังไป
ทั้ง ๆ ที่ไม้พลองสอดอยู่ใต้ขา นอกจากนายหมู่คอยบอกเรือให้แล่นให้ตรง ทางขวาหรือซ้าย
ไปยังจุดที่อยู่ห่างออกไป 10 เมตร แล้วให้เรือแล่นกลับลำ กลับมาที่จุดตั้งต้น หมู่ใดถึงก่อน
เป็นผู้ชนะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การบริการ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
18
ลูกเสือกับการบริการ เป็นเรื่องสำคัญที่ลูกเสือจะต้องปฏิบัติตนให้เป็นนิสัย เพื่อช่วย
เหลือบุคคลหรือชุมชน ในโอกาสต่าง ๆ ทำด้วยความศรัทรา เต็มใจ แม้จะไม้ได้รับการขอร้อง
จากบุคคลหรือชุมชนแต่อย่างใด

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกความหมายของการบริการ รู้หน้าที่ของหมู่บริการ และกระทำตน
เป็นผู้บริการที่ดีได้
1. ลูกเสือบอกความหมายของการบริการได้
2. ลูกเสือบอกกฎของลูกเสือกับการบริการได้
3. ลูกเสือบอกหน้าที่ของหมู่บริการได้
4. ลูกเสือปฏิบัติตนให้เป็นกิจนิสัยในการบริการได้

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของการบริการ
2. กฎของลูกเสือกับการบริการ
3. หน้าที่ของหมู่บริการ
4. ประโยชน์ของการบริการ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “หมู่บริการ” ตามเอกสารเพลง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 3 กลุ่ม
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความหมายของการบริการ
และกฎของลูกเสือกับการบริการได้
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการ
ข้อ 3, 4
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการ
ข้อ 5, 8, 10
6. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญจากฐานต่าง ๆ
7. มอบใบงาน ตารางการให้บริการ ไปทำทั้งที่บ้านมาส่งในสัปดาห์หน้า
19
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ใครสำคัญ”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารเพลง “หมู่บริการ”
2. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของการบริการ และกฎของลูกเสือกับการบริการได้
3. ใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 3, 4
4. ใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 5, 8, 10
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ใครสำคัญ”
20
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
21
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
22
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “หมู่บริการ”

ใบงานที่
เรื่อง
23

หมู่บริการของเราช่างดีหมด
งามงดยอดลูกเสือขวัญ
ปัดกวาดทำความสะอาดทั่วไป
สามัคคีมีน้ำใจก่อให้เกิดพลัง
เราช่วยกันทำด้วยกันให้งานนั้นเสร็จทันที
ใจเย็นอดทนเป็นคนดี
และรู้จักหน้าที่สมนามหมู่บริการ

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของการบริการและกฎของลูกเสือกับการ บริการ

ความหมายของการบริการ
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน การบริการ หมายถึง การปฏิบัติรับใช้
หรือการให้ความสะดวก สำหรับลูกเสือนั้น การบริการ หมายถึงความพร้อมการบำเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์ต่อบุคคลหรือชุมชนด้วยความเต็มใจ ตามคำปฏิญาณข้อที่ 2 ของลูกเสือที่ว่า “ข้าจะช่วย
เหลือผู้อื่นทุกเมื่อ”

กองลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 1 “ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้”
24
ลูกเสือเป็นผู้มีเกียรติ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในเครื่องแบบ ลูกเสือจะต้องระมัดระวังไม่ทำสิ่งใดที่เป็น
ที่เสื่อมเสียเกียรติของลูกเสือ ลูกเสือจะต้องกระทำอย่างเปิ ดเผยไม่มีลับลมคมนัย เพื่อให้
เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไปและเพื่อชื่อเสียงอันดีงามของลูกเสือทั้งหมดด้วย

ใบความรู้
เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 3, 4

กฎของลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 3 “ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น”
ลูกเสือจะต้องไม่ปล่อยให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์ และต้องถือเป็นหน้าที่ใน
การช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อโดยไม่นิ่งดูดาย

กฎข้อที่ 4 “ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่น้องกับลูกเสือทั่วโลก”


ลูกเสือต้องยึดมั่นว่าทุกคนมีความเสมอภาคกันในการให้การช่วยเหลือ จะต้อง
ไม่เลือกที่รักมักที่ชังหรือรังเกียจในชาติตระกูลลูกเสือจะต้องยึดหลักเมตตาเป็นที่ตั้งเสมอ
25

ใบความรู้
เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 5, 8, 10

กฎของลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 5 “ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย”
ความสุภาพเป็นสมบัติของผู้ดี ลูกเสือจะต้องรู้จักวิธีปฏิบัติต่อเด็ก สตรีและคนชรา
ลูกเสือจะต้องใช้ความสุภาพ แม้กับคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อตน

กฎข้อที่ 8 “ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก”


ลูกเสือจะต้องมีความอดทนในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติงาน
ด้วยความมีสติแจ่มใสร่าเริงอยู่เสมอ ซึ่งจะทำให้สามารถผ่านพ้นอุปสรรคต่าง ๆ ได้

กฎข้อที่ 10 “ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ”


ลูกเสือจะต้องทำทุกอย่างด้วยความบริสุทธิ์ ใจและเต็มใจ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ใด ๆ ทั้งสิ้น
26
27

ตารางการให้บริการ
ครั้งที่ วัน เดือน ปี การให้บริการ สถานที่

ลงชื่อ…………………………………..ผู้บริการ
(…………..…………………….)

เรื่องสั้น
เรื่อง “ใครสำคัญ”

ณ สนามหญ้าแห่งหนึ่ง มีเก้าอี้ตัวหนึ่ง ถูกนำมาวางทิ้งไว้นายจนเจ้าของเดิมลืม วัน


หนึ่งอากาศร้อนมาก ขาเก้าอี้ทั้งสี่ข้างทะเลาะกันถึงความสำคัญของตนเอง ขณะที่ได้โอกาสเจ้าขา
ข้างขวาหน้าพูดขึ้นว่า ตัวของมันสำคัญกว่าใคร ขาเก้าอี้ที่เกลือต่างคัดค้านว่าไม่เป็นความจริง
28
ด้วยความโกรธมันจึงแยกตัวออกจากเก้าอี้ พอขาหน้าแยกตัวออกมา ก็ทำให้เก้าอี้ตัวนั้นล้มลม
ทันที ขาข้างขวาด้านหน้าได้ทีจึงพูดว่า
“เห็นหรือไม่ว่าข้าสำคัญ” แล้วก็กลับเข้าที่เดิม ขาหน้าข้างซ้าย บอกกับเพื่อนในกลุ่ม
ว่า มันก็สำคัญ แต่ขาทุกข้างก็ค้านว่าไม่เป็นความจริง ขาข้างซ้ายได้ยินเช่นนั้นก็แยกตัวออก
มาจากเก้าอี้ ขณะที่ขาข้างซ้ายแยกตัวออกมานั้น ก็ทำให้เก้าอี้เสียหลักล้มลงทันที มันจึงพูด
ขึ้นว่า
“เห็นไหมข้าก็สำคัญไม่แพ้เจ้าขาขวา” ส่วนขาหลังทั้งสองที่เหลือ ก็บอกว่ามันก็สำคัญ
เหมือนกัน พร้อมกับจะแยกตัวออกมาบ้าง แต่ถูกเก้าอี้ห้ามไว้ก่อน ตัวเก้าอี้จึงอธิบายถึงความ
สำคัญของขาเก้าอี้แต่ละข้างว่า ถ้าไม่มีขาเก้าอี้ข้างใดข้างหนึ่ง เก้าอี้ก็ไม่สามารถดำรงตัวอยู่ได้
หลังจากที่ได้ฟังเก้าอี้อธิบาย ขาเก้าอี้จึงคิดได้ จึงกล่าวคำขอโทษซึ่งกันและกัน พร้อมกับบอกว่า
จะไม่แยกตัวออกอีก เก้าอี้จึงพูดเสริมขึ้นอีกว่า ถ้าเรารู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้หน้าที่ของตนเอง
หันหน้าเข้าหากัน ก็จะทำประโยชน์แก่ผู้อื่นได้ต่อไป

คติสอนใจ : “ถ้าเรารู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้หน้าที่ของตนเอง หันหน้าเข้าหากัน ก็จะทำ


ประโยชน์แก่ผู้อื่นได้ต่อไป”

ใบความรู้
เรื่อง หมู่บริการ

หมู่บริการ
เนื่องจากการลูกเสือแผนใหญ่นิยมการสอน การฝึก การทำงาน และการประชุม
เป็นระบบหมู่ เพื่อให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ได้รู้จักการแบ่งงานและรับผิดชอบร่วมกัน การ
รับใช้ช่วยเหลือผู้อื่นและส่วนรวม ที่ประชุมของนายหมู่จึงตกลงให้ลูกเสือแต่ละหมู่
หมุนเวียนเปลี่ยนเวรกันทำหน้าที่เป็นหมู่บริการ หน้าที่ของหมู่บริการมีดังนี้ คือ
1. ทำความสะอาดสถานที่ที่ใช้ร่วมกัน เช่น ห้องเรียนและบริเวณรอบเสาธง
2. ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม และรักษาความสะอาดบริเวณค่าย
3. ทำหน้าที่เชิญธงชาติ นำสวดมนต์
ใบงานที่
4. จัดเตรียมธงชาติสำหรับเช้าวันรุ่งขึ้น หรือสำหรับการประชุมอบรมกองลูกเสือ
เรื่อง
29
5. ทำหน้าที่จัดสถานที่เล่นรอบกองไฟ จุดไฟ เตรียมพวงมาลัยสำหรับประธาน
ในพิธี
6. หน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

ใบความรู้
เรื่อง ประโยชน์ของการบริการ

ประโยชน์ของการบริการ
1. ช่วยลูกเสือได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์
2. ช่วยให้ลูกเสือได้พัฒนาตนเองทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อจะได้เป็น
พลเมืองดีต่อไปในอนาคต
3. ช่วยให้ลูกเสือได้ฝึ กหัดการทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักการแบ่งหน้าที่
4. ช่วยฝึ กให้ลูกเสือมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเริ่มจากกลุ่มย่อยก่อน
5. ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในกลุ่ม และชุมชนต่อไป
6. ช่วยให้ลูกเสือได้เรียนรู้ในเรื่องความร่วมมือ ความซื่อสัตย์ ความเห็นอกเห็นใจ
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยการปฏิบัติด้วยตนเองเท่านั้น
30

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การบริการ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือบริการชุมชน เป็นเรื่องสำคัญที่ดียิ่ง เพราะจะเป็นการสร้างศรัทธา
และความดีงามให้ตนเอง หมู่คณะ สถานศึกษา สร้างวินัย จิตสำนึก ให้ตนเองนำไปใช้ในอนาคต
ต่อไป

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการบริการและหน้าที่ต่อชุมชนได้
1. ลูกเสือบอกกิจกรรมที่จะบริการชุมชนได้
2. ลูกเสือปฏิบัติตนบริการชุมชนได้
3. ลูกเสือบอกระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการ
อนุญาตให้ลูกเสือรับบริจาคเงินหรือบริจาดสิ่งของ พ.ศ. 2525 ได้

สาระการเรียนรู้
1. กิจกรรมที่ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการบริการชุมชน
2. การวางโครงการเพื่อบริการชุมชน
3. ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการอนุญาตให้ ลูกเสือ – เนตรนารี รับบริจาคเงินหรือบริจาคสิ่งของ พ.ศ. 2525
31

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “งานสิ่งใด” ตามเอกสารเพลง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 2 กลุ่ม
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือกับการบริการชุมชน
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ระเบียบสำนักงาน
คณะกรรมการการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
6. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “งานสิ่งใด”
3 ใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือกับการบริการชุมชน
4. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
5. เรื่องสั้น “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
32
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
33
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
34
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
....................................................................................................
.ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
35

เพลง งานสิ่งใด

งานสิ่งใด งานสิ่งใด แม้ใครละเลยทิ้งปล่อย


มัวแต่คอย เฝ้ าแต่คอย หวังคอยแต่เกี่ยงโดยนกลอง
ไม่มีเสร็จ ไม่มีเสร็จ รับรอง จำไว้ทุกคนต้องทำงาน
เราต้องช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน

ใบความรู้
เรื่อง ลูกเสือกับการบริการ

วิชาลูกเสือเป็นวิชาที่มีคุณประโยชน์อย่างมาก เพราะเป็นวิชาที่ช่วยอบรมบ่มนิสัยให้
เยาวชนเป็นพลเมืองดี มีความซื่อสัตย์ ใบงานที่
เสียสละและรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น โรงเรียนต่าง ๆ จึงได้บรรจุ
วิชาลูกเสือไว้เข้าในหลักสูตร และได้จัดให้ลูกเสือได้ปฏิบัติหน้าที่ตลอดปี
เรื่อง การศึกษา เพื่อบริการ
36
ชุมชนบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน และให้ความช่วยเหลือแก่องค์การการกุศลหรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่
ขอความช่วยเหลือมา กิจกรรมที่ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการบริการชุมชนได้แก่
1. ช่วยโบกรถบริเวณทางเข้าโรงเรียน และบริเวณใกล้เคียง
2. ทำความสะอาดสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ถนนหนทาง
3. รักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกบริเวณงานแสดงต่าง ๆ
4. ช่วยจำหน่ายสิ่งของ ขององค์การกุศลต่าง ๆ หรือรับบริจาคเงินให้หน่วยงาน
5. ช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุต่าง ๆ เมื่อพบเห็น
ในวันสำคัญ ๆ ลูกเสือจะร่วมแรงร่วมใจกันออกพัฒนาชุมชน วันสำคัญของลูกเสือ
ได้แก่ วันกำเนิดลูกเสือ (1 กรกฎาคม) และวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จ–
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้ก่อตั้งลูกเสือของชาติไทย (25 พฤศจิกายน) วันเฉลิมพระชนม พรรษา
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (12 สิงหาคม) และวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันวิสาฆบูชา วัน
มาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
37

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการอนุญาตให้ลูกเสือและเนตนารีรับ
บริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของ
พ.ศ. 2525 (โดยสรุป)
1. ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด สำหรับลูกเสือและเนตรนารีในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ในเขต
อำเภอเมืองเป็นผู้อนุญาต
2. ผู้อำนวยการลูกเสืออำเภออื่นนอกจากอำเภอเมืองสำหรับลูกเสือและเนตรนารี ใน
โรงเรียนของอำเภอนั้นเป็นผู้อนุญาต
3. กองลูกเสือ กองเนตรนารีใด ซึ่งจะร่วมมือกับการองค์การกุศล หรือหน่วยงาน รับ
บริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของ ต้องปฏิบัติดังนี้
3.1 จัดให้มีผู้บังคับบัญชาลูกเสือและเนตรนารี ดูแลการปฏิบัติงานของลูกเสือและ
เนตรนารี
3.2 อบรมลูกเสือและเนตรนารี ให้ปฏิบัติงานอย่างมีระเบียบวินัยโดยเคร่งครัด
และรักษาเกียรติศักดิ์ของลูกเสือและเนตรนารีไว้
4. เวลาออกไปปฏิบัติงานรับบริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้
บังคับบัญชาเนตรนารี ลูกเสือและเนตรนารีต้องแต่งเครื่องแบบให้ถูกต้อง
5. ผู้มีอำนาจอนุญาตตามข้อ 2 อาจจะไม่อนุญาตให้ลูกเสือและเนตรนารีออกปฏิบัติ
งานดังกล่าวมาก็ได้หากเห็นว่าการรับบริจาค หรือการหาเงินขององค์การกุศลหรือหน่วยงานใด
กระทำเป็นการพร่ำเพรื่อ หรือไม่เป็นการส่งเสริมเกียรติศักดิ์ของลูกเสือ และเนตรนารี

เรื่องสั้น
เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
มี พ่อ แม่ และลูก ครอบครัวหนึ่ง กำลังเดินบนสะพานข้ามแม่น้ำ
38
ทันใดนั้น สะพานหักลงไป ทั้งสามคนหล่นลงไปในน้ำ แต่โชคยังดีที่มีขอนไม้เกาะไว้ คนที่อยู่
บนฝั่งเห็นเหตุการณ์ แต่ไม่มีใครช่วยเขาได้ ขณะที่ขอนไม้ลอยผ่านที่แห่งหนึ่ง มีคนหย่อนเชือก
ลงมาพอดี พ่อต้องการให้ลูกปลอดภัยก่อน จึงส่งเชือกให้ลูกจับ คนบนสะพานช่วยกันสาวเชือก
ขึ้นมาแต่หนูน้อยหมดแรงก่อนตกลงในแม่น้ำจมหายไป พ่อและแม่พยายามเข้าช่วยและก็จมน้ำหาย
ไปเช่นกัน

คติสอนใจ : พ่อแม่ บุพการีนั้นยอมเสียชีวิตเพื่อลูกได้เสมอ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการลูกเสือวิสามัญ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
กิจกรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมที่ต้องทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้งานสำเร็จลุล่วง
ไปด้วยดี ลูกเสือจึงควรต้องรู้ถึงความสำคัญของบทบาทและหน้าที่ของตน ตลอดจนบทบาทของ
คณะลูกเสือวิสามัญ รู้ระบบหมู่และจัดทำแผนปฏิบัติการแบบง่ายได้
39

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. รู้บทบาทและหน้าที่ปฏิบัติของตนในฐานะสมาชิกของกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
2. บอกประเภทของลูกเสือได้
3. บอกบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการกองลูกเสือวิสามัญได้
4. บอกการปฏิบัติงานตามระบบหมู่ของกองลูกเสือวิสามัญได้
5. ทำแผนปฏิบัติงานในวันสำคัญได้

สาระการเรียนรู้
1. บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการกองลูกเสือวิสามัญ
2. ปฏิบัติงานตามระบบหมู่ลูกเสือวิสามัญ
3. แผนปฏิบัติงานวันสำคัญ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “จับมือ” ตามแถบบันทึกเสียง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนากับลูกเสือ
40

4. ลูกเสือศึกษาใบความรู้ เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ ลูกเสือวิสามัญ


5. ลูกเสือร่วมกันสรุปใจความสำคัญของใบความรู้
6. ให้ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงาน เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ
7. ผู้บังคับบัญชาสุ่มตัวอย่างให้ลูกเสืออ่านคำตอบใบงานที่ 1.1 จำนวน 3 คน
8. ตัวแทนอ่านเฉลยคำตอบแล้วลูกเสือทุกคนจดบันทึกคำตอบที่ถูกต้องลงสมุด
9. ลูกเสือนำใบงานทั้งหมดส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่อง สั้น เรื่อง “ชั่วดีเป็นตรา” ให้ลูกเสือฟัง
11. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น
12. ผู้บังคับบัญชาสรุปคติสอนใจจากเรื่องสั้น พร้อมให้ข้อคิด
13. ผู้บังคับบัญชาเขียนคติสอนใจและข้อคิดไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
14. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติงานของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
15. ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียน แล้วส่งผู้บังคับบัญชา
16. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ แล้วส่งผู้บังคับบัญชา
17. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แถบบันทึกเสียงเพลง “จับมือ”
3. ใบความรู้ เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือวิสามัญ
4. ใบงาน เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ชั่วดีเป็นตรา”
41
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
42
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
43
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
44

เพลง ลูกเสือจับมือ

ลูกเสือเขาไม่จับมือขวา
ยื่นซ้ายมาจับมือกันมั่น
มือขวาใช้เคารพกัน (ซ้ำ)
ยื่นซ้ายออกมาพลันจับมือ จับมือ
จับมือนั้นหมายถึงมิตร
เหมือญาติสนิทควรคิดยึดถือ
ยิ้มด้วยเมื่อยามจับมือ (ซ้ำ)
เพราะพวกเราคือลูกเสือด้วยกัน

แผนปฏิบัติงานของกองลูกเสือ

ลูกเสือนั้นถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือจะพูดอีกนัยหนึ่งก็คือ ลูกเสือเป็นส่วน
สำคัญยิ่งของสังคม เพราะไม่ว่าจะมีงานอะไรงานเล็กหรืองานใหญ่จะต้องมีลูกเสือเข้าไปมีส่วน
ร่วมด้วยเสมอ โดยเฉพาะงานวันที่ 5 ใบงานที่
ธันวามหาราชของทุกปี ลูกเสือจะได้รับเกียรติเป็นอย่าง
เรื่อง
45
มาก เพราะทางกรมตำรวจ ได้แต่งตั้งให้ลูกเสือมีหน้าที่บริการและรักษาการณ์เป็นเจ้าหน้าที่ตาม
กฎหมายด้วย นี่คือความสำคัญของลูกเสือ ที่สามารถทำแทนผู้ใหญ่ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ
ลูกเสือมีกิจกรรม ที่จะต้องบำเพ็ญประโยชน์ และบริการต่อสังคมมากมายทั้งยาม
เหตุการณ์ปกติ และฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม และภัยอย่างอื่น ทุกชนิด กองลูกเสือแต่ละกอง
จึงมีกิจกรรมมากมายที่จะต้องปฏิบัติตลอดปี

ตัวอย่างแผนปฏิบัติกิจกรรมกองลูกเสือ
แผนปฏิบัติงานของกองลูกเสือที่จะกล่าวต่อไปนี้ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ตามลักษณะของกิจกรรม ดังนี้
1. กิจกรรมวันสำคัญประจำปี
2. กิจกรรมพิธีการลูกเสือ – เนตรนารี
3. กิจกรรมในวันสำคัญของลูกเสือ – เนตรนารี
4. กิจกรรมเกี่ยวกับสังคมและชุมชน
46
ใบงาน
เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………..
ชื่อหมู่ลูกเสือ………………………………….กลุ่มที่………กองที่…………
รายชื่อสมาชิกในหมู่
1. …………………………………………………………… นายหมู่
2. ……………………………………………………………
3. ……………………………………………………………
4. ……………………………………………………………
5. ……………………………………………………………
6. ……………………………………………………………
7. ……………………………………………………………
8. ………………………………………………………..รองนายหมู่
47

วัน เดือน ปี กิจกรรมที่ปฏิบัติ ผลการปฏิบัติ หมายเหตุ

ลงชื่อ………………………………ผู้รายงาน
(…………………………)
รับทราบ

ลงชื่อ……………………………… ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
48

เรื่องสั้น
เรื่อง “กตัญญูของโจร”

“รณรงค์สุดแต่จะเอาชัย เพื่อบำเหน็จไว้กับกร”

จำได้เลา ๆ ว่า เมื่อทศกัณฐ์จะให้กุมภกรรณไปรบกับพระรามนั้น กุมภกรรณ ทูลว่า


“อันองคต สุครีพ หนุมาน ตัวมันก็เป็นทหารใหญ่ รณรงค์สุดแต่จะเอาชัย เพื่อเป็น
บำเหน็จไว้กับกร” นี่เป็นคำกล่าวที่น่าคิดมาก ถึงแม้เราจะบำเพ็ญความเมตตากรุณา ความ
เห็นอกเห็นใจกัน แต่ธรรมดาของโลก คือการต่อสู้ เราต่อสู้เพื่อผู้อื่นเสมอ ๆ และสู้ทุกวิธี
เพื่อเอาชัยชนะให้ได้
เราจึงไม่ควรทะนงใจเมื่อได้ขัยชนะ เพราะอีกฝ่ ายหนึ่งคงจะพยายามเอาชนะเราให้
ได้ และเราไม่ควรย่อท้อ เมื่อถึงคราวแพ้ เราจะต้องต่อสู้ไปใหม่ ยิ่งเราต้องการจะเอาชนะ
ในเรื่องสำคัญ ๆ ก็ต้องสู้ศึกใหญ่ขึ้น เพราะทางไปสู่ความยิ่งใหญ่นั้นไม่ได้โรยด้วยกลีบ
กุหลาบ

คติสอนใจ : ความพยายามอยู่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น


49
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ระเบียบแถวและสัญญาณมือ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึ กระเบียบแถวเป็นการฝึ กให้ลูกเสือมีระเบียบ มีวินัย มีความอดทน และยัง
ทำให้ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงรู้จักฟังคำสั่ง และสัญญาณต่าง ๆ ทำให้เกิดความรับผิดชอบและ
ความสามัคคีในหมู่คณะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณคำสั่งของผู้กำกับลูกเสือ จัดรูปแถวเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
2. ลูกเสือจัดแถวรูปแบบต่าง ๆ ได้
3. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณ คำสั่งของผู้กำกับได้
4. ลูกเสือเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้
สาระการเรียนรู้
1. สัญญาณมือและคำสั่ง
2. แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
3. แถวตอน
4. แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
5. แถวรูปครึ่งวงกลม
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สัญญาณนกหวีด
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปศึกษาจากใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ และฝึ กปฏิบัติ
โดยผู้กำกับลูกเสือ เป็นผู้ให้สัญญาณในการเปลี่ยนฐาน
– ฐานที่รวม เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
– ฐานที่ 4 ใบความรู้ เรื่อง แถวครึ่งวงกลม
6. ผู้กำกับกล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
50
7. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1.เอกสารสำหรับรองผู้กำกับลูกเสือ
2. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
3. ใบความรู้ เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
4. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
5. ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน 2
6. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
7. ใบความรู้ เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
8. นกหวีด
9. รูปภาพแสดงการใช้สัญญาณมือ
10. เรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
51
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูก
เสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1.ให้ลูกเสือศึกษารายละเอียดในหนังสือแบบเรียนวิชากิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
จากห้องสมุด
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้องเตรียมรายละเอียดในการสอนก่อนการสอนทุกครั้ง
3. ลูกเสือทุกหมู่ฝึ กปฏิบัติระเบียบแถวและสัญญาณมือเพื่อการประกวดในโอกาส
เหมาะสม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมอบเกียรติบัตรให้แก่หมู่ลูกเสือที่ชนะเลิศการแข่งขัน
52
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
53
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./……

เพลง “สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดออกไป
54
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันข้าแถวทันใด
เป่ ายาวนั้นไซร้ เราต้องรีบไป เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นสามยาวหนึ่ง
ลูกเสือเราพึงจดจำ คำนึง นี่คือสัญญาณ

ใบความรู้
เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
ระเบียบแถว
การฝึ กระเบียบแถวลูกเสือ มีความมุ่งหมายโดยทั่วไปเพื่อฝึ กให้ลูกเสือเป็นระเบียบ
วินัยอันดีงาม รู้จักฟังคำบอก คำสั่ง และปฏิบัติตามได้โดยถูกต้องมุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะ
อดทน
55

สัญญาณมือ
1. เตรียม คอยฟังคำสั่งหรือหยุด เหยียดแขนขวาขึ้นตรงเหนือศีรษะ มือแบห้านิ้วชิด
กันหันฝ่ ามือไปข้างหน้า ลูกเสือหยุดการเคลื่อนไหวหรือการกระทำใด ๆ ทั้งสิ้น ถ้าลูกเสือใน
แถวจะยืนอยู่ท่าตรง
2. รวมหรือกลับมา เหยียดแขนขวามือขึ้นตรงเหนือศีรษะมือแบ หมุนเป็น
วงกลมเหมือนการหมุนของนาฬิกา
3. จัดแถวหน้ากระดาน เหยียดแขนทั้งสองไปด้านข้างลำตัวเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ
แบไปข้างหน้า จัดแถวหน้ากระดานให้กลางแถวหันหน้าตรงหน้าผู้เรียก ห่าง 6 ก้าว
4. จัดแถวตอน เหยียดแขนทั้งสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกัน
ฝ่ ามือแบเข้าหากัน
5. เคลื่อนไปข้างหน้า ทางขวา (ซ้าย) กึ่งขวา กึ่งซ้ายหรือไปทางหลังผู้ให้สัญญาณ
หันหน้าไปยังทิศทางที่ต้องการ ชูแขนขึ้นเหนือศีรษะ ฝ่ ามือแบไปข้างหน้าแล้วลดแขนลงข้างหน้า
สมอแนวบ่า
6. หมอบลงหรือเข้าที่กำบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ แบ
คว่ำลดแขนลงข้างหน้าแล้วกลับที่เดิมหลาย ๆ ครั้ง
7. เร่งจังหวะหรือเร็วขึ้น แขนขวางอมือกำเสมอบ่าชูขึ้นตรงเหนือศีรษะแล้วลดลง
หลายครั้ง

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปทางข้างเสมอไหล่ มือแบ นิ้วทั้งห้าชิดกันหัน


ฝ่ ามือไปด้านหน้า
การเข้าแถว ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก กึ่งกลางของแถวอยู่ห่างผู้เรียกประมาณ
6 ก้าว หันหน้าเข้าหาผู้เรียก

การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ให้ฝ่ ามือพักอยู่บนสะโพกนิ้วมือ


เหยียดชิดปลายนิ้วชี้ลงพื้น ข้อศอกเสมอลำตัว ไม่เว้นระยะเคียงระหว่างหมู่
56

ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงสะบัดหน้ากลับและนิ่งอยู่ในท่า


ตรง (ยกเว้นนายหมู่คนแรกไม่ต้องสะบัดหน้า รองนายหมู่คนสุดท้ายไม่ต้องยกศอกขึ้น)

รูปภาพ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ใบความรู้
เรื่อง แถวตอน

ผู้เรียก ยกแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าเสมอไหล่ หันฝ่ ามือเข้าหากัน นิ้วเรียง ชิดติดกัน


การเข้าแถว ให้นายหมู่วิ่งมาเข้าแถวหันหน้าเข้าหาผู้เรียกลูกหมู่ยืนต่อด้านหลังไปตามลำดับหมู่ที่
ตรงกลางให้อยู่ตรงหน้าผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว จัดระยะต่อระหว่างหมู่ 1 ช่วงศอก ระหว่างบุคคล 1 ช่วงแขน
ผู้เรียกแถว ผู้เรียกเห็นว่าเรียบร้อยแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือลดมือลงพร้อมสะบัดหน้ากลับในท่า
ตรงและนิ่ง

รูปภาพ แถวตอน
57

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

ผู้เรียก กำมือทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอข้อศอกขึ้น


เป็นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ในหมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียก ให้กึ่งกลางของหมู่
ตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไป ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดานด้านหลังหมู่ 1
ตามลำดับ ระยะระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าตะโพก สะบัดหน้าไป
ทางขวา
ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงพร้อมกับสะบัด
หน้ามาอยู่ในท่าตรง

รูปภาพ การเข้าแถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ


58
59

ใบความรู้
เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม

ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้าง เหยียดตรงลงข่างล่าง คว่ำฝ่ ามือเข้าหาลำตัว โบก


มือผ่านลำตัวประสานกับด้านหน้าช้า ๆ เป็นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ 1 อยู่ซ้ายมือผู้เรียก โดยนายหมู่อยู่แถวเดียวกับผู้เรียก
หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับ จนรอง
นายหมู่สุดท้ายของหมู่สุดท้ายอยู่แนวเดียวกับผู้เรียก โดยผู้เรียกเป็น
จุดศูนย์กลาง
การจัดแถว ระยะต่อระหว่างบุคคล และระหว่างหมู่ห่างกัน 1 ช่วงศอก
ผู้เรียกแถว สั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทำท่าตรงพร้อม ๆ กัน

รูปภาพ การเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความสามัคคี”

ในสมัยก่อนพุทธกาล ในป่ าแห่งหนึ่ง มีฝูงนกกระจอกฝูงหนึ่ง ฝูงนี้มีจ่าฝูงเป็นพญา


นกกระจอก ทุกวันนกกระจอกฝูงนี้จะไปหาอาหารกินที่ต้นโพธิ์ มีนายพรานผู้หนึ่งจะนำแหมา
60
เหวี่ยงให้คลุมต้นโพธิ์ แต่นกกระจอกก็สามารถบินยกแหออกไปได้ วันหนึ่ง นกกระจอกอ้วนกับ
นกกระจอกผอม เกิดทะเลาะกันด้วยเหตุผลว่า ใครที่มีความสามารถมากกว่ากันจึงทำให้ทั้งสอง
และพวกผิดใจกัน ครั้นเวลาไปหาอาหาร นกกระจอกผอมจะไปหากินก่อนแล้วหลังจากนั้นนก
กระจอกอ้วนก็จะไปหากิน
เช้าวันหนึ่ง นกกระจอกผอมไปหากิน ส่วนนายพรานก็มาจับนกกระจอก พอ
นายพรานเหวี่ยงแหไป นกกระจอกผอมพยายามจะบินยกแห แต่ก็ไม่สามารถยกแหได้ นก
กระจอกจึงถูกนายพรานจับไปส่วนหนึ่ง เวลาต่อมา นกกระจอกอ้วนก็มาหาอาหาร นาย
พรานก็มาจับนกอีก นกกระจอกอ้วนพยายามบินยกแหออกแต่ก็ไม่สามารถทำได้ จึงถูกนายพราน
จับไปส่วนหนึ่งเช่นกัน
ข่าวนี้ได้ทราบถึงพญานกกระจอก พญานกกระจอกจึงได้สอนนกกระจอกทั้งหลาย
ว่า ถ้าเจ้าสามัคคีกันดังเช่นเมื่อก่อน เจ้าก็จะไม่ถูกนายพรานจับไป ตั้งแต่นั้นมานกกระจอกอ้วน
และนกกระจอกผอมก็สามัคคีกันเรื่อยมา และอยู่กันอย่างมีความสุข

(จากเรื่องนี้จะเห็นได้ชัดในเรื่องของความสามัคคีก่อให้เกิดพลังหมู่ใดคณะใดหากแตก
ความสามัคคีกันแล้ว ก็ไม่อาจทำให้งานที่กระทำนั้นเสร็จลุล่วงไปได้)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ระเบียบแถวและสัญญาณมือ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึ กระเบียบแถวเป็นการฝึ กให้ลูกเสือมีระเบียบ มีวินัย มีความอดทน และยัง
ทำให้ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำสั่ง และสัญญาณต่าง ๆ ทำให้เกิดความรับผิดชอบและ
ความสามัคคีในหมู่คณะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
61
1. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณคำสั่งของผู้กำกับลูกเสือ จัดรูปแถวเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
2. ลูกเสือจัดแถวรูปแบบต่าง ๆ ได้
3. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณ คำสั่งของผู้กำกับได้
4. ลูกเสือเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้
สาระการเรียนรู้
1. สัญญาณมือและคำสั่ง
2. แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
3. แถวตอน
4. แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
5. แถวรูปครึ่งวงกลม
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สัญญาณนกหวีด
3. เรียกลูกเสือรวมกอง ทบทวนกิจกรรมในชั่วโมงที่ผ่านมา
4. แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม ฝึ กปฏิบัติต่อจากชั่วโมงที่แล้วจนเกิดความชำนาญ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปศึกษาจากใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ
โดยผู้กำกับลูกเสือ เป็นผู้ให้สัญญาณในการเปลี่ยนฐาน
– ฐานที่รวม เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
– ฐานที่ 4 ใบความรู้ เรื่อง แถวครึ่งวงกลม
6. เรียกลูกเสือรวมกองและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานต่าง ๆ
7. ผู้กำกับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่งผู้กำกับ
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ห้องเรียนของตนเอง
10. ผู้กำกับกล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรองผู้กำกับลูกเสือ
2. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
3. ใบความรู้ เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
4. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
5. ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน 2
6. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
62
7. ใบความรู้ เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
8. นกหวีด
9. รูปภาพแสดงการใช้สัญญาณมือ
10. เรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
63
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูก
เสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ลูกเสือศึกษารายละเอียดในหนังสือแบบเรียนวิชากิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
จากห้องสมุด
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้องเตรียมรายละเอียดในการสอนก่อนการสอนทุกครั้ง
3. ลูกเสือทุกหมู่ฝึ กปฏิบัติระเบียบแถวและสัญญาณมือเพื่อการประกวดในโอกาส
เหมาะสม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมอบเกียรติบัตรให้แก่หมู่ลูกเสือที่ชนะเลิศการแข่งขัน
64
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
65
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./……

เพลง “สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดออกไป
66
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันข้าแถวทันใด
เป่ ายาวนั้นไซร้ เราต้องรีบไป เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นสามยาวหนึ่ง
ลูกเสือเราพึงจดจำ คำนึง นี่คือสัญญาณ

ใบความรู้
เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง

ระเบียบแถว
การฝึ กระเบียบแถวลูกเสือ มีความมุ่งหมายโดยทั่วไปเพื่อฝึ กให้ลูกเสือเป็นระเบียบวินัย
อันดีงาม รู้จักฟังคำบอก คำสั่ง และปฏิบัติตามได้โดยถูกต้องมุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะอดทน
67

สัญญาณมือ
1. เตรียม คอยฟังคำสั่งหรือหยุด เหยียดแขนขวาขึ้นตรงเหนือศีรษะ มือแบห้านิ้วชิด
กันหันฝ่ ามือไปข้างหน้า ลูกเสือหยุดการเคลื่อนไหวหรือการกระทำใด ๆ ทั้งสิ้น ถ้าลูกเสือใน
แถวจะยืนอยู่ท่าตรง
2. รวมหรือกลับมา เหยียดแขนขวามือขึ้นตรงเหนือศีรษะมือแบ หมุนเป็นวงกลม
เหมือนการหมุนของนาฬิกา
3. จัดแถวหน้ากระดาน เหยียดแขนทั้งสองไปด้านข้างลำตัวเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือแบ
ไปข้างหน้า จัดแถวหน้ากระดานให้กลางแถวหันหน้าตรงหน้าผู้เรียก ห่าง 6 ก้าว
4. จัดแถวตอน เหยียดแขนทั้งสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกัน
ฝ่ ามือแบเข้าหากัน
5. เคลื่อนไปข้างหน้าทางขวา (ซ้าย) กึ่งขวา กึ่งซ้ายหรือไปทางหลังผู้ให้สัญญาณ
หันหน้าไปยังทิศทางที่ต้องการ ชูแขนขึ้นเหนือศีรษะ ฝ่ ามือแบไปข้างหน้าแล้วลดแขนลงข้างหน้า
เสมอแนวบ่า
6. หมอบลงหรือเข้าที่กำบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ฝ่ ามือ
แบบคว่ำลดแขนลงข้างหน้าแล้วกลับที่เดิมหลาย ๆ ครั้ง
7. เร่งจังหวะหรือเร็วขึ้น แขนขวางอมือกำเสมอบ่าชูขึ้นตรงเหนือศีรษะแล้วลดลง
หลายครั้ง

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปทางข้างเสมอไหล่ มือแบ นิ้วทั้งห้าชิดกันหัน


ฝ่ ามือไปด้านหน้า
การเข้าแถว ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก กึ่งกลางของแถวอยู่ห่างผู้เรียกประมาณ
6 ก้าว หันหน้าเข้าหาผู้เรียก

การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ให้ฝ่ ามือพักอยู่บนสะโพกนิ้วมือ


เหยียดชิดปลายนิ้วชี้ลงพื้น ข้อศอกเสมอลำตัว ไม่เว้นระยะเคียงระหว่างหมู่
68

ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงสะบัดหน้ากลับและนิ่งอยู่ในท่า


ตรง (ยกเว้นนายหมู่คนแรกไม่ต้องสะบัดหน้า รองนายหมู่คนสุดท้ายไม่ต้องยกศอกขึ้น)

รูปภาพ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ใบความรู้
เรื่อง แถวตอน

ผู้เรียก ยกแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าเสมอไหล่ หันฝ่ ามือเข้าหากัน นิ้วเรียง ชิดติดกัน


การเข้าแถว ให้นายหมู่วิ่งมาเข้าแถวหันหน้าเข้าหาผู้เรียกลูกหมู่ยืนต่อด้านหลังไปตามลำดับหมู่ที่
ตรงกลางให้อยู่ตรงหน้าผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว จัดระยะต่อระหว่างหมู่ 1 ช่วงศอก ระหว่างบุคคล 1 ช่วงแขน
ผู้เรียกแถว ผู้เรียกเห็นว่าเรียบร้อยแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือลดมือลงพร้อมสะบัดหน้ากลับในท่า
ตรงและนิ่ง

รูปภาพ แถวตอน
69

ใบความรู้
เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

ผู้เรียก กำมือทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอข้อศอกขึ้น


เป็นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ในหมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียก ให้กึ่งกลางของหมู่
ตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไป ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดานด้านหลังหมู่ 1
ตามลำดับ ระยะระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าตะโพก สะบัดหน้าไป
ทางขวา
ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงพร้อมกับสะบัด
หน้ามาอยู่ในท่าตรง

รูปภาพ การเข้าแถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ


70
71

ใบความรู้
เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม

ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้าง เหยียดตรงลงข่างล่าง คว่ำฝ่ ามือเข้าหาลำตัว โบก


มือผ่านลำตัวประสานกับด้านหน้าช้า ๆ เป็นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ 1 อยู่ซ้ายมือผู้เรียก โดยนายหมู่อยู่แถวเดียวกับผู้เรียก
หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับ จนรอง
นายหมู่สุดท้ายของหมู่สุดท้ายอยู่แนวเดียวกับผู้เรียก โดยผู้เรียกเป็น
จุดศูนย์กลาง
การจัดแถว ระยะต่อระหว่างบุคคล และระหว่างหมู่ห่างกัน 1 ช่วงศอก
ผู้เรียกแถว สั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทำท่าตรงพร้อม ๆ กัน

รูปภาพ การข้าแถวรูปครึ่งวงกลม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความสามัคคี”

ในสมัยก่อนพุทธกาล ในป่ าแห่งหนึ่ง มีฝูงนกกระจอกฝูงหนึ่ง ฝูงนี้มีจ่าฝูงเป็นพญา


นกกระจอก ทุกวันนกกระจอกฝูงนี้จะไปหาอาหารกินที่ต้นโพธิ์ มีนายพรานผู้หนึ่งจะนำแหมา
72
เหวี่ยงให้คลุมต้นโพธิ์ แต่นกกระจอกก็สามารถบินยกแหออกไปได้ วันหนึ่ง นกกระจอกอ้วนกับ
นกกระจอกผอม เกิดทะเลาะกันด้วยเหตุผลว่า ใครที่มีความสามารถมากกว่ากันจึงทำให้ทั้งสอง
และพวกผิดใจกัน ครั้นเวลาไปหาอาหาร นกกระจอกผอมจะไปหากินก่อนแล้วหลังจากนั้นนก
กระจอกอ้วนก็จะไปหากิน
เช้าวันหนึ่ง นกกระจอกผอมไปหากิน ส่วนนายพรานก็มาจับนกกระจอก พอ
นายพรานเหวี่ยงแหไป นกกระจอกผอมพยายามจะบินยกแห แต่ก็ไม่สามารถยกแหได้ นก
กระจอกจึงถูกนายพรานจับไปส่วนหนึ่ง เวลาต่อมา นกกระจอกอ้วนก็มาหาอาหาร นาย
พรานก็มาจับนกอีก นกกระจอกอ้วนพยายามบินยกแหออกแต่ก็ไม่สามารถทำได้ จึงถูกนายพราน
จับไปส่วนหนึ่งเช่นกัน
ข่าวนี้ได้ทราบถึงพญานกกระจอก พญานกกระจอกจึงได้สอนนกกระจอกทั้งหลาย
ว่า ถ้าเจ้าสามัคคีกันดังเช่นเมื่อก่อน เจ้าก็จะไม่ถูกนายพรานจับไป ตั้งแต่นั้นมานกกระจอกอ้วน
และนกกระจอกผอมก็สามัคคีกันเรื่อยมา และอยู่กันอย่างมีความสุข

(จากเรื่องนี้จะเห็นได้ชัดในเรื่องของความสามัคคีก่อให้เกิดพลังหมู่ใดคณะใดหากแตก
ความสามัคคีกันแล้ว ก็ไม่อาจทำให้งานที่กระทำนั้นเสร็จลุล่วงไปได้)
73

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ระบบหมู่ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเรียนลูกเสือ จะต้องเรียนรู้ในเรื่องระบบหมู่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในกิจกรรมลูกเสือ
เรียนรู้ถึงประโยชน์ของระบบหมู่ และการปฏิบัติตนในระบบหมู่ กิจกรรมทุกอย่างจะสำเร็จได้ด้วย
ดีต้องมีระบบหมู่ เพื่อให้กิจกรรมลูกเสือประสบผลสำเร็จและมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกและปฏิบัติงานระบบหมู่ของกิจกรรมลูกเสือวิสามัญได้ และ บอกประโยชน์
ของระบบหมู่ได้
1. ปฏิบัติงานในหน้าที่การเก็บรักษาอุปกรณ์การฝึ กได้
2. บอกชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญได้
3. ปฏิบัติการประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือวิสามัญได้
3. สาระการเรียนรู้
1. ประโยชน์ของระบบหมู่
2. หน้าที่รับผิดชอบในหมู่
3. ชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญ
4. การประชุมคณะกรรมการลูกเสือวิสามัญ ่
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “หน้าผากติดกัน
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม
74

4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ 1 เรื่อง ประโยชน์ของระบบหมู่
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ 2 เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือวิสามัญ การตั้งชื่อ
หมู่
6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม ”หน้าผากติดกัน”
2. ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์ของระบบหมู่
3. ใบความรู้ เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือวิสามัญ , การตั้งชื่อหมู่
4. เรื่องสั้น เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”
75
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
76
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
77
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
78

เกม “หน้าผากติดกัน”

ให้ลูกเสือยืนเป็นคู่ ๆ หันหน้าเข้าหากัน หากล่องไม้ขีดมาคู่ละหนึ่งกล่อง


เริ่มเล่นเอากล่องไม้ขีดวางบนหน้าผาก แล้วใช้หน้าผากของทั้งสองคนเข้ามาชนกัน โดย
ดันกล่องไม้ขีดไว้ไม่ให้กล่องไม้ขีดตก เมื่อได้สัญญาณเริ่มแข่งขันให้แต่ละคู่วิ่งแข่งกัน
ใครถึงที่หมายก่อนชนะแต่ต้องไม่ให้กล่องไม้ขีดตก (อาจจะเปลี่ยนมาที่จมูกหรือปลายคาง
ก็ได้) เกมนี้ต้องช่วยกันทั้งสองคน มิฉะนั้นกล่องไม้ขีดจะตก

ใบความรู้
ประโยชน์ของระบบหมู่

ในการฝึ กอบรมลูกเสือ จะมีการแบ่งลูกเสือออกเป็นกอง แต่ละกองจะแบ่งออกเป็ นหมู่


ในกองลูกเสือวิสามัญจะประกอบด้วยหมู่ลูกเสืออย่างน้อย 2 หมู่แต่ไม่เกิน 6 หมู่ แต่ละหมู่จะมีลูก
เสือ 3 – 7 คน และมีหัวหน้าและรอง เรียกว่า นายหมู่และรองนายหมู่ มีหน้าที่รับผิดชอบ
ดูแลควบคุม และพัฒนาคุณลักษณะของลูกหมู่ และลูกหมู่จะยอมรับนับถือผู้เป็นหัวหน้าโดยไม่มี
79
ใครบังคับ เพราะเป็ นนายหมู่หรือหัวหน้า จะมีคุณลักษณะเด่นกว่าสมาชิกอื่น ชักนำ
สมาชิกให้ช่วยกันทำงาน เช่น การปฏิบัติหน้าที่ ตระหนักถึงบทบาทของตนว่ามีส่วนรับผิดชอบ
อยู่ในหมู่นั้น เกียรติของหมู่ขึ้นอยู่กับความสามารถของสมาชิกทุกคนในหมู่ ลักษณะดังกล่าวนี้ก็
คือ ระบบหมู่ นั่นเอง

ประโยชน์ของระบบหมู่
1. เป็นหลักประกันถาวรสำหรับการมีชีวิตจิตใจและความสำเร็จของลูกเสือ
2. จะแบ่งเบางานเล็ก ๆ น้อย ๆ จาก ผู้บังคับบัญชาไปทำเสียเอง
3. จะช่วยฝึกให้นายหมู่รู้จักการรับผิดชอบและมีคุณสมบัติเป็นผู้นำ
4. สอนให้ลูกเสือยอมรับมติของผู้อื่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
5. สอนให้ลูกเสือทุกคน รู้จักงดเว้นการกระทำตามใจตนเองในทางที่ไม่ถูกไม่ควร
6. สอนให้ลูกเสือทุก ๆ คนรู้จักควบคุมตนเองเพื่อก่อให้เกิดเจตนารมณ์ร่วมกัน
เป็นหมู่คณะและมีความสามัคคี
7. เป็นวิธีพัฒนาลักษณะนิสัยของเด็กได้ดีกว่าวิธีอื่น
8. จะปลุกใจให้เกิดความเลื่อมใส รักใคร่นายหมู่ของตน ขยายไปสู่กองลูกเสือ
จนถึงชาติในที่สุด
9. ช่วยฝึ กอบรมให้มีน้ำใจผูกพันกับหมู่คณะ
80
ใบความรู้
เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือวิสามัญ

1. จำนวนสมาชิกในหมู่
2. หน้าที่ความรับผิดชอบในหมู่
2.1 นายหมู่ 2.2 รองนายหมู
2.3 เหรัญญิก 2.4 พลาธิการ
2.5 เลขาธิการ 2.6 เจ้าหน้าที่ปฐมพยาบาล
2.1 เจ้าหน้าที่ห้องสมุด

นายหมู่
หน้าที่ของนายหมู่ คือ การฝึกอบรม การนำและการสนับสนุนส่งเสริม สมาชิกอื่น
และมอบหมายงานประจำวัน ให้ลูกเสืออื่นได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นายหมู่ควรมีสมุดพก เล่ม
หนึ่ง เพื่อบันทึกชื่อของลูกหมู่ทุกคน
รองนายหมู่
เป็นผู้ช่วยในกิจกรรมทุกอย่างของนายหมู่ โดยทั่วไปควรมอบหมายให้จัดโครงการ
ใดโครงการหนึ่ง เพราะรองนายหมู่นั้นอาจจะเป็นนายหมู่ก็ได้
เหรัญญิก
มีหน้าที่เรียกเก็บ เตือน ดูแลและทำบัญชีการเงินให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน สามารถ
ชี้แจงได้ทันที
พลาธิการ
มีหน้าที่จัดหาบำรุงรักษา และทำบัญชีวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อาจจะแยกเป็น 2 กลุ่ม
1. ฝ่ ายอุปกรณ์การฝึ กอุปกรณ์การฝึ ก ที่ควรจัดหาและบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพ
ที่ใช้การได้ดีแต่โดยทางปฏิบัติ อุปกรณ์ของหมู่มักจะรวมอยู่ในอุปกรณ์ของหมู่อยู่แล้ว ซึ่ง
พลาธิการก็ควรจะทำบัญชีอุปกรณ์ไว้ด้วย
2. ฝ่ ายอาหาร มีหน้าที่เตรียมบัญชีรายการอาหาร ในกรณีที่จะออกไปฝึ กภาค
ปฏิบัติและจัดเตรียมรายการอาหารตามที่กำหนดไว้ และควรบันทึกผลการปฏิบัติ
งาน ทุกครั้ง
81
เลขานุการ
มีหน้าที่บันทึกกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่เป็นบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน ลูกเสือในหมู่
ทุกคน ควรช่วยเลขานุการส่งเรื่องราวกิจกรรมที่สมาชิกในหมู่ได้ทำลงไปให้เลขานุการ
เจ้าหน้าที่พยาบาล
มีหน้าที่จัดหาและรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล โดยเก็บไว้ในตู้ยา
และเครื่องอุปกรณ์ปฐมพยาบาลควรมีบัญชีสิ่งของต่าง ๆ ปิ ดไว้ที่ฝาตู้ให้ชัดเจน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด
ถ้าหมู่ลูกเสือได้ตั้งขึ้นเป็นหลักเป็นฐาน และนานพอสมควรอาจจะมีหนังสือต่าง ๆ
เป็นสมบัติของหมู่บ้านแล้วถ้ายังไม่มีห้องสมุดก็ควรจะพิจารณาดูว่าควรจะมีหนังสืออะไร
ไว้ในห้องสมุดของหมู่บ้าน

การตั้งชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญ
จะใช้ชื่อ พระมหากษัตริย์และวีรชนในการตั้งชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญดังนี้
1. หมู่ศรีอินทราทิตย์ 10. หมู่พระนารายณ์
2. หมู่รามคำแหง3 11. หมู่โกษาปาน
3. หมู่อู่ทอง5 12. หมู่พันท้ายนรสิงห์
4. หมู่พระบรมไตรโลกนารถ 13. หมู่โกษาเหล็ก
5. หมู่พระมหาจักรพรรดิ 14. หมู่พระเจ้าตาก
6. หมู่สุริโยทัย 15. หมู่พระพุทธยอดฟ้ า
7. หมู่นเรศวร 16. หมู่เทพกษัตรีย
8. หมู่เอกาทศรถ 17. หมู่ศรีสุนทร
9. หมู่ประสาททอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”

นิ้วมือทั้ง 5 ได้เกิดถกเถียงกันเรื่อง ความสำคัญของกันและกันหัวแม่มือได้บอกว่ายิ่งใหญ่


กว่าใคร ๆ เพราะเวลาเจ้าของนิ้วต้องการคุย หรือยกย่องใครว่าเก่ง หรือใหญ่ขนาดไหน เขา
ต้องชูข้าขึ้นมา นิ้วชี้ได้ฟังก็บอกว่า เมื่อเจ้าของนิ้วต้องการหรือสั่งอะไร ก็ต้องชูข้าขึ้นมาชี้โน่น
82
ชี้นี่และพวกเจ้าก็จะมีนิ้วหัวแม่มือคอยกดพวกเจ้าหมอบลง นิ้วกลางก็พูดขึ้นมาบ้างว่า ข้าซิใหญ่
กว่าเพื่อน เพราะอยู่ตรงกลางระหว่างเจ้าทั้ง 4 ทำหน้าที่เหมือนท้าวมาลีวราชว่าความคอยตัดสิน
และห้ามพวกเจ้าเวลาทะเลาะกัน และข้าก็สูงกว่าใคร ๆ นิ้วนางได้ฟังก็พูดด้วยเสียงอันนุ่มนวลว่า
พวกเจ้าทั้ง 3 ทะเลาะกันอยู่ได้ จะทะเลาะกันทำไม ฟังข้าก่อน ข้านี่ซิจึงจะได้ชื่อว่ามีค่า
และสำคัญกว่าใคร ๆ เวลาหญิงสาวจะแต่งงาน เขาก็จะหมั้นด้วยการสวมแหวนเพชรอันมีค่า
มากมายที่ข้านี้ น้องนุชสุดท้องได้ฟังพวกพี่ ๆ ถกเถียงกันอยู่เป็นนาน ก็โพล่งออกมาถึงตัว
น้องจะเล็กนิดเดียว แต่ก็มีความสำคัญไม่แพ้พวกพี่ ๆ หรอก เวลาคนเขาจะไหว้หรือกราบสิ่งที่
ควรเคารพบูชา ข้านี่แหละจะต้องเป็นผู้คอยนำหน้าพวกพี่ ๆ เหมือนช้างเท้าหน้า
จะเห็นได้ว่านิ้วทั้ง 5 ได้ถกเถียงถึงความสำคัญของตนเอง ซึ่งถ้าจะพิจารณากันจริง ๆ
แล้ว นิ้วทั้ง 5 มีความสำคัญด้วยกันทั้งสิ้น เราจะขาดนิ้วใดนิ้วหนึ่งไม่ได้แต่ละนิ้วถึงจะแตกต่าง
กัน แต่ก็มีหน้าที่ไม่เหมือนกัน เช่นเดียวกัน คนเราก็ควรจะให้เกียรติกันด้วยการให้ความสำคัญ
แก่ทุกคน จึงจะทำให้สังคมเจริญและมีความสุข

คติสอนใจ : รวมกันเราอยู่ แยกหมู่เราตาย”

ใบงานที่
เรื่อง
83
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ระบบหมู่ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเรียนลูกเสือ จะต้องเรียนรู้ในเรื่องระบบหมู่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในกิจกรรมลูกเสือ
เรียนรู้ถึงประโยชน์ของระบบหมู่ และการปฏิบัติตนในระบบหมู่ กิจกรรมทุกอย่างจะสำเร็จได้ด้วย
ดีต้องมีระบบหมู่ เพื่อให้กิจกรรมลูกเสือประสบผลสำเร็จและมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกและปฏิบัติงานระบบหมู่ของกิจกรรมลูกเสือวิสามัญได้ และ บอก
ประโยชน์ของระบบหมู่ได้
1. ปฏิบัติงานในหน้าที่การเก็บรักษาอุปกรณ์การฝึ กได้
2. บอกชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญได้
3. ปฏิบัติการประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือวิสามัญได้

สาระการเรียนรู้
1. ประโยชน์ของระบบหมู่
2. หน้าที่รับผิดชอบในหมู่
3. ชื่อหมู่ลูกเสือวิสามัญ
4. การประชุมคณะกรรมการลูกเสือวิสามัญ ่
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ครอบครัวสัตว์”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม
84

4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การจัดที่ประชุม
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การประชุมภายในหมู่และภาย
ในกอง
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ที่ 2.4 เรื่อง ประชุมคณะกรรมการกอง
ลูกเสือ
5. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “ครอบครัวสัตว์”
2. ใบความรู้ เรื่อง การจัดที่ประชุม
3. ใบความรู้ เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม
4. ใบความรู้ เรื่อง การประชุมภายในหมู่และภายในกอง
5. ใบความรู้ เรื่อง ประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”
85
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
86
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
87
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
88

เกม “ครอบครัวสัตว์”

วิธีเล่น
1. ทำฉลากเป็นครอบครัวสัตว์ต่าง ๆ แต่ละครอบครัวมี พ่อ แม่ ลูก หลาน ให้ทุก
คนจับฉลาก เมื่อได้ฉลากให้นึกเสียงสัตว์ไว้
2. เมื่อเริ่มสัญญาณให้คนร้องตามเสียงสัตว์นั้น แล้ววิ่งเข้ากลุ่มกัน
3. กลุ่มใดเข้ากลุ่มได้เร็วกว่า กลุ่มนั้นชนะ
89

ใบความรู้
เรื่อง การประชุมนายหมู่ลูกเสือ

การจัดที่ประชุม
1. ห้องประชุม ในห้องประชุมจัดให้มีโต๊ะบูชา ธงชาติ และพระบรมสาทิศลักษณ์
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน พระบรมรูปของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย และรูปของ ลอร์ดเบเดน
พาเวลล์
2. โต๊ะประชุม จัดเก้าอี้ประชุมตามจำนวนของนายหมู่และจัดที่นั่งเป็นพิเศษสำหรับ
ผู้บังคับบัญชา หรือรอง ผู้บังคับบัญชาที่จะเข้าประชุมด้วยในฐานะที่ปรึกษา โดยจัดให้อยู่ทางซ้าย
ของประธาน
3. การจัดที่นั่ง จะต้องกำหนดไว้ให้ทราบ โดยมีการเขียนป้ ายหรือเครื่องหมายแสดงไว้
ที่ ณ ที่นั้น ๆ เช่น ประธาน เลขานุการ หมู่อู่ทอง หมู่นเรศวรและ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ

( รูปแสดงการจัดห้องประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือวิสามัญ )
90
ผู้เข้าร่วมประชุม
1. นายหมู่ทุกคน ถ้านายหมู่ไม่อยู่ ให้รองนายหมู่เข้าประชุมแทน
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ถ้า ผู้บังคับบัญชาไม่อยู่ ให้รอง ผู้บังคับบัญชาเข้าประชุมแทน
3. ผู้ทรงคุณวุฒิที่กองลูกเสือเชิญมาเพื่อแนะนำวิชาการเป็นครั้งคราว
การเลือกประธานและเลขานุการ ที่ประชุมทำได้ 2 วิธี
1. ที่ประชุมเลือกประธาน และเลขานุการ ให้ดำรงตำแหน่งตามเวลา ที่กำหนด
1. ไว้ 3 เดือน หรือ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดแล้ว ควรมีการเลือกใหม่
2. ให้นายหมู่หมุนเวียนกันเป็นประธาน เลขานุการ ของที่ประชุมคนละ 1 เดือน
การเข้าห้องประชุม
เลขานุการจะเป็นผู้เชิญโดยให้นายหมู่ต่าง ๆ เข้าก่อน แล้วจึงเชิญประธานที่ปรึกษา
เข้าเป็นคนสุดท้าย ผู้ที่เข้าประชุม ก่อนที่จะนั่งต้องไหว้พระ แสดงความเคารพต่อธงชาติ
พระบรมสาทิศลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตามลำดับเสียก่อน โดยคำนับแล้วจึงไป
นั่งยังที่ของตน (ยกเว้นประธาน ต้องจุดธูป เทียน และกราบที่หน้าพระ )
การเปิ ดประชุม
เป็นหน้าที่ของประธานในการที่จะกล่าวเปิ ด โดยลุกขึ้นยืนหันหน้าเข้าสู่ที่ประชุม
ยื่นมือขวาออกไปข้างหน้าทำมุม 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลูกเสือแล้วกล่าวว่า
“บัดนี้สมาชิกของที่ประชุมได้มาครบองค์ประชุมแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิ ดการประชุม ขอให้สมาชิก
ทั้งหลายได้ใช้สิทธิและเสรีภาพของท่านโดยเสรี ในการประชุมและขอให้ถือว่า การประชุมนี้
เป็นความลับไม่เปิ ดเผย” เมื่อประธานกล่าวจบสมาชิกที่จะเข้าประชุมยืนขึ้นพร้อมกัน พร้อมกับ
ยกมือขวาขึ้นแสดงรหัสลูกเสือแบบให้คำปฏิญาณของลูกเสือแล้วกล่าวพร้อมกันว่า “ ข้าพเจ้าจะ
ถือว่า การประชุมนี้เป็นความลับเว้นแต่ที่ จะได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม” เสร็จแล้ว
ประธานนั่งลง สมาชิกนั่งลงพร้อมกัน จากนั้นจึงให้ดำเนินการประชุมตามวาระต่อไป
การพูดในที่ประชุม
91
ก่อนพูดต้องยกมือขออนุญาต เมื่อประธานอนุญาตจึงจะพูดได้ (และจะต้องพูด
กับประธานทุกครั้ง) เมื่อเวลาพูดให้นั่ง ไม่ต้องยืน

การนัดหมายเรียกประชุม
เป็นหน้าที่ของเลขานุการที่จะแจ้งนัดหมายไป

ใบความรู้
เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม
การจัดระเบียบวาระการประชุม เป็นหน้าที่ของเลขานุการ โดยประสานงานกับ
ประธาน เรื่องที่จะจัดระเบียบวาระการประชุม ควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับหน้าที่ความรับผิดชอบใน
92
กองลูกเสือของตน จัดทำกำหนดการฝึ กอบรม การอยู่ค่ายพักแรม การเงิน การลงโทษ การ
ให้รางวัลและการแก้ปัญหาต่าง ๆ

เอกสารในการประชุมคณะกรรมการกอง
1. ระเบียบการวาระการประชุม 3. บันทึกรายงานการประชุม
2. บัญชีลงชื่อผู้เข้าประชุม
การจดรายงานการประชุม
เป็นหน้าที่เลขานุการ จะต้องเป็นผู้จด และจัดทำรายงานการประชุม บันทึกลงใน
สมุดและนำสำเนาแจ้งที่ประชุมทราบ จะถือเป็นความลับไม่ควรเปิ ดเผยเว้นแต่จะได้รับความเห็น
ชอบจากที่ประชุม

ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ที่เข้าร่วมประชุม ไม่มีสิทธิ์ ออกเสียงในที่ประชุม แต่มีสิทธิ์ ยับยั้งการกระทำใด ๆ ที่
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเห็นว่า ถ้าจะปล่อยให้ทำไปตามข้อตกลงของที่ประชุมแล้วอาจก่อให้เกิด
ความเสียหายขึ้นได้

การปิ ดประชุม
ประธานจะลุกขึ้นยืนหันหน้าเข้าสู่ที่ประชุม ยื่นมือขวาออกไปข้างหน้าทำมุม
ประมาณ 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลูกเสือแล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าขอปิ ดการ
ประชุมเมื่อกล่าวจบ ให้นายหมู่ทำวันทยหัตถ์แก่ประธาน (ประธานทำวันทยหัตถ์ตอบ )

การออกจากที่ประชุม
ออกตามลำดับดังนี้ คือ ที่ปรึกษา ประธานและนายหมู่ต่าง ๆ ( โดยปฏิบัติพิธีการเช่น
เดียวกับการเข้าห้องประชุม )

หมายเหตุ กรณีที่นายหมู่คนหนึ่งคนใดไม่มาที่กองในวันประชุมให้รองนายหมู่ เข้าประชุมแทน


รองนายหมู่มีสิทธิ์ แสดงความคิดเห็นและออกเสียงลงคะแนนและลงมติได้เช่นเดียวกับนายหมู่
กำหนดการประชุม
ควรประชุมเป็นประจำอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
93

ใบความรู้
เรื่อง การประชุมภายในหมู่

ควรจะมีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ควรจะประชุมก่อนที่จะมีการประชุมคณะ


กรรมการลูกเสือวิสามัญ เพื่อให้ลูกเสือ หรือสมาชิกภายในหมู่ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น
หรือให้ข้อเสนอแนะตามแนวความคิดเห็นเหล่านั้น ไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการลูกเสือ
วิสามัญต่อไป
การประชุมเช่นนี้ควรกระทำอย่างไม่เป็นทางการ เช่น ในระหว่างการเดินทางไกล
การปฏิบัติกิจกรรม เพื่อที่จะได้อภิปรายถึงงานและหน้าที่ในขณะนั้น

การประชุมภายในกอง
ถ้าเป็นกองลูกเสือขนาดเล็ก อาจทำการประชุมในสถานที่ประชุมนายหมู่ ลูกเสือทุก
คนมีสิทธิ์ เสนอความคิดเห็น และควรได้รับคำเชิญชวนขึ้นมาพูดเสนอแนะ และให้ข้อวิพากษ์
วิจารณ์ต่าง ๆ เท่าที่จะเป็นได้
94
การประชุมทั้งหมดนี้ จะเป็นรากฐานแห่งความไว้วางใจและสร้างค่านิยมให้แก่
สมาชิกในกองลูกเสือทุกคน และในการประชุมแต่ครั้ง ควรมีการบันทึกข้อตกลงไว้ด้วย
ระบบหมู่ลูกเสือ จึงมีความสำคัญเช่นเดียวกับกลุ่มเฉพาะกิจ โดยมีนายหมู่เป็นผู้นำจึง
ได้กำหนดหน้าที่ของนายหมู่ไว้ดังนี้
1. เป็นสมาชิกที่ประชุมนายหมู่ เพื่อร่วมกันประชุมพิจารณาการดำเนินงานกอง
ลูกเสือ
2. ในการประชุมประจำสัปดาห์ นายหมู่จะต้องเรียนรู้ทราบเค้าโครงของการกำหนด
ส่วนรับผิดชอบด้วย รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อสมาชิกในหมู่ของตนด้วย
3. การบริหารงานหมู่ การใช้การประชุมภายในหมู่เป็นอุปกรณ์ในการบริหาร
ของหมู่

ใบความรู้
เรื่อง ที่ประชุมคณะกรรมการลูกเสือ
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การจัดดำเนินงานโดยทั่วไป เกี่ยวกับการบริหาร
ภายในกองลูกเสือสามัญทั้งหมด รวมไปถึงการใช้จ่ายเกี่ยวกับการเงินของกองลูกเสือด้วย
ผู้บังคับบัญชาลูกเสืออยู่เบื้องหลัง คอยให้คำแนะนำและเสนอแนะ เมื่อเห็นนายหมู่
กำลังหลงทางหรือปฏิบัติในเรื่องไม่ถูกต้อง

หน้าที่ของที่ประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือ มีดังต่อไปนี้
1. รักษาเกียรติของลูกเสือ วินัยของลูกเสือ มิได้เกิดขึ้นจากการฝึ กอบรมของ ผู้
บังคับบัญชาลูกเสือเพียงฝ่ ายเดียวที่ประชุม นายหมู่จะต้องเป็นหูเป็นตาของกองลูกเสือคอยดูแล
ว่า ลูกเสือในกองได้ปฏิบัติตนในฐานะเป็นลูกเสือวิสามัญตลอดเวลาหรือไม่
2. จัดและวางแผนเกี่ยวกับกิจกรรมของกอง จัดให้มีกำหนดการฝึ กอบรมขั้นพื้นฐาน
เป็นรายสัปดาห์ จัดให้มีโครงการเดินทางไปสำรวจภาคฤดูร้อน หรือในระยะเวลาอื่นใดตามความ
เหมาะสม การจัดหรือดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องนี้ทั้งหมดเป็นหน้าที่ของที่ประชุมนายหมู่
3. พิจารณาความก้าวหน้าของลูกเสือวิสามัญแต่ละคน ที่ประชุมคณะกรรมการ
กอง ต้องสำนึกถึงความรับผิดชอบที่มี ต่อความก้าวหน้าของสมาชิกของเขา วัสดุอุปกรณ์ที่นำ
มาใช้ตามตารางการฝึ กอบรมและกำหนดในกิจกรรม
95
96

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”

มีนกกระจาบฝูงใหญ่อาศัยอยู่ในราวป่ า หลงเข้าไปติดอยู่ในบ่วงตาข่ายที่พรานล่านก
ขึงจับ มันจึงพร้อมใจกับบินพาเอาตาข่ายนั้นขึ้นไปบนอากาศ แล้วลอดใต้ตาข่ายออกมาได้ทั้งหมด
บินกลับเข้าป่ าที่อยู่ของมัน
เมื่อพากันมาถึงรัง ก็ถกเถียงอวดเก่งกันใหญ่ จนกระทั่งวันหนึ่ง ก็มีเหตุบังเอิญเข้าไป
ติดตาข่ายของพรานนกเข้าอีกจนได้ คราวนี้ก็หมดความพร้อมใจเหมือนครั้งแรกเสียแล้ว มีแต่
ต่างตัวจะดูกำลังกัน ว่านกกระจาบตัวไหนแน่ที่จะมีแรงพายกเอาตาข่ายนี้หลุดขึ้นไปบนอากาศ
จึงถ่วงเวลาให้นายพรานมาถึงตาข่ายก่อนที่ฝูงนกจะพาเอาตาข่ายบินขึ้นไปได้ นายพรานจึงรวบ
ตาข่ายเอานกกระจาบฝูงนั้นไปเป็นเหยื่ออย่างง่ายดาย

คติสอนใจ : อวดดีจนดีแตกตาย
97
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การเดินทางสำรวจ (1 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางสำรวจที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ ในการเดินทางไกลอยู่
ค่ายพักแรม ทุกคนจะต้องจดบันทึกหรือมีการรายงานตลอดเส้นทาง ความปลอดภัยความสำเร็จ
จะเกิดขึ้นกับตัวลูกเสือและกองลูกเสือวิสามัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยการเดินเท้า รถจักรยาน ทางเรือได้อย่างปลอดภัย
ตลอดจนบอกหลักการทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
1. บอกประโยชน์ของการเดินทางสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
2. บอกการจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทางได้ (พุทธพิสัย)
3. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าได้
4. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานได้
5. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยทางเรือได้
6. ลูกเสือปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยความพร้อมเพรียง สนุกสนาน
7. ลูกเสือไม่ทำงานสิ่งแวดล้อมในขณะปฏิบัติการเดินทางสำรวจ
3. สาระการเรียนรู้
1. หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ
3. การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
4. การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
5. การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
6. การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ชาวดง”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
98
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หลักทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจ


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจ
โดยการเดินเท้า

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ห่านกับนกกระสา”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ชาวดง”
2. ใบความรู้ เรื่อง หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
3. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจ โดยการเดินเท้า
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ห่านกับนกกระสา”
99
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
100
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
101
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “ชาวดง”

ใบงานที่
(สร้อย)…กลางดงพงป่ าเขาลำเนาไพรไกลสังคม เป็นแดนรื่นรมย์แสนชื่นชมมีเสรี
เรื่อง
102
ไร้ทุกข์สนุกสนานสำราญกันได้เต็มที่ พวกเราชาวถิ่นนี้ล้วนมีไมตรีต่อกัน
อาชีพป่ าดงพงไพร เลี้ยงโคทำไร่หากินเป็นพราน
หน้าแล้งเราพากันเผาถ่าน หาฟื นกลับบ้านเป็นทุน
เงินทองหามาได้เก็บออมเอาไว้พออุ่น
เจ็บไข้ได้เกื้อหนุนเจือจุนการุณผูกพัน
(สร้อย)…กลางดง……….
เย็นย่ำตะวันรอน ๆ เราได้พักผ่อนสำราญกายา
ค่ำลงเราพบพร้อมหน้าแล้วมาสนุกด้วยกัน
ยามงานนั้นเราทำตรากตรำเพียงไหนไม่หวั่น
เสร็จงานเราสุขสันต์ร้องเพลงบรรเลงกล่อมไพร
(สร้อย)…กลางดง……….
จนยากก็ยังภูมิใจ หากินกลางไพรแม้ไม่รุ่งเรือง
ไม่คิดจะเฟ้ อจะฟุ้ งเฟื่ อง ถึงเมืองแดนศิวิไล
กลางคืนเราชื่นบานเรื่องงานเอาไว้วันใหม่
ป่ าดงดำรงไว้ทรัพย์ในดินไทยมากมี
(สร้อย)…กลางดง……….

ใบความรู้
เรื่อง หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ

ในการเดินทางสำรวจนั้นควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ
1. ควรพักแรมอย่างน้อย 1 คืน ไม่ควรไปหรือกลับในวันเดียวกัน
2. ควรเลือกเส้นทางที่ผ่านภูมิประเทศที่แปลก ๆ เร้าความสนใจ
3. ถ้าไม่จำเป็น ควรหลีกเลี่ยงการสำรวจ ด้วยการเดินไปตามถนนในเมือง
4. ควรจัดกิจกรรมการเดินทางสำรวจและพักแรมอย่างน้อยปี ละ 1 หรือ 2 ครั้ง
103
ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ การเดินทางสำรวจมีประโยชน์ ดังนี้
1. เป็นการฝึ กความอดทน ความรอบคอบและความไม่ประมาทของลูกเสือ
2. ทำให้ลูกเสือรู้จักการเตรียมการและสิ่งของที่จำเป็นสำหรับการเดินทางสำรวจ
3. ทำให้ลูกเสือเป็นคนช่างสังเกต
4. ทำให้ลูกเสือเกิดความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกิจกรรมของส่วนรวม
5. ทำให้ลูกเสือได้ฝึ กใช้ชีวิตแบบชาวป่ า
6. ทำให้ลูกเสือรู้จักตนเอง เช่น รู้จักการประกอบอาหาร ทำที่พักด้วยตนเอง
7. ทำให้ลูกเสือรู้จักซึ่งกันและกัน เช่น ช่วยดูแลทรัพย์สินของผู้อื่น ช่วยระวังภัย
การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
การเดินทางสำรวจ นอกจากจะกำหนดแผนการไว้ล่วงหน้าแล้ว ลูกเสือจะต้อง
เตรียมสิ่งของเครื่องใช้ให้พร้อมก่อนออกเดินทางด้วย สิ่งที่จะต้องจัดเตรียมไปเพื่อการเดินทาง
สำรวจ มีดังนี้
1. อาหาร การจัดเตรียมอาหาร เป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. อุปกรณ์ต่าง ๆ จำเป็นจะต้องจัดเตรียมไป การบรรจุอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงใน
เครื่องหลังนั้นให้จัดสิ่งของที่จะใช้ทีหลังลงไปก่อนส่วนสิ่งของที่จะใช้ก่อน ให้จัด ลงทีหลังเพื่อที่
จะได้ง่ายต่อการหยิบ
3. เวชภัณฑ์ ได้แก่ ยาประจำตัวและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล

ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าลูกเสือควรปฏิบัติ ดังนี้
1. กำหนดเส้นทางเดินให้แน่นอนโดยพยายามหลีกเลี่ยงการเดินตามถนนใหญ่
2. เมื่อต้องเดินบนถนนหลวง ลูกเสือทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
3. เมื่อลูกเสือจำเป็นต้องเดินทางสำรวจในเวลากลางคืนเดือนมืดให้ลูกเสือใช้ผ้าสีขาว
พันขา หรือติดสีสะท้อนแสง
4. การเดินทางแต่ละครั้ง ไม่ควรเดินบนทางรถไฟ
5. ขณะเดินทางลูกเสือไม่ควรทำความเดือดร้อนให้กับชาวบ้านด้วยประการต่าง ๆ
6. เมื่อเดินเข้าสู่หมู่บ้านผ่านฝูงชน ลูกเสือควรรักษาระเบียบวินัยให้ดี เดินอย่างองอาจ
7. ลูกเสือทุกคนควรรักษาสุขภาพของตนเอง โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัว
104
8. รองเท้าที่ลูกเสือสวมใส่เพื่อเดินทางสำรวจนั้น ควรเป็นรองเท้าเก่าใส่สบาย
9. ขณะเดินทางสำรวจ เมื่อลูกเสือจะออกจากแถว ควรบอกผู้บังคับบัญชาโดยแจ้งเหตุผล
10. ในการเดินทางแต่ละครั้ง ลูกเสือต้องรักษาระยะเวลาในการเดินทาง
ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้านั้น ลูกเสือพึงเอาใจใส่เรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักการเลือกเส้นทาง และหลีกเลี่ยงการเดินทางไปตามถนนใหญ่ที่มีการจราจร
คับคั่ง ถ้ามีความจำเป็นลูกเสือจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ และปฏิบัติตามกฎจราจร
อย่างเคร่งครัดเพื่อป้ องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุ
2. สิ่งของที่บรรจุในเครื่องหลัง ควรมีน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม การบรรจุของใช้
ต้อง
ถูกหลักวิธีและอย่าให้เครื่องหลังรัดตัว หรือหย่อนยานจนเกินไป เพราะจะทำให้การ
เดินทางไม่คล่องตัว
3. รองเท้าที่สวมเดินต้องพิจารณาเป็นพิเศษ อย่าให้คับหรือหลวมจนเกินไป
4. อุปกรณ์เครื่องครัวต้องแบ่งกันไป อย่าให้คนใดคนหนึ่งรับภาระเพียงคนเดียว
5. วิธีการของระบบหมู่ เป็นเรื่องสำคัญ คือ ต้องเชื่อฟังคำสั่งของนายหมู่ ตลอดเวลา
ในการเดินทาง

เรื่องสั้น
เรื่อง ห่านกับนกกระสา

ณ ริมหนองใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่อาศัยขิงห่านและนกกระสา ซึ่งทั้งสองเป็นเพื่อน


สนิทกัน และมักจะออกหาอาหารด้วยกันเสมอ และในวันหนึ่ง มีนกกระยางตัวหนึ่งบินผ่านมาบ
อกห่านและนกกระสาว่า “นี่แน่ะ นี่แน่ะ พวกเรารู้ไหมว่ามีหนองน้ำที่ใหญ่และมีอาหารที่อุดม
สมบูรณ์ มีทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา”
ห่านกับนกกระยางก็บินไปยังหนองน้ำแห่งนั้น ก็เป็นจริงดังที่นกกระยาง บอกห่าน
กับนกกระยางกินกันอย่างเอร็ดอร่อย ห่านกินจนพุงกาง แต่นกกระสา กลับกินแต่พออิ่ม ห่านจึง
พูดว่า นาน ๆ เราจะเจอแหล่งอุดมสมบูรณ์อย่างนี้ ทำไมจึงกินนิดเดียว
นกกระสาจึงบอกว่า “ข้ากลัวบินกลับไม่ไหว” แล้วห่านก็ก้มลงกินต่อไป และทันใด
นั้นเองก็มีนายพรานคนหนึ่งซึ่งเดินผ่านมา เห็นสัตว์ทั้งสองตัวจึงยกธนูเล็งมาทางสัตว์ทั้งสอง
พอดีกับนกกระสาเหลือบมาเห็นนายพรานจึงตะโกน บอกเพื่อนของมันว่า “รีบหนีกันเร็ว”
นกกระสาจึงบินไปก่อน ส่วนเจ้าห่านซึ่งบินไม่ไหวเพราะกินอาหารมากไป ห่านจึงตก
เป็นเหยื่อของนายพราน

คติสอนใจ : กินไม่รู้กำลังตัว
105
106
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การเดินทางสำรวจ (2 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางสำรวจที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ ในการเดินทางไกลอยู่
ค่ายพักแรม ทุกคนจะต้องจดบันทึกหรือมีการรายงานตลอดเส้นทาง ความปลอดภัยความสำเร็จ
จะเกิดขึ้นกับตัวลูกเสือและกองลูกเสือวิสามัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยการเดินเท้า รถจักรยาน ทางเรือได้อย่างปลอดภัย
ตลอดจนบอกหลักการทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
1. บอกประโยชน์ของการเดินทางสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
2. บอกการจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทางได้ (พุทธพิสัย)
3. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าได้
4. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานได้
5. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยทางเรือได้
6. ลูกเสือปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยความพร้อมเพรียง สนุกสนาน
7. ลูกเสือไม่ทำงานสิ่งแวดล้อมในขณะปฏิบัติการเดินทางสำรวจ
สาระการเรียนรู้
1. หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ
3. การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
4. การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
5. การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
6. การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ล้อรถ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
107
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้3 เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถ


จักรยาน
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “สาวชาวนา”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “ล้อรถ”
2. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถ จักรยาน
3. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ
4. ใบงาน เรื่อง แบบแสดงรายงานการเดินทางสำรวจ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “สาวชาวนา”
108
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
109
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
110
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
…../…………./…………

เกม “ล้อรถ”

ให้ลูกเสือยืนแยกเท้า มือซ้ายวางบนพื้น ห่างจากเท้าซ้าย 1 ฟุต เข่าซ้ายงอ เท้า


ขวาเหยียดออกมือขวายกเตรียมไว้ เมื่อใบงานที่
ผู้บังคับบัญชาให้คำสั่ง ให้วางมือขวาห่างจากมือซ้าย 1
เรื่อง
111
ช่วงบ่าของตน ทิ้งน้ำหนักบนมือซ้าย ถีบเท้าขึ้นจากพื้นเล็กน้อย เท้าขวาลงสู่พื้นก่อน ตอนนี้
ศีรษะจะหันไปข้างหลัง เมื่อเท้าซ้ายลงถึงฟื้ นแล้ว ศีรษะจะกลับมาทางด้านหน้าเช่นเดิม พร้อม
กับเหยียดตัวยืนขึ้น ต่อไปก็ให้เหวี่ยงตัวเร็วขึ้น การแข่งขันให้แข่งขันเป็นหมู่ และทำระยะ
ให้การวิ่งล้อรถไปประมาณ 10 – 15 เมตร แถวใดหรือหมู่ใดหมดก่อนหมู่นั้นชนะ
112

ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน

การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน มีระยะทางมากกว่า คือ ตั้งแต่ 150 – 200


กิโลเมตร และใช้เวลาไม่น้อยกว่า 2 วัน

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
เพื่อให้ลูกเสือขี่รถจักรยานไปถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างปลอดภัยควรปฏิบัติดังนี้
1. ลูกเสือต้องขี่รถจักรยานเป็นจนเกิดความมั่นใจในตนเอง ว่ามีความชำนาญแล้ว
2. ลูกเสือที่จะเดินทางควรมีความรู้เรื่องกฎจราจร เครื่องหมายจราจร และ
สัญญาณต่าง ๆ
3. มีความสามารถอ่านแผนที่แสดงเส้นทางได้
4. มีความรู้เรื่องเครื่องมือและอุปกรณ์ในการซ่อมรถจักรยาน เช่น สูบ เหล็ก
งัดยาง ปะแจเลื่อน กาวยางน้ำและสามารถนำเครื่องมือและอุปกรณ์ดังกล่าวมาซ่อมรถจักรยานได้
5. สิ่งของที่บรรทุกไม่ควรหนักเกินไปเพราะอาจทำให้รถเสียการทรงตัวได้
6. ขี่รถจักรยานด้วยความสุขุมรอบคอบไม่ประมาท
7. รู้จักเส้นทางที่ปลอดภัย
8. ถ้าเส้นทางเป็นเส้นทางลูกรังควรระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุเป็นพิเศษ

ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานนั้น ลูกเสือควรเอาใจใส่ในเรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักเลือกเส้นทางและหลีกเลี่ยงการจราจรที่คับแคบ ควรหลีกเลี่ยงเส้นทางที
ไม่ค่อยมีรถผ่าน เช่น ทางลูกรัง ทางเกวียน เป็นต้น
2. ต้องตรวจตรารถจักรยานให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยก่อนออกเดินทางทุกครั้ง
3. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ซ่อมจักรยาน ควรเตรียมให้พร้อมก่อนออกเดิน
ทางทุกครั้ง

ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ
113

การเดินทางสำรวจโดยทางเรือจัดเป็นกิจกรรมการเดินทางไกลอีกแบบหนึ่ง ที่ลูกเสือใน
ระดับขั้นลูกเสือหลวงปฏิบัติได้ โดยการพายเรือไปในท้องถิ่นที่ไม่คุ้นเคย ระยะทาง 50 – 70
กิโลเมตร

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยเรือ
เพื่อให้ลูกเสือเดินทางสำรวจโดยเรือได้อย่างปลอดภัย ควรปฏิบัติดังนี้
1. ลูกเสือต้องมีความชำนาญในเรื่องการแจวเรือหรือพายเรือ
2. ลูกเสือควรหัดว่ายน้ำให้เป็นก่อนเดินทางไปสำรวจโดยทางเรือ
3. มีความรู้ในเรื่องการใช้ชูชีพเพื่อช่วยตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นได้
4. ก่อนใช้เรือทุกครั้งควรตรวจสอบสภาพเรือให้แน่ใจเสียก่อนว่า เรืออยู่ในสภาพ
พร้อมที่จะใช้งานได้ดี
5. มีความรู้เรื่องสัตว์ร้ายที่อยู่ในน้ำและอันตรายต่อการเดินทาง
6. รู้จักเลือกสถานที่สำหรับสร้างที่พักริมฝั่ง
7. สิ่งของที่บรรทุกลงในเรือไม่ควรจะมากเกินไปและไม่ควรวางเกะกะ เพราะจะทำให้
พายเรือไม่สะดวก
8. ขณะพายเรือไม่ควรประมาทไม่หยอกล้อกันเล่น เพราะอาจทำให้เรือล่มได้

ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยเรือ
การเดินทางสำรวจโดยเรือนั้น ลูกเสือพึงเอาใจใส่ในเรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักเลือกเส้นทางที่มีน้ำไหลไม่แรงเพราะอาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้
2. ลูกเสือควรหัดว่ายน้ำให้เป็น และมีความรู้เรื่องการใช้ชูชีพ ตลอดจนการช่วย–
เหลือคนตกน้ำ เพราะหากมีเหตุการณ์เรือล่ม จะได้ให้ความช่วยเหลือได้ทันที
3. ลูกเสือควรจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไม้พาย เครื่องชูชีพ และสิ่งอื่น ๆ
ให้พร้อม ก่อนออกเดินทางทุกครั้งเสมอ

ใบงาน
เรื่อง แบบแสดงรายงานการเดินทางสำรวจ

วัน เดือน ปี เวลา รายการ ระยะทาง


114

หมู่ที่…………….กองที่……………
……………………………………..ผู้ประเมินผล

ใบงาน
เรื่อง การเดินทางสำรวจด้วยเท้า

ให้ลูกเสือเดินทางสำรวจ บันทึกสิ่งต่าง ๆ ลงในแบบการรายงานและเขียนแผนที่


เส้นทางเดินทางพอสังเขปตามเส้นทางต่อไปนี้

จุดเริ่มต้น ………………………………………….
จุดที่ 2 …………………………………………..
จุดที่ 3 …………………………………………...
จุดที่ 4 ……………………………………………
จุดที่ 5 ……………………………………………
จุดเสร็จสิ้นการเดินทาง …………………………………………….
115

หมายเหตุ ให้ ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้กำหนดทิศทางในการเดินทางสำรวจ


116

เรื่องสั้น
เรื่อง “สาวชาวนา”

สาวชาวนาผู้หนึ่ง กำลังจะเอาน้ำนมไปขายที่ตลาด น้ำนมนั้นใส่อยู่ในเหยือกดินเผา


เทินอยู่บนศีรษะของหล่อน ขณะเดินไปหล่อนก็เพ้อฝันไปว่า น้ำนมในเหยือกนี้ เมื่อเอาไปขาย
หล่อนคงจะได้เงินมากพอดูทีเดียวแล้วหล่อนจะเอาเงินที่ได้มาจากการขายน้ำนมนั้น ซื้อลูกไก่
สัก 300 ตัว ไม่นานนัก ไก่ 300 ตัว ก็จะโตเมื่อเอาไปขายแล้ว หล่อนก็จะได้เงินมากพอที่จะ
ซื้อลูกหมูตัวหนึ่ง ลูกหมูกินรำ กินปลายข้าว สองสามเดือนก็จะอ้วนจ้ำม่ำ หล่อนจะขายหมู
แล้วทีนี้ก็จะซื้อแม่วัวตัวหนึ่งโชคอาจเข้าข้างเพราะแม่วัวนั้น ไม่นานนักก็ตกลูกออกมาตัวหนึ่ง
ในความคิดฝัน หล่อนมองเห็นแม่วัวและลูกวัวกำลังเล็มหญ้าอยู่ในทุ่งนาใกล้ ๆ บ้านของ
หล่อน ตอนนั้นเองหล่อนก็เดินสะดุดหิน ล้มคะมำ เหยือกนมพลัดตกแตก น้ำนมสีขาวไหล
ซึมซาบหายลงไปในพื้นดิน แต่มิใช่เพียงน้ำนมเท่านั้นหรอกที่ซึมหายไป แต่ลูกไก่ 300 ตัว
หมูตัวหนึ่ง แม่วัวตัวหนึ่ง และลูกวัวอักหลาย ๆ ตัวก็ซึมหายไปด้วย สาวชาวนาเจ้าของสัตว์ใน
ฝันเลยต้องร้องให้กลับบ้านไป

คติสอนใจ : อย่าหวังน้ำบ่อหน้าจะพาจน
117

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับงานศิลปะ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจัดแสดงผลงานทางศิลปะเกี่ยวกับงานศิลปะในแต่ละประเภท ทั้งสามารถนำ
ผลงานสู่สาธารณชน รู้ถึงคุณค่างานศิลปะ ประเภทของงานศิลปะ ทั้งสมารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานทางศิลปะแต่ละประเภท และสามารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะแสดงในที่สาธารณะได้
1. ลูกเสือบอกคุณค่างานศิลปะได้ (จิตพิสัย)
2. ลูกเสือบอกประเภทของศิลปะได้ (พุทธพิสัย)
3. ลูกเสือปฏิบัติผลงานทางศิลปะได้ (ทักษะพิสัย)
4. ลูกเสือแสดงงานศิลปะในที่สาธารณะได้ (ทักษะพิสัย , จิตพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. คุณค่างานศิลปะ
2. ประเภทศิลปะ
3. การผลิตผลงานทางศิลปะ
4. การจัดงานแสดงศิลปะในที่สาธารณะ

กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ดาวพระศุกร์
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
118
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง คุณค่าของงานศิลปะ


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การละคร
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลาสองตัว”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ดาวพระศุกร์”
2. ใบความรู้ เรื่อง คุณค่าของงานศิลปะ
3. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ
4. ใบความรู้ เรื่อง การละคร
5. ใบความรู้ เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน
6. เรื่องสั้น เรื่อง “ลาสองตัว”
119
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
120
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
121
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “ดาวพระศุกร์”

ใบงานที่
มา มา รำวง เพลงรำนำร่ายรำเฮฮา
เรื่อง
122
พวกเราอบรม สนุกนักหนา ทุกคนเริงร่าอารมณ์
พริ้งเพราพวกเราสนุก สมนามสมสุขสนุกภิรมณ์
เราต่างบ้านหมั่นร่วมรัก ทุกคนสมัครฝากไมตรี
รำวงวันนี้สุขขีรื่นรมณ์
เท่งป๊ ะ เท่งป๊ ะ เท่าป๊ ะ
มะมาสุขสมใจฤทัยรื่นรมณ์ รักชิดชมอารมณ์สุขเอย

ใบความรู้
เรื่อง คุณค่างานศิลปะ

ศิลปะ เป็นสิ่งที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตของคนเราเป็นอย่างมาก คุณค่าของงานศิลปะ


แต่ละประเภท แบ่งคุณค่าของงานศิลปะได้เป็น 6 ประการดังนี้
1. คุณค่าทางด้านความงาม ศิลปะมีส่วนช่วยโน้มน้าวให้จิตใจมนุษย์
มีความรักในความงามของธรรมชาติ และเป็นสิ่งจรรโลงใจให้มนุษย์มีจิตใจสูงขึ้น ทำให้
สามารถเข้าใจจิตใจของผู้อื่นได้ดี และมีส่วนช่วยให้การดำเนินชีวิตประสบแต่ความสุข
ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
2. คุณค่าทางด้านบันเทิง ศิลปะในแต่ละกลุ่ม จะให้ความเพลิดเพลิน
123
บันเทิงใจ และช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทำให้จิตใจแจ่มใส ร่าเริงยิ่งขึ้น
3. คุณค่าทางด้านประโยชน์ใช้สอย งานศิลปะที่ประดิษฐ์ขึ้นมา
บางประเภท สามารถที่จะนำมาใช้สอยในชีวิตประจำวันได้ เช่น เครื่องเคลือบดินเผา
งานจักสาน งานทอ ฯลฯ ยังสามารถนำเอาวิชาศิลปะไปประยุกต์ใช้กับงานในสาขาอื่น ๆ
ได้อีกด้วย เช่น ด้านสื่อสารมวลชน อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม สถาปัตยกรรม
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
4. คุณค่าทางด้านเอกลักษณ์ประจำชาติ ศิลปะของแต่ละชาติย่อมมี
เอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และยังสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
อันดีงามของชาตินั้น ๆ เช่น พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก เป็นต้น
5. คุณค่าทางด้านจรรยา ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำงานทางศิลปะ
จะช่วยให้ลูกเสือรู้จักการวางแผนในการทำงาน และมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน เช่น
ความรอบคอบ ความประณีต ความประหยัด ตลอดจนมีความสามัคคีในการช่วยกัน
ทำงาน เป็นต้น
6. คุณค่าทางด้านแง่คิดและคติในการดำรงชีวิต อาจได้จากบทละคร
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตจริงในแง่มุมต่าง ๆ กัน และจะช่วยให้เราเกิดแง่คิด
ในการแก้ไขปัญหาให้คลี่คลายลงได้ ซึ่งจะทำให้การดำรงชีวิตเกิดความศานติสุข
124

ใบความรู้
เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ

ศิลปะ เป็นพื้นฐานของความสวยงามต่าง ๆ ที่เราพบเห็นกันอยู่ทั่วไป ซึ่งเราสามารถแบ่ง


ศิลปะออกเป็นประเภทใหญ่ ได้ 2 ประเภทคือ
1. วิจิตรศิลป์ ได้แก่ ศิลปะแขนงจิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม วรรณกรรม รวมทั้งดนตรี ละคร และนาฏศิลป์
2. ศิลปะประยุกต์ ได้แก่ ศิลปะในแขนงพาณิชศิลป์
อุตสาหกรรม หัตถกรรม หรือการช่าง และมัณฑนศิลป์ เป็นต้น ในการประชุมกองครั้งนี้ จะให้
ลูกเสือได้ศึกษาศิลปะเพียง 5 แขนง คือ
1. ศิลปะทางการแสดง
2. ทัศนศิลป์
3. การช่าง
4. ศิลปะทางอักษรศาสตร์
5. ศิลปะการวิจารณ์
ศิลปะทางการแสดง
หมายถึง ศิลปะที่เราสามารถมองเห็นความงาม รูปลักษณะ การเคลื่อนไหพร้อมกับ
การได้ยินเสียงจังหวะ ทำนอง ซึ่งสามารถสื่อความหมายให้เข้าใจร่วมกันได้ ศิลปะแขนงนี้
ประกอบด้วย วรรณกรรม ดนตรี ละคร และนาฏศิลป์ ในระดับลูกเสือหลวงนี้ จะกล่าวถึง การ
ละคร และการพูดอภิปราย
125

ใบความรู้
เรื่อง การละคร

หมายถึง การแสดงที่เป็นเรื่องราวติดต่อกัน และเป็นที่รวมของศิลปะหลายประเภทเช่น


วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรมและยังประกอบด้วยท่ารำ เพลงร้อง ดนตรี
ตลอดจนมีการจัดฉากให้สอดคล้องกับบทละครอีกด้วย ละครมีอยู่หลายประเภท แต่จะกล่าวถึง
เฉพาะละครพูดเท่านั้น
ละครพูด เป็นละครสมัยใหม่ ที่ใช้การพูดดำเนินเรื่อง ละครประเภทนี้จะไม่มีท่ารำ
แต่จะมีการเปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่อง เพื่อให้เกิดความสมจริงมากขึ้น

ขั้นตอนการแสดงละคร
1. เตรียมการอย่างรอบคอบด้วยการเลือก และวางแนวของเรื่องไว้ล่วงหน้า
ซึ่งเนื้อเรื่องที่จะใช้แสดง ควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความกล้า
หาญ เสียสละ อดทนหรือจากกฎและคำปฏิญาณของลูกเสือ
2. เลือกสรรตัวผู้แสดงให้เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของตัวละครที่จะแสดง
3. สรุปสถานการณ์ของเรื่องให้ผู้แสดงทุกคน เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อนที่จะเริ่มแสดง
4. การเตรียมความพร้อมต่าง ๆ ก่อนการแสดง เช่น การจัดฉาก จัดห้องเครื่อง
แต่งตัว และเตรียมตัวผู้ที่ไม่ได้แสดงให้เป็นผู้สังเกต เป็นต้น
5. ในขณะแสดงละคร ผู้แสดงทุกคนจะต้องแสดงตามบทบาทของตัวละครนั้น ๆ
ให้สมจริง
6.ทุกครั้งเมื่อการแสดงจบแล้ว เราควรจะมีการอภิปรายถึงผลของการแสดงด้วย
โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ได้จากการแสดงละคร
126

ใบความรู้
เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน
การอภิปราย
หมายถึง บุคคลกลุ่มหนึ่งมาร่วมกันพูดจาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติหรือเพื่อ
พิจารณาปัญหาใดปัญหาหนึ่งแล้วหาข้อยุติโดยเฉพาะในที่ชุมชนนั้นจะต้องประกอบด้วย ประธาน
หรือผู้ดำเนินการอภิปราย ผู้อภิปราย ผู้ฟัง รวมทั้งเรื่องที่จะอภิปรายด้วย

การเตรียมการอภิปรายในที่ชุมชน
1. การเลือกเรื่องหรือปัญหาที่จะพูด
2. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ฟัง
3. การเตรียมเนื้อหาในการอภิปราย
4. การซ้อมพูดอภิปราย
5. การเตรียมสถานที่
การดำเนินการอภิปราย
ผู้ดำเนินการอภิปรายกับผู้ร่วมอภิปราย จะมีหน้าที่และวิธีแตกต่างกัน ดังนี้
1. ผู้ดำเนินการอภิปราย โดยทั่วไปมีหน้าที่และวิธีดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1.1 เป็นพิธีกร กล่าวคำทักทายผู้ฟังและชี้แจงจุดประสงค์ของการ
อภิปราย
1.2 กล่าวแนะนำคณะผู้ร่วมอภิปราย
1.3 เชิญให้ผู้อภิปรายพูดแสดงความคิดเห็น และสรุปคำพูดของผู้
อภิปราย
แต่ละคน
1.4 ควบคุมเวลา และแนวทางการอภิปรายให้เป็นไปตามกำหนด
1.5 สร้างบรรยากาศของการอภิปรายให้ดำเนินไปได้ด้วยดี เป็นกันเองมี
การซักถาม
1.6 สรุปผลของการอภิปรายทั้งหมด หลังจากการอภิปรายยุติลง โดย
อาจ
ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมก็ได้
127
2. ผู้ร่วมอภิปราย จะมีหน้าที่ ดังนี้
2.1 พูดเมื่อได้รับเชิญและต้องรักษาเวลาอย่างเคร่งครัด
2.2 พูดให้ตรงประเด็น ซึ่งจะต้องเข้าใจเนื้อเรื่องที่จะพูดได้ดี
2.3 ควรรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.4 ในกรณีที่ต้องการซักถามหรือเพิ่มเติมข้อคิดเห็น จะต้องขออนุญาต
ผู้ดำเนินการ
2.5 ต้องใช้คำหรือภาษาที่สุภาพ และเป็นกันเองกับผู้ฟัง

เรื่องสั้น
เรื่อง “ลาสองตัว”
128
ชายผู้หนึ่ง มีลาสองตัว กำลังไล่ต้อนลาทั้งสองตัวออกเดินทาง ลาตัวหนึ่งบรรทุก
ฟองน้ำ อีกตัวหนึ่งบรรทุกเกลือ ลาที่บรรทุกน้ำนั้นเดินสบาย เพราะสิ่งที่มันบรรทุกนั้นมีน้ำ
หนักเบา แต่ตัวที่บรรทุกเกลือนั้น เดินไม่สบาย เพราะสิ่งที่มันบรรทุกนั้นหนักมาก ลาทั้งสอง
เดินไปตามถนน ต่อจากนั้น ก็ไต่ขึ้นเนินเขา และจากนั้นเส้นทางก็แปรสภาพเป็นทางแคบ ๆ
จนกระทั่งถึงแม่น้ำสายหนึ่ง ชายผู้เป็นเจ้าของขี่ลาตัวที่บรรทุกฟองน้ำ เขาส่งเสียงบอกให้ลาตัว
ที่บรรทุกเกลือเดินลงแม่น้ำไปก่อน ลาตัวที่บรรทุกเกลือรีบเดินลงไปในน้ำทันที เพราะมันรู้ดีว่า
เกลือที่มันบรรทุกมานั้น ถ้าหากเปี ยกน้ำจะละลาย และมันจะได้รู้สึกเบาขึ้น มันจึงแกล้งเดินตก
หล่ม ถุงบรรทุกเกลือจมน้ำ ทำให้เกลือละลายหมด มันรีบลุกขึ้นเดินต่อไป รู้สึกว่าตัวเบาหวิว เจ้า
ลาตัวที่บรรทุกฟองน้ำเห็นเข้า จึงทำตามบ้าง มันแกล้งเดินตกหล่มบ้างเหมือนกัน แต่ฟองน้ำนั้น
เมื่อเปี ยกน้ำก็จะอุ้มน้ำไว้ ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล มันพยายามทรงตัวลุกขึ้นยืน แต่ไม่
สำเร็จ เกือบจะต้องจมน้ำตาย เผอิญมีคนช่วยเอาไว้เสียก่อน

คติสอนใจ : หลงผิดทำให้ตัวตาย

ใบงานที่
เรื่อง
129
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับงานศิลปะ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจัดแสดงผลงานทางศิลปะเกี่ยวกับงานศิลปะในแต่ละประเภท ทั้งสามารถนำ
ผลงานสู่สาธารณชน รู้ถึงคุณค่างานศิลปะ ประเภทของงานศิลปะ ทั้งสมารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานทางศิลปะแต่ละประเภท และสามารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะแสดงในที่สาธารณะได้
1. ลูกเสือบอกคุณค่างานศิลปะได้ (จิตพิสัย)
2. ลูกเสือบอกประเภทของศิลปะได้ (พุทธพิสัย)
3. ลูกเสือปฏิบัติผลงานทางศิลปะได้ (ทักษะพิสัย)
4. ลูกเสือแสดงงานศิลปะในที่สาธารณะได้ (ทักษะพิสัย , จิตพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. คุณค่างานศิลปะ
2. ประเภทศิลปะ
3. การผลิตผลงานทางศิลปะ
4. การจัดงานแสดงศิลปะในที่สาธารณะ

กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “รถโรมัน”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
130
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การวาดภาพลายเส้น


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้
เศษวัสดุเหลือใช้และงานช่าง
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง งานจักสาน

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ านิเทศห้องลูกเสือ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียนส่งผู้บังคับบัญชา
13. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ส่งผู้บังคับบัญชา
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “รถโรมัน”
2. ใบความรู้ เรื่อง การวาดภาพลายเส้น
3. ใบความรู้ เรื่อง ประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้เศษวัสดุเหลือใช้และงานช่าง
4. ใบความรู้ เรื่อง งานจักสาน
5. ใบงาน เรื่อง แบบรายงานการเลือกการแสดงออกทางศิลปะ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”
131
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
132
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
133
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เกม “รถโรมัน”

ใบงานที่
เรื่อง
134
ให้ลูกเสือสามคนยืนเรียงกัน คนด้านข้างสองคนริมเป็นรถ คนกลางเป็นม้า
ให้คนข้างทั้งสอง จับเอวคนกลางไว้ เพื่อมิให้แยกออกจากันขณะวิ่ง คนข้างทั้งสองประสานมือกัน
ไว้ข้างหลัง คนขับยืนบนมือของคนข้างทั้งสอง และใช้มือเกาะบ่าไว้ให้แน่น แล้วเดินหรือวิ่งไป
ตามที่ที่กำหนดให้ ใครถึงที่หมายก่อนเป็นฝ่ ายชนะ

ใบความรู้
เรื่อง การวาดภาพลายเส้น

การวาดภาพลายเส้น เป็นศิลปะประเภทหนึ่งในแขนงจิตรกรรม ซึ่งหมายถึง


การเขียนภาพโดยใช้สีสีเดียว ใช้เส้นและการแรเงาเป็นสำคัญ เราสามารถวาดหรือเขียนได้หลาย
แบบด้วยกัน เช่น
1. การเขียนลวดลายเส้นด้วยเส้นอิสระ เป็นการเขียนโดยใช้เส้นในลักษณะ
ต่าง ๆ ตามความพึงพอใจของผู้เขียน
ภาพประกอบ วาดเป็นเส้นสลับกันแล้วแรเงาตามช่องว่างโดยการสลับช่อง
135

2. การวาดเส้นร่าง เป็นการเขียนภาพด้วยการร่างเส้นอย่างคร่าว ๆ
หรือเพียงเส้นโครงนอก
ภาพประกอบ การวาดเส้นร่าง

การที่เราจะวาดภาพลายเส้นให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้นั้น เราจะต้องมีการฝึ กหัดการ


เขียนเส้นในลักษณะต่าง ๆ ให้เกิดความชำนาญเสียก่อน ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1. ให้เขียนเส้นต่าง ๆ ซ้ำ ๆ กันหลายครั้ง หลาย ๆ ลักษณะ
2. ฝึ กการใช้ประสาทสัมผัสระหว่างมือกับสายตาให้สัมพันธ์กัน
136

ใบความรู้
เรื่อง การประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้เศษวัสดุ และงานช่าง

ภาพปะติด
หมายถึง การทำงานศิลปะที่เป็นงานเขียนภาพนั่นเอง แต่แทนที่จะระบายสีกลับใช้วัสดุ
ที่มีสีสันต่าง ๆปะติดลงไปในภาพแทนวัสดุที่นำมาใช้ได้แก่ เศษผ้า เศษกระดาษสีต่าง ๆ ริบบิ้น
กระดุม พลาสติก เป็นต้น
กรรมวิธีการปะติดภาพนั้น เริ่มแรกเราควรจัดเตรียมวัสดุ ที่เตรียมไว้เป็นภาพตามความ
คิดของเราเสียก่อน เมื่อจัดได้ตามความต้องการแล้ว จึงนำกาวหรือแป้ งเปี ยกผนึกลงไปในตำแหน่ง
เดิมที่เรียงไว้ ติดกาวจนครบทุกชิ้นเราจะได้ภาพปะติดที่สวยงาม
การประดิษฐ์ภาพปะติดนี้ เราอาจจะแสดงภาพให้เป็นเรื่องราวต่าง ๆ ก็ได้ เช่น เรื่องราวในนิทาน
วรรณคดีหรือนวนิยายเป็นต้น โดยก่อนที่จะนำวัสดุมาปะติดนั้น เราอาจนำกระดาษมาพับเป็นรูป
ต่าง ๆ ก่อนก็ได้ ซึ่งเป็นเทคนิคการทำวิธีหนึ่ง ทำให้ภาพมีลักษณะสามมิติได้ นอกจากนี้ เรายัง
สามารถนำลักษณะของภาพปะติดมาใช้ในงานประกาศโฆษณาแทนภาพเขียนก็ได้

การช่าง
เป็นงานศิลปะที่ผลิตขึ้นมาโดยใช้ฝี มือเป็นหลัก ซึ่งเป็นงานรักษาเอกลักษณ์ของแต่ละ
ชาติแต่ละถิ่นเอาไว้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตงาน จะมีลักษณะที่ง่ายและสะดวกต่อการ
ใช้สอย ตามลักษณะงานช่างแต่ละชนิด ศิลปะแขนงนี้จะมุ่งความงามความประณีต และ
ประโยชน์ในการใช้สอยเป็นสำคัญ เช่น การพิมพ์ภาพด้วยวิธีสกรีน เครื่องปั้นดินเผา การจักสาน
การเข้าเล่มหนังสือเป็นต้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะงานจักสาน
137

ใบความรู้
เรื่อง งานจักสาน

งานจักสาน
เป็นงานศิลปะพื้นบ้านประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นงานประดิษฐ์ที่ต้องใช้ฝี มือและความ
รอบคอบในการประดิษฐ์ผลงานออกมา เพื่อทำให้ผลงานนั้น ๆ มีความงดงามตามต้องการ
วัสดุที่นำมาใช้ในงานจักสานนั้น จะนิยมใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน เช่น หวาย
กก ย่านลิเภา กระจูด ฟาง เป็นต้น ในชั้นนี้ต้องการให้ลูกเสือเอาลายชั้นต้นมาผสมผสานกับความ
คิดสร้างสรรค์ แล้วประดิษฐ์ผลงานขึ้นมา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

การประดิษฐ์ฝาชี วัสดุอุปกรณ์มีดังนี้
1. ใบลาน หรือใบตาล
2. ไม้ไผ่เส้นบาง ๆ กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตรยาว 24 นิ้วจำนวน 2 เส้น
3. กรรไกร มีด เข็ม ด้าย หวาย

ขั้นตอนในการประดิษฐ์
1. ออกแบบฝาชีให้มีรูปทรง 2. เจียดใบลาน ให้มีความกว้าง
ตามแบบโดยมีฐานเป็นรูปวงกลม ประมาณ 0.8 ซม. ยาว 50 ซม.
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 ซม. จำนวน 50 – 60 เส้น

3. สานใบลานเป็นลายขัด 4. จับเส้นที่อยู่กึ่งกลางของแนวตั้ง คือ


โดยให้เส้นตั้ง 8 เส้นและ เส้นที่ 4 และ 5 โดยนำเส้นที่ 5 ขัดไป
เส้นขนาน 5 เส้น ทางซ้าย ทำมุม 90 องศา และเส้นที่ 4
ขัดไปทางขวา ทำมุม 90 องศาเช่นเดียว
กันจะได้ใบลานข้างละ 9 เส้น
138

5. ค่อยเพิ่มใบลานจนกระทั่งหมดความยาวของใบลาน

6. นำไม้ไผ่ ที่ทำเป็นวงกลม 7. ตัดใบลานที่เลยออกมานอก


วงที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 ซม. ขอบให้เรียบร้อย
วงที่ 2 เล็กกว่าวงที่ 1 เล็กน้อย
นำมาเป็นขอบด้านนอก และ
ด้านในของฝาชี แล้วใช้เชือก
ผูกรัดเป็นระยะ ๆห่างกันโดยรอบ

ใบงาน
แบบรายงานการเลือกแสดงออกทางศิลปะ

สมาชิกภายในกลุ่ม
1………………………………………………………….. ประธาน
2………………………………………………………….. รองประธาน
3…………………………………………………………..
4………………………………………………………….. เลขานุการ
ฯลฯ
139
1. เรื่องที่แสดงคือ……………………………………………………......………….
2. เวลาที่ใช้ในการแสดง……………………………………………........…………..
3. วัน เวลา ที่แสดง………………………………………….......…………………
4. สถานที่แสดง…………………………………………………….....…………….
5. วัสดุอุปกรณ์
5.1………………………………………………………………………………
5.2………………………………………………………………………………
5.3………………………………………………………………………………
5.4………………………………………………………………………………
ฯลฯ
6. ขั้นตอนการแสดง
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
7. เพลง / เนื้อเรื่องแสดง
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
แบบประเมินการแสดง

ที่ การแต่งกาย
กลุ่มกิจกรรม ความเป็น เหมาะสม เนื้อหา ความ รวม
การแสดง ผู้นำผู้ตาม กับกิจกรรม สำเร็จ หมายเหตุ
ศิลปะ ที่แสดง
5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 (20)
คะแนน
140

เรื่องสั้น
เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”

หินนั้นมีน้ำหนัก มีความแข็งแรง ก็เปรียบเสมือนคนหนักแน่น อารมณ์มั่นคง


มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นย่อมแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบ ซึ่งผิดกับนุ่นเพราะนุ่นมีน้ำหนักเบาก็
เหมือนกับคนใจเบาไม่มั่นคง มีเหตุอะไรขึ้นก็โวยวาย ทำให้เรื่องเล็กน้อย กลายเป็นเรื่องใหญ่ ซึ่ง
ไม่ทำให้เกิดผลดีเลย

คติสอนใจ : หัวใจเหมือนหิน ดีกว่าใจเบาเหมือนนุ่น


141

แผนการจัดการเรียนรู้ 14

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การช่วยเหลือผู้ประสบภัย (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต้องมีความรู้ รู้วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ รู้วิธีการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่ วย และมีทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างดีในการปฐมพยาบาล ให้ผู้ป่ วยปลอดภัยได้
อย่างถูกวิธี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการช่วยคนตกน้ำ – เคลื่อนย้ายคนป่ วยได้
1. บอกวิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำได้
2. บอกวิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยขั้นปฐมพยาบาล

สาระการเรียนรู้
1. การช่วยเหลือคนตกน้ำ
142
2. การผายปอด
3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
4. การปฐมพยาบาล

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. เพลง “ลูกเสือร่วมใจ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผายปอด
6. เรียกลูกเสือรวมกอง สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
8. ให้ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
9. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เพลง “ลูกเสือร่วมใจ”
2. ใบความรู้ เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ
3. ใบความรู้ เรื่อง การผายปอด
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
143
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
144
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
145
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
146

เพลง “ ลูกเสือร่วมใจ”

(สร้อย) ร่วมใจเราพร้อมใจ ๆ ๆ งานน้อยใหญ่ร่วมใจกันทำ


พวกเราลูกเสือไทย ต่างพร้อมใจสามัคคี
น้ำใจเรากล้าหาญ บากบั่นอดทน
หมั่นทำความดี ผูกมิตรและมีไมตรี
เหมือนดังน้องพี่รับความชื่นบาน
พวกเราลูกเสือไทย บุกป่ าไปลุยน้ำนอง
แม้เราจะฝ่ าภัยพาล แต่จิตเบิกบานเพราะความปองดอง
ชมฟ้ าและน้ำลำคลอง เสียงคึกคะนอง
ร้องเพลงเพลินใจ (สร้อย)
147

ใบความรู้
เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ

วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ
1. โดยวิธีเข้าทางข้างหลัง ให้จับศีรษะ จมูกพ้นน้ำ ว่ายพาเข้าฝั่ง
ภาพประกอบ

2. หรือเข้าทางข้างหลัง เอามือสอดเข้าใต้รักแร้ของคนตกน้ำ จับพยุงเข้าฝั่ง


ภาพประกอบ
148
3. วิธีช่วยคนตกน้ำที่ว่ายน้ำเป็นแล้วแต่ว่ายมานาน ดังรูป
ภาพประกอบ

วิธีป้ องกันขณะไปช่วยคนตกน้ำ
1. เมื่อคนตกน้ำจับมือ ให้ผู้ช่วยเหลือ
ยกข้อศอกขึ้น แล้วบิดข้อมือเข้าหาตัวเอง
149
โดยเร็ว (หงายฝ่ ามือพลิกข้อมือขึ้น)อย่าเข้า–
ใกล้ทางด้านหน้าของคนตกน้ำ พยายามเข้า–
ทางข้างหลัง

2. ถ้าคนตกน้ำกอด ให้ใช้มือขวาหรือ
มือซ้ายกอกเอวคนตกน้ำ แล้วเอาฝ่ ามือ
อีกข้างหนึ่งยันที่ใต้คางโดยแรงถ้ายังไม่ปล่อย
ให้เอามือยันคางบีบจมูก

3. ถ้าคนตกน้ำกอดรัดตัว ให้ผู้ช่วย
ทำเช่นวิธีที่ 2 ถ้ายังไม่หลุด ให้เอามือหนึ่ง
ยันคาง อีกมือหนึ่งยันบ่า แล้วพยายาม
ยกเข่าข้างหนึ่งสอดเข้าไปดันไว้ จนสูงถึงอก
คนตกน้ำแล้วใช้กำลังผลัก และกดเข่า
เล็กน้อย ทำเช่นนี้จนคนตกน้ำปล่อยจากการ
กอดรัด
150

ใบความรู้
เรื่อง การผายปอด

การผายปอดแบบกดหลัง ปฏิบัติดังนี้
1. ให้คนเจ็บนอนคว่ำ หน้าตะแคง งอแขน เอาหลังมือหนุนหน้าไว้
2. ผู้ให้การพยาบาลนั่งคุกเข่าคร่อมสะโพก หรือนั่งคร่อมขาอ่อนขาหนึ่งของคน
เจ็บหันหน้าไปทางศีรษะคนเจ็บ ยืดตัวตรง
3. เอามือวางตรงใต้สะบัก กางนิ้วให้โอบชายโครง โยกตัวไปข้างหน้า กดหลังลง
ไปเป็นการหายใจออก
4. แล้วโยกตัวกลับมานั่งตัวตรง ปล่อยมือห้อยลงข้างตัว ให้หน้าอกคนไข้ขยาย
ตัวเองเป็นการหายใจเข้า
หมายเหตุ
ทำเป็นจังหวะประมาณ 12 – 15 ครั้งต่อนาที จนกว่าคนเจ็บจะหายใจได้เอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
151
ลูกเสือโมฝ้ ายแห่งกองลูกเสือมณฑลสุราษฎร์ที่ 1 อายุ 14 ปี ซึ่งได้ช่วยชีวิต ชาย
ชราและเด็กหญิงผ่องใส ให้รอดพ้นจากความตาย เมื่อโดยสารเรือ “บางเบิด” จากกรุงเทพ ฯ จะ
ไปสุราษฎร์ธานี ในตอนต้นเดือนพฤษภาคม 2456 และเรือได้เกิดอับปางลงเมื่อเวลาราว 22.00
น. ในที่ซึ่งไม่ห่างจากเกาะสีชังเท่าไรนัก ลูกเสือโทฝ้ าย ได้พยายามช่วยชีวิตชายชราและเด็กหญิง
ผ่องใส อย่างเต็มความสามารถ บุคคลทั้งสามต้องอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน 8 ชั่วโมง จนกระทั่งรุ่ง
เช้า จึงมีเรือกลไฟชื่อ “ฮอลวาด” ได้แล่นไปพบเข้าและนำตัวไปส่งที่เกาะสีชัง
พิธีพระราชทานเหรียญราชนิยม ให้แก่ลูกเสือโทฝ้ าย ได้กระทำอย่างมโหฬาร เมื่อวัน
ที่ 10 พฤศจิกายน 2457 อันเป็นพระราชพิธีฉัตรมงคล โดยโปรดให้ตั้งพระที่นั่งชุมสายขึ้นที่ศาลา
หน้าพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกขปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
ต่อมาลูกเสือโทฝ้ ายผู้นี้ ได้รับพระราชทานนามสกุลว่า “บุญเลี้ยง” และเมื่อสำเร็จการ
ศึกษาแล้ว ได้เข้ารับราชการเป็นครู ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “ขุนวรศาสตน์ดรุณกิจ”
จากเรื่องลูกเสือโทฝ้ าย บุญเลี่ยง เป็นการกระทำที่เป็นตัวอย่างของบุคคลที่ประกอบ
คุณความดี สมควรที่ลูกเสือจะฟังไว้เป็นตัวอย่าง
152

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การช่วยเหลือผู้ประสบภัย (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต้องมีความรู้ รู้วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ รู้วิธีการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่ วย และมีทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างดีในการปฐมพยาบาล ให้ผู้ป่ วยปลอดภัยได้
อย่างถูกวิธี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการช่วยคนตกน้ำ – เคลื่อนย้ายคนป่ วยได้
1. บอกวิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำได้
2. บอกวิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยขั้นปฐมพยาบาล

สาระการเรียนรู้
1. การช่วยเหลือคนตกน้ำ
2. การผายปอด
3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
4. การปฐมพยาบาล

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย
153
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การทำเปล
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วย
การนั่งสี่มือประสานกัน
6. รวมกองลูกเสือร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เป็นมิตรเมื่อกู้เป็นศัตรูเมื่อทวง”
8 ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
9. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”
2. ใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย
3. ใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ
4. ใบความรู้ เรื่อง การทำเปล
5. ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วยการนั่งสี่มือประสานกัน
6. เรื่องสั้น เรื่อง “เป็นมิตรเมื่อกู้เป็นศัตรูเมื่อทวง”
154
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
155
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
156
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
157

เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”

เป็ นเกมระหว่างหมู่ (สามัญ)

วิธีเล่น
1. เข้าแถวหมู่ตอนลึก ระยะห่าง 1 ก้าว ระยะเคียงห่างกันพอสมควรทุกคนยืน
ขาถ่าง
2. เมื่อสัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้นายหมู่ก้มคลานมุดหว่างขาลูกเสือคนอื่นๆ ในหมู่
ของตนไปอยู่หลังแถวแล้วยืนห่างคนหน้า 1 ก้าว เอามือแตะหลังคนหน้า โดยแตะต่อ ๆ กันจนถึง
หัวแถว
3. เมื่อคนหัวแถวได้รับสัญญาณแตะหลัง ก็ให้ก้มตัวลงคลานมุดหว่างขาไปอยู่หลัง
แถว ทำเช่นนี้จนกว่าจะหมดหมู่ (นายหมู่จะต้องกลับมาอยู่หน้า) ให้นั่งลง หมู่ใดเสร็จก่อนถือว่า
ชนะ
158

ใบความรู้
เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย

การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนหงาย
จัดให้ผู้ป่ วยชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น (รูป ก) ผู้ช่วยเหลือใช้มือทั้งสองจับมือทั้งสองข้าง
ของผู้ป่ วย แล้วออกแรงดึง พยุงให้ผู้ป่ วยพิงผู้ช่วยเหลือ (รูป ข) โดยผู้ช่วยเหลือสอดขาข้างหนึ่ง
เข้าไปในระหว่างขาของผู้ป่ วย พร้อมทั้งจับมือข้างหนึ่งของผู้ป่ วยอ้อมไปทางศีรษะ (รูป ค) แล้วผู้
ช่วยเหลือย่อตัวลงเล็กน้อย ยกตัวผู้ป่ วยพาดบนบ่า ใช้มือรัดขา ผู้ป่ วยแล้วจับมือข้างหนึ่งของผู้
ป่ วยไว้ให้แน่น (รูป ง)
ภาพประกอบ การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนหงาย

ใบความรู้
เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ
159

การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนคว่ำ
ให้ผู้ช่วยเหลือคุกเข่าลงเหนือศีรษะผู้ป่ วย สอดแขนทั้งสองข้างใต้รักแร้ทั้งสองข้างของผู้
ป่ วย (รูป ก) แล้วออกแรงพยุงให้ผู้ป่ วยยืน (รูป ข) ยกแขนผู้ป่ วยอ้อมไปทางศีรษะของผู้ช่วยเหลือ
(รูป ค) และผู้ช่วยเหลือย่อตัวลง สอดมือขวาเข้าใต้เข่าขวาของ ผู้ป่ วยรวบขาขวาผู้ป่ วย (รูป ง)
แล้วดึงมือขวาของผู้ป่ วยให้ตัวผู้ป่ วยพาดลงบนบ่าของ ผู้ช่วย–เหลือแล้วค่อย ๆ ยืนขึ้น (รูป จ) และ
เคลื่อนย้ายผู้ป่ วยไปยังที่ที่ต้องการ
การวางผู้ป่ วยลงนั้น ให้ผู้ช่วยเหลือค่อย ๆ คุกเข่าซ้ายลง ขาขวาตั้งฉากกับพื้น
(รูป ฉ) และวางผู้ป่ วยในลักษณะนอนหงาย (รูป ช)
ภาพประกอบ การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนคว่ำ
160

ใบความรู้
เรื่อง การทำเปล

การทำเปลด้วยผ้าห่ม

ใช้ไม้พลองเหนียวแข็ง 2 อัน ผ้าห่มนอนหรือเสื่อหรือผ้าแบลงเก็ต โดยปูผ้าลงบน


พื้น เอาไม้พลองอันที่ 1 วางทับขนานส่วนกว้างของผ้าประมาณครึ่งหนึ่ง ตลบผ้าทับไม้พลอง
ไว้แล้วเอาไม้พลองอันที่ 2 ทับบนชายผ้าอีกข้าง ถัดจากชายผ้าสัก 2 ฝ่ ามือ เอาผ้าที่เหลือพับทับ
พลองอันที่ 2 ไว้ ยกคนเจ็บขึ้น สอดเปลเข้าไปใต้คนเจ็บ แล้ววางคนเจ็บลงนอนบนเปล

ภาพประกอบ การทำเปลด้วยผ้าห่ม

การทำเปลโดยใช้เสื้อลูกเสือ
ให้นำเสื้อลูกเสือ 2 ตัวมาติด
กระดุมเสื้อให้หมด เอาชายเสื้อชนกัน
เอาพลอง 2 อัน สอดผ่านแขนเสื้อ
ทั้งสองใช้เป็นเปลได้

ใบความรู้
เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บ
1. การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วยการนั่งสี่มือประสานกัน ใช้คน 2 คนที่แข็งแรงทำมือ
ประสานกันให้คนเจ็บนั่ง
ภาพประกอบ การทำสี่มือประสานกัน
161

2. ให้นั่งเก้าอี้มีพนักใช้คนยก 2 คน เคลื่อนไป (เก้าอี้ต้องแข็งแรง)


3. ใช้คน 3 คน ยกคนเจ็บตะแคงแนบอกยกเคลื่อนไปแล้วค่อย ๆ วางลง
4. ใช้คน 4 คน ยกเคลื่อนที่ไป
5. ทำเปลหามไปด้วย ผ้าห่ม ผ้าแบลงเก็ต เข็มขัด หรือเสื้อ 2 ตัว

เรื่องสั้น
เรื่อง “เป็ นมิตรเมื่อกู้เป็ นศัตรูเมื่อทวง”
คนเราเมื่อตอนจะมากู้หนี้เขาย่อมพูดจาอ่อนน้อมเป็นมิตรที่สนิทสนม เพราะ
กลัวเราไม่ให้ยืม แต่เมื่อยามที่เราไปทวงเงินคืนความเป็นมิตรต่าง ๆ ก็หายหมดไป เหลือแต่ความ
เป็นศัตรู เพราะเขาไม่อยากใช้หนี้สินต่าง ๆ เหล่านั้น ดังนั้น ก่อนจะ ให้ใครยืมเงินทองต้องดูนิสัย
ใจคอของเขาให้ดีก่อน
162
คติสอนใจ : “ให้เป็นคนรู้จักบุญคุณคน หรือ “ก่อนจะไว้ใจผู้ใด เราควรระมัดระวังพิจารณาให้
ถ่องแท้ว่า ผู้นั้นมีนิสัยอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่เคยเป็นคนชั่ว ปลิ้นปล้อน หลอกลวงมา
ก่อน”
163
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การบรรจุเครื่องหลังในการเดินทางไกลของลูกเสือ เป็ นการฝึกทักษะและพัฒนาทาง
ร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญาเป็ นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรี
ยมตัวทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้ และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็ นการสร้างประสบการณ์ ให้ลูกเสือได้
รู้จักกับสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกและปฏิบัติตัวในการบรรจุเครื่องหลังได้
2. บอกการบรรจุเครื่องหลังได้
3. บอกอุปกรณ์ในการบรรจุเครื่องหลังได้
4. ปฏิบัติการบรรจุเครื่องหลังทางไกลได้

เนื้อหาสาระ
1. การบรรจุเครื่องหลัง
2. อุปกรณ์ในการบรรจุเครื่องหลัง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “วชิราวุธรำลึก”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐานโดยแต่ละฐานมีรองผู้
บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
164

ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายการเตรียมตัวในการเดินทางไกล


ฐานที่ 2 เรื่อง สาธิตการบรรจุเครื่องหลังจากอุปกรณ์
ฐานที่ 3 เรื่อง ให้ลูกเสือทำการบรรจุเครื่องหลัง
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ นกกระสากับเต่า ”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ ห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยลูกเสือ
11. มอบใบความรู้ เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง ให้ลูกเสือไปศึกษา
ต่อที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “วชิราวุธรำลึก”
3. ใบความรู้ เรื่อง “การบรรจุเครื่องหลัง”
4. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
165
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................
166
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
167
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “วชิราวุธรำลึก”

วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าประชา ก่อกำเนิดลูกเสือมาข้าเลื่อมใส
พวกเราลูกเสือเชื้อชาติไทย เทิดเกียรติพระองค์ไว้ด้วยภักดี
ลูกเสือรำลึกนึกพระคุณเทิดบูชา ปฏิญาณรักกษัตริย์ ชาติ ศาสน์ศรี
168
มาเถิดลูกเสือสร้างความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทยดั่งใจปอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระสากับเต่า”

เต่าตัวหนึ่งเฝ้ าแต่แหงนมองท้องฟ้ าดูฝูงนกกระสาบินผ่านไปมา ในใจคิดอิจฉา


อยากมีปี กบินได้บ้าง จะได้บินเที่ยวชมธรรมชาติอันสวยงาม ขณะนั้นเองก็มีนกกระสาผัวเมียคู่
หนึ่งบินลงมาเกาะใกล้ ๆ เต่า แล้วถามว่า “ท่านสบายดีหรือ” เต่าบอกว่า “ฉันสบายกาย
แต่ใจไม่สบาย เพราะอยากจะบินได้อย่างท่าน” นกกระสาผัวเมียสงสารจึงเอาไม้ให้เต่าคาบไว้
แล้วนกกระสาผัวเมียจึงเอาปากคาบไม้คนละข้าง พาบินไปบนท้องฟ้ าเหนือสระน้ำนั้น มีนก
เหยี่ยวตัวหนึ่งผ่านมาก็พูดว่า “เต่าตัวนี้มีบุญวาสนานัก ได้ท่องเที่ยวในอากาศด้วย” เต่าได้ยินก็
นึกภูมิใจ และเหลิงลืมตัว อ้าปากจะพูดกับเหยี่ยวตัวนั้นด้วย จึงตกลงมายังสระตามเดิม
169

ใบความรู้
การบรรจุเครื่องหลังในการเดินทางไกล

หลักสูตร
1. เข้าร่วมในการเดินทางไกล 3 ครั้ง ดังต่อไปนี้
ครั้งที่ 1 2. มีระยะทางแต่ละครั้งไม่น้อยกว่า 16 กม.นอนกลางแจ้ง1 คืน
ครั้งที่ 3 มีระยะทางไม่น้อยกว่า 48 กม. นอนกลางแจ้ง 2 คืน
การเดินทางไกลทุกครั้ง ให้นำเครื่องหลังติดตัวไปด้วย และทำสมุดปูมให้ได้มาตรฐานอันดี
2. เลือกเส้นทางเดินไกลระยะทาง 24 กม. จากแผนที่ของทางราชการ โดยให้เหตุผล
ในการเลือกเส้นทางเช่นนั้น ซึ่งไม่จำเป็ นต้องอยู่ในท้องถิ่นของตน
3. สิ่งของเครื่องใช้ในการเดินทางไกลอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น เต็นท์ ถุงนอน เครื่อง
หลัง หรือถุงสำหรับบรรจุเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็ น
4. มีความรู้เรื่องการอนามัยส่วนบุคคล เช่น การรักษาเท้า รองเท้าถุงเท้า ฯลฯ

เครื่องหลังแบบเดินทางวันเดียว
เป็ นเครื่องหลังที่เบาและมีขนาดเล็กเพื่อที่จะบรรจุ อาหารกลางวัน เสื้อผ้า เสื้อกันฝน
และเครื่องปฐมพยาบาล

อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล
อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล เช่น เต็นท์ เครื่องใช้ส่วนตัว เครื่องแบบ
170
ยาประจำตัว รองเท้า ไฟฉาย ฯลฯ

การบรรจุสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ มีหลักการดังนี้
1. ควรมีขนาดพอเหมาะ
2. บรรจุของที่ใช้ที่หลังหรือของหนักลงไปก่อนและที่ใช้ก่อนบรรจุที่หลัง
3. ของแข็งใส่ไว้ด้านใน ของอ่อนนิ่มไว้ด้านสะพายติดหลัง
4. อาหารสด อาหารแห้งควรใช้เนื้อที่น้อย
5. อุปกรณ์ที่จำเป็ นอื่น ๆ ให้บรรจุตามสมควร
171
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางไกลของลูกเสือเป็ นการฝึกทักษะและพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญาเป็ นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมตัว
ทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้ และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็ นการสร้างประสบการณ์ ให้ลูกเสือได้รู้จัก
กับสิ่งแวดล้อม พร้อมฝึกความอดทน และความมีระเบียบวินัย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ปฏิบัติกิจกรรมในการเดินทางไกลได้
2. ปฏิบัติการเดินทางไกลด้วยทางเท้าระยะทาง 2.2 กิโลเมตรได้
เนื้อหาสาระ
การเดินทางไกล

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ลูกเสือเรียนเป็ นระบบหมู่
4. ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงานที่ 8.1 เรื่อง การฝึกเดินทางไกล
ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร
5. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด หลังจากเดินทางไกลกลับ มาที่
โรงเรียนแล้ว
172

6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ม้าหลงตัวเอง ”


7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
เสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
9. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ใบงานที่ 8.1 การฝึกเดินทางไกล
4. เรื่องสั้น “ม้าหลงตัวเอง”
173
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรมีอุปกรณ์สำหรับการสาธิตหลายรูปแบบ ทั้งที่จำเป็ น และไม่จำเป็ น
ในการเดินทางไกล
2. ผู้บังคับบัญชาควรสมมุติเหตุการณ์ว่า หากลูกเสือจะไปค้างคืน 1–2 คืน ในการ
ไปอยู่ค่ายพักแรม ควรจะเตรียมอะไรไปบ้าง
174
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
175
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
176

ใบงาน
เรื่อง การปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล

คำสั่ง ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายดังต่อไปนี้
– ช่วยกันอ่านและทำความเข้าใจคำสั่งการปฏิบัติกิจกรรม
– ก่อนออกเดินทางให้รายงานตัวกับผู้บังคับบัญชาเป็ นระบบหมู่
– หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมเดินทางเข้าโรงเรียนให้รายงานตัว
กับผู้บังคับบัญชาเป็ นระบบหมู่ด้วย
– ร่วมกันสรุปและเขียนผลการเดินทางตามความคิดเห็นของหมู่
– ส่งตัวแทนหมู่รายงานต่อที่ประชุมและส่งรายงานสรุปกับผู้บังคับบัญชา
1. ลูกเสือเดินจากประตูหน้าโรงเรียนด้านทิศตะวันออก ให้เลี้ยวซ้ายไป ตามเส้นทาง
วัดสองพี่น้อง ประมาณ 600 เมตร
2. ลูกเสือจะพบสามแยกด้านหลังของโรงเรียนคุรุประชาสรรค์
3. ลูกเสือเลี้ยวซ้ายไปทางทิศตะวันตก เดินตามถนนคันคลองไปประมาณ 700 เมตร
จะพบสี่แยกสะพานที่ 1
4. ลูกเสือเลี้ยวซ้ายไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไปประมาณ 500 เมตร จะพบสี่แยก
หอนาฬิกา
5. ลูกเสือเลี้ยวขวาไปทางทิศตะวันออกประมาณ 300 เมตร จะถึงประตูโรงเรียนคุรุ
ประชาสรรค์ด้านทิศตะวันออก
6. ลูกเสือเลี้ยวซ้าย 100 เมตร เข้าสู่สนามฟุตบอลโรงเรียนคุรุประชาสรรค์

เรื่องสั้น
เรื่อง “ม้าหลงตัวเอง”

ชายผู้เลี้ยงม้าคนหนึ่งได้นำม้า 2 ตัวบรรทุกสิ่งของมา ม้าตัวแรกบรรทุก


พวกของมีค่า พวกเพชรพลอยและของมีค่า ส่วนอีกตัวบรรทุกพวกของใช้ธรรมดา
177
ม้าตัวที่ขนของมีค่ารู้สึกหยิ่งลำพองว่าตนเองมีความสำคัญมากว่าม้าอีกตัว เดินแบบ
อวดดี ม้าอีกตัวเดินแบบสบาย ๆ เพราะรู้ว่าตนเองไม่ได้ขนของมีค่าเดินไปไม่นานนัก
ก็มีพวกโจรมาปล้นเอาของมีค่าจากม้าตัวนั้น และยังทุบตีทารุณกรรมอีกด้วย ทำให้
ม้าตัวนั้นเจ็บปวดทรมานมาก ส่วนม้าตัวที่ขนของธรรมดาโจรไม่ได้เอาอะไรไปเลย
ทำให้ม้าตัวที่ขนของมีค่าพูดอย่างน้อยใจว่า “ไม่น่าขนของที่มีค่ามาเลย”
178
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม การกางเต็นท์เป็ นสิ่งจำเป็ นอย่างยิ่งของลูกเสือ ในการสร้าง
ระบบหมู่ ระเบียบ วินัย ความอดทนและแก้ไขปัญหาได้อย่างดียิ่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของเต็นท์และกางเต็นท์ได้
1. บอกส่วนประกอบของเต็นท์ได้
2. ปฏิบัติการกางเต็นท์ได้
3. ปฏิบัติการป้ องกันไฟไหม้ในขณะพักแรมได้

เนื้อหาสาระ
1. เต็นท์ลูกเสือ
2. การระวังป้ องกันไฟป่ า

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “พาไปเที่ยว”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 2 ฐาน โดยแต่ละฐานมีรอง
ผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิตการกางเต็นท์
ฐานที่ 2 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิต การระวังป้ องกัน
ไฟไหม้ ระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
179
เสือเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
11. ลูกเสือหมู่ที่ 3 รับใบภาระงานที่ 14.1
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
13. มอบใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
14. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เต็นท์และอุปกรณ์เต็นท์
2. แผนผังการกางเต็นท์
3. รูปภาพของการรักษาขยะ
4. รูปภาพของอาหาร 5 หมู่ และการเก็บรักษา
5. เพลง “พาไปเที่ยว”
6. ใบความรู้ เรื่อง “การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ”
7. แถบบันทึกเสียง เรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
180
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เพื่อให้ลูกเสือได้ปฏิบัติจริงผู้บังคับบัญชาเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เพียงพอ
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือบุกเบิกเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน
181
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
182
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
183

เพลง “พาไปเที่ยว”

พวกเราจะไป รถไฟ – พวกเราจะไปรถยนต์


พวกเราจะไปไอพ่น – พวกเราทุกคนจะไปไอพ่น
จะไปรถยนต์ จะไปรถไฟ – ฉึกฉัก ปิ้น ปิ้น บึ้น บึน บึน บึน

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”

แขกผู้หนึ่ง มาถึงบ้านคนดักนกช้าไปหน่อย เจ้าภาพไม่เหลืออะไรไว้


ต้อนรับเลย จึงฆ่านกกระทาที่เลี้ยงไว้ นกกระทาทวงบุญคุณว่ามันทำประโยชน์โดยเป็ นนกต่อล่อ
นกตัวอื่น ๆ มาติดตาข่าย ทำให้เขาจับนกได้ คนดักนกก็พูดขึ้นว่า “นั่นเป็ นเหตุผลที่
สมควรที่สุด เพราะเจ้าไม่มี ความเมตตาแม้แต่กับญาติพี่น้องของเจ้าเอง”
184

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า เพื่อนที่ทรยศไม่เพียงแต่เป็ นที่เกลียดชัง ของผู้ที่ถูกทรยศเท่านั้น แต่ยังได้


รับความเกลียดชัง จากบุคคลที่สั่งให้เขากระทำการอันนั้นด้วย

ใบงาน
วิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น

คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 3 ช่วยกันหาวิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น เรื่อง“เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน”


2. หาตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่ช่วยกันสรุปและเขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา
185

เรื่องสั้น เรื่อง “เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน”

นกพิราบตัวหนึ่ง ถูกขังอยู่ในกรง มันพูดโอ้อวดอย่างภาคภูมิใจว่ามี


ครอบครัวที่ใหญ่มาก เมื่อกาได้ยินดังนั้นจึงพูดว่า “หยุดคุยโวเสียเถอะเพื่อน ยิ่งเจ้ามีลูก
มากเท่าไร ก็จะยิ่งนำความเศร้าหมองมาสู่ใจเจ้ามากเท่านั้น”

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนที่เป็ นทาสนั้น เมื่อมีลูกหลานเกิดมาก็ต้องปวดร้าวใจ เพราะลูก


หลานต้องตกอยู่ในสภาพทาสด้วย
186
187
ใบความรู้
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ

การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
1. เต็นท์รวมหรือเต็นท์ขนาดใหญ่ แบบเป็ นผ้าเต็นท์สี่เหลี่ยมธรรมดา
ภาพประกอบ การกางเต็นท์รวมหรือเต็นท์ใหญ่

2. เต็นท์หมู่สำเร็จรูป
ภาพประกอบ การกางเต็นท์หมู่สำเร็จรูป
188

การพับเต็นท์
การพับเต็นท์หมู่สำเร็จรูป มีลำดับขั้นตอน ดังนี้
1. นำเต็นท์สำเร็จรูป ซึ่งทำความสะอาดใต้พื้นเต็นท์เรียบร้อยแล้ว วางบนพื้นที่
สะอาด แผ่ออกเป็ นรูปสี่เหลี่ยม ตามขนาดของพื้นเต็นท์
2. แบ่งส่วนกว้างของพื้นเต็นท์ออกเป็ น 4 ส่วน แล้วพับส่วนข้างทั้งสองเข้าหากัน
ให้ทับผ้าเต็นท์ ซึ่งเป็ นส่วนของหลังคา ที่กองแนบเรียบติดพื้นล่างของเต็นท์แล้ว
3. โดยพับสองข้างเข้าหากันที่กึ่งกลาง เสร็จแล้วพับตรงแนวกึ่งกลางนั้นอีกครั้ง จะ
เห็นเฉพาะพื้นเต็นท์เป็ นรูปสี่เหลี่ยมยาว
4. เก็บอุปกรณ์เสา คาน และสมอบกรวมกันใส่ถุงเล็ก ๆ เรียบร้อยแล้ว นำมาวางบน
พื้นเต็นท์ที่พับแล้ว โดยวางขวางกับด้านยาวของพื้นเต็นท์ตรงริมใดริมหนึ่ง แล้วม้วนเต็นท์ที่พับ
ทับถุงอุปกรณ์ จนได้เป็ นรูปกลมทรงกระบอก (การม้วนนั้น ควรจะม้วนจากด้านหัวเต็นท์ไปหา
ด้านประตูเต็นท์) ใช้เชือกมัดไว้
5. นำเต็นท์ที่ม้วนแล้วนั้นบรรจุถุงของเต็นท์เพื่อเก็บรักษาต่อไป

การป้ องกันไฟไหม้ระหว่างอยู่ค่ายพักแรม

สาเหตุของไฟไหม้
ไฟไหม้ที่เกิดขึ้นระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม อาจเกิดขึ้นได้จากกรณีต่อไปนี้
1. เกิดจากไฟป่ า
2.เกิดจากไฟที่ชาวบ้านเผาป่ า
3.เกิดจากความสะเพร่าของลูกเสือ
การป้ องกัน
เพื่อป้ องกันข้อบกพร่องดังกล่าว เมื่อลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม ควรเตรียม
การป้ องกันไฟไหม้ไว้ด้วย กล่าวคือ
1. บริเวณที่ตั้งค่ายโดยรอบควรเก็บกวาดและเผาใบไม้แห้งให้สะอาด
2. ถ้าบริเวณโดยรอบที่ตั้งค่ายมีหญ้าแห้ง ควรถากถางให้เป็ นแนว
3. กองไฟที่ใช้ประกอบอาหาร กองไฟที่ใช้ในการชุมนุมรอบกองไฟ เมื่อเลิกใช้แล้ว
ต้องดับให้สนิท
189

4. ไฟที่ลูกเสือใช้เพื่อแสงสว่างในเวลากลางคืน เช่น เทียนไข หรือตะเกียงน้ำมัน


ควรทำที่ตั้ง หรือแขวนให้เหมาะสม
5. ตรวจตราความเรียบร้อยของค่ายพักแรมเป็ นประจำ
190
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การก่อกองไฟ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม เป็ นกิจกรรมที่ใช้ชีวิตกลางแจ้ง เป็ นการส่งเสริมให้ทุกคน
รู้จักช่วยเหลือตนเอง และผู้ร่วมงาน ต้องเรียนรู้การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน ต้องช่วยก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ ใช้ชีวิตอยู่ได้ภาย
ใต้เงื่อนไขที่มีข้อจำกัด

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกลักษณะกองไฟ และ ก่อได้อย่างถูกต้อง
1. ปฏิบัติสร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอนได้
2. ปฏิบัติการก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟได้

เนื้อหาสาระ
1. การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
2. การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “แข่งจระเข้”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การก่อกองไฟ การใช้ฟื น–ถ่านหุงต้ม
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม ไปศึกษาและฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน จุดละ 10 นาที โดยมีรองผู้
บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิต ดังนี้
191

จุดที่ 1 การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
จุดที่ 2 สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
เสือเลือกคติสอนใจไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
10. มอบใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า และเครื่อง
นอน ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่บ้านแล้ว นำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. รูปภาพเกี่ยวกับการก่อกองไฟแบบต่าง ๆ ในการอยู่ค่าย
3. เกม “แข่งจระเข้”
4. ใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
192
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................
193
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
194
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
…../…………./…………

เกม “แข่งจระเข้”

วิธีเล่น
ให้แต่ละหมู่เข้าแถวตอน ระยะเคียงห่างกัน 1 เมตร แล้วนั่งลงบนส้นเท้า คนหลัง
ให้เกาะไหล่คนที่อยู่ข้างหน้าตามลำดับ คนหน้าสุดคือ นายหมู่ให้นั่งกอดอก ทุก ๆ หมู่ จะต้อง
195
เคลื่อนที่ไปยังจุดข้างหน้า ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 10 เมตร ด้วยการกระโดดไปข้างหน้า หรือ
ขยับเท้าก้าวไปข้างหน้าพร้อม ๆ กัน ในสภาพที่นั่งอยู่ และไม่ให้แถวขาด พร้อมทั้งต้องเกาะ
ไหล่กันอยู่ตลอดไป ใครถึงเส้นชัยก่อน ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ทำคุณ บูชาโทษ”

หมาป่ าตัวหนึ่ง ต้องทนทุกข์ทรมาน เพราะก้างปลาติดคอ มันพยายามตามหาผู้ที่


สามารถจะช่วยให้มันพ้นจากความทรมานนี้ ในที่สุด ก็ได้พบนกกระสา จึงเอ่ยปากขอความช่วย
เหลือ โดยสัญญาว่าจะจ่ายค่าจ้างให้ นกกระสาจึงเอาจะงอยปากล้วงเข้าไป คีบก้างปลาออก
จากคอหมาป่ า เสร็จแล้วทวงค่าจ้าง หมาป่ าจึงพูดว่า “เฮอะ เจ้ายังไม่พอใจอีกหรือ ที่สามารถ
เอาหัวออกปากข้าได้ ยังจะมีหน้ามาเรียกร้องค่าจ้างอีก”
196

ใบความรู้
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้าและเครื่องนอน
การก่อกองไฟ
การก่อกองไฟเป็ นกิจกรรมที่ลูกเสือทุกคน จะต้องปฏิบัติได้ ในขณะ
ที่เข้าค่ายพักแรม แต่การก่อกองไฟแต่ละครั้ง จะต้องมีจุดมุ่งหมาย ว่าจะก่อกองไฟ
เพื่ออะไร จะใช้ปรุงอาหาร จะใช้แสงสว่าง เพื่อจะได้เลือกสถานที่ให้เหมาะสม

ข้อปฏิบัติในการก่อกองไฟ
1. รู้จุดมุ่งหมายในการก่อกองไฟ
2 . เตรียมอุปกรณ์ในการก่อกองไฟให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. จัดสถานที่ให้เกิดความปลอดภัย เพื่อป้ องกันเศษไฟที่ จะกระเด็นออกไปลุกไหม้
บริเวณข้างเคียงได้
การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
การก่อกองไฟ สำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ โดยทั่วไปแล้วนิยม
ก่อกองไฟเป็ น 3 แบบ คือ
แบบกระโจม
การก่อกองไฟแบบนี้ จะสิ้นเปลืองฟื นมาก เพราะไฟติดเร็วเหมาะ
สำหรับงานที่ต้องการความร้อน และแสงสว่างมาก ๆ
197
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบกระโจม

การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
แบบนี้ให้ความร้อนดี แต่แสงสว่างจะไม่มากนัก สิ้นเปลืองฟื นไม่มาก
โดยนำฟื นมาวางเรียงกันเป็ นชั้น ๆ สลับกันไป

ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน

แบบผสม
เป็ นการก่อกองไฟแบบกระโจม และแบบเชิงตะกอนผสมกัน ให้
แสงสว่างมาก เหมาะสำหรับการแสดงรอบกองไฟ ในเวลาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม
โดยวางฟื นดังนี้
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบผสม
198

ข้อระวังในการก่อกองไฟ
1. เมื่อเลิก งานแล้วต้องดับไฟให้เรียบร้อย ด้วย น้ำ ทราย หรือดินเปี ยก ๆ
2. ปรับสถานที่ ที่ใช้ก่อกองไฟให้เรียบร้อย โดยการเก็บกวาดเศษไม้ หรือ เถ้าถ่าน
ออกให้หมด จนมีสภาพเหมือนเดิมทุกอย่าง

การตากผ้า และเครื่องนอนที่เปี ยกชื้นให้แห้ง ในระหว่างการอยู่


ค่ายพักแรม ในการไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะมีเสื้อผ้าและเครื่องนอนไปจำนวน
จำกัด ดังนั้น จึงจำเป็ นต้องรักษาให้สะอาดและใช้การได้อยู่เสมอ ในกรณีที่เปี ยกชื้น
จะต้องทำให้แห้งโดยเร็ว และถ้าในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรมมีฝนตก ยิ่งจำเป็ น
ที่จะต้องทำให้เสื้อผ้าแห้งอย่างรวดเร็วเท่าที่จะทำได้
ต่อไปนี้เป็ นข้อเสนอแนะในการตากผ้าให้แห้งเร็วขึ้น
1. ทำไม้แขวนเสื้อ แทนที่จะตากเสื้อผ้าหรือเครื่องนอนกับราวตากผ้า ควรทำไม้
แขวนเสื้อผ้า จากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น จะช่วยให้น้ำระเหยเร็ว เพราะเสื้อผ้ามีพื้นที่ที่จะรับลม
ได้มากขึ้น
2. ในกรณีที่ฝนตก ไม่สามารถตากเสื้อผ้ากลางแจ้งได้ อาจจะแขวนไว้เหนือเตาไฟที่ใช้
ประกอบอาหาร แต่ควรระวังไม่ให้เสื้อผ้าถูกควันไฟ
3. ในกรณีที่มีแดดออก ควรให้เสื้อผ้าได้รับแสงแดดบ้างจะช่วยให้เสื้อผ้า ไม่มีกลิ่นอับ
ชื้น
4. ในกรณีที่จำเป็ น ไม่สามารถจะตากเสื้อผ้าให้แห้งได้อย่างรวดเร็ว ควรแขวน
เสื้อผ้าไว้ในที่ที่มีลมพัดผ่านได้สะดวก เพื่อป้ องกันไม่ให้เสื้อผ้าอับชื้น
5. ถ้าอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเวลาหลายวัน ควรนำเครื่องนอนออกผึ่งแดดบ้างเป็ นครั้ง
คราว
199

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การปฏิบัติตนในการเดินทางไกล เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ

การเดินทางไกลเป็นการฝึ กทักษะ และพัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติ–


ปัญญาเป็นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมตัว ทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้
และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็นการสร้างประสบการณ์ให้ลูกเสือ ได้รู้จักกับสิ่งแวดล้อม และชีวิต
ประจำวันของสังคม จนสามารถนำไปดัดแปลงใช้กับชีวิตประจำวันของตนเอง

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกการปฏิบัติตน การบรรจุสิ่งของในการเดินทางไกลได้ ตลอดจน บอกหลัก
การเดินทางไกลได้
1. บอกชนิดและประโยชน์ของการเดินทางไกลได้
2. บอกการเตรียมและบรรจุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ในการเดินทางไกลได้
3. บอกเครื่องใช้สำหรับหมู่ที่ควรมีได้

3. สาระการเรียนรู้
1. หลักการเดินทางไกล
2. ชนิดของการเดินทางไกล
3. ประโยชน์ของการเดินทางไกล
3. การเตรียมและบรรจุอุปกรณ์เดินทางไกล
4. เครื่องใช้ที่จำเป็นในการเดินทางไกล
200
201
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “เดินทางไกล”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของ
การเดินทางไกล
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงใน
เครื่องหลัง
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ
7. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
8. ผู้บังคับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือนำร้องเพลง “คนรักอยู่ในไห”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่อง
หลัง
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
202

8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ไก่ได้พลอย”


9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. พิธีเปิ ด–ปิ ดประชุมกอง
3. เพลง “เดินทางไกล”
4. ใบความรู้ เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของ
5. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
6. ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ
7. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
1. พิธีเปิ ด–ปิ ดประชุมกอง
2. เพลง “คนรักอยู่ในไห”
3. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่องหลัง
4. ใบความรู้ เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ไก่ได้พลอย”
203
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
204
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
205
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “เดินทางไกล”

(สร้อย) เดินทางไกล เดินทางไกล ไปอย่างไรให้ถึงปลายทาง (2 เที่ยว)


206
เราลูกเสือ ชาติเชื้อวชิรา ต่างตั้งหน้าพากันมุ่งไป
สุดทะเล ภูผา ล่องฟ้ าไกล ผจญภัย และพิชิตมัน
แม้ฝนตก หนาวร้อนเพียงใด ลูกเสือไทยไม่เคยไหวหวั่น
วันทั้งวันเรายังเดินทางไกล ร้องเพลง ยามเราเดินทางไกล
207

ใบความรู้
เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของการเดินทางไกล

การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือ ออกจากที่ตั้งไปยังจุดหมายที่กำหนด


ไว้ ตามระยะทางที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือกำหนด จะเป็นการเดินทางไกลด้วยเท้า รถจักรยาน หรือ
พายเรือก็ได้ จะเดินทางด้วยตัวคนเดียวหรือเดินทางไปด้วยกันเป็นหมู่คณะก็ได้ในการเดินทางไกล
จะต้องมีการทำรายงานเดินทางอย่างละเอียด และจดบันทึกสิ่งที่ได้พบเห็น การอยู่ค่ายพักแรม
ต้องมีการจัดเตรียมเกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อมและเรียบร้อย
ชนิดของการเดินทางไกล
1. เดินทางไกลแบบไม่มีการหุงต้ม
2. เดินทางไกลแบบหุงต้ม
การเดินทางไกลได้ให้ประสบการณ์แก่ชีวิต สำหรับลูกเสืออย่างมากมายโดยเฉพาะจะ
ได้เรียนรู้ชีวิตในชนบท ภูมิประเทศ การรักษาสิ่งแวดล้อม การเดินทางอย่างปลอดภัยการศึกษาชีวิต
ของสัตว์ต่างๆ สุดท้ายก็จะเรียนรู้และเกิดความมั่นใจในตนเอง
ประโยชน์ของการเดินทางไกล
1. เป็นการฝึ กหัดลูกเสือ ให้มีความอดทน มีความรอบคอบและไม่ประมาท
2. ทำให้ลูกเสือรู้จักการเตรียมการ การวางแผนในทุก ๆ ด้าน
3. เป็นการศึกษานอกสถานที่ ซึ่งเป็นประสบการณ์ตรงที่ลูกเสือจะได้รับ
4. ฝึ กให้ลูกเสือมีปฏิภาณไหวพริบดี รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
5. ทำให้ลูกเสือช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม
6. ทำให้ลูกเสือรู้จักความสามัคคีในหมู่ลูกเสือด้วยกัน
7. ทำให้ลูกเสือรู้จักรักษาสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดีและไม่ทำลาย
8. ทำให้ลูกเสือมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่อ่อนแอ และเป็นการออกกำลังกาย
9. ทำให้ลูกเสือรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาต้องเตรียม คือ เครื่องหลังแบบต่าง ๆ ประกอบการอธิบาย


208
เนื้อหา
เครื่องหลังจะประกอบด้วย สายรัดไหล่ โครงเหล็ก และสายรัดสะโพก ซึ่งจะช่วย
ให้การแบกเครื่องหลังเป็นไปอย่างเหมาะสม จัดสายรัดให้พอเหมาะ ไม่หลวมหรือคับจนอึดอัด
ถึงแม้ว่าเครื่องหลังของท่านจะใส่สิ่งของได้มากมาย แต่ควรให้น้ำหนักของเครื่องหลังเบาเป็นดี
ที่สุด
เครื่องหลัง มีด้วยกัน 3 แบบ คือ
1. เครื่องหลังแบบนิ่ม ภาพประกอบ
ที่เราเรียกว่าเครื่องสะพายหลังส่วนใหญ่
แบบนี้จะนิ่มและทำจากผ้ามีสายสะพาย
ให้คล้องแขน ไม่มีโครงเหล็กทั้งข้างนอก
และข้างใน

2. เครื่องหลังแบบโครงเหล็กอยู่ภายใน ภาพประกอบ
การผลิตที่เกือบเหมือนกับแบบนิ่ม โครง–
เหล็กจะถูกเย็บตรึงติดกับผ้า ลูกเสือ
จะสามารถยกเครื่องหลังแบบนี้ไว้บนหลัง
ใช้สายรัดที่บริเวณรอบเอว และจัดให้
พอดีกับไหล่
209

3. เครื่องหลังแบบมีโครงเหล็กอยู่ภายนอก ภาพประกอบ
จะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับแบบมีโครง
ภายใน เพียงแต่แบบนี้โครงเหล็กจะอยู่
ภายนอกมองเห็นชัดเจน แต่จะสามารถ
บรรจุของได้มาก

การจะเลือกแบบใด ก็ขอให้คำนึงถึงว่าจะเดินทางไกลแบบไหน ก็จะสามารถเลือก


ใช้ให้ได้เหมาะสมทดลองใส่สิ่งของลงไปในเครื่องหลัง ที่จะซื้อแล้วดูว่าเหมาะสมและเมื่อ
ยกขึ้นหลังแล้วเกิดความสะดวกสบายหรือไม่ และน้ำหนักของสิ่งของตกที่สะโพกหรือ
เปล่าแล้วจึงเลือกซื้อตามต้องการ

เครื่องหลังแบบเดินทางวันเดียว
เป็นเครื่องหลังที่เบาและมีขนาดเล็ก เพื่อที่จะบรรจุอาหารกลางวัน เสื้อผ้า เสื้อ
กันฝน และเครื่องปฐมพยาบาลลงไปได้ บางครั้งก็จะบรรจุเครื่องหลังแบบเล็กนี้ลงใน
เครื่องหลังใหญ่ เพราะเหมาะที่จะใช้ในการเดินทางระยะสั้น ๆ และภายในวันเดียว โดย
ทิ้งเครื่องหลังอันใหญ่เอาไว้ ถือไปแต่เครื่องหลังเล็กนี้ เช่น การเดินทางไปทัศนศึกษา
ภาพประกอบ
210

ใบความรู้
เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
คือ อุปกรณ์ที่กล่าวถึงในบทเรียน เช่น เต็นท์ รองเท้า เครื่องใช้ส่วนตัว เครื่อง
แบบ ยาประจำตัว ไฟฉาย ฯลฯ เพื่อประกอบคำอธิบายเนื้อหา

อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล
1. เครื่องแบบ และเครื่องประกอบเครื่องแบบ เช่น เข็มขัด ผ้าผูกคอลูกเสือ
2. เต็นท์ประจำ และถุงนอน
3. ผ้าห่ม หมอน ผ้าปูที่นอน
4. เครื่องใช้ประจำตัว เช่น เป้ สำหรับบรรจุสิ่งของ ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า ยาสีฟัน 5.
ช้อนส้อม แก้วน้ำ กระติกน้ำ จานอาหาร ไฟฉาย
6. สมุดบันทึก ปากกา ดินสอ แผนที่ เข็มทิศ รองเท้าแตะ เสื้อกันฝน
7. ยาสำหรับปฐมพยาบาล และยาประจำตัวให้นำไปด้วย
8. ถุงเท้า รองเท้า
9. เชือกฟางสำหรับมัดของ สก๊อตเทป
10. ไม้ง่าม
เครื่องใช้สำหรับหมู่ ควรมี

1. ตะเกียง
2. เครื่องครัวที่จำเป็น เช่น หม้อข้าว หรือกระป๋ องหุง กระทะแบน
3. อาหารแห้ง
4. ขวานเล็ก มีดโต้ พลั่วสนาม มีดทำครัว
5. กระดาษชำระ
6. กระเป๋ ายาประจำหมู่
7. ถังตักน้ำ ทำด้วยผ้าใบ

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
211
เต่าตัวหนึ่งเฝ้ าแต่แหงนมองท้องฟ้ าดูฝูงนกกระสาบินผ่านไปมา ในใจคิดอิจฉาอยากมี
ปี กบินได้บ้าง จะได้บินเที่ยวชมธรรมชาติอันสวยงามขณะนั้นเองก็มีนกกระสาผัวเมียคู่หนึ่งบินลง
มาเกาะใกล้ ๆ เต่า แล้วถามว่า “ท่านสบายดีหรือ”
เต่าตอบว่า “ฉันสบายกายแต่ใจไม่สบายเพราะอยากจะบินได้อย่างท่าน”
นกกระสาผัวเมียสงสารจึงเอาไม้มาให้เต่าคาบไว้ แล้วนกกระสาตัวเมียจึงเอาปากคาบไม้คนละข้าง
พาบินไปบนท้องฟ้ าเหนือสระน้ำนั้น มีนกเหยี่ยวตัวหนึ่งผ่านมา ก็พูดว่า “เต่าตัวนี้มีบุญวาสนานัก
ได้ท่องเที่ยวในอากาศด้วย”
เต่าได้ยินก็นึกภูมิใจ และหลงลืมตัวอ้าปากจะพูดกับเหยี่ยวตัวนั้นด้วย จึงตกลงมายัง
สระตามเดิม
คติสอนใจ : “จงพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ อย่าลืมตัวเอง”

เพลง “คนรักอยู่ในไห”

คนรักฉันอยู่ในไห นานแล้วไม่ได้เปิ ดดู


คนรักฉันอยู่ในรู เปิ ดดูเป็นหน่อไม้ดอง ๆ
212
213

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
ได้แก่ เครื่องหลังและอุปกรณ์ที่จะบรรจุในส่วนต่าง ๆ
เนื้อหา
การบรรจุสิ่งของหรือเครื่องใช้ต่าง ๆ มีหลักการดังนี้
เครื่องหลังควรเลือกขนาดที่พอเหมาะ ไม่ควรเลือกที่เล็กหรือใหญ่เกินไป
1. วิธีการบรรจุขั้นแรกจะต้องบรรจุของที่ใช้ภายหลังหรือของหนัก ๆ ลงไปก่อนส่วน
ของที่หยิบใช้บ่อย ควรจัดให้อยู่ด้านบน และจัดเรียงให้เป็นระเบียบและสวยงาม ง่ายต่อการ
ค้นหา
2. บรรจุของแข็งใส่ไว้ด้านใน พยายามเอาของอ่อน ๆ นิ่ม ๆ ไว้ด้านสะพายติดหลัง
เพราะเวลานำเครื่องหลังขึ้นสะพายข้างหลังจะได้ไม่เจ็บ
3. อาหารสด อาหารแห้งที่นำไปด้วยควรมีน้ำหนักเบา กินเนื้อที่น้อย
4. จัดและแยกของเป็นพวก ๆ โดยใส่ถุงพลาสติก หรือถุงใส่ของไว้
5. เตรียมถุงพลาสติกขนาดใหญ่ไว้หลาย ๆ ใบ เพื่อใส่ของหรือเสื้อผ้าที่ใช้แล้ว
การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
ขั้นต่อไปนี้คือการบรรจุสิ่งของเพื่อการเดินทาง ของเล็ก ๆ และใช้บ่อย ๆ ให้จัดใส่
ลงไปในการเป๋ า เช่น มีด เข็มทิศ นกหวีด เชือก ไม้ขีด ผ้าพันแผล ดินสอและกระดาษ
สำหรับของเล็ก ๆ ก็ควรจะอยู่ในส่วนที่หยิบฉวยและเก็บง่าย
ต่อไปจะเป็นของที่ไม่ต้องการใช้ จนกว่าจะถึงค่ายพักแรมแล้วถึงจะนำมาใช้ ควร
ใส่ลงไปใต้สุด ส่วนพวกเสื้อกันฝน อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเสื้อกันหนาว ถุงเท้าสะอาด
และอาหารกลางวันควรจะจัดใส่ตรงข้างล่างฝาเปิ ดปิ ด แล้วบรรจุแผนที่
กระติกน้ำ ยากันแมลง ครีมกันแดด และพวกอาหารว่างไว้ในกระเป๋ าด้านนอก
จัดกระเป๋ าไว้หนึ่งใบสำหรับใส่ขวด หรือกระป๋ องบรรจุเชื้อเพลิงเพื่อป้ องกัน ให้อยู่ห่างจาก
อุปกรณ์ชนิดอื่น ๆ
214

ใบความรู้
เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
ได้แก่ ตาชั่ง เครื่องหลัง ของที่บรรจุในเครื่องหลัง
เนื้อหา
น้ำหนักของของที่บรรจุ
ความหนักของของที่บรรจุขึ้นอยู่กับความยาวนานของการเดินทางที่ได้เตรียม
วางแผนไว้ ปริมาณของอาหารและอุปกรณ์ที่จะต้องแบก รวมทั้งของใช้ส่วนตัวด้วย
การเดินทางเป็นหมู่คณะจำเป็นจะต้องแบกเต็นท์ อาหารกล่อง เครื่องประกอบอาหาร
และอุปกรณ์อื่น ๆ ถ้าลูกเสือสามารถที่จะควบคุมน้ำหนักของที่แบก โดยให้อยู่
ประมาณหนึ่งในห้าของน้ำหนักตัวลูกเสือ ก็จะแบกของได้อย่างสบาย ผู้เดินทาง
ที่มีร่างกายแข็งแรง ก็สามารถที่จะแบกรับน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอีกก็ได้
โดยปกติน้ำหนักที่แบกจะเป็น 1 ใน 5 ของน้ำหนักตัว เช่น ถ้าท่านน้ำหนักตัว
60 กิโลกรัม ของที่แบกควรจะมีน้ำหนักไม่เกิน 12 กิโลกรัม
ภาพประกอบ

การยกเครื่องหลัง
การเหวี่ยงเครื่องหลังไปทางหลังเป็นวิธีการที่ปฏิบัติง่าย กำเข็มขัดหนังรัดไหล่
ยกไหล่ให้สูงขึ้น ยกส่วนใต้ของเครื่องหลังพักไว้บนต้นขา และสอดแขนผ่านเข็มขัดรัดไหล่
การทำอย่างนั้น จะทำให้การเหวี่ยงเครื่องหลังไปยังบนหลังและสอดแขนเข้าในเข็มขัดรัดไหล่เป็น
215
ไปอย่างสะดวกอาจจะขยับตามไปข้างหน้าเล็กน้อย แต่เมื่อเวลายืนตรงน้ำหนักของเครื่องหลังจะ
ตกอยู่บริเวณสะโพก ขยับเครื่องหลังให้ดี และออกเดินได้
ภาพประกอบ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ไก่ได้พลอย”

กาลครั้งหนึ่ง…ยังมีพ่อไก่ตัวหนึ่ง คุ้ยเขี่ยหาอาหารกินอยู่ที่ลานบ้านในช่วงตอนเช้าตรู่
วันหนึ่ง ทันใดนั้น มันเห็นของอะไรอย่างหนึ่ง ส่องแสงเป็นประกายเข้ากับแสงแดดยามเช้า
มองดูสวยงามมันจึงรีบวิ่งตรงเข้าไปดู และใช้ปากจิกขึ้นมา ปรากฏว่าสิ่งที่มันได้เห็นนั้น คือ
พลอยน้ำงามเม็ดหนึ่ง ซึ่งเจ้าของของมันเองได้ ทำหายไปเมื่อหลายวันมาแล้ว
“เออ นายของเราหาอยู่หลายวันด้วยความเสียดายก็หาไม่พบ เจ้าอาจจะ
216
มีค่ามากที่สุดสำหรับมนุษย์ แต่ว่าสำหรับข้าแล้ว เจ้าไม่มีความหมายอะไรเลย
เพราะว่าเจ้าจะเทียบกับข้าวเปลือกสักเมล็ดก็ยังไม่ได้

คติสอนใจ : “คนที่รู้ความต้องการของตนจะมีความสุข คนฉลาดชอบสิ่งที่


จำเป็นมากกว่าเครื่องประดับอันระยิบระยับ ซึ่งไม่มีค่าอื่นใด
นอกจากก่อให้เกิดความเย่อหยิ่งและความฟุ้ งเฟ้ อ”
217

ภาคผนวก

– แบบประเมิน
– เกมและเพลง
ที่
เลข
ชื่อ สกุล

ดี ความสนใจ
พอใช้ และตั้งใจฟัง
ปรับปรุง
ดี การเข้าร่วม
พอใช้ กิจกรรม
ปรับปรุง
ได้ การเล่าประวัติ
ไม่ได้ ลูกเสือ
แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม

ได้ การบอก
ไม่ได้ ประโยชน์ลูก
ได้ แต่งเครื่อง
ไม่ได้ แบบลูกเสือ
สำรอง
ปรับปรุง
ผ่าน ผลการ

(ลงชื่อ) ……………………….. ผู้ประเมิน


ประเมิน
ไม่ผ่าน
218
ที่ ที่
ชื่อ สกุล
ชื่อ สกุล

2
3

บอกการพักผ่อน

1
2

ที่ถูกวิธี
อุปกรณ์
การเตรียม

0
1

2
บอกการป้ องกัน

1
การไม่ให้โรค
ปฏิบัติ
กิจกรรม

0
หวัดแพร่ออกไป

2
แบบสังเกต

แสดงวิธีการ

แบบบันทึกกิจกรรม

1
หายใจและการ
ปฏิบัติ
กิจกรรม

0
ป้ องกันการไม่ให้
แพร่ออกไป

2
ความตั้งใจปฏิบัติ

1
กิจกรรม

0
3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน ผลการประเมิน

ผ่าน
ปฏิบัติงาน ประเมิ
ท่าทางการ ขั้นตอนการ ความตั้งใจ ผลการ

ไม่ ไม่
219
220
221

แบบสังเกตการบันทึกกิจกรรม

ที่ ชื่อ สกุล ความสนใจเข้า บอกสถานที่ บอกวิธีขอความ ผลการ


ร่วมกิจกรรม สำคัญในท้อง ช่วยเหลือ ประเมิน
ถิ่น
3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ.

แบบสังเกตการบันทึกกิจกรรม
ความสนใจเข้า บอกชื่อพืช บอกชื่อสัตว์ ผลการ
ร่วมกิจกรรม ลักษณะ ลักษณะ ประเมิน
ที่ ชื่อ สกุล ประโยชน์หรือ ประโยชน์หรือ
โทษ โทษ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ.
222
223
แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

เตรียม ผลงาน คุณลักษณะนิสัย ผลการ


วัสดุ ความ ประณีต ริเริ่ม ตั้งใจ การเก็บ ประเมิน
ที่ ชื่อ สกุล สมบูรณ์ สวยงาม สร้างสร ปฏิบัติ อุปกรณ์
รค์ งาน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ
224
แบบสังเกตการทดสอบการผูกเงื่อน
การเตรียม ผูกเงื่อน ผูกเงื่อน การเก็บ การ
ที่ ชื่อ สกุล วัสดุ .................. …………… เชือก ประเมิน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ

You might also like