You are on page 1of 400

1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กิจกรรมคณะลูกเสือแห่งชาติ เวลา 1
ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติประกอบด้วย สภาลูกเสือคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติ
คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด และคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางร่างกาย จิตใจ และให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อกิจการของ
คณะลูกเสือโลก ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มี
ต่อชุมชน การดำเนินกิจกรรมลูกเสือจะได้บรรลุถึงจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมลูกเสือแห่งชาติได้
1. บอกโครงสร้างของคณะลูกเสือแห่งชาติได้
2. บอกการบริหารงานของคณะลูกเสือแห่งชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการของลูกเสือแห่งชาติ
2. กิจการของคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
3. กิจการของคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “วิ่งส่งผ้าผูกคอ”
3. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
4. ผู้บังคับบัญชามอบใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง กิจกรรมลูกเสือ แห่งชาติ
5. ให้กับหมู่ลูกเสือ หมู่ละ 1 ชุด เพื่อแยกไปช่วยกันศึกษาค้นคว้า ในเวลาที่
กำหนดให้ ตามหัวข้อต่อไปนี้
– คณะลูกเสือแห่งชาติ
– คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
– คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
– คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
2
6. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวมกอง และให้แต่ละหมู่ส่งตัวแทน
ออกมาสรุปสาระสำคัญ เพียงหมู่ละ 1 หัวข้อตามฉลากที่จับได้
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “บี.พี.กับกองทหาร”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ช่วยกันคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้ กำกับ
ลูกเสือนำคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “วิ่งส่งผ้าผูกคอ”
3. ใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง กิจกรรมคณะลูกเสือแห่งชาติ
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “บี.พี. กับกองทหาร”
5. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้การเรียนรู้
3
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างคณะลูกเสือแห่งชาติไว้ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่ม
เติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
4
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
5
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
(........................................)
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./……..

เกม
“วิ่งส่งผ้าผูกคอ”
6

วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 – 6 แถว ๆ ละ เท่า ๆ กัน
2. ให้เลือกตัวแทน 1 คนในแต่ละแถวไปยืนข้างหน้าแถวของตนเอง ห่างจาก
แถวประมาณ 5 – 8 เมตร
3. ให้คนแรกของแต่ละแถวถือผ้าผูกคอไว้ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้วิ่งไปอ้อมคนที่
อยู่หน้าแถวของตนมาส่งผ้าผูกคอให้คนที่ 2 แล้วไปต่อท้ายแถว
4. ทำเช่นนี้จนครบทุกคน แถวใดเสร็จก่อนเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ ในข้อ 2 อาจหาสิ่งของหรืออุปกรณ์อื่น ๆ แทนคนก็ได้

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

โครงสร้างคณะลูกเสือแห่งชาติ

คณะลูกเสือแห่งชาติ

สภาลูกเสือแห่งชาติ

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
7
คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด ผู้ตรวจการลูกเสือ สโมสรลูกเสือ

คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ ฝ่ ายอำนวยการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายลูกเสือชาว


บ้าน
กลุ่มลูกเสือ
หน่วยลูกเสือ กองลูกเสือ
หมู่ลูกเสือ

ตามวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรมลูกเสือคือ
1. ให้ลูกเสือมีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง
2. ให้ลูกเสือมีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
3. ให้ลูกเสือรู้จักบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
4. ให้ลูกเสือรู้จักทำการฝี มือและฝึกฝนให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ เหมาะสม
5. ให้ลูกเสือรู้จักรักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ของประเทศชาติ โดยไม่เกี่ยวข้องกับลัทธิการเมืองใด

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ประกอบด้วยบุคคลในตำแหน่งต่าง ๆ
ดังใน “แผนภูมิคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ” ต่อไปนี้
8

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ”

ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
( รมต.กระทรวงศึกษาฯ)

รองประธานคณะกรรมการฯ
(– ปลัดกระทรวงศึกษา ฯ – ปลัดกระทรวงมหาดไทย)

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(ผู้ทรงคุณวุฒิที่สภานายกสภาลูกเสือแต่งตั้งอีกไม่เกิน 20 คน)

กรรมการและเลขาธิการฯ
(อธิบดีกรมพลศึกษา)

กรรมการและรองเลขาธิการ
(รองอธิบดีกรมพลศึกษา)

กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ
(ผู้อำนวยการกอง กองลูกเสือ)
9
แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด”

ประธานคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
(ผู้ว่าราชการจังหวัด)

รองประธานคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
(รองผู้ว่าราชการจังหวัด และปลัดจังหวัด)

กรรมการลูกเสือประจำจังหวัด กรรมการลูกเสือพิเศษประจำจังหวัด
(ผู้อำนวยการการประถมศึกษาจังหวัด (บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธาน
–นายอำเภอ และกรรมการอื่นที่ประธาน คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด กรรมการ
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติแต่งตั้ง ประเภทนี้มีสิทธิเข้าประชุมในการประชุม
ไม่น้อยกว่า 15 คน แต่ไม่เกิน 30 คน) คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด แต่ไม่มีสิทธิ
ออกเสียงลงคะแนน)

กรรมการและเลขาธิการ
(ศึกษาธิการจังหวัด)

กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ
(ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด)

ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็ นผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด รองผู้ว่าราชการ


จังหวัด ปลัดจังหวัดและศึกษาธิการจังหวัด เป็ นรองผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด
และผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด เป็ นผู้ช่วยผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด มีหน้าที่บริหาร
การลูกเสือในจังหวัด

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ”

ประธานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
(นายอำเภอ)
10
รองประธานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
(ปลัดอำเภอ)

กรรมการลูกเสือประจำอำเภอ กรรมการลูกเสือพิเศษประจำจังหวัด
(หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอ และ (บุคคลที่ประธานคณะกรรมการลูกเสือ
กรรมการอื่นตามที่ประธานคณะกรรมการ จังหวัดแต่งตั้ง กรรมการประเภทนี้มีสิทธิ
การบริหารลูกเสือแห่งชาติแต่งตั้งอีก เข้าร่วมประชุม แต่ ไม่มีสิทธิออกเสียง
ไม่น้อยกว่า 10 คน แต่ไม่เกิน 20 คน) ลงคะแนน)

กรรมการและเลขานุการ (ศึกษาธิการอำเภอ)

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ (ผู้ช่วยศึกษาธิการอำเภอ)

นายอำเภอเป็ นผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ ปลัดอำเภอรับผิดชอบงานปกครอง


ศึกษาธิการอำเภอเป็ นรองผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ และผู้ช่วยศึกษาธิการอำเภอ
เป็ นผู้ช่วยผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ มีหน้าที่บริหารลูกเสือในอำเภอตามอำนาจ
หน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ ดังต่อไปนี้
1. ส่งเสริมความมั่นคงและความก้าวหน้าของการลูกเสือในอำเภอ
2. พิจารณารายงานประจำปี ของลูกเสืออำเภอ
3. ให้คำแนะนำผู้อำนวยการลูกเสือในการปฏิบัติงานลูกเสือ
4. การกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ โดยมีศึกษาธิการ–
อำเภอ เป็ นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ และให้มีเจ้าหน้าที่ตามสมควร

เรื่องสั้น
เรื่อง “บี.พี. กับกองทหาร”

ที่ฝั่งตะวันตกของแอฟริกา ขณะที่ บี.พี. เป็ นผู้บังคับบัญชากองสอดแนม


ที่ประกอบด้วย ชาวเมืองจำนวนมาก ท่านมีหน้าที่สอดแนมข้าศึก และก่อสร้างทาง
เพื่ออำนวยความสะดวกให้กองทัพอังกฤษที่เดินทัพตามมา ปรากฎว่าทหารของ
บี.พี.ไม่รู้จักการผูกเงื่อนเลย แม้แต่เงื่อนง่าย ๆ ท่านจึงเปิ ดการสอนการผูกเงื่อนขึ้น
จึงทำให้งานของท่านรุดหน้าไปได้รวดเร็ว
ฉะนั้น การรู้จักใช้เชือกและฝึกฝนอยู่เสมอ ก็สามารถทำงานบางอย่างได้
อย่างรวดเร็ว และ ยังเป็ นประโยชน์ต่อผู้อื่นอีกด้วย
11
–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กิจกรรมองค์การ ลูกเสือโลก
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูกเสือโลก
และนานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์ของลูกเสือ
นานาชาติ ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุจุดประสงค์การ
เรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้
12
เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “เรืออับปาง”
3. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือสนทนาเกี่ยวกับการจัดองค์การลูกเสือโลก
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 4 ฐาน
6. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง กิจการองค์การ
7. ลูกเสือโลกและความสัมพันธ์กับลูกเสือนานาชาติ ตามฐานดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สมัชชาลูกเสือโลก
ฐานที่ 2 เรื่อง คณะกรรมการลูกเสือโลก
ฐานที่ 3 เรื่อง สำนักงานลูกเสือโลก
ฐานที่ 4 เรื่อง การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก
8. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
10. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
11. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
12. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
ห้องลูกเสือในวันรุ่งขึ้น
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
13
2. เกม “เรืออับปาง”
3. ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
14
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
15
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
(............................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
16
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
(.......................................)
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
17
เกม ”เรืออับปาง”

วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็น 6–8 หมู่ แต่ละหมู่ก็เป็นเรือแต่ละลำให้
2. นายหมู่ของแต่ละหมู่เป็นกัปตัน เป็นผู้นำเรือ
3. ให้ลูกเสือทุกคนหาเชือกมายาว 2 หลา เมื่อเริ่มเล่นให้ลูกเสือในหมู่ของแต่ละ
หมู่ ต่อเชือกติดกันด้วย เงื่อนสมาธิ เมื่อแถวใดเสร็จก่อน นายหมู่ก็ลากเรือของตัวไปยังจุด
หมายปลายทาง ที่กำหนดไว้เป็นฝั่ง หมู่ใดเสร็จก่อนและไปถึงถือว่าชนะ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference)
สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันมี
สมาชิกทั้งหมด 131 ประเทศ
18
สมัชชาลูกเสือโลกประชุมกันทุก 2 ปี จะเป็ นประเทศใดนั้นต้องเป็ นไปตามมติ
ของที่ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องเป็ นตัวแทนของประเทศที่เป็ นสมาชิก ประเทศละ 6
คน สมาชิกดังกล่าวนี้ จะเป็ นผู้ออกเสียงลงคะแนนลับเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลกต่อ
ไป
หน้าที่ของสมัชชาลูกเสือโลก
1. กำหนดนโยบายทั่วไปของคณะลูกเสือโลก
2. พิจารณารับสมาชิกใหม่และตัดสินชี้ขาดการขับออกจากสมาชิกภาพ
3. เลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก
4. พิจารณารายงานและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาแก้ไขธรรมนูญและข้อบังคับของคณะลูกเสือโลก
19

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลกประกอบด้วยบุคคล 12 คน จากประเทศสมาชิก
12 ประเทศ เลือกตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกอยู่ในตำแหน่งวาระ
6 ปี
ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็ นอย่างสูงที่ได้เป็ นเจ้าภาพ ในการประชุมสมัชชาลูก
เสือโลก ครั้งที่ 33 ระหว่างวันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2536 ณ โรงแรมอิมพิเรียล ควีนส์ปาร์ค

หน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือโลก
1. ส่งเสริมกิจการลูกเสือโลก
2. แต่งตั้ง เลขาธิการและรองเลขาธิการของสำนักงานลูกเสือโลก
3. ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก
4. จัดหาเงินทุนสำหรับส่งเสริมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาให้เครื่องหมาย ลูกเสือสดุดี แก่ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุน
กิจการลูกเสือโลก
ผู้แทนคณะกรรมการลูกเสือไทย ที่ได้รับเลือกให้เป็ นคณะกรรมการลูกเสือโลก มี
2 ท่าน ดังนี้
1. นายอภัย จันทวิมล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายแพทย์บุญสม มาร์ติน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

สำนักงานลูกเสือโลก
20
สำนักงานลูกเสือโลกทำหน้าที่เป็ นสำนักงานเลขาธิการปฏิบัติตามคำสั่ง หรือ
มติของสมัชชาลูกเสือโลกและคณะกรรมการลูกเสือโลก ค.ศ. 1968 ได้ย้ายไปอยู่เมืองเจนีวา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน
นอกจากนี้ยังมีสำนักงานอีก 5 เขต คือ
เขตอินเตอร์ – อเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองซานโฮเซ ประเทศคอสตาริกา
เขตเอเชีย – แปซิฟิ ก ตั้งอยู่เมือง มะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
เขตอาหรับ ตั้งอยู่ที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์
เขตยุโรป ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
เขตแอฟริกา ตั้งอยู่ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา
ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติกับกิจการลูกเสือของทุกประเทศ มี
หลักการที่สำคัญอย่างเดียวกัน ดังนี้
1.ความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
2.มีความศรัทธาในมิตรภาพ และความเป็ นพี่น้องของลูกเสือทั่วโลก
3.การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
4.การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
5.การเข้าเป็ นสมาชิกด้วยความสมัครใจ
6.มีความเป็ นอิสระต่ออิทธิพลทางการเมือง
7.มีกำหนดการพิเศษสำหรับการฝึกอบรมโดยอาศัย
–ระบบหมู่ / กลุ่ม
–การทดสอบเป็ นขั้น ๆ
–เครื่องหมายวิชาพิเศษ
–กิจกรรมกลางแจ้ง
21

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก
คณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศ
สมาชิกลูกเสือภาคฯที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 10 คนและอยู่ในตำแหน่งได้เทอมละ 6 ปี
คณะกรรมการลูกเสือภาค ฯ จะดำเนินการเลือกประธานและรองประธานกันเอง ในการ
ประชุมสมัชชาลูกเสือภาคฯ ทุกครั้ง กรรมการ 5 คน จะพ้นจากตำแหน่งตามวาระ และจะมี
การเลือกตั้งกรรมการคนใหม่ จำนวน 5 คน เข้ามาแทนที่ผู้ออกหรือลาออก หรือ ถึงแก่
กรรม
ประเทศไทยได้มีหลายท่านที่ได้รับเลือก เป็ นกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย –
แปซิฟิ ก ในยุโรปมีลูกเสือ 1.5 ล้านคน แม้ว่าจำนวนลูกเสือจะไม่เพิ่มพูน แต่ก็ยังสามารถ
ยืนหยัดจำนวนคงที่อยู่ได้ และเน้นในทางสมาคมร่วมกันระหว่างลูกเสือกับลูกเสือหญิงซึ่งเป็ น
ความมุ่งประสงค์และวิธีการของลูกเสือ
ในเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก เป็ นเขตที่มีความเจริญงอกงามมากที่สุดกว่าทุกเขต มี
ประชากรลูกเสือเกินกว่า 5 ล้านคน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการลูกเสือได้ตอบสนองความ
ต้องการของประเทศ ที่กำลังพัฒนาได้ตรงเป้ าหมาย

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ผู้นำวัยรุ่น “

กบฝูงหนึ่ง มีกบหนุ่มเป็ นหัวหน้า หากินอยู่ที่สระชายป่ าแห่งหนึ่ง


22
นานวันอาหารหมดจึงปรึกษากันว่าควรอพยพไปหากินในที่ใหม่ ขณะนั้นนกยาง
เจ้าเล่ห์บินผ่านมา ก็แนะนำว่า “ ข้าพบสระในป่ าไกลออกไปมีอาหารของพวกเจ้ามากมาย
ถ้าจะไปที่นั่น ข้าจะอาสาคาบพวกเจ้าไปส่งให้”
กบหนุ่มหัวหน้าไม่มีความยั้งคิดก็ตอบตกลงไปนกยางก็คาบพวกกบ
ไปทีละตัวและมันก็กินเสีย ทีละตัวจนหมดฝูง
นกยางบินกลับมาที่สระนั้นเห็นมีปูมากก็อยากกินปูอีกจึงออกอุบายบอกปูว่า “
พวกเจ้าไม่อพยพไปอยู่สระใหม่เช่นเดียวกับพวกกบหรือ”
ปูเฒ่าหัวหน้าปูในสระนั้นรู้ทันเล่ห์กลของนกยาง จึงออกอุบายว่า
“ ข้าอยากไปตรวจดูก่อน แต่เจ้าต้องให้ข้ากอดคอเจ้าไปนะ ข้าจึงไป”
นกยางหลงกลปูเฒ่า จึงให้ปูกอดคอไป พอนกยางก้มคอให้ปูกอด
ปูเฒ่าได้โอกาสก็พูดว่า “ เจ้าหลอกกินพวกกบหมดแล้ว จะมาหลอกกินพวกข้าอีก แต่ข้านี่
แหละจะกินเจ้าเสียก่อน” ว่าแล้วปูเฒ่าก็เอาก้ามอันแข็งแรงทั้งสองหนีบคอนกยางจนตาย

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กิจกรรมลูกเสือ สามัญรุ่นใหญ่ เวลา 1
ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การแต่งเครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ การใช้อาวุธประจำตัวตลอดจนการ
แสดงความเคารพ และ คติพจน์ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เป็ นสิ่งจำเป็ นที่ต้องปฏิบัติให้ถูก
23
ต้อง โดยมีกฎหมายข้อบังคับพระราชบัญญัติรองรับที่สร้างระเบียบวินัยให้กับลูกเสือ
ทำให้เกิดความศรัทราแก่ผู้ปฏิบัติและผู้พบเห็น และเป็ นที่ยอมรับในสังคมทั่วไป

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือแต่งเครื่องแบบ แสดงความเคารพ และบอกคติพจน์ ของลูกเสือสามัญ
รุ่นใหญ่ได้อย่างถูกต้อง
1. บอกการแต่งเครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
2. บอกการทำความเคารพในท่าอาวุธได้
3. บอกการทำความเคารพในท่า “ วันทยหัตถ์ “ ได้
4. เลือกไม้ง่ามเป็ นอาวุธประจำตัวได้เหมาะสม และใช้อาวุธ
ท่าเบื้องต้นได้ถูกต้อง
5. ลูกเสือบอกคติพจน์ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้

3. เนื้อหาสาระ
1. ระเบียบการแต่งเครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
2. ระเบียบท่าแสดงความเคารพ ท่ามือเปล่า และท่าอาวุธ
3. เครื่องหมายประกอบเครื่องแบบลูกเสือ
4. คติพจน์ของลูกเสือ

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ มองหา “
3. ผู้บังคับบัญชากล่าวต้อนรับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และแนะนำให้รู้จัก ผู้บังคับ
บัญชา
4. ผู้บังคับบัญชานำเครื่องแบบลูกเสือแสดงให้ลูกเสือในกองดู
พร้อมอธิบายเรื่องเครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
5. ลูกเสือแต่ละหมู่ศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้น
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
6. ตัวแทนลูกเสือแต่ละหมู่บอกใจความสำคัญในใบความรู้ที่ 1.1
7. ผู้บังคับบัญชา ช่วยเพิ่มเติมในสิ่งที่ขาด ให้กับลูกเสือ และ ลูกเสือจด
บันทึกลงในสมุดของตนเองทุกคน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “สุนัขจิ้งจอกกับหน้ากาก“
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น
10. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
24
5. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ มองหา “
3. เครื่องแบบลูกเสือ
4. ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
5. เรื่องสั้น เรื่อง “สุนัขจิ้งจอกกับหน้ากาก“
25
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
26
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
27
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
28

เพลง “ มองหา ”

มอง มองหา ขวัญตาเจ้าอยู่แห่งใด


มอง มองไป ขวัญใจทำไมไม่มา
เจ้าหลอกให้พี่มารอ โอ้หนอมาทำพี่ได้
เป็ นเพราะเหตุอันใด ขวัญใจทำไมไม่มา

––––––––––––––––

ใบความรู้
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
29
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระราชดำริกำหนด
เครื่องแบบลูกเสือขึ้น นับเป็ นเครื่องแบบที่มีเกียรติยิ่ง และทรงรับสั่งว่า นายชัพน์ บุนนาค
เป็ นลูกเสือคนแรกของสยาม
เครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ( เหล่าเสนา ) ประกอบด้วย
1. หมวกทรงอ่อนสีเลือดหมู มีตรารูปตราคณะลูกเสือ แห่งชาติ
2. เสื้อ คอพับสีกากีแขนสั้น
3. ผ้าผูกคอ รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
4. กางเกงขาสั้น สีกากี
5. เข็มขัดหนังสีน้ำตาล หัวโลหะสีทองรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติ
6. ถุงเท้ายาวสีกากี ติดพู่สีเลือดหมูข้างละ 2 พู่
7. รองเท้าหนังหรือผ้าใบสีน้ำตาลแก่ผูกเชือก
8. อินทรธนูสีเลือดหมู ปลายอินทรธนูมีอักษร “ ล.ญ. “
ผ้าผูกคอลูกเสือจังหวัดชัยนาท
สังกัดเขตการศึกษา 6 มีสีแดง เครื่องหมาย จังหวัดเป็ นรูป
ค่ายบางระจัน ผ้าสามเหลี่ยม พื้นสีแดง ขลิบริมสีน้ำเงิน
30
เครื่องแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
31

ท่าเคารพบุคคลในท่ามือเปล่า
คำสั่ง “วันทยหัตถ์”
ผู้ปฏิบัติ ยกมือขวาขึ้นโดยเร็วและแข็งแรง จัดนิ้วอย่างเดียวกับท่ารหัสของลูก
เสือให้ปลายนิ้วชี้แตะขอบล่างของหมวก ค่อนไปข้างหน้าเล็กน้อยในแนวหางตาขวา มือ
เหยียดตามแนวแขนขวาท่องล่าง นิ้วเหยียดตรงและเรียงชิดกัน ข้อมือไม่หัก เปิ ดฝ่ ามือ
ขึ้นประมาณ 30 องศา แขนขวาท่อนบนยื่นไปข้างหน้าอยู่ประมาณแนวไหล่ เมื่ออยู่ในที่
แคบให้ลดข้อศอกลงได้ตามความเหมาะสม ร่างกายส่วนอื่นต้องไม่เสียลักษณะท่าตรง
คำสั่ง “ มือลง “
ผู้ปฏิบัติ ลดมือลงอยู่ในท่าตรงโดยเร็วและเข้มแข็ง โอกาสที่จะแสดง
ความเคารพในท่า “วันทยหัตถ์ “
1. ท่าวันทยหัตถ์ โดยปรกติต่อจากท่าตรงเป็ นท่าเคารพ เมื่ออยู่ตามลำพัง
นอกแถวของลูกเสือทุกประเภท
2. เมื่อผู้บังคับบัญชาลูกเสือเข้าแถว ต้องแสดงการเคารพด้วยท่าวันทยหัตถ์
3. ลูกเสือไม่ได้สวมหมวกให้ปลายนิ้วชี้แตะที่หางคิ้วขวา เมื่อมีผู้รับเคารพ

ภาพประกอบที่ 1.1 ท่า “วันทยหัตถ์”


32
อาวุธประจำตัวลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
อาวุธประจำตัวของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่นั้นจะใช้ไม้ง่าม โดยลูกเสือแต่ละคน
ควรเลือกไม้ง่ามให้เหมาะสมกับตัวเองคือ
1. เป็ นไม้ตรงที่มีความคงทน ไม่เปราะหรือหักง่าย
2. มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 4 เซนติเมตร
3. มีความยาวจากโคนไม้ถึงง่ามไม้ เท่ากับความสูงของผู้ใช้ ที่วัดจากพื้นถึง
ระดับคาง ทดสอบได้โดยใช้นิ้วหัวแม่มือวางบนง่ามของไม้ง่าม แล้วเหยียดแขนไปข้างหน้า
ให้แขนขนานกับพื้น โคนไม้ง่ามจรดพื้น ก็จะได้ความยาวของไม้ง่าม
4. ง่ามไม้ควรมีความยาวประมาณง่ามละ 8 – 10 นิ้ว

ภาพประกอบที่ 1.2
ไม้ง่ามที่เหมาะสมกับลูกเสือ

การเคารพในท่า “วันทยาวุธ”
คำสั่ง “วันทยา–วุธ”
ผู้ปฏิบัติ ยกแขนซ้ายขึ้นมาเสมอแนวไหล่ ศอกงอไปข้างหน้า ตั้งฉากกับลำตัว
ฝ่ ามือคว่ำรวบนิ้วหัวแม่มือ กดปลายนิ้วก้อยไว้ สามนิ้วที่เหลือเหยียดตรงชิดกัน ข้อสุดท้าย
ของนิ้วชี้แตะไม้ง่ามในร่องไหล่ขวา
คำสั่ง “เรียบ – อาวุธ”
ผู้ปฏิบัติ ลดมือซ้ายลงมาอยู่ในท่าตรงโดยเร็ว

ภาพประกอบที่ 1.3 ท่า “วันทยาวุธ” ท่า “เรียบอาวุธ”

คติพจน์ของลูกเสือ
คติพจน์ หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่เป็ นคติ เพื่อเป็ นสิ่งกระตุ้น
เตือนใจให้ ลูกเสือระลึกถึงหน้าที่ที่พึงกระทำ
คติพจน์ของลูกเสือทั่วไป ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
33
ทรงพระราชทานแก่ลูกเสือ คือ “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” หมายถึง ลูกเสือรักษาสัจจะ
เป็ นสำคัญยิ่งกว่าชีวิต
คติพจน์ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ คือ “มองไกล” (LOOK WIDE) หมายถึง
การจะพูดหรือจะทำอะไรต้องคิดให้รอบคอบ คำนึงถึงผลที่จะตามมา ไม่มองแคบแต่
เฉพาะตนเอง ให้มองผู้อื่นเป็ นสำคัญด้วย
34

เรื่องสั้น “สุนัขจิ้งจอกกับหน้ากาก”

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่ง ปกติมันมักจะหา


อาหารอยู่แถวถิ่นที่อยู่บนภูเขา วันหนึ่ง สุนัขจิ้งจอกได้ลงจากภูเขา เข้ามาหา
อาหารกินในหมู่บ้านตรงเชิงเขา มันได้พบกล่อง ๆ หนึ่ง วางอยู่ในโรงเก็บของ
จึงใช้เท้าเขี่ยดู ก็เห็นหน้ากากมนุษย์ซึ่งสวยงามหลากหลาย
สุนัขจิ้งจอกมองดูหน้ากากที่สวยงามเหล่านั้น แล้วคิดพิจารณาว่า “น่าเสียดาย
จัง….หน้ากากเหล่านี้เมื่อดูภายนอกแล้ว ก็สวยงามดีอยู่หรอก แต่ภายในกลับกลวง ไร้ค่ายิ่ง
นัก”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
35
เรื่อง บทบาทของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
บทบาทของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ต้องสามารถบอกบทบาทของตนเอง
ในฐานะที่เป็ นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ต้องเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือ
นานาชาติ และกิจการของลูกเสือเพื่อจะสร้างสรรค์งานต่าง ๆ และเป็ นแบบอย่าง
แก่ชุมชนได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกบทบาทของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
1. บอกความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติได้
2. บอกบทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ที่มีต่อชุมชนได้
36
เนื้อหาสาระ
บทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ส่งผ้า”
3. ผู้บังคับบัญชาอธิบายวิธีการระดมสมองให้ลูกเสือทุกหมู่ฟัง
4. ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ แยกกันระดมสมอง ตามใบความรู้ เรื่อง บทบาทของ
ตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษา ดังนี้
หมู่ที่ 1 ประโยชน์ของกิจกรรมสำหรับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
หมู่ที่ 2 ลักษณะกิจกรรมสำหรับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
หมู่ที่ 3 ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่กับการพัฒนาชุมชน
หมู่ที่ 4 การดำเนินโครงการพัฒนาชุมชน
5. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
6. ลูกเสือแต่ละหมู่ส่งตัวแทนออกมารายงานผลการระดมสมอง
7. ผู้บังคับบัญชา เสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “การบุกเบิกของ บี . พี.”
9. แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น ลูกเสือทุกกลุ่มนำคติสอนใจไป
ติดที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าว ชมเชยและเสนอแนะ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เกม “ส่งผ้า”
3. ใบความรู้ เรื่อง บทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือ
สามัญรุ่นใหญ่
4. เรื่องสั้น “การบุกเบิกของ บี.พี”
37
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ผู้บังคับบัญชาควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษา
ครบทุกฐาน
38
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
(............................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
39
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เกม “ส่งผ้า”
วิธีเล่น
40
ให้แต่ละแถวมีผู้เล่นหมู่ละเท่า ๆ กันแต่ละหมู่เข้าแถวเป็ นรูปแถวตอน
ให้มีระยะช่วงห่างกันคนต่อคน ประมาณ 1 เมตร ผู้เล่นคนสุดท้ายถือผ้าผูกคอไว้ใน
มือ
เมื่อได้ยินคำสั่งให้เล่นจากผู้บังคับบัญชา คนสุดท้ายของแต่ละแถววิ่งไปยืนข้าง
หน้าแถวแล้วส่งผ้าผูกคอมาทางหลัง จนมาถึงคนสุดท้ายของแถว คนสุดท้ายของ
แถวเมื่อได้รับผ้าแล้วก็รีบวิ่งไปต่อหน้าเช่นคนที่ 1 วิธีการเล่นดำเนินไปเช่นนี้เรื่อย ๆ แถวใด
ทำเสร็จก่อนแถวนั้นชนะ

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
ประโยชน์กิจกรรมสำหรับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เด็กชายจะสมัครเข้าเป็ นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่สำหรับเด็กหญิงให้สมัครเป็ นเนตร
นารีสามัญรุ่นใหญ่ โดยจะต้องมีอายุ 14 – 18 ปี จะต้องศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษา ซึ่ง
อยู่ในวัยหนุ่มสาว ดังนั้นกิจกรรมที่จะจัดให้ฝึกด้วยความระมัดระวัง ให้มีความเหมาะสม
กับวัย จะต้องเป็ นผู้เสียสละเพื่อผู้อื่นอยู่เสมอ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ก็เป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน
จึงเป็ นหน้าที่ของลูกเสือที่จะต้องช่วยกันพัฒนาชุมชนที่กองลูกเสือตนเองตั้งอยู่
41
ประโยชน์ของกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
1. ให้ลูกเสือเป็ นผู้รอบรู้ด้วยการคิดอย่างมีเหตุผล
2. ทั้งที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม
3. สามารถใช้ภาษาได้อย่างดี
4. มีการให้ข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน
5. มีการวิพากษ์วิจารณ์ความเป็ นไปของโลกปัจจุบัน
6. มีการแสวงหาเอกลักษณ์

ลักษณะกิจกรรมของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จะสัมผัสกับงานสังคม สภาพสิ่งแวดล้อมทำงานส่วนรวม
เพื่อผู้อื่นและเพื่อปลูกฝังให้เป็ นพลเมืองดีของชาติสืบไป
ดังนั้นลักษณะของกิจกรรมหลักคือ งานลูกเสือกับชุมชนเพราะชุมชมเป็ นสังคม
กว้างที่ลูกเสือจะต้องสัมผัส เพื่อการพัฒนาความคิดในการทำงานเพื่อส่วนรวมสามารถ
ประสานงานและร่วมงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลูกเสือจึงต้องได้รับการฝึกหัดดังนี้
1.ให้มีความรู้ในเรื่องหลักการปฏิบัติงานตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น คือ มีการ
วางแผนล่วงหน้า โดยคำนึงว่างานนั้นจะเกิดในวัน เวลา สถานที่อย่างไร มีกำหนดการ
อย่างไร เริ่มงานตรงไหน และจะหวังผลอะไร ตลอดจนต้องมีการเตรียมตัวอย่างไร
42

2. ให้มีความรู้ในการทำงานเป็ นกลุ่ม กลุ่ม คือ บุคคลต่างๆที่เข้ามามี


บทบาทร่วมกัน นับตั้งแต่ตัวลูกเสือเอง บิดา มารดา ญาติพี่น้อง เพื่อน หรือบุคคล
ภายนอก ในกองลูกเสือมีผู้บังคับบัญชา รองผู้บังคับบัญชา ที่ประชุมนายหมู่ และหมู่ลูกเสือ
ดังนั้นการทำงานเป็ นกลุ่มให้บรรลุผลสำเร็จจะต้องมีการยอมรับกันทั้งความคิดและคำพูดการ
ยอมปฏิบัติตามกันในฐานะผู้นำ และผู้ตาม ตลอดจนความมีน้ำใจ ความซื่อสัตย์สุจริต
ตรงต่อเวลาและหน้าที่
3. ให้มีการสร้างสัมพันธภาพต่อบุคคลโดยเปิ ดโอกาสให้ตนเองเข้าร่วมกิจกรรม
กับผู้อื่น เอาใจเขามาใส่ใจเราพยายามคิดถึงผู้อื่น เหมือนพี่น้อง ญาติมิตรสนิทที่ต้องเอาใจ
ใส่ระหว่างกัน มีการบริการซึ่งกันและกัน

ลูกเสือกับการพัฒนาชุมชน
ขบวนการลูกเสือ ควรตอบสนองในเรื่อง ความต้องการของสังคมและทาง
เศรษฐกิจของสังคมที่ตนบริการอยู่ ไม่ควรปลีกตัวออกจากหน่วยงานอื่นของสังคมเพื่อว่า
ลูกเสือจะได้ทราบว่าสังคมมีความต้องการอะไร และจะได้เข้าให้การช่วยเหลือได้
อย่างเต็มที่ในกิจการของสังคมนั้น ถึงแม้ว่า ความแตกต่างในทางเศรษฐกิจของสมาชิก
ในสังคมยังมีอยู่มาก ขบวนการลูกเสือ ก็ต้องพยายามช่วยพัฒนาสภาพความเป็ นอยู่ทาง
สังคมนั้นให้เข้าสภาพกับที่ใคร ๆ ในสังคมนั้นพอจะยอมรับได้

กิจกรรมการพัฒนาชุมชนที่เหมาะสมกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ในแต่ละสภาพของท้องถิ่น หรือท้องถิ่นเดียวกันแต่คนละช่วงเวลา ย่อมมีความ
แตกต่างกันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองท้องถิ่น ตลอดจน
ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เมื่อลูกเสือจะเข้าไปดำเนิน กิจกรรม
เหล่านี้ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ควรพยายามคัดเลือกโครงการ ที่จะจัดกิจกรรมให้เกิด
ประโยชน์มากที่สุดเท่าที่จะมากได้

การดำเนินการโครงการพัฒนาชุมชน
ในการพัฒนาชุมชน ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือจะต้องศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
แล้วเขียนเป็ นโครงการขึ้นมาก่อน หรือไปร่วมกับโครงการที่หน่วยราชการต่าง ๆ จัดขึ้นก็ได้
ตัวอย่างโครงการมีดังนี้
43
1.ขั้นการวางแผน
–สำรวจข้อมูลเบื้องต้น
–วางแผนเขียนโครงการ
–กำหนดรายละเอียดการปฏิบัติทุกขั้นตอน เตรียมอุปกรณ์ เครื่องอำนวย
ความสะดวกต่าง ๆ หากมีการติดต่อประสานงานภายนอกต้องระบุให้ละเอียด
2.ขั้นลงมือปฏิบัติ
– จัดแบ่งหมู่งาน ชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และราย
ละเอียดในการปฏิบัติอย่างถูกวิธี
– มอบอุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ
– ปฏิบัติงานตามกำหนดเวลา สถานที่
3. ขั้นประเมินผลการปฏิบัติตามโครงการ
– พิจารณารายละเอียดในโครงการว่าดำเนินงานไปครบถูกต้องเรียบร้อ
เพียงใด
– มีปัญหา อุปสรรค และข้อควรแก้ไขปรับปรุงในด้านใดบ้าง
– ทุกคนมีความพึงพอใจในผลงาน และประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ
ในโครงการเพียงใด
– อภิปราย สรุป และเขียนบันทึกรายงาน ติดป้ ายประกาศให้ทุกคนทราบ
44

เรื่องสั้น
เรื่อง “การบุกเบิกของ บี.พี.”
ในขณะที่ บี.พี. และกองทหารสอดแนมของท่านทำการบุกเบิกใน
ภาคตะวันตกของแอฟริกา ปรากฏว่าได้สร้างสะพานเกือบ 200 สะพาน โดยใช้วัสดุที่พอ
หาได้ในท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งนี้ บี.พี. ได้เห็นชาวพื้นเมืองในอินเดียทำสะพานโดยใช้เชือกสามเส้น
ข้ามแม่น้ำ และใช้ไม้ผูกเป็ นตัววีเป็ นระยะ ๆ ส่วนสะพานข้ามแม่น้ำที่แคบและลึกนั้น
ก็โค่นต้นไม้หนึ่งหรือสองต้นพาด และตอนบนของต้นไม้ถากให้แบนลง ทำราวสำหรับจับก็ได้
สะพานอย่างดีสะพานหนึ่ง
45
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ (1 ) เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรมในเวลากลางคืนนับว่าเป็ นกิจกรรมที่สำคัญสำหรับลูกเสือ
สามัญรุ่นใหญ่ ในการพักแรมค้างคืนนั้นจำเป็ นต้องมีความรู้ ทักษะในการกางและรื้อเต็นท์
ตลอดจนวิธีการเก็บรักษาอย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือกางเต็นท์ รื้อเต็นท์ที่พักแรม และเก็บดูแลรักษาเต็นท์ได้
1. บอกส่วนประกอบของเต็นท์ได้
2. ปฏิบัติการกางเต็นท์อย่างถูกต้องได้
3. ปฏิบัติการรื้อเต็นท์อย่างถูกต้องได้
4. บอกการเก็บ ดูแลรักษาเต็นท์ได้

เนื้อหาสาระ
3.1 ส่วนประกอบของเต็นท์
3.2 การกางและรื้อเต็นท์
3.3 การเก็บและรักษาเต็นท์
46
กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
3. ให้ลูกเสือทุกคนศึกษาส่วนประกอบ การกาง การรื้อและการเก็บ
รักษาเต็นท์ จากของจริงที่สร้างเสร็จมาก่อน โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้คำแนะนำข้อ
สงสัยของลูกเสือ
4. ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ฝึกปฏิบัติ กางและรื้อเต็นท์ที่สนามฟุตบอล
โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ดูแลและตรวจสอบ
5. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เต็นท์หมู่
3. เต็นท์ 5 ชาย
4. เต็นท์กระโจม
5. เพลง “สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
6. ใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์ การเก็บและดูแลรักษา
7. เรื่องสั้น เรื่อง “การอยู่ค่ายพักแรม”
47
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เรื่องเต็นท์ 5 ชาย ผู้สอนจะสอนเรื่องเต็นท์อื่น ๆ ก็ได้
2. การแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องเต็นท์ ถ้ามีผู้บังคับบัญชาและเต็นท์จำนวนมาก แบ่ง
กลุ่มหลายกลุ่มได้
3. ถ้ามีเต็นท์เพียงพอควรฝึกให้ลูกเสือกางเต็นท์ 2 คนต่อ 1 เต็นท์
4. ให้ลูกเสือศึกษาใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์ เพิ่มเติมที่บ้าน
48
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
49
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
50
สุขใจที่ได้มาอยู่ค่าย สุขใจที่ได้มาพักแรม
คืนนี้พระจันทร์สวยแจ่ม พักแรม ๆ สุขใจ
สุขใจที่ได้มาร้องเล่น ร่มเย็นที่ได้มาพักใจ
คืนนี้ที่เราฝันใฝ่ สุขใจที่ได้มาพักแรม
สุขกายที่ได้มาพักแรม
51
รูปแบบเต็นท์แบบต่าง ๆ

เต็นท์สำเร็จรูป

เรื่องสั้น
เรื่อง “การอยู่ค่ายพักแรม”
52
ลูกเสือใหม่อาจพบว่า การอยู่ค่ายพักแรมเป็ นการลำบากและไม่สะดวกสบายแต่
ลูกเสือเก่าจะไม่ลำบาก เพราะรู้จักการดูแลตนเอง ถ้าเขาไม่มีเต็นท์ก็จะทำที่พักแทนและรู้
ว่าจะทำอย่างไรเมื่อมีพายุฝน และเขาจะก่อกองไฟ เพื่อให้เกิดความอบอุ่น การตั้งค่ายพัก
แรม ก็จะดูถึงลักษณะของพื้นที่ว่าเป็ นชนิดใด ก็จะพยายามหาวัสดุมาสนองความสบายได้
ถูกต้อง
ชายทะเลก็เหมาะสำหรับการอยู่ค่าย แต่สิ่งที่ควรคำนึงถึงอีกคือ เรื่อง น้ำดื่มน้ำใช้ การเลือก
ที่อยู่ค่าย รายการเดินทาง ภูมิประเทศ สัมภาระที่จะต้องเตรียมอาหารจะจัดหาได้ที่ไหน
บ้าง การเขียนรายการอาหารต้องคำนึงถึงจำนวนคนและวันที่ต้องเดินทาง
เมื่อหมู่ลูกเสือเตรียมพร้อมแล้ว การเดินทางไปแรมคืนของลูกเสือจะมีความสุขไม่
ลำบาก และลูกเสือจะมีความต้องการไปอยู่ค่ายพักแรมอีก
53

ใบความรู้
เรื่อง การกางเต็นท์

การกางเต็นท์ และการเก็บดูแลรักษา
ส่วนประกอบที่สำคัญของเต็นท์มีดังนี้
–ผ้าเต็นท์ 2 ผืน
–เสาเต้นท์มีความสูงประมาณ 120 เซนติเมตร 2 ต้น
–สมอบก 10 ตัว
–เชือกรั้งหัวเต็นท์ 2 เส้น
เต็นท์ 5 ชาย

การกางเต็นท์และรื้อเต็นท์อย่างถูกวิธี คำนึงถึงสถานที่และฤดูกาลบ้าง เช่น


1. ควรเลือกสถานที่ ที่สามารถจะตอกสมอบกให้ใช้การได้ดี
2.ควรกางเต็นท์ในที่ดอน และขุดร่องระบายน้ำป้ องกันน้ำฝนรอบเต็นท์นำดินขึ้น
มาทับชายเต็นท์เพื่อกันสัตว์ที่จะเข้าเต็นท์
3.ควรกางเต็นท์ ให้หัวท้ายเต็นท์เปิ ดรับแสงแดดได้ เพราะตอนกลางวันจะ
ต้อง เปิ ดเต็นท์ เพื่อไม่ให้ภายในเต็นท์อับ
4.ควรกางเต็นท์รอบ ๆ บริเวณเต็นท์ผู้บังคับบัญชา เพื่อจะได้ดูแลลูกเสือได้ทั่ว
ถึง
5.ควรใช้ปูนขาวโรยรอบ ๆ เต็นท์เพื่อป้ องกันมดและแมลงมารบกวน
6.ไม่ควรกางเต็นท์ใต้ต้นไม้ใหญ่เพราะอาจได้รับอันตรายจากกิ่งไม้ที่หักลงมา
7.ไม่ควรกางเต็นท์ติดลำน้ำ เพราะอาจจะได้รับอันตราย จากงูพิษที่ลงมาหา
เหยื่อตามลำน้ำ
8.ไม่ควรกางเต็นท์ให้หัว – ท้ายเต็นท์รับลมมากเกินไป จะทำให้ลมโกรกแรง
54
วิธีกางเต็นท์กับลูกเสืออีกคนหนึ่ง
นำผ้าเต็นท์ 2 ผืนมาติดกระดุมเข้าด้วยกัน
นำเสาเต็นท์มาตั้งโดยเอาหัวเสาสอดไปในรูของหัวเต็นท์ แต่ละข้าง
นำเชือกมาผูกที่หัวเต็นท์ข้างละเส้น ด้วยเงื่อนผูกซุง หรือเงื่อนกระหวัดไม้
(เชือกประจำตัวลูกเสือ)
นำสมอบกมาตอกเพื่อรั้งเชือกหัวเต็นท์ทั้ง 2 ข้าง การตอกสมอบก ให้เอียงหัว
สมอบกออกจากเต็นท์และทำมุม 45 องศา กับพื้นดินแล้วผูกเชือกรั้งเต็นท์ด้วยเงื่อนผูกรั้ง
เพื่อจะรูดให้เต็นท์ตึง–หย่อนได้
ตอกสมอบกรั้งเชือกจากชายเต็นท์โดยรั้งเชือกที่มุมเต็นท์ทั้ง 4 ก่อน แล้วจึงมารั้ง
ตรงกลาง การตอกสมอบกให้ตอกเฉียงออก 45 องศา เช่นเดียวกัน(อย่าใช้สมอบก ตอก
ลงไปที่รูของชายเต็นท์ เพราะจะทำให้เต็นท์ขาดและเสียหายได้)
พับผ้าเต็นท์ทั้งสองข้างไว้บนหลังคาเต็นท์ก่อน เวลานอนค่อยติดกระดุมดึงมาปิ ด
หัว–ท้ายเต็นท์
การรื้อเต็นท์หลังจากการอยู่ค่ายแล้ว ควรรื้อให้ถูกวิธี จะทำให้เต็นท์ไม่ชำรุดเสีย
หาย และใช้การได้นาน ควรปฏิบัติดังนี้
1. แก้เชือกที่รั้งหัวเต็นท์ทั้งสองข้างออกจากสมอบก
2. ล้มเสาเต็นท์ทั้งสองเสาลง
3. ถอนสมอบกออกทุกตัว โดยถอนออกตามทิศทางที่ตอกลงไป ไม่ควรงัดถ้า
สมอบกหักจะเป็ นอันตราย แก่ผู้ที่ผ่านไปมาได้
4. แกะกระดุมแยกเต็นท์ออกเป็ น 2 ผืน
5. ทำความสะอาดแยกเต็นท์พับเก็บให้เรียบร้อย แล้วนำอุปกรณ์มารวมกันไว้
เพื่อความสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป
55
การเก็บและระวังรักษาเต็นท์ ควรจะปฏิบัติดังนี้
1. เมื่อกลับมาถึงกองลูกเสือแล้วควรให้ลูกเสือช่วยกัน ทำความสะอาดอีกครั้ง
หนึ่งปัดเศษดินนำมาผึ่งแดดให้แห้งก่อนเก็บ
2. การพับเต็นท์พับให้ถูกวิธี โดยการวางราบกับพื้นแล้วพับตรงฐานผ้าที่เป็ น
สามเหลี่ยมทั้งสองด้าน ให้ปลายสามเหลี่ยมพับเข้ามาด้านในผ้าเต็นท์จะมีลักษณะเป็ นรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้แต่ละผืนมีขนาดเท่ากันวางซ้อนกันไว้จะสะดวกในการนับจำนวนผ้า
เต็นท์ด้วย
3. ถ้าผ้าเต็นท์มีรอยฉีกขาดให้รีบเย็บทันทีอย่าปล่อยทิ้งไว้ จะทำให้รอบฉีกขาด
กว้างขึ้น
4. เสาเต็นท์ถ้าเป็ นเสาชนิดพับได้ ควรพับเสาให้อยู่ในสภาพปกติเหมือน
เดิม
5. อุปกรณ์ทุกชนิดควรเก็บในห้องที่ไม่เปี ยกชื้น หรืออับจนเกินไปสำหรับผ้า
เต็นท์ควรใส่ยากันแมลงสาบไว้ด้วย อุปกรณ์ทุกชนิดควรเก็บรวมในห้องเดียวกัน

การวางผังในการกางเต็นท์
การตั้งค่ายของลูกเสือนั้น เต็นท์ต้องไม่เป็ นแถวยาวเหมือนกับค่ายทหาร
แต่จะอยู่เป็ นหย่อม ๆ ตามหมู่ ห่างกัน 6 เมตร หรือกว่านั้น เป็ นรูปวงกลมใหญ่ ๆ รอบ ๆ
เต็นท์ผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งโดยปกติจะอยู่ที่ศูนย์กลางพร้อมด้วยเสาธง และที่แสดงรอบ
กองไฟ
เมื่อได้เลือกที่สำหรับสร้างค่ายแล้ว จงตั้งเต็นท์ให้ด้านข้างเต็นท์รับทิศทางลม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


56
กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ (2 ) เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรมในเวลากลางคืนนับว่าเป็ นกิจกรรมที่สำคัญสำหรับลูกเสือ
สามัญรุ่นใหญ่ ในการพักแรมค้างคืนนั้นจำเป็ นต้องมีความรู้ ทักษะในการกางและรื้อเต็นท์
ตลอดจนวิธีการเก็บรักษาอย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือกางเต็นท์ รื้อเต็นท์ที่พักแรม และเก็บดูแลรักษาเต็นท์ได้
1. บอกส่วนประกอบของเต็นท์ได้
2. ปฏิบัติการกางเต็นท์อย่างถูกต้องได้
3. ปฏิบัติการรื้อเต็นท์อย่างถูกต้องได้
4. บอกการเก็บ ดูแลรักษาเต็นท์ได้

เนื้อหาสาระ
3.4 ส่วนประกอบของเต็นท์
3.5 การกางและรื้อเต็นท์
3.6 การเก็บและรักษาเต็นท์
57
กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
5. ลูกเสือรวมกองสรุปสาระสำคัญที่ได้ศึกษามา
6. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น “การอยู่ค่ายพักแรม“
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วช่วยกันระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือ
9. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อให้ข้อคิดแก่ลูกเสือ
11. มอบใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์ ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่ บ้านแล้วนำ
เอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เต็นท์หมู่
3. เต็นท์ 5 ชาย
4. เต็นท์กระโจม
5. เพลง “สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
6. ใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์ การเก็บและดูแลรักษา
7. เรื่องสั้น เรื่อง “การอยู่ค่ายพักแรม”
58
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เรื่องเต็นท์ 5 ชาย ผู้สอนจะสอนเรื่องเต็นท์อื่น ๆ ก็ได้
2. การแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องเต็นท์ ถ้ามีผู้บังคับบัญชาและเต็นท์จำนวนมาก แบ่ง
กลุ่มหลายกลุ่มได้
3. ถ้ามีเต็นท์เพียงพอควรฝึกให้ลูกเสือกางเต็นท์ 2 คนต่อ 1 เต็นท์
4. ให้ลูกเสือศึกษาใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์ เพิ่มเติมที่บ้าน
59
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
............../................/...............
60
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ สุขใจที่มาอยู่ค่าย”
61
สุขใจที่ได้มาอยู่ค่าย สุขใจที่ได้มาพักแรม
คืนนี้พระจันทร์สวยแจ่ม พักแรม ๆ สุขใจ
สุขใจที่ได้มาร้องเล่น ร่มเย็นที่ได้มาพักใจ
คืนนี้ที่เราฝันใฝ่ สุขใจที่ได้มาพักแรม
สุขกายที่ได้มาพักแรม
62
รูปแบบเต็นท์แบบต่าง ๆ

เต็นท์สำเร็จรูป

เรื่องสั้น
เรื่อง “การอยู่ค่ายพักแรม”
63
ลูกเสือใหม่อาจพบว่า การอยู่ค่ายพักแรมเป็ นการลำบากและไม่สะดวกสบายแต่
ลูกเสือเก่าจะไม่ลำบาก เพราะรู้จักการดูแลตนเอง ถ้าเขาไม่มีเต็นท์ก็จะทำที่พักแทนและรู้
ว่าจะทำอย่างไรเมื่อมีพายุฝน และเขาจะก่อกองไฟ เพื่อให้เกิดความอบอุ่น การตั้งค่ายพัก
แรม ก็จะดูถึงลักษณะของพื้นที่ว่าเป็ นชนิดใด ก็จะพยายามหาวัสดุมาสนองความสบายได้
ถูกต้อง
ชายทะเลก็เหมาะสำหรับการอยู่ค่าย แต่สิ่งที่ควรคำนึงถึงอีกคือ เรื่อง น้ำดื่มน้ำใช้ การเลือก
ที่อยู่ค่าย รายการเดินทาง ภูมิประเทศ สัมภาระที่จะต้องเตรียมอาหารจะจัดหาได้ที่ไหน
บ้าง การเขียนรายการอาหารต้องคำนึงถึงจำนวนคนและวันที่ต้องเดินทาง
เมื่อหมู่ลูกเสือเตรียมพร้อมแล้ว การเดินทางไปแรมคืนของลูกเสือจะมีความสุขไม่
ลำบาก และลูกเสือจะมีความต้องการไปอยู่ค่ายพักแรมอีก
64

ใบความรู้
เรื่อง การกางเต็นท์

การกางเต็นท์ และการเก็บดูแลรักษา
ส่วนประกอบที่สำคัญของเต็นท์มีดังนี้
–ผ้าเต็นท์ 2 ผืน
–เสาเต้นท์มีความสูงประมาณ 120 เซนติเมตร 2 ต้น
–สมอบก 10 ตัว
–เชือกรั้งหัวเต็นท์ 2 เส้น
เต็นท์ 5 ชาย

การกางเต็นท์และรื้อเต็นท์อย่างถูกวิธี คำนึงถึงสถานที่และฤดูกาลบ้าง เช่น


1. ควรเลือกสถานที่ ที่สามารถจะตอกสมอบกให้ใช้การได้ดี
2.ควรกางเต็นท์ในที่ดอน และขุดร่องระบายน้ำป้ องกันน้ำฝนรอบเต็นท์นำดินขึ้น
มาทับชายเต็นท์เพื่อกันสัตว์ที่จะเข้าเต็นท์
3.ควรกางเต็นท์ ให้หัวท้ายเต็นท์เปิ ดรับแสงแดดได้ เพราะตอนกลางวันจะ
ต้อง เปิ ดเต็นท์ เพื่อไม่ให้ภายในเต็นท์อับ
4.ควรกางเต็นท์รอบ ๆ บริเวณเต็นท์ผู้บังคับบัญชา เพื่อจะได้ดูแลลูกเสือได้ทั่ว
ถึง
5.ควรใช้ปูนขาวโรยรอบ ๆ เต็นท์เพื่อป้ องกันมดและแมลงมารบกวน
6.ไม่ควรกางเต็นท์ใต้ต้นไม้ใหญ่เพราะอาจได้รับอันตรายจากกิ่งไม้ที่หักลงมา
7.ไม่ควรกางเต็นท์ติดลำน้ำ เพราะอาจจะได้รับอันตราย จากงูพิษที่ลงมาหา
เหยื่อตามลำน้ำ
8.ไม่ควรกางเต็นท์ให้หัว – ท้ายเต็นท์รับลมมากเกินไป จะทำให้ลมโกรกแรง
65
วิธีกางเต็นท์กับลูกเสืออีกคนหนึ่ง
นำผ้าเต็นท์ 2 ผืนมาติดกระดุมเข้าด้วยกัน
นำเสาเต็นท์มาตั้งโดยเอาหัวเสาสอดไปในรูของหัวเต็นท์ แต่ละข้าง
นำเชือกมาผูกที่หัวเต็นท์ข้างละเส้น ด้วยเงื่อนผูกซุง หรือเงื่อนกระหวัดไม้
(เชือกประจำตัวลูกเสือ)
นำสมอบกมาตอกเพื่อรั้งเชือกหัวเต็นท์ทั้ง 2 ข้าง การตอกสมอบก ให้เอียงหัว
สมอบกออกจากเต็นท์และทำมุม 45 องศา กับพื้นดินแล้วผูกเชือกรั้งเต็นท์ด้วยเงื่อนผูกรั้ง
เพื่อจะรูดให้เต็นท์ตึง–หย่อนได้
ตอกสมอบกรั้งเชือกจากชายเต็นท์โดยรั้งเชือกที่มุมเต็นท์ทั้ง 4 ก่อน แล้วจึงมารั้ง
ตรงกลาง การตอกสมอบกให้ตอกเฉียงออก 45 องศา เช่นเดียวกัน(อย่าใช้สมอบก ตอก
ลงไปที่รูของชายเต็นท์ เพราะจะทำให้เต็นท์ขาดและเสียหายได้)
พับผ้าเต็นท์ทั้งสองข้างไว้บนหลังคาเต็นท์ก่อน เวลานอนค่อยติดกระดุมดึงมาปิ ด
หัว–ท้ายเต็นท์
การรื้อเต็นท์หลังจากการอยู่ค่ายแล้ว ควรรื้อให้ถูกวิธี จะทำให้เต็นท์ไม่ชำรุดเสีย
หาย และใช้การได้นาน ควรปฏิบัติดังนี้
1. แก้เชือกที่รั้งหัวเต็นท์ทั้งสองข้างออกจากสมอบก
2. ล้มเสาเต็นท์ทั้งสองเสาลง
3. ถอนสมอบกออกทุกตัว โดยถอนออกตามทิศทางที่ตอกลงไป ไม่ควรงัดถ้า
สมอบกหักจะเป็ นอันตราย แก่ผู้ที่ผ่านไปมาได้
4. แกะกระดุมแยกเต็นท์ออกเป็ น 2 ผืน
5. ทำความสะอาดแยกเต็นท์พับเก็บให้เรียบร้อย แล้วนำอุปกรณ์มารวมกันไว้
เพื่อความสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป
66
การเก็บและระวังรักษาเต็นท์ ควรจะปฏิบัติดังนี้
1. เมื่อกลับมาถึงกองลูกเสือแล้วควรให้ลูกเสือช่วยกัน ทำความสะอาดอีกครั้ง
หนึ่งปัดเศษดินนำมาผึ่งแดดให้แห้งก่อนเก็บ
2. การพับเต็นท์พับให้ถูกวิธี โดยการวางราบกับพื้นแล้วพับตรงฐานผ้าที่เป็ น
สามเหลี่ยมทั้งสองด้าน ให้ปลายสามเหลี่ยมพับเข้ามาด้านในผ้าเต็นท์จะมีลักษณะเป็ นรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้แต่ละผืนมีขนาดเท่ากันวางซ้อนกันไว้จะสะดวกในการนับจำนวนผ้า
เต็นท์ด้วย
3. ถ้าผ้าเต็นท์มีรอยฉีกขาดให้รีบเย็บทันทีอย่าปล่อยทิ้งไว้ จะทำให้รอบฉีกขาด
กว้างขึ้น
4. เสาเต็นท์ถ้าเป็ นเสาชนิดพับได้ ควรพับเสาให้อยู่ในสภาพปกติเหมือน
เดิม
5. อุปกรณ์ทุกชนิดควรเก็บในห้องที่ไม่เปี ยกชื้น หรืออับจนเกินไปสำหรับผ้า
เต็นท์ควรใส่ยากันแมลงสาบไว้ด้วย อุปกรณ์ทุกชนิดควรเก็บรวมในห้องเดียวกัน

การวางผังในการกางเต็นท์
การตั้งค่ายของลูกเสือนั้น เต็นท์ต้องไม่เป็ นแถวยาวเหมือนกับค่ายทหาร
แต่จะอยู่เป็ นหย่อม ๆ ตามหมู่ ห่างกัน 6 เมตร หรือกว่านั้น เป็ นรูปวงกลมใหญ่ ๆ รอบ ๆ
เต็นท์ผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งโดยปกติจะอยู่ที่ศูนย์กลางพร้อมด้วยเสาธง และที่แสดงรอบ
กองไฟ
เมื่อได้เลือกที่สำหรับสร้างค่ายแล้ว จงตั้งเต็นท์ให้ด้านข้างเต็นท์รับทิศทางลม
67
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การบรรจุเครื่องหลังสำหรับเดินทางไกล
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการเดินทางไกลไปพักแรมค้างคืนนั้น ลูกเสือต้องเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
และสิ่งจำเป็ นอื่น ๆ มากมาย จึงจำเป็ นต้องรู้จักการจัดเก็บ และบรรจุเครื่องหลังอย่างถูก
ต้องและเรียบร้อย เพื่อสะดวกในการใช้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือมีความรู้ ความเข้าใจ และบรรจุเครื่องหลังได้อย่างถูกต้อง
1. บอกชื่ออุปกรณ์ เครื่องใช้ที่จำเป็ นในการไปพักแรมได้
2. ปฏิบัติการบรรจุเครื่องหลังได้

เนื้อหาสาระ
การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ยิ้ม”
3. ลูกเสือทุกหมู่ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง
สำหรับการเดินทางไกล
4. ลูกเสือช่วยกันสรุปสาระสำคัญของใบความรู้
5. ผู้บังคับบัญชาอธิบายและสาธิตการบรรจุเครื่องหลัง
6. ลูกเสือทุกหมู่แยกไปฝึกในบริเวณที่กำหนดให้
7. ลูกเสือปฏิบัติครบทุกหมู่แล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
68
8. ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบผลการปฏิบัติ
9. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
10. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น“กวางน้อยผจญภัย“
12. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือ เพื่อคัดเลือกคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
13. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ยิ้ม”
3. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุเครื่องหลังสำหรับเดินทางไกล
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ กวางน้อยผจญภัย ”
69
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. แจกสิ่งของให้ลูกเสือ – เนตรนารีบรรจุของ
2. ให้ลูกเสือรับรู้ถึงความถูกผิดในการบรรจุสิ่งของ
3. ให้ลูกเสือพิจารณาถึงกระเป๋ านำมาบรรจุสิ่งของในกรณีที่ไม่มีเป้
70
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
(............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
71
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
(.......................................)
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ ยิ้ม ”
72

ยิ้ม ยิ้ม กันเถิดนะ ยิ้มนั้นพาคลายเศร้า


ยิ้มนั้นพาคลายเหงา ยิ้มพาเราเพลินใจ
ยิ้มนั้นพาสุขล้ำ ทำเรื่องยากเป็ นง่าย
ยิ้มให้กันเมื่อไร เรื่องร้ายจะกลายเป็ นดี ๆ
––––––––––––––––
73

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง

การเดินทางไกลไปพักแรมค้างคืน จำเป็ นที่จะต้องนำสิ่งของเครื่องใช้จำพวก


อาหารสำเร็จรูป อาหารแห้ง เสื้อผ้า ไฟฉาย ยาประจำตัว แปรงและยาสีฟัน รวมถึง
ภาชนะที่ใส่อาหารหรือหม้อหุงต้มนำเดินทางไปด้วย จึงควรเตรียมการบรรจุเครื่องหลังอย่าง
ถูกวิธี
ภาพประกอบเครื่องหลังหรือ

การบรรจุเครื่องหลังอย่างถูกวิธีมีดังนี้
1. เลือกเครื่องหลังที่เหมาะสมกับขนาดร่างกายของลูกเสือ ไม่ใหญ่หรือเล็ก
จนเกินไป
2. การบรรจุ สิ่งไหนหนัก เช่น เครื่องกระป๋ องภาชนะอาหาร ควรบรรจุชั้น
ล่าง
3. สิ่งของที่จะใช้ภายหลังให้บรรจุลงก่อน สิ่งไหนที่จะใช้ก่อนบรรจุไว้ข้างบน
4. ผ้าที่มีลักษณะนิ่ม เช่น ผ้าเช็ดตัว ควรบรรจุไว้ด้านที่ติดหลัง เวลา
สะพายจะได้ไม่เจ็บหลัง
5. อาหารสดควรหาถุงพลาสติกห่อให้เรียบร้อยก่อนที่จะบรรจุ ถ้าเป็ นไข่สด
ควรแยกออกจากเครื่องหลัง
6. เครื่องใช้ประจำหมู่ เช่น กระทะ หม้อ ถังน้ำ ตะเกียง พลั่วสนาม
ฯลฯ ควรแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการนำไป
6. ไฟฉายและยาประจำตัว ควรนำไปทุกครั้ง

ภาพประกอบ เครื่องหลังหรือเป้ แบบต่าง ๆ


74

เรื่องสั้น
เรื่อง “กวางน้อยผจญภัย”

กวางน้อยตัวหนึ่งพลัดฝูงไปเจอเสือตัวหนึ่งเข้า เสือดีใจที่จะได้
75
กินกวางเป็ นอาหารแต่ยังสงสัยอยู่ว่า ทำไมตามตัวลูกกวางจึงมีจุดดำ ๆ
อยู่ทั่วไป จึงเข้าไปถามว่า “จุดตามตัวของเจ้าเกิดขึ้นมาได้อย่างไร” กวางน้อยรู้ว่าภัยมาถึง
ตัวแล้ว จึงออกอุบายตอบไปว่า “จุดเหล่านี้เกิดจาก เมื่อเราจับสัตว์กินได้ตัวหนึ่ง ก็จะมีจุด
ขึ้นมาจุดหนึ่งทุกทีไป”เสือเห็นจุดที่มีอยู่ทั่วตัวกวางก็ตกใจว่า ตนสำคัญผิดเสียแล้ว ดีไม่ดีลูก
กวางอาจกินตนเป็ นอาหารเสียก็ได้ จึงพูดกับลูกกวางว่า “เอาละข้าจะไปหาเหยื่อมาให้เจ้า
สักตัวหนึ่ง” ว่าแล้ว เสือก็กระโจนแผล็วหายเข้าป่ าโดยไม่คิดกลับมาอีกเลย พลางคิด
ว่า“เรารอดตัว ไม่ถูกกวางกินก็บุญแล้ว กลับไปหามันให้โง่ทำไมอีก” แต่ลูกกวางน้อย
หันหลังวิ่งดุ่ม ๆ กลับไป จนพบฝูงของตน และดีใจที่พ้นภัยมาได้อย่างหวุดหวิด
76
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การก่อไฟและปรุงอาหารสำหรับ 2 คน เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางไกลไปพักแรมของลูกเสือนั้น อุปกรณ์เครื่องใช้ที่เตรียมไปมีจำนวน
จำกัด ดังนั้นลูกเสือจึงต้องเรียนรู้ การก่อกองไฟกลางแจ้ง และประกอบอาหารด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ แบบลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือสามารถก่อและจุดไฟกลางแจ้งแล้วปรุงอาหารรับประทานได้
1. บอกรูปแบบและวิธีการก่อไฟกลางแจ้งได้
2. ปฏิบัติการก่อไฟกลางแจ้งได้
3. ปฏิบัติการปรุงอาหารรับประทานได้

เนื้อหาสาระ
1. การก่อกองไฟกลางแจ้ง
2. การปรุงอาหาร

กิจกรรมการเรียนการสอน
1 เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “วิ่งหาอาหาร”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปศึกษาและปฏิบัติที่จุดสาธิต 4 จุด แบบกลุ่มอิสระ
ดังนี้ (ใบความรู้ เรื่อง การก่อไฟและปรุงอาหารสำหรับ 2 คน มอบให้รองผู้บังคับบัญชา
ประจำจุดประกอบอาหารสาธิต)
77

จุดที่ 1 การก่อกองไฟกลางแจ้ง (ปฏิบัติการจุดเชื้อไฟด้วยไม้ขีดไฟ)


จุดที่ 2 การก่อกองไฟแบบกระโจมและแบบเล้าหมู (ปฏิบัติก่อกองไฟแบบ
กระโจมและแบบคอกหมู)
จุดที่ 3 การก่อกองไฟแบบดาวและแบบผสม (ปฏิบัติก่อกองไฟแบบดาวและ
แบบผสม)
จุดที่ 4 การปรุงอาหาร
1. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกจุดสาธิตแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
8. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “วิ่งหาอาหาร”
78
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การฝึกประกอบอาหารอย่างหลากหลาย โดยเน้นความคิดของแต่ละหมู่ใน
ช่วงเวลาชั่วโมงกิจกรรมที่มีเวลาว่าง
2. ควรหลีกเลี่ยงชนิดของอาหารที่ใช้อุปกรณ์และส่วนประกอบของอาหารที่
มากมาย และขั้นตอนยุ่งยากเกินไปจำนวนฐานขึ้นอยู่กับจำนวนผู้บังคับบัญชาลูกเสือและ
อุปกรณ์
79
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
80
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “วิ่งหาอาหาร ”
81

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือยืนล้อมเป็ นวงกลมจับแขนกันไว้ หันหน้าสู่กลางวง ให้ลูกเสืออีกคน
หนึ่งอยู่นอกวง วิ่งไปข้างหลังลูกเสือที่ยืน เอามือแตะแขนที่เกาะกันอยู่ผู้ถูกแตะ 2 คน จะ
ต้องออกวิ่งไปคนละทางทางรอบวงกลม คนที่แตะแขนเข้ายืนแทนที่ คนทั้งสองคนนั้น ผู้ที่วิ่ง
เข้าที่ได้ก่อนก็เข้าประจำวงต่อไป ผู้ที่เข้าไม่ได้ต้องวิ่งไปแตะแขนผู้อื่นต่อไป (วิ่งรอบให้วิ่งทาง
ขวา)
82

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การก่อไฟและปรุงอาหารสำหรับ 2 คน (2 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางไกลไปพักแรมของลูกเสือนั้น อุปกรณ์เครื่องใช้ที่เตรียมไปมีจำนวน
จำกัด ดังนั้นลูกเสือจึงต้องเรียนรู้ การก่อกองไฟกลางแจ้ง และประกอบอาหารด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ แบบลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือสามารถก่อและจุดไฟกลางแจ้งแล้วปรุงอาหารรับประทานได้
1. บอกรูปแบบและวิธีการก่อไฟกลางแจ้งได้
2. ปฏิบัติการก่อไฟกลางแจ้งได้
3. ปฏิบัติการปรุงอาหารรับประทานได้

เนื้อหาสาระ
1. การก่อกองไฟกลางแจ้ง
2. การปรุงอาหาร

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “วิ่งหาอาหาร”
3. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกจุดสาธิตแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละจุดสาธิต
5. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ม้ากับลา“
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยให้กับลูกเสือ
10. พิธีปิ ดประชุมกอง
83
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “วิ่งหาอาหาร”
3. ใบความรู้ เรื่อง การก่อไฟและปรุงอาหารสำหรับ 2 คน
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ม้ากับลา”
84
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การฝึกประกอบอาหารอย่างหลากหลาย โดยเน้นความคิดของแต่ละหมู่ใน
ช่วงเวลาชั่วโมงกิจกรรมที่มีเวลาว่าง
2. ควรหลีกเลี่ยงชนิดของอาหารที่ใช้อุปกรณ์และส่วนประกอบของอาหารที่
มากมาย และขั้นตอนยุ่งยากเกินไปจำนวนฐานขึ้นอยู่กับจำนวนผู้บังคับบัญชาลูกเสือและ
อุปกรณ์
85
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
(............................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
86
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
(.......................................)
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “วิ่งหาอาหาร ”
87

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือยืนล้อมเป็ นวงกลมจับแขนกันไว้ หันหน้าสู่กลางวง ให้ลูกเสืออีกคน
หนึ่งอยู่นอกวง วิ่งไปข้างหลังลูกเสือที่ยืน เอามือแตะแขนที่เกาะกันอยู่ผู้ถูกแตะ 2 คน จะ
ต้องออกวิ่งไปคนละทางทางรอบวงกลม คนที่แตะแขนเข้ายืนแทนที่ คนทั้งสองคนนั้น ผู้ที่วิ่ง
เข้าที่ได้ก่อนก็เข้าประจำวงต่อไป ผู้ที่เข้าไม่ได้ต้องวิ่งไปแตะแขนผู้อื่นต่อไป (วิ่งรอบให้วิ่งทาง
ขวา)
88

ใบความรู้
เรื่อง การก่อไฟและปรุงอาหารสำหรับ 2 คน

การก่อกองไฟกลางแจ้ง
การก่อกองไฟแต่ละครั้ง จะต้องมีจุดมุ่งหมายว่าจะก่อกองไฟเพื่ออะไร จะใช้ปรุง
อาหารจะใช้แสงสว่างหรือต้องการความอบอุ่น เมื่อรู้จุดมุ่งหมายแล้วควรมีข้อปฏิบัติในการ
ก่อกองไฟ
1. รู้จุดมุ่งหมายในการก่อกองไฟก่อน
2. เตรียมอุปกรณ์ ในการก่อกองไฟให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. ไม้ขีดไฟ
4. ฟื นที่แห้ง
5. เชื้อเพลิง
6. ถ้าจะใช้ถ่าน ใช้ก้อนที่มีขนาดปานกลาง และเป็ นถ่านที่แกร่ง
7. จัดสถานที่ให้เกิดความปลอดภัย เพื่อป้ องกันเศษไฟที่จะกระเด็นออกไปลุก
ไหม้บริเวณข้างเคียงได้
89

ใบความรู้
รูปแบบและวิธีการก่อกองไฟ
แบบกระโจม การก่อกองไฟแบบนี้จะสิ้นเปลืองฟื นมาก เหมาะสำหรับ งานที่ต้องการ
ความร้อนและแสงสว่างมาก ๆ
1. นำฟื นมาวางซ้อนสลับกันสักสองชั้น
2. นำเชื้อเพลิงเล็ก ๆ มากระโจมตรงกลาง
3. นำฟื นขนาดใหญ่มากระโจมรอบ ๆ ชื้อเพลิงเวลาจุดไฟให้จุดที่ เชื้อเพลิง
ก่อน
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบกระโจม

การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน แบบนี้ให้ความร้อนดีแต่แสงสว่างจะไม่มากนัก
สิ้นเปลืองฟื นไม่มาก
1. ชั้นล่างสุดให้วางฟื นชิดกันมีความกว้างเท่ากับความยาวของฟื น
2. ชั้นที่สองถัดขึ้นมา ให้วางฟื นขวางห่างกันเล็กน้อย เพื่อให้อากาศ ถ่ายเทได้จะ
ทำให้ไฟลุกดี
2. ชั้นที่สามถัดขึ้นมา ให้วางฟื นขวางกับชั้นที่สองมีความห่างมากกว่าชั้น
ที่สองด้วย จะเรียงฟื นสลับกันไปกี่ชั้นก็แล้วแต่ความเหมาะสม
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
90
ใบความรู้
รูปแบบและวิธีก่อกองไฟ
แบบดาว การก่อกองไฟแบบนี้จะไม่สิ้นเปลืองมาก ถ้าเป็ นการปรุงอาหาร จะนิยมใช้
แบบนี้เพราะสามารถบังคับไฟให้มีความร้อนมากน้อยได้ โดยวางฟื น ดังนี้
1. นำฟื นมาวางลักษณะซี่ล้อรถจักรยาน ให้ปลายฟื นด้านในช่องว่างไว้
สำหรับวางเชื้อเพลิง
2. นำเชื้อเพลิงอันเล็ก ๆ วางระหว่างปลายไม้ด้านใน แล้ว จุดไฟที่เชื้อเพลิง
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบดาว

แบบผสม เป็ นการก่อกองไฟแบบกระโจมและแบบเชิงตะกอนผสมกัน ให้แสงสว่างมาก


เหมาะสำหรับการแสดงรอบกองไฟในเวลาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม โดยวางฟื น ดังนี้
1. ชั้นล่างสุด วางฟื นขนาดใหญ่ให้ชิดกันมีความกว้างเท่ากับความยาวของฟื น
2. นำฟื นมาตั้งเป็ นกระโจม โดยนำเชื้อเพลิงมาตั้งเป็ นกระโจมด้านใน
ส่วนกระโจมด้านนอกเป็ นฟื นขนาดใหญ่
3. นำฟื นขนาดใหญ่มาวางซ้อนสลับกัน และล้อมรอบกระโจม ไว้เป็ นชั้น ๆ
วลาจุดไฟให้จุดที่กระโจมด้านในก่อน
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบผสม
91
ใบความรู้
การปรุงอาหาร
การปรุงอาหารขณะอยู่ค่ายพักแรมลูกเสือจะต้องเลือกวิธีการ ที่เห็นว่า
เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่นำไปใช้กับอาหารดังนี้
1. การหุงข้าว เช่น การหุงข้าวเช็ดน้ำ การหุงข้าวไม่เช็ดน้ำ การ
หลามข้าวโดยใช้กระบอกไม้ไผ่ การหุงโดยใช้ถุงพลาสติก การหุงโดยใช้ผลมะพร้าว
อ่อน
2. การปรุงอาหารคาว
ลูกเสือจะนิยมปรุงอาหารง่าย ๆ ซึ่งจะใช้เวลาไม่มากนักเพราะจะต้อง
ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมาก อาหารที่ลูกเสือนิยมปรุง ได้แก่
1. แกงเผ็ด
2. แกงจืด
3. การต้ม
4. การทอด
5. การผัด
6. การปิ้งหรือย่าง
3. การปรุงอาหารหวาน
ลูกเสือควรจะเตรียมผลไม้ตามฤดูกาลซึ่งจะมีราคาไม่แพงนัก หรืออาจจะเตรียม
ผลไม้กระป๋ องไปแทนผลไม้สดก็ได้ และในบางครั้งลูกเสืออาจจะเตรียมอาหารหวานไปปรุง
รับประทานด้วยก็ได้ ควรเลือกปรุงอาหารหวานที่ง่าย ๆ เช่น
1. ไข่หวาน
2. ถั่วเขียวต้มน้ำตาล
3. กล้วยบวชชี
4. สาคูเปี ยก
92

เรื่องสั้น
เรื่องสั้น “ม้ากับลา”

ม้ากับลาเดินทางไปกับนายของมัน เจ้าของได้นำสิ่งของต่าง ๆ
ขึ้นบรรทุกบนหลังลาจนเต็ม ส่วนม้าเดินตัวเปล่า เมื่อเดินไปได้ครึ่งทาง
ลาจึงพูดกับม้าว่า “เพื่อนเอ๋ย ช่วยแบ่งของไปบรรทุกบ้างซิ ถ้าไม่อยากให้ข้า
ตาย” แต่ม้ากลับทำเฉย เพราะถือว่าธุระไม่ใช่ ในไม่ช้าด้วยความเหนื่อยมาก
ลาล้มลงและขาดใจตาย นายของมันก็เอาของต่าง ๆ ที่บรรทุกลามาให้ม้าบรรทุกต่อ รวมทั้ง
ลาที่ตายแล้วด้วย ม้าจึงร้องครวญกับตัวเองว่า “อนิจจา ข้าทำตัวเองแท้ ๆ ถ้ายอมช่วยมัน
เสียแต่แรก ข้าก็ไม่ต้องบรรทุกทั้งสิ่งของและซากลา แต่บัดนี้ซิข้าต้องบรรทุกมากกว่าเจ้าลา
เสียอีก”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
93
เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (1)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำเป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน รวมทั้งนำไปใช้
ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนพื้นฐานและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประเภทของเชือกได้
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนที่จำเป็ นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
4. ปฏิบัติการเก็บเชือกประจำตัวได้ด้วยตนเอง

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องเชือก
2. เรื่องเงื่อน
– เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนกระหวัดไม้
– เงื่อนบ่วงสายธนู, เงื่อนตะกรุดเบ็ด, เงื่อนประมง
– เงื่อนผูกซุง, เงื่อนผูกรั้ง, เงื่อนปมตาไก่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ต่อเชือก”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน โดยแต่ละฐาน
มีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้วจึงให้ลูกเสือ
ปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือ ฯ ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
94
ฐานที่ 1 เงื่อนพิรอด เงื่อนขัดสมาธิ เงื่อนผูกกระหวัดไม้
ฐานที่ 2 เงื่อนบ่วงสายธนู เงื่อนตะกรุดเบ็ด เงื่อนประมง
ฐานที่ 3 เงื่อนผูกซุง เงื่อนผูกรั้ง เงื่อนปมตาไก่
5. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม เก็บเชือก

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาและ
เวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
95
3. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
4. ให้ลูกเสือศึกษาจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
96
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
97
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
98
เกม “ต่อเชือก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ต่อเชือกแข่งขันกันในเวลาที่กำหนด
หมู่ใดต่อเชือกเสร็จก่อน ได้ยาวกว่า และแข็งแรงกว่าเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ
1. ลูกเสือต้องมีเชือกทุกคน
2. ต่อเชือกด้วยเงื่อนอะไรก็ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
99
เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (2 )
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำเป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน รวมทั้งนำไปใช้
ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนพื้นฐานและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประเภทของเชือกได้
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนที่จำเป็ นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
4. ปฏิบัติการเก็บเชือกประจำตัวได้ด้วยตนเอง

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องเชือก
2. เรื่องเงื่อน
– เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนกระหวัดไม้
– เงื่อนบ่วงสายธนู, เงื่อนตะกรุดเบ็ด, เงื่อนประมง
– เงื่อนผูกซุง, เงื่อนผูกรั้ง, เงื่อนปมตาไก่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ต่อเชือก”
3. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้บังคับบัญชา
4 . ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น “กวางกับหมาป่ า”
100
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
9. มอบใบความรู้ เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือ ฯให้ลูกเสือศึกษาต่อ
ที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
10. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม เก็บเชือก
6. ใบความรู้ เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
7. เรื่องสั้น “กวางกับหมาป่ า”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
101
กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาและ
เวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
5. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
6. ให้ลูกเสือศึกษาจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
102
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
103
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
104
เกม “ต่อเชือก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ต่อเชือกแข่งขันกันในเวลาที่กำหนด
หมู่ใดต่อเชือกเสร็จก่อน ได้ยาวกว่า และแข็งแรงกว่าเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ
1. ลูกเสือต้องมีเชือกทุกคน
2. ต่อเชือกด้วยเงื่อนอะไรก็ได้

เรื่องสั้น
เรื่อง “กวางกับหมาป่ า”

กวางตัวหนึ่งกำลังกินน้ำอยู่ที่ลำธารแห่งหนึ่ง ขณะนั้นเอง ก็มีหมาป่ าเกเร


ซึ่งกำลังหิวโหยเดินหาอาหารอยู่ เมื่อมองเห็นกวาง ก็คิดจะกินจึงพูดดัง ๆ ว่า “เจ้ากวาง
น้อยจงหยุดให้เรากินเสียดี ๆ“ กวางน้อยตกใจกลัวเป็ นอย่างยิ่งจึงออกวิ่งไปอย่างไม่คิดชีวิต
105
เจ้าหมาป่ าก็ออกวิ่งตามไปติด ๆ แต่ไม่สามารถจับกวางทัน จนมาถึงป่ าทึบแห่งหนึ่ง กวางก็
วิ่งหายไป เจ้าหมาป่ าหมดแรงล้มลงนอนอย่างเหนื่อยอ่อน เพราะตัวเองหิวมาก จึงไม่มีแรง
ที่จะวิ่งให้ทันกวาง ชายเลี้ยงแกะเห็นเหตุการณ์ทั้งหมด ได้แต่นั่งหัวเราะเยาะเย้ยหมาป่ า
แล้วพูดว่า “แค่กวางยังไม่มีปัญญาที่จะกิน” หมาป่ าจึงพูดว่า กวางนั้นวิ่งเพื่อรักษาชีวิต แต่
เขาวิ่งเพื่อจะกินอาหาร กวางย่อมวิ่งได้เร็วกว่า”

ใบความรู้
เรื่อง เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ประเภทของเชือก
1. เชือกป่ าน ทำจากต้นเฮมม์ สีเหลือง เส้นใยหยาบ แข็ง ผูกง่าย
2. เชือกมนิลา ทำจากต้นมนิลา สีค่อนข้างขาว ผูกง่าย
3. เชือกกาบมะพร้าว ทำจากใยมะพร้าว น้ำหนักเบา ลอยน้ำได้
4. เชือกปอ เป็ นเชือกที่ทำจากปอกระเจาในประเทศไทย
5. เชือกด้าย เป็ นเชือกที่ทำจากด้ายดิบ มีสีขาวสะอาดอ่อนนิ่ม ขดม้วนง่าย
6. เชือกไนลอน เป็ นเชือกที่ทำจากสารสังเคราะห์ มีความทนทานและ
เหนียวมาก
106
7. เชือกลวด (ลวดสลิง) เป็ นเชือกที่ใช้ลวดเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีควั่นเป็ น
เกลียวมีน้ำหนักและกำลังมาก
8. เชือกที่ลูกเสือใช้ประจำตัว เพื่อฝึกการผูกเงื่อนควรเป็ นเชือกด้าย และควรมี
ความยาวประมาณ 2.50–3.00เมตร

การเก็บเชือก
เชือกประจำตัวของลูกเสือนั้น เมื่อใช้เชือกแล้วจะต้องเก็บให้เรียบร้อยตามวิธี
การของลูกเสือ โดยร้อยไว้ที่เข็มขัดห้อยไว้ตรงด้านหน้าระหว่างหูกางเกง

ภาพประกอบ วิธีเก็บเชือก

ชนิดและประโยชน์ของเงื่อน สามารถแยกเงื่อนตามประเภทการใช้งานได้ดังนี้
ประเภทต่อเชือก เช่น เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนประมง,
เงื่อนนายพราน อื่น ๆ
– ประเภททำเป็ นบ่วง สำหรับคล้องหลัก สัตว์ หรือ คน เช่น เงื่อนเก้าอี้
เงื่อนคนลาก เงื่อนผูกซุง เงื่อนผูกแน่น อื่น ๆ
– ประเภทใช้ถักและแทง เพื่อให้เกิดความสวยงาม เช่น ถักสายนกหวีด
ถังสายยงยศ ถักวอกเกิ้ล ถักลูกโซ่ แทงเชือก

เงื่อนพิรอด เป็ นเงื่อนที่ใช้กันมากในชีวิตประจำวัน ผูกได้เร็ว แน่นและแก้ได้ง่าย


ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือกหรือผ้าซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้มีความยาวตามต้องการ
2.ใช้ผูกเชือกรองเท้า
3.ใช้ในการปฐมพยาบาล เช่น ผูกชายผ้าพันแผล หรือผูกชายผ้าทำสลิง
คล้องคอ
107

เงื่อนขัดสมาธิ เป็ นเงื่อนที่ใช้ต่อเชือกที่มีขนาดต่างกัน


ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือกที่ขนาดไม่เท่ากัน
2. ใช้ต่อเชือกแข็งกับเชือกอ่อน
3. ใช้ผูกกับขอหรือบ่วง
4. ใช้ต่อด้ายหรือเส้นไหมทอผ้า
108

ภาพประกอบ เงื่อนขัดสมาธิ

เงื่อนกระหวัดไม้
ประโยชน์ 1. ใช้ล่ามสัตว์เลี้ยงหรือผูกเรือ แพ ไว้กับหลัก เสา หรือห่วง
2 ใช้ปิ ดหัวเงื่อนตะกรุดเบ็ดเพื่อไม่ให้หลุดหรือคลายได้ง่าย
3. ใช้ในการผูกรอก
ภาพประกอบ เงื่อนกระหวัดไม้

เงื่อนบ่วงสายธนู เป็ นเงื่อนที่ไม่รูดหลุดหรือเลื่อน


ประโยชน์ 1. ใช้คล้องวัตถุ เสาหรือหลักและเหมาะสำหรับผูกเรือ แพ หรือสัตว์
2. ใช้แทนเงื่อนเก้าอี้ คล้องคนหย่อนจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ดึงจากที่ต่ำ
ขึ้นที่สูงหรือช่วยลากคนจมน้ำ
3. ใช้ทำบ่วงเพื่อหิ้ว แขวน เพื่อลำเลียงสิ่งของต่าง ๆ
4. ใช้คล้องคันธนู
ภาพประกอบ เงื่อนบ่วงสายธนู

เงื่อนตะกรุดเบ็ด เป็ นเงื่อนที่ใช้งานบุกเบิกเพราะเป็ นพื้นฐานในการผูกเงื่อน อื่น ๆ เช่น


ผูกประกบ ผูกกากบาท
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกเชือกกับสมอเรือ ผูกก้อนหินแทนสมอเรือ
109
2. ใช้ผูกแน่นในงานบุกเบิก
3. ใช้ผูกขอเบ็ดตกปลา
ภาพประกอบ เงื่อนตะกรุดเบ็ด

เงื่อนประมง เป็ นเงื่อนที่นิยมใช้ในหมู่นักตกปลาและชาวประมง เพราะใช้


ต่อเชือกได้ทุกขนาด โดยเฉพาะเชือกเปี ยกน้ำและสายเบ็ด
ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือกขนาดเล็ก ๆ เช่น เอ็น สายเบ็ด เป็ นต้น
2. ใช้ต่อเชือกขนาดใหญ่สำหรับลากจูง
3. ใช้ผูกสายไฟสำหรับทำกับระเบิด
110
ภาพประกอบ เงื่อนประมง

เงื่อนผูกซุง ใช้ผูกซุงหรือเสาขนาดใหญ่ ผูกได้แน่นและรูดออกง่าย


ประโยชน์ 1. ใช้ผูกลากซุงหรือเสาที่มีขนาดใหญ่
2. ใช้ผูกสัตว์เลี้ยง เรือ แพ ไว้กับเสาหลัก เมื่อถูกดึงเงื่อนจะยิ่งแน่นขึ้น
3. ใช้เป็ นเงื่อนที่เริ่มต้นในการผูกทแยง
ภาพประกอบ เงื่อนผูกซุง

เงื่อนผูกรั้ง เป็ นเงื่อนที่เลื่อนให้ตึงหรือหย่อนได้


ประโยชน์ 1. ใช้สำหรับผูกสายเต็นท์หรือเสาธงกันล้ม
2. ใช้รั้งต้นไม้กันล้ม
3. ใช้ผูกกับห่วงชนิดต่าง ๆ
111

ภาพประกอบ เงื่อนผูกรั้ง

เงื่อนปมตาไก่ เงื่อนเลขแปด
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกปลายเชือกให้เป็ นปม เพื่อผูกร้อยรอกเป็ นการป้ องกันไม่ให้
เชือกหลุดจากรูร้อย
2. ใช้ร้อยสายเต็นท์

ภาพประกอบ เงื่อนปมตาไก่

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
112
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (1 ) เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำ เป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน การผูกเงื่อนแน่น
รวมทั้งประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่น ซึ่งมีประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนแน่นและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนผูกแน่นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่นได้

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องการผูกแน่น
– เงื่อนผูกประกบ
– เงื่อนผูกกากบาท
– เงื่อนผูกทแยง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้ว
จึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
113
ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง ผูกประกบ
ฐานที่ 2 เรื่อง ผูกกากบาท
ฐานที่ 3 เรื่อง ผูกทแยง
5. ปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
114
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาและ
เวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
4. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
5. ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
115
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
116
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
วิธีเล่น
117
แบ่งผู้เล่นออกเป็ น 4 หมู่ด้วยกัน และยืนเป็ นรูปสี่เหลี่ยมตามรูป

1 2 3 4 5 6
6 1
5 2
4 3
3 4
2 5
1 6
6 5 4 3 2 1

เมื่อเริ่มเล่นลูกเสือคนที่ 1 ผูกเงื่อนพิรอด เมื่อผูกเสร็จแล้ว


ทิ้งเชือกลงไปแล้ว วิ่งไปแทนลูกเสือคนที่ 6 คนที่ 6 5 4 3 2 เลื่อนมา
ตามลำดับ เมื่อลูกเสือคนที่ 2 แทนคนที่ 1 แล้วก็ผูกเงื่อนพิรอดอีก เสร็จแล้ว
ทิ้งเชือกลงแล้วเวียนไปจนกว่าจะหมดหมู่ หมู่ไหนหมดก่อน และผูกได้ถูก
ต้องหมู่นั้นชนะ

หมายเหตุ อาจแบ่งหมู่ และวิธีการตามความเหมาะสม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (2)
เวลา 1 ชั่วโมง
118
สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำ เป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน การผูกเงื่อนแน่น
รวมทั้งประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่น ซึ่งมีประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนแน่นและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนผูกแน่นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่นได้

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องการผูกแน่น
– เงื่อนผูกประกบ
– เงื่อนผูกกากบาท
– เงื่อนผูกทแยง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
3. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
8. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
9.มอบใบความรู้ เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติม
แล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสม งานของลูกเสือแต่ละคน
10. พิธีปิ ดประชุมกอง
119
สื่อการเรียนการสอน
1. กระดานเงื่อน
2. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
3. เชือกชนิดต่าง ๆ
4. เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
5. ใบความรู้ เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
6. เรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
120
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาและ
เวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
4. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
5. ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
121
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
122
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
วิธีเล่น
123
แบ่งผู้เล่นออกเป็ น 4 หมู่ด้วยกัน และยืนเป็ นรูปสี่เหลี่ยมตามรูป

1 2 3 4 5 6
6 1
5 2
4 3
3 4
2 5
1 6
6 5 4 3 2 1

เมื่อเริ่มเล่นลูกเสือคนที่ 1 ผูกเงื่อนพิรอด เมื่อผูกเสร็จแล้ว


ทิ้งเชือกลงไปแล้ว วิ่งไปแทนลูกเสือคนที่ 6 คนที่ 6 5 4 3 2 เลื่อนมา
ตามลำดับ เมื่อลูกเสือคนที่ 2 แทนคนที่ 1 แล้วก็ผูกเงื่อนพิรอดอีก เสร็จแล้ว
ทิ้งเชือกลงแล้วเวียนไปจนกว่าจะหมดหมู่ หมู่ไหนหมดก่อน และผูกได้ถูก
ต้องหมู่นั้นชนะ

หมายเหตุ อาจแบ่งหมู่ และวิธีการตามความเหมาะสม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ เหตุเกิดที่แม่น้ำ”

มีพ่อ แม่ และลูก ครอบครัวหนึ่งกำลังเดินบนสะพานข้ามแม่น้ำ


ทันใดนั้น สะพานหักลงไปทั้งสามคนหล่นลงไปในแม่น้ำ แต่โชคยังดีที่มีขอนไม้
เกาะไว้ น้ำพัดพาล่องลอยไป คนที่อยู่บนฝั่งเห็นเหตุการณ์ แต่ไม่มีใครช่วยเขาได้ ขณะที่
ขอนไม้ลอยผ่านที่แห่งหนึ่ง มีคนหย่อนเชือกลงมาพอดีพ่อต้องการให้ลูกปลอดภัยก่อน
124
จึงส่งเชือกให้ลูกจับ คนบนสะพานช่วยกันสาวเชือกขึ้นมา แต่หนูน้อยหมดแรงก่อนตกลงใน
แม่น้ำจมหายไป พ่อและแม่พยายามเข้าช่วยและก็จมหายไปเช่นกัน

คติ ถ้าลูกเสือทุกคนสามารถผูกเงื่อนสำหรับช่วยชีวิตได้ ก็จะนำไปใช้ช่วยชีวิต


ของลูกเสือเองและคนอื่น ๆ ได้
125

ใบความรู้ที่ 15.1
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

การผูกแน่น หมายถึง การผูกวัตถุให้ติดกัน เป็ นการผูกขั้นพื้นฐานของงานบุกเบิกแบ่งออก


เป็ น 3 แบบ

แบบผูกประกบ
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกต่อพลองในการทำเสาธงชั่วคราว
2. ใช้ผูกต่อไม้สำหรับการก่อสร้างชั่วคราว
3. ใช้ในการต่อไม้หลาย ๆ ท่อนให้ยาวหรือมัดไม้เข้าด้วยกัน
วิธีผูก 1. นำไม้ที่จะต่อมาวางซ้อนกันประมาณ 1/5 ถึง 1/4
ของความยาว
2. นำไม้ที่มีขนาดโตเท่าเส้นเชือก ที่ใช้ผูกมาสอดระหว่างไม้
ทั้งสองไว้ เพื่อความสะดวก ในการสอดเชือกหักคอไก่
3. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไม้อันใดอันหนึ่ง แล้วปิ ดพันปลาย
เชือกกับตัวเชือก หรือ เรียกว่า เอาเชือกแต่งงานกัน
4. พันเชือกรอบไม้ทั้งสองต้น โดยไม่ให้เชือกทับพันกันไป
จนกระทั่งมีความกว้างเท่ากับไม้ทั้งสองซ้อนกัน
5. สอดเชือกเข้ากลางระหว่างไม้ทั้งสอง แล้วพันรอบเชือก
ประมาณ 2–3 รอบ (หักคอไก่) ดึงไม้ที่สอดออกแล้วดึง เชือกให้แน่น
6. ผูกปลายเชือกด้วยเงื่อนตะกรุดเบ็ด กับไม้อีกอันหนึ่ง
126
ภาพประกอบ วิธีผูกประกบสอง

2. การผูกกากบาท เป็ นการผูกไม้ 2 อันที่วางพาดตั้งฉากกันเป็ นรูปกากบาท


ประโยชน์ 1. ใช้ผูกนั่งร้านในการก่อสร้างหรือทาสีอาคาร
2. ใช้ในการสร้างค่ายพักแรมและอุปกรณ์ในการพักแรม
3. ใช้ในการสร้างรั้วหรือคอกสัตว์
4. ใช้ผูกคาน หรือตอม่อสะพาน
วิธีผูก 1. ไม้มาวางพาดตั้งฉากกันเป็ นรูปกากบาท
2. นำเชือกมาผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไม้อันตั้ง หรือไม้อันนอนก็ได้
แต่นิยมไม้อันตั้งเพื่อป้ องกันมิให้ไม้อันนอนเลื่อนลงแล้วนำปลายเชือกพันกัน ให้เรียบร้อย
3. ใช้เชือกพันรอบไม้ทั้งสองอันถ้าผูกกับไม้อันตั้งก่อน ก็จะดึงเชือก
ทับไม้อันนอนอีกครั้ง แล้วสอดไปใต้ไม้อันตั้งอีกครั้งหนึ่งพันเชือกเรียงกัน ไปอย่าให้เชือกทับ
กัน พยายามดึงเชือกให้แน่นประมาณ 3–4 รอบ
4. พันเชือกหักคอไก่ สัก 2–3 รอบ ดึงเชือกให้แน่นป้ องกันมิให้ไม้รูด
5. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดกับไม้อีกอันหนึ่ง ซึ่งมิใช่อันที่ผูกครั้งแรก
127
ภาพประกอบ ผูกกากบาท

การผูกทแยงหรือการผูกไขว้ เป็ นการนำไม้ 2 อัน มาไขว้กันแล้วผูกให้แน่นติดกันเพื่อค้ำ


ยัน และสร้างความมั่นคงให้กับที่อยู่อาศัย
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกนั่งร้านในงานก่อสร้าง
2. ใช้ผูกไม้สำหรับค้ำยัน ป้ องกันไม่ให้ล้ม
3. ใช้ผูกเสาตอม่อของสะพาน หอคอย
วิธีผูก 1. นำไม้สองอันมาวางพาดกันในแนวทแยง
2. นำเชือกมาคล้องไม้ทั้งสองอันในแนวทแยง แล้วผูกด้วย
เงื่อนผูกซุง
3. พันเชือกให้รอบไม้แล้วดึงเชือกให้แน่น ประมาณ 3–4 รอบ
4. เปลี่ยนทิศทางเชือกไปพันทแยงอีกทางหนึ่ง ประมาณ 3–4
รอบ
5. พันเชือกหักคอไก่ให้แน่น ประมาณ 2–3 รอบ
6. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดกับไม้อันใดก็ได้
128
ภาพประกอบ ผูกทแยง
129
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมบุกเบิก,ผจญภัย,เดิน
ทางไกล เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่อาจจะก่อให้เกิด
อันตรายหรือบาดเจ็บได้ ดังนั้นลูกเสือจำเป็ นจะต้องเรียนรู้ในเรื่องหลักของ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เช่น บุกเบิก ผจญภัย และเดินทาง
ไกล
เพื่อที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติ เกี่ยวกับความปลอดภัยในกิจกรรมบุกเบิก,ผจญภัย, เดินทาง
ไกล
ได้
1. บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิกได้
2. บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัยได้
3. บอกหลักความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกลได้

เนื้อหาสาระ
1. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
2. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัย
3. หลักความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล
130
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “รำวงชาวค่าย”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่มย่อย ไปอภิปรายกลุ่มย่อย 3 กลุ่ม
โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษากลุ่ม ตามหัวข้อต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
กลุ่มที่ 2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัย
กลุ่มที่ 3 ความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล
4. มอบใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรม บุกเบิก, ผจญภัย,
เดินทางไกล ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ สำหรับรองผู้บังคับบัญชาใช้ประกอบคำปรึกษา
กลุ่มย่อย
5. ลูกเสืออภิปรายกลุ่มครบทุกกลุ่มย่อยแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละกลุ่มย่อยต่อที่ประชุมกอง
7. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”
9. ลูกเสือฟังเรื่องเล่าจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผนภูมิการเดินทาง
3. แผ่นภาพกิจกรรมบุกเบิก , ผจญภัย , เดินทางไกล
4. เพลง “รำวงชาวค่าย”
5. ใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมบุกเบิก, ผจญภัย , เดินทาง
ไกล
6. เรื่องสั้น เรื่อง “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
131
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ผู้สอนเตรียมเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
2. ผู้สอนจัดเตรียมเนื้อหาความปลอดภัยกิจกรรมบุกเบิก, ผจญภัย, เดินทาง
ไกล ไว้ให้พร้อม
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการเรียนการสอนให้พร้อมสมบูรณ์
132
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( .......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
133
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ รำวงชาวค่าย”

มาพวกเรามาสนุกเฮฮา ตามประสาชาวค่าย (ซ้ำ)


134
รำวงกับแบบง่าย ๆ (ซ้ำ) อย่ามัวเอียงอายเชิญมาร่ายรำ ๆ
(ซ้ำ)คนข้างซ้ายยักไหล่ไปมา คนข้างขวาทำท่ายักเอว
จับมือกันให้เร็ว ๆ (ซ้ำ) แล้วส่ายเอวโยกไปโยกมา ๆ (ซ้ำ)
135
ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
กิจกรรม”บุกเบิก” หมายถึงการสำรวจและการตัดถนนให้เป็ นทางเดิน หรือการ
สร้างสะพาน ฝึกหัดให้เกิดทักษะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ควรเรียนรู้เกี่ยวกับเชือกรอก
และสมอ ตลอดจนวิธีการใช้อย่างปลอดภัย
เชือก เป็ นอุปกรณ์ที่จำเป็ นสำหรับงานบุกเบิก จะต้องดูความเหมาะสมกับงาน
ที่จะใช้ว่าควรจะใช้เชือกที่มีขนาดเท่าใด ประเภทใด คุณภาพเป็ นอย่างไร เพื่อความ
ปลอดภัย
รอก เป็ นเครื่องมือที่ลดความเสียดทานช่วยผ่อนแรง ตลอดจนลดความสึก
กร่อนของเชือกได้ดี รอกอาจจะเป็ นโลหะหรือวัสดุอย่างอื่นได้ ส่วนประกอบของรอกเดี่ยว
ภาพประกอบ ส่วนประกอบของรอก A หมายถึง เป็ นรูปตัวยู สำหรับผูก
รอกให้แน่น
B หมายถึง ตัวรอกเป็ นตัวแบนมีแกนติดกับ
เรือนรอกหมุนได้
C หมายถึง เรือนรอกเป็ นแผ่นไม้หรือเหล็ก
ประกบตัวรอกไว้ทั้งสองด้าน
มีน็อตยึดหัวท้ายเอาไว้
D หมายถึง ขอรอก จะอยู่ตรงข้ามกับสายยู
สมอบก เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ ยึดเสาเต็นท์ ยึดสิ่งก่อสร้าง ป้ องกันมิให้
ล้มหรือใช้ยึดสะพานเชือกให้ตึง ในกิจกรรมลูกเสือแบ่งตามลักษณะได้ 3 ชนิด
ภาพประกอบ สมอบกแบบหลุม – สมอบกแบบธรรมชาติ เช่น
ต้นไม้
หรือก้อนหิน ที่แข็งแรง
– สมอบกแบบหลุม โดยใช้เชือกผูก
ก้อนหินขนาดใหญ่หรือท่อนซุง
136
ภาพประกอบ สมอบกแบบ สาม–สอง–หนึ่ง – สมอบกแบบเสาหรือทรง
กระบอก
ตัน จะเป็ นโลหะหรือไม้
137
ใบความรู้
ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมผจญภัย

กิจกรรมผจญภัยของลูกเสือนั้นแบ่งเป็ น 3 หมวด คือ


1. กิจกรรมทางน้ำ ลูกเสือจะต้องว่ายน้ำเป็ นสามารถช่วยตนเองได้ และรู้วิธี
การที่จะช่วยผู้อื่นได้ด้วย มีดังนี้
1.1 ลูกเสือต้องเชื่อฟังผู้บังคับบัญชา ๆ คอยระวังลูกเสือตลอดเวลา
1.2 ต้องเตรียมอุปกรณ์สำหรับช่วยเหลือให้พร้อม เช่น ชูชีพ ห่วงยาง
1.3 ลูกเสือที่ลงปฏิบัติกิจกรรมทางน้ำ ต้องมีสุขภาพแข็งแรง สำหรับผู้ที่
เคย
เป็ นลมบ้าหมู ห้ามทำกิจกรรมทางน้ำเด็ดขาด
1.4 การจัดกิจกรรมทางน้ำควรจัดลูกเสือเป็ นคู่ ไว้ช่วยเหลือกันเอง
2. กิจกรรมทางบก เป็ นกิจกรรมที่มีอันตรายน้อยกว่ากิจกรรมทางน้ำ จะ
เป็ นกิจกรรมที่ทดสอบกำลังใจและความสนุกสนานไปด้วย คำนึงถึงความปลอดภัย ดังนี้
2.1 ควรแต่งกายให้รัดกุมไม่ให้เสื้อผ้าไปติดกับกิ่งไม้ อาจทำให้ตกได้
2.2 ควรสวมรองเท้าผ้าใบหุ้มส้น
2.3 อย่าพกอาวุธติดตัวขณะปฏิบัติกิจกรรมอาจทำให้เกิดอันตรายได้
2.4 เมื่อเดินผ่านกิ่งไม้อย่าดึงเล่นอาจทำให้เป็ นอันตรายแก่ผู้ที่เดินตาม
2.5 ผู้บังคับบัญชาประจำฐานควรมีความสามารถแนะนำลูกเสือทำกิจกรรมได้
2.6 ถ้าลูกเสือไม่มั่นใจในการทำกิจกรรมอย่าบังคับ เพราะจะเกิดอันตรายได้
3. กิจกรรมทางอากาศ เป็ นกิจกรรมที่สมมุติเหตุการณ์ แล้วให้ลูกเสือช่วยกัน
แก้ไขสถานการณ์ที่ได้พบเห็น
3.1 ควรเลือกเชือกที่ใหม่หรือไม้ที่แข็งแรงสามารถ รับน้ำหนักมาก ๆ ได้
3.2 ควรเลือกเงื่อนเชือกที่จะใช้ผูกให้เหมาะสมกับงาน
3.3 ผู้ที่จะขึ้นไปช่วยเหลือและผูกเชือกที่ดึงข้างล่างต้องเป็ นผู้ที่แข็งแรง
3.4 การดึงเชือก หรือ ปล่อยเชือก ต้องมีจังหวะ
3.5 ผู้บังคับบัญชาต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดและสามารถให้คำปรึกษาได้
138
ใบความรู้
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล

การเดินทางไกลเป็ นการเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยอาศัย


แผนที่หรือคำสั่งที่ผู้บังคับบัญชากำหนดให้ ส่วนใหญ่แล้ว กิจกรรมเดินทางไกล
จะต้องจัดควบคู่กันไปกับกิจกรรมอยู่ค่ายพักแรม แต่กิจกรรมเดินทางไกลไม่จำเป็ น
ต้องไปอยู่ค่ายพักแรมเสมอไป เป็ นการจัดกิจกรรมช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เมื่อถึง
จุดหมายปลายทาง และปฏิบัติกิจกรรมครบตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเสร็จแล้วรวมกอง
แยกย้ายกันกลับบ้านได้ ดังนั้น กิจกรรมเดินทางไกล อาจจะเดินในเวลากลางวันหรือ
กลางคืนก็ได้ แล้วแต่จุดประสงค์การเรียนรู้ของการเดินทางไกลแต่ละครั้ง ประโยชน์ที่
ลูกเสือจะได้รับจากการเดินทางไกล คือ
1. ลูกเสือได้ฝึกความอดทนและช่วยเหลือตนเอง
2. ลูกเสือได้ฝึกการเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
3. ลูกเสือได้ฝึกการทำงานร่วมกันโดยใช้ระบบหมู่
4. ลูกเสือมีความสนุกสนานร่าเริง
5. ลูกเสือได้มีโอกาสเรียนรู้สภาพภูมิประเทศตามเส้นทางที่เดิน
การเดินทางไกลแต่ละครั้ง จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของลูกเสือ
ให้มากที่สุด ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ควรให้คำแนะนำก่อนที่จะออกเดินทางไกลทุกครั้ง
และกำชับให้ลูกเสือปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยอาศัยหลักความปลอดภัย

เรื่องสั้น
เรื่อง “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”

มีลูกเสือหมู่หนึ่ง เดินทางไกลไปค่ายพักแรมกัน โดยใช้เรือ


เป็ นพาหนะ ขณะเดินทางไปนั้นเครื่องยนต์เกิดดับระหว่างทาง ลูกเสือหมู่นั้น
ต่างช่วยกันเพื่อจะให้เครื่องยนต์ติด ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ลูกเสือคนหนึ่ง
139
เอามือไปจับสายพานในขณะที่เพื่อนอีกคนหนึ่งหมุนเครื่องยนต์ โดยไม่ได้ดูว่า
เพื่อนกำลังจับสายพานเครื่องยนต์อยู่ เผอิญเครื่องยนต์ติดขึ้นมา ลูกเสือ
คนนั้นเอามืออกจากสายพานไม่ทัน สายพานก็บดเอานิ้วก้อยของเขาขาดหาย
ไปครึ่งนิ้ว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมการเดินทาง
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่อาจจะก่อให้เกิด
140
อันตรายหรือบาดเจ็บได้ ดังนั้นลูกเสือจำเป็ นจะต้องเรียนรู้ในเรื่องหลักของความ–ปลอดภัย
ในการปฏิบัติกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า รถยนต์ เรือ เพื่อที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสืออย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติ เกี่ยวกับความปลอดภัยในกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า,
รถยนต์, เรือได้
1. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเท้าได้
2. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยรถยนต์ได้
3. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเรือได้

เนื้อหาสาระ
1. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเท้า
2. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยรถยนต์
3. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเรือ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ล่าหางว่าว”
3. ผู้บังคับบัญชาทบทวนวิธีการระดมสมองที่เคยปฏิบัติมาแล้วในแผนที่ 4
4. แบ่งลูกเสือเป็ น 3 กลุ่ม แยกกันไประดมสมองตามใบความ รู้ที่
5. เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมการเดินทางด้วยเท้า รถยนต์,เรือ โดย
มีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษา
กลุ่มที่ 1 ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า
กลุ่มที่ 2 ความปลอดภัยในการจักกิจกรรมทางรถยนต์หรือรถโดยสาร
กลุ่มที่ 3 ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมทางไกลโดยเรือ
7. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
7. ลูกเสือแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานผลการระดมสมอง
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “กระต่ายกับเต่า”
141
10. ลูกเสือฟังเรื่องเล่าจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสนอแนะ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผนภูมิการเดินทาง
3. เกม “ล่าหางว่าว”
4. ใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเดินทางด้วยเท้า,
รถยนต์,เรือ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ กระต่ายกับเต่า”
142
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ผู้สอนเตรียมเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
2. ผู้สอนจัดเตรียมเนื้อหาความปลอดภัยทั้งการเดินทางด้วยเท้า, รถยนต์, เรือ
ให้ครบถ้วน
3. ประสารงานในการทำกิจกรรมให้กับลูกเสือ เพื่อเสริมความปลอดภัยและ
สะดวกในการทำกิจกรรม
4. ให้ศึกษารายละเอียดก่อนทำกิจกรรมทุกครั้ง หรือให้เข้าที่ประชุม
คณะการกอง
143
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
144
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ล่าหางว่าว”
145
จำนวนผู้เล่น 10 – 30 คน
อุปกรณ์ โบว์หรือเชือก
ให้ผู้เล่นเกาะเป็ นแถวยาวเรียงหนึ่ง โดยเกาะบ่าคนข้างหน้า ผู้เล่น
คนแรกเป็ นหัวว่าว คนสุดท้ายเป็ นหางว่าว มีโบว์ผูกติดด้างหลัง หัวว่าว
ต้องพยายามไล่แตะหรือจับโบว์ของผู้เล่นที่เป็ นหางว่าวให้ได้ในขณะเดียวกัน
ผู้เล่นหางว่าวก็จะต้องหลบหลีกอย่าให้โดยจับการตัดสินเปลี่ยนผู้เล่นเป็ นหางว่าว
ทุกครั้งที่มีการจับกันได้
146

ใบความรู้ที่ 17.1
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเดินทางด้วยเท้า,
การอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ ยังนิยมเดินทางไกลด้วยเท้า ซึ่งจะใช้วิชาแผนที่
และเข็มทิศสอดแทรกเข้าไปด้วย ตลอดจนการสร้างสถานการณ์สมมุติ เพื่อให้ลูกเสือช่วย
กันแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ลูกเสือควรคำนึงถึงความปลอดภัย ดังนี้
1. ผู้บังคับบัญชากำชับให้ลูกเสือปฏิบัติตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ
เกี่ยวกับการเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม
2. เดินตามถนนให้เดินบนทางเท้า ถ้าไม่มีทางเท้าให้เดินทางด้านขวาและ
เดินเรียงเดี่ยวเป็ นระบบหมู่
3. ถ้าเดินทางในเวลากลางคืน นายหมู่ควรมีไฟฉายสำหรับบอกสัญญาณ
ให้ทราบ และควรมีผ้าสีสะท้อนแสงติดไว้ที่แขนเสื้อของลูกเสือทุกคนด้วย
4. รองเท้าที่ใช้สวมควรเป็ นรองเท้าที่เคยใช้มาแล้วป้ องกันการบีบรัดขณะเดิน
5. ของใช้ที่นำติดตัวไป ต้องให้เหมาะกับการใช้งาน และผูกรัดให้กระชับ
6. ไม่ควรรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำให้มากเกินไปเพราะจะทำให้จุกเสียด
7. ขณะเดินอย่าเล่นสนุกสนานจนเกินขอบเขต จะทำให้ขาดการ ระมัดระวัง
8. ผู้ที่มีโรคประจำตัว ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าจะได้คอยดูแล
อย่างใกล้ชิด
9. ไม่ควรเดินบนรางรถไฟ หรือตามรางรถไฟ
10. ควรมีไม้ง่ามติดตัวไปทุกครั้ง
11. ลูกเสือต้องอ่านคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ให้เข้าใจชัดเจนและช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน ให้ไปถึงที่หมายพร้อมกันด้วย

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยในการเดินทางไกลโดยรถยนต์หรือรถโดยสาร
ต้องระมัดระวังอันตรายให้มากที่สุด เพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้ง จะเป็ นการ
สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินเป็ นอย่างมาก แม้เราจะมิได้เป็ นผู้ขับขี่เองก็ตามลูกเสือปฏิบัติ
ดังนี้
147
1. ถ้าเป็ นรถโดยสารขนาดใหญ่ เมื่อขึ้นนั่งแล้วอย่าเดินไปมา หากมีเข็มขัด
นิรภัยให้รัดเข็มขัดให้เรียบร้อย
2. อย่ายื่นอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดออกไปนอกรถ
3. อย่ายืนหรือนั่ง บนบันได หรือหลังคารถ
4. อย่าก่อความรำคาญ ให้พนักงานขับรถจะทำให้ขับรถเครียด
5. การลงจากรถให้ลงทางประตูรถ หลังจากรถหยุดเรียบร้อยแล้ว
6. ถ้าจะข้ามถนนให้มองซ้ายขวาจนเห็นว่าปลอดภัยแล้วจึงข้าม
7. เมื่อลงจากรถ และจะข้ามถนน ให้เดินข้ามถนนทางด้านท้ายของรถที่เรา
โดยสารมา
ความปลอดภัยในการเดินทางไกล
โดยรถจักรยานหรือจักรยานยนต์ยังเป็ นที่นิยมของลูกเสือต่างจังหวัดหรือตาม
อำเภอรอบนอก เพราะเส้นทางการจราจร ยังไม่คับคั่งจนมากเกินไปผู้บังคับบัญชาก็ควร
กำชับให้ลูกเสือปฏิบัติ ดังนี้
1. ให้ลูกเสือสำรวจพาหนะให้พร้อม และเตรียมอุปกรณ์สำหรับซ่อมรถ
นำติดตัวในการเดินทางทุกครั้ง
2. ผู้บังคับบัญชาควรประสานกับตำรวจทางหลวง เพื่อขอให้ช่วยอำนวย
ความสะดวกก่อนเดินทาง
3. ขณะเดินทางให้ปฏิบัติตามกฎจราจร อย่างเคร่งครัด
4. ให้ขี่รถเรียงเดี่ยว อย่าขี่แข่งกันหรือเล่นกัน
5. เมื่อรถเสียหรือต้องหยุดพัก ให้นำรถออกไปจอดนอกเส้นทางการเดินรถ
148

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยในการเดินทางไกลโดยเรือ
การเดินทางไกลโดยเรือนี้ ควรจะเป็ นกองลูกเสือที่อยู่ใกล้แม่น้ำหรือทะเลเพราะมี
ความเคยชินกับการใช้เรือเป็ นพาหนะ หากจะเดินทางไกลโดยเรือ ผู้บังคับ–บัญชาควรกำชับ
ให้ลูกเสือปฏิบัติ ดังนี้
1. ลูกเสือควรฝึกว่ายน้ำให้เป็ น และรู้จักวิธีช่วยคนตกน้ำให้ได้
2. ขณะโดยสารเรือ อย่านั่งห้อยเท้าหรือยื่นแขนออกนอกกาบเรือ
3. อย่านั่งบนกาบเรือจะทำให้เรือโคลง
4. ขณะโดยสารเรืออย่าเดินไปเดินมา จะทำให้เรือโคลงหรือล่มได้
5. ขณะโดยสารเรือ ไม่ควรถอดเสื้อให้ลมพัดถูกตัว อาจทำให้ป่ วยได้
6. อย่าร่วมโดยสารไปกับเรือที่บรรทุกเกินพิกัด

เรื่องสั้น
เรื่อง “ กระต่ายกับเต่า ”

การที่กระต่ายวิ่งแพ้เต่านั้นทั้ง ๆ ที่กระต่ายวิ่งได้เร็วกว่าเต่ามาก
ก็เพราะกระต่ายมีความประมาทในการแข่งขัน ซึ่งกระต่ายวิ่งนำหน้าเต่ามาก
คิดว่านอนหลับสักตื่น เต่าก็ยังตามไม่ทัน แต่ครั้นตื่นขึ้นมา เต่าคลานเกือบถึง
149
เส้นชัยแล้วสุดที่กระต่ายจะวิ่งตามทัน กระต่ายจึงแพ้เต่าเพราะความประมาท

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การปฐมพยาบาล เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฐมพยาบาลเป็ นการรักษาบาดแผล หรืออาการขั้นต้นก่อนที่อาการ
จะลุกลาม หรือนำส่งแพทย์ ลูกเสือควรมีความรู้ ความเข้าใจ เพื่อที่จะได้ป้ องกัน
และปฐมพยาบาลได้ทันท่วงที
150

จุดการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลได้
บอกหลักการทั่ว ๆ ไป ของการปฐมพยาบาลได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวกได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนเป็ นลมได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนเท้าแพลงได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนผิวหนังถลอกได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนถูกแมลงสัตว์กัดต่อยได้

เนื้อหาสาระ
การปฐมพยาบาล

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ลูกเสือ“
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาล
5. ลูกเสือทั้งหมดช่วยกันสรุปใจความสำคัญ
6. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่มไปตามฐาน 4 ฐาน ศึกษาใบความรู้
จากรองผู้บังคับบัญชาที่ประจำฐานดังนี้ ( มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน )
ฐานที่ 1 การปฐมพยาบาลแผลธรรมดาถูกไฟไหม้น้ำร้อนรวก
ฐานที่ 2 การปฐมพยาบาลคนเป็ นลม
ฐานที่ 3 การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัดแมงมุมกัดแมลงกัดต่อย
ฐานที่ 4 การปฐมพยาบาลผู้ที่เท้าแพลงและผิวหนังถลอก
151
7. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
8. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
9. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “วัวตัวปัญหา“
11. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจแล้วนำส่งผู้บังคับบัญชานำคติสอนใจ
ไปติดที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. ภาพประกอบการปฐมพยาบาล
3. อุปกรณ์ทำแผล เช่น ผ้าพันแผล ผ้าม้วน ทิงเจอร์ไอโอดีน ยาแดง
ด่างทับทิม แอลกอฮอล์ ฯลฯ

4. ภาพเปรียบเทียบแสดงบาดแผลที่ถูกงูพิษและงูไม่มีพิษกัด
5. เพลง “ลูกเสือ“
6. ใบความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาล
8. เรื่องสั้น เรื่อง “วัวตัวปัญหา“
152
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ลูกเสือไปดูแผนภูมิการพันผ้าแบบต่าง ๆ ที่ห้องลูกเสือ
2. จัดการแสดงบทบาทสมมุติเหตุการณ์ต่าง ๆ ในคาบอิสระ
153
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
154
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
155
เพลง “ลูกเสือ”
ลูกเสือ ลูกเสือ เราไม่เบื่อการบำเพ็ญ คติที่ดีเด่นถือเป็ นประจำใจ
แล้วจะปฏิบัติต่อไป ด้วยร่าเริงใจอยู่ทุกยาม
ลูกเสือ ลูกเสือ เราเผ่าเชื้อลูกเสือไทย คิดอ่านการใด ใด
ใช่ส่วนตนไม่หม่นหมอง คิดทำความดีครอง เพราะมุ่งใจปองแต่ผลดี

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาล

ความหมายของการปฐมพยาบาล
156
การปฐมพยาบาล หมายถึง การรักษาพยาบาลขั้นต้นแก่ผู้ป่ วย
ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเกิดอุบัติเหตุ หรือ เกิดจากการป่ วยโดยกระทันหัน การรักษา
ขั้นต้นก็จะใช้เครื่องมือและยาเท่าที่จะสามารถหาได้ ก่อนที่จะส่งผู้ป่ วยให้แพทย์

หลักทั่วไปของการปฐมพยาบาล
ผู้ที่จะทำหน้าที่ปฐมพยาบาลได้นั้นจะต้องรู้หลักเบื้องต้น ในการปฏิบัติดังนี้
1. เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่ วย ถ้าผู้ป่ วยยังมีชีวิตอยู่ ให้สังเกตระบบหายใจถ้าหายใจไม่
สะดวกให้ทำการผายปอด หรือนวดหัวใจ เพื่อให้หัวใจทำงานต่อไป
2. ถ้าผู้ป่ วย มีบาดแผลและมีโลหิตออกมาให้ทำการห้ามโลหิต
3. ถ้าผู้ป่ วยกระดูกหัก ให้เข้าเฝื อกก่อนที่จะเคลื่อนย้าย

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาลบาดแผล
บาดแผล หมายถึง การที่ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังฉีกขาดอาจจะทำให้ฟกช้ำ
หรือเกิดเป็ นแผลจากการถูกตีหรือถูกกระทบกระแทกด้วยของแข็ง

วิธีการปฐมพยาบาล
1. อาการฟกช้ำผิวหนังไม่เป็ นบาดแผล เป็ นเพียงเส้นโลหิตฝอยใต้ผิวหนังแตก
เกิดอาการช้ำ ให้เช็ดผิวหนังบริเวณนั้นด้วยผ้าสะอาดประคบด้วยความเย็น ให้เส้นโลหิตตีบ
โลหิตก็จะหยุดซึม แล้วให้ใช้ความร้อนประคบ
157
2. ถ้าเป็ นบาดแผลที่ถลอกบริเวณผิวหนัง โดยไม่มีอาการฟกช้ำใต้ผิวหนังให้
ทำความสะอาด บริเวณบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาดหรือจะใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์
ทำความสะอาดที่บาดแผล ใช้ยาฆ่าเชื้อทาแผลและปิ ดแผลด้วยผ้า
3. ถ้าเป็ นบาดแผลผิวหนังแยกหรือแผลลึกแผลชนิดนี้ จะมีโลหิตไหลออกมา
รีบห้ามโลหิตทันที เมื่อโลหิตหยุดไหลใช้ผ้าสะอาดปิ ดปากแผลพันด้วยผ้า รีบนำส่งสถาน
พยาบาลที่ใกล้ที่สุด

การปฐมพยาบาลถูกไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก

วิธีการปฐมพยาบาล
แผลที่ถูกความร้อนผิวหนังไม่พอง และไม่แตกเพราะถูกความร้อนไม่มาก
การปฐมพยาบาล เมื่อถูความร้ อนใหม่ ๆ ให้ใช้วาสลินบริสุทธิ์หรือน้ำมันพืช
ป้ ายแผลแล้วใช้ผ้ากอซหรือผ้าพันแผลสัก 2 ชั้น เพื่อป้ องกันมิให้ถูกอากาศภายนอก
แผลที่ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวกหนังและเนื้อพอง ผู้ป่ วยจะมีอาการเจ็บปวดมาก
ถ้าได้รับความร้อนเป็ นบริเวณกว้างผู้ป่ วยอาจหมดสติ การปฐมพยาบาล ควรใช้ผ้ากอซจุ่ม
น้ำผสมกรดแทนนิค 5 % วางปิ ดแผลเอาไว้ รีบนำผู้ป่ วยส่งสถานพยาบาล

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาลคนเป็ นลม

คนเป็ นลมมักจะเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น โลหิตไปเลี้ยงสมองไม่พอ


เนื่องจากอากาศถ่ายเทไม่สะดวก อาจเกิดจากอยู่ในที่แออัด พักผ่อนน้อยเกินไป
ได้รับความร้อนมากเกินไปหรือได้รับความกระทบกระเทือนทางใจมากเกินไป
ผู้ป่ วยจะมีอาการหน้ามืด ใจสั่น เวียนศีรษะเหงื่อออกตามผิวหนัง ชีพจรเต้นเร็ว
กว่าปกติและอ่อน

การปฐมพยาบาล
ถ้าผู้ป่ วยรู้สึกตนเองว่า เริ่มมีอาการดังนี้ ให้รีบนั่งหรือนอนราบให้ศีรษะต่ำเพื่อ
โลหิตจะได้ไปเลี้ยงสมองเพียงพอสูดหายใจเข้าออกยาว ๆ ดื่มน้ำเย็นครั้งละน้อย ๆ
ถ้าผู้ป่ วยหมดสติ จนไม่รู้สึกตัวให้พยาบาลดังนี้
1. ให้ผู้ป่ วยนอนราบกับพื้น ศีรษะต่ำ ขยายเสื้อผ้าให้หลวม ๆ
2. ใช้ผ้าชุบน้ำ เช็ด ใบหน้าและบริเวณลำตัว
3. ให้ดมยาดมหรือแอมโมเนีย
4. ถ้ายังไม่รู้สึกตัวให้ช่วยผายปอด
158
5. ถ้าไม่รู้สึกตัวเกิน 5 นาที ให้รีบส่งสถานพยาบาล
159
ใบความรู้
การปฐมพยาบาลเมื่อถูกแมลงมีพิษกัดต่อย

แมลงที่เป็ นอันตรายแก่คนเราได้แก่ ผึ้ง ต่อ แตน แมลงป่ อง


ตะขาบ ฯลฯ สัตว์เหล่านี้จะมีเหล็กในที่มีสารพิษอยู่ภายใน เมื่อต่อยคนแล้วจะมี
อาการบวม คัน และเจ็บปวดบริเวณที่ถูกต่อย ถ้าถูกพิษมากอาจจะปวดมาก
จนหมดสติได้ ควรปฏิบัติดังนี้

การปฐมพยาบาล
1. ถ้าเป็ นแมลงที่เป็ นเหล็กใน ให้หาวิธีดึงเหล็กในออกโดยเร็ว
2. ใช้สำลีชุบน้ำยาที่มีฤทธิ์เป็ นด่าง เช่น น้ำปูนใส แอมโมเนีย ทาบริเวณแผล
3. รับประทานยาแก้ปวด ถ้าไม่บรรเทาให้นำผู้ป่ วยส่งสถานพยาบาล

การปฐมพยาบาลเมื่อถูกงูกัด
ลักษณะของงูที่มีพิษ จะสังเกตได้จากรอยเขี้ยวที่แผล จะมีรอย 2 เขี้ยว
การสังเกตแผล ถ้าเป็ นงูพิษจะมีจุดดำเข้มสองจุดรอยเขี้ยวจะมีสีคล้ำ
อาการของผู้ที่ถูกงูเห่า งูจงอาง หรืองูสามเหลี่ยมกัด จะปวดและบวมเล็กน้อย
ที่บริเวณแผลจะรู้สึกชาจากแผลและค่อย ๆ ลามไปทั่วร่างกายอย่างรวดเร็ว
อาการของผู้ถูกงูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้จะปวด และบวมมากภายใน
12 ชั่วโมงจะมีอาการบวมมากผิวหนังจะเปลี่ยนสี หนังจะเป็ นเม็ดพอง มีน้ำเหลือง
อาจมีโลหิตออกตามผิวหนังเลือดกำเดาไหล หรือออกทางอุจจาระ ปัสสาวะ
วิธีการปฐมพยาบาล
1. ตรวจรอยเขี้ยว
2. ถ้าเป็ นงูพิษให้ใช้เชือกรัดเหนือแผลห่างจากแผลประมาณ 5 เซนติเมตร
3. พยายามบีบโลหิตให้ออกจากปากแผลมาก ๆ
4. ล้างแผลด้วยด่างทับทิมแก่ ๆ หรือใช้เกล็ดด่างทับทิมปิ ดปากแผลไว้
5. ถ้าคนไข้มีอาการเป็ นลม ควรให้ดื่มกาแฟหรือชาร้อนๆ ห้ามดื่มสุรา
6. รีบนำผู้ป่ วยส่งสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด

ใบความรู้
การปฐมพยาบาลเท้าแพลง

เท้าแพลงหรือข้อเท้าเคลื่อนจากกัน มีอาการเจ็บปวดเพราะกล้ามเนื้อส่วนนั้น
ถูกกระทบกระเทือน ควรปฏิบัติดังนี้
160
1. ใช้ความเย็นประคบบริเวณข้อต่อ
2. ใช้ผ้าพันบริเวณข้อเพื่อไม่ให้อวัยวะส่วนนั้นเคลื่อนที่
3. เมื่อครบ 24 ชั่วโมงแล้วใช้ความร้อนประคบ

การปฐมพยาบาลผิวหนังถลอก
1. ใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออ่อน ๆ ชะล้างแผลหรือใช้แอลกอฮอล์ชุบสำลี
เช็ดแผลให้สะอาด ไม่ควรใช้น้ำเปล่าล้างแผล เพราะอาจทำให้สกปรก บาดแผลอาจติดเชื้อ
และทำให้โลหิตไหลออกมากเกินไป
2. ใช้ยาทาแผลสดให้ทั่วบริเวณผิวหนังที่ถลอก อาจไม่ต้องใช้ผ้า
ปิ ดแผลก็ได้ ถ้าบาดแผลนั้นไม่อยู่ในตำแหน่งที่สกปรกหรือถูกน้ำได้ง่าย ถ้าแผลอยู่ใน
ตำแหน่งที่ถูกน้ำได้ง่าย จะต้องใช้ผ้าหรือ ถุงพลาสติกห่อหุ้มไว้ก่อน เมื่ออยู่ในสภาพ
ปลอดภัยจึงถอดออก

เรื่องสั้น
เรื่อง “วัวตัวปัญหา”

ชายคนหนึ่ง นำวัวไปเลี้ยงที่ชายทุ่ง ตัวเองนั่งอยู่โคนต้นไม้เผลอหลับไป


พอตื่นขึ้นมา หาวัวไม่เจอจึงออกเดินตามหาวัว เขาเดินมาพบชายคนหนึ่งกำลังจูงวัว
ของตนจึงเข้าไปพูดว่า “วัวตัวนี้เป็ นของข้า” แต่ชายคนนั้นบอกว่า วัวตัวนี้เป็ นของเขา ชาย
ทั้งสองคนต่างคนต่างถามว่า เมื่ออ้างว่าเป็ นวัวของตน วัวนั้นมีตำหนิอยู่ ตรงไหนบ้างต่างคน
ต่างตอบไม่ได้ ขณะนั้นมีชายคนหนึ่งเดินผ่านมา ชายทั้งสองจึงขอร้องให้ชายคนนั้นช่วย
ตัดสินให้ ชายคนนั้นถามชายคนที่ลักวัวมาว่า “ท่านให้วัวกินอะไรวันนี้” ชายคนลักวัวตอบ
ว่า “กินงากินแป้ ง” ชายคนนั้นจึงถามชายเจ้าของวัวบ้าง ชายเจ้าของวัวตอบว่า “ตัวเขา
ยากจนให้กินเพียงหญ้า” ชายคนนั้นจึงเก็บใบยามาตำขยำเอาน้ำให้วัวกินวัวก็สำรอก ออกมา
เป็ นหญ้า จึงรู้ว่าใครเป็ นเจ้าของ
161
162

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง แผนที่เบื้องต้น เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการเรียนวิชาลูกเสือ สิ่งที่ลูกเสือต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับเรื่องอื่น ๆ คือ
เรื่องของแผนที่ ซึ่งมีความจำเป็ นอย่างยิ่งในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ เช่น
เดินทางไกล การเดินสำรวจ ซึ่งลูกเสือต้องมีความรู้ ความเข้าใจเป็ นอย่างดีจึงทำให้การจัด
กิจกรรมบรรลุผลตามวัตถุประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออ่านและใช้แผนที่และรู้จักบริเวณที่ตนอยู่ได้ถูกต้อง
1. บอกความหมายของแผนที่ได้
2. บอกชนิดของแผนที่ได้
3. อ่านและใช้แผนที่ได้

เนื้อหาสาระ
1. แผนที่เบื้องต้น

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. เกม “ทิศทั้ง 4”
3. เรียกลูกเสือรอมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาให้ความรู้ เรื่อง แผนที่เบื้องต้น เกี่ยวกับ
163
– ความหมายของแผนที่
– ชนิดของแผนที่ สีที่ใช้ในแผนที่
– การอ่านและการใช้แผนที่
5.ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของเนื้อหาจดบันทึกลงสมุด
6.รองผู้บังคับบัญชามอบใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง แผนที่เบื้องต้น ให้ลูกเสือ ไป
ศึกษาเพิ่มเติมที่บ้าน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การสังเกต”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. แผ่นภาพหรือภาพถ่ายดวงดาวบอกตำแหน่ง
3. เพลง “ทิศทั้ง 4”
4. ใบความรู้ เรื่อง แผนที่เบื้องต้น
5. แผ่นแผนที่ (ภาพผ้าม้วน)
6. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การสังเกต”
164
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งฐานให้มากหรือน้อยตามแต่ความเหมาะสม
กับเนื้อหา เวลาและอุปกรณ์
2. ให้ศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือในห้องกิจกรรมลูกเสือ
.
165
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
166
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ทิศทั้งสี่”
167
วิธีเล่น
ผู้บังคับบัญชากำหนดทิศคือ เหนือ ใต้ ออก ตก เมื่อ
เริ่มเล่นให้ลูกเสือยืนรวมกัน ใครจะหันหน้าไปทางทิศใดก็ได้
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือบอก ทิศเหนือ ลูกเสือ ทุกคนจะต้องหันไป
ทางทิศเหนือที่กำหนดไห้ทันที ใครหันผิดคนนั้นออกจากการ
เล่น ผู้บังคับบัญชาคงดำเนินการบอกทิศต่อไป ถ้าบอกใต้ ทุกคน
ต้องหันไปทางใต้ ใครหันผิดก็ออกจากการเล่น จนกว่าจะ
เหลือคนสุดท้ายเป็ นผู้ที่ประสาทสั่งงานดีเป็ นผู้ชนะ

ใบความรู้
เรื่อง แผนที่เบื้ องต้น

ความหมายของแผนที่

แผนที่ คือ การนำเอารูปภาพของสิ่งต่าง ๆ บนพื้นผิวของโลกมาย่อส่วน


168
ให้เล็กลง แล้วนำมาเขียนบนกระดานหรือวัตถุที่แบนราบ เพื่อแสดงสิ่งต่าง ๆ บนพื้น
ผิวโลก ประกอบด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์ทำขึ้น สิ่งเหล่า
นี้แสดงบนแผนที่โดยใช้สี เส้น หรือรูปต่าง ๆ เป็ นสัญลักษณ์แทน

ความเป็ นมาของแผนที่ในประเทศไทย

แผนที่ภายในประเทศที่เก่าแก่ที่สุด คือ แผนที่ยุทธศาสตร์ครั้งรัชกาล


พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ต้นกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง ปี พ.ศ. 1893 – 1912
การทำแผนที่ภายในประเทศ เริ่มเมื่อปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ พ.ศ. 2411 ได้มีการทำแผนที่บริเวณเขตแดนด้านตะวันตกของ
ไทย เพื่อกำหนดเขตแดน ไทย – พม่า และปี พ.ศ. 2413 ได้ทำแผนที่กรุงเทพฯ และ
กรุงธนบุรี โดยชาวต่างประเทศเป็ นผู้ทำ
สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวปี พ.ศ. 2418
งานแผนที่เจริญมากได้ตั้งกองแผนที่ โดยชาวต่างประเทศเป็ นที่ปรึกษาส่วนพระองค์
และพัฒนามาจนถึงการจัดทำแผนที่ในปัจจุบัน

ใบความรู้
เรื่อง แผนที่แบนราบ

เป็ นแผนที่ที่แสดงพื้นผิวโลกในแนวราบ ไม่ได้แสดงความสูงต่ำเอา


ไว้ ใช้ในการแสดงตำแหน่ง ระยะทางเส้นทาง เช่น แผนที่โลก แผนที่
ประเทศ แผนที่จังหวัด แผนที่เส้นทางในกรุงเทพฯ เป็ นต้น

ภาพประกอบ แผนที่แบนราบ
169

แผนที่ภูมิประเทศ

เป็ นแผนที่ที่มีสองมิติ สามารถแสดงความสูง ต่ำของพื้นผิวโลก ให้เห็น


ทั้งแนวระดับ (แนวราบ) และแนวดิ่ง (แนวสูง–ต่ำ) เช่น การแสดงลักษณะภูเขา
ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำแผนที่ชนิดนี้ ให้คุณประโยชน์มากกว่าแผนที่แบบ
แบนราบ เช่น แผนที่ประเทศไทย 1 : 50,000 แผนที่นูน หรือ แผนที่ทรวดทรง เป็ นต้น

ภาพประกอบ แผนที่ภูมิประเทศ
170
171

เรื่องสั้น
“การสังเกต”

มีสุนัขตัวหนึ่งเดินทางไปในป่ าพร้อมเจ้าของเพื่อจะไปหาของป่ ามาขาย


ชายคนนั้นเดินไปพร้อมสุนัข เข้าป่ าลึกไปทุกที และได้ของป่ ามามากมายพอสมควร
แต่เกิดหลงทางจำไม่ได้ แต่สุนัขที่ไปด้วยดมกลิ่น ไปตามโคนต้นไม้ไปแล้วก็วิ่งต่อไป
ชายคนนั้นเดินตามสุนัขของเขาไปเรื่อย ๆ ในที่สุด เขาก็สามารถเดินทางกลับบ้านได้
ถูกต้อง และเขาคิดว่าการที่สุนัขวิ่ง ๆ ดม ไปตลอดทางนั้น เพราะมันจำกลิ่นปัสสาวะ
ของมันที่ถ่ายไว้ได้ ในขณะเดินทางเข้าไปในป่ านั่นเอง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น เวลา 1 ชั่วโมง
172

สาระสำคัญ
ในการเรียนวิชาลูกเสือ สิ่งที่ลูกเสือต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับเรื่องอื่น ๆ คือ
เรื่องของเข็มทิศ ซึ่งมีความจำเป็ นอย่างยิ่งในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ เช่น
เดินทางไกล การเดินสำรวจ ซึ่งลูกเสือต้องมีความรู้ ความเข้าใจเป็ นอย่างดีจึง
ทำให้การจัดกิจกรรมบรรลุผลตามวัตถุประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออ่านและใช้เข็มทิศได้อย่างถูกต้อง
1. บอกความหมายของเข็มทิศได้
2. บอกส่วนประกอบของเข็มทิศได้
3. ใช้เข็มทิศได้
4. ปฏิบัติหาทิศจากสิ่งแวดล้อมได้

เนื้อหาสาระ
เข็มทิศเบื้องต้น

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2.ลูกเสือร้องเพลง “ทิศทั้ง 8“
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 2 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้วจึง
ให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ
ฐานที่ 2 เรื่อง การหาทิศโดยสังเกตจากสิ่งแวดล้อม เช่น ลม เถาวัลย์
ต้นไม้
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
173
6. ลูกเสือทุกหมู่ระดมความคิดปฏิบัติกิจกรรมใบงาน เรื่อง
เข็มทิศเบื้องต้น
7. ลูกเสือทุกหมู่นำใบงานส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “หมาไม่มีเหตุผล“
9. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
10. มอบใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อ ที่บ้านแล้วนำ
เอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เพลง “ทิศทั้ง 8“
3. ใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น
4. ใบงาน เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น
5. เรื่องสั้น “หมาไม่มีเหตุผล”
174
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งฐานให้มากหรือน้อย ตามแต่ความเหมาะสม
กับเนื้อหา เวลาและอุปกรณ์ ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือเข็มทิศเพิ่มเติมจากห้องกิจกรรม
175
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
176
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
177
เพลง “ทิศทั้ง 8”

ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิมจำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องดีอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน (ซ้ำ) ตรงข้ามไปคือ อาคเนย์

เรื่องสั้น
เรื่อง “หมาไม่มีเหตุผล”

มีพ่อค้าคนหนึ่ง ขนหีบใส่อาหารข้ามสะพานมา ขณะนั้นเองหีบ


อาหารใบหนึ่งตกลงไปในน้ำ พ่อค้าต้องรีบเดินทางจึงต้องทิ้งหีบใบนั้นไว้ มีหมา
ฝูงหนึ่งเดินข้ามสะพานมา มองลงไปในน้ำเห็นก้อนเนื้ออยู่ในหีบ จึงปรึกษากัน
178
ถึงเรื่องทำอย่างไร จึงจะเอาหีบอาหารขึ้นมาได้ ต่างคนต่างแสดงความคิดเห็นแต่ก็
ตกลงกันไม่ได้ จึงชวนกันไปปรึกษาพญาช้าง เพราะคิดว่าช้างคงช่วยเหลือได้ เมื่อ
ไปถึงเห็นช้างนอนหลับอยู่ จึงได้ปลุกช้างให้ตื่น แล้วขอความช่วยเหลือ ช้างเพิ่ง
ตื่นงัวเงียอยู่ก็ตอบว่า “เราช่วยท่านเอาหีบขึ้นไม่ได้หรอก แต่เราแนะนำพวกเจ้าได้ คือ ให้
พวกเจ้าช่วยกันกินน้ำให้หมดแล้วก็เอาหีบขึ้นมา” หมาต่างก็เห็นด้วย จึงหาสะพานข้าม
ลำธาร ช่วยกันกินน้ำจนท้องแตก น้ำในลำธารก็ไม่แห้งเพราะน้ำไหลมาตลอดเวลา จึงล้ม
เลิกความคิดที่จะเอาหีบขึ้นมา

ใบความรู้
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น

เข็มทิศและส่วนประกอบของเข็มทิศ
เข็มทิศ คือ เครื่องมือที่ใช้ในการหาแนวทิศเหนือ เพื่อเป็ นหลักในการหาทิศ
อื่น ๆ ต่อไป เข็มทิศที่นิยมใช้ในวงการลูกเสือ คือ เข็มทิศแบบซิลวา ของประเทศ
สวีเดน เป็ นเข็มทิศและไม้โปรแทรกเตอร์รวมอยู่ด้วยกัน ใช้ทำแผนที่และหาทิศทาง
ได้ดี สะดวกในการใช้งาน
ภาพประกอบ เข็มทิศแบบซิลวา
179

ส่วนประกอบของเข็มทิศซิลวา
หมายเลข 1 แผ่นฐาน ทำด้วยวัสดุโปร่งใส
หมายเลข 2 ขอบฐานมีมาตราส่วนเป็ นนิ้วหรือเป็ นเซนติเมตร
หมายเลข 3 ลูกศรทิศทางที่จะไป
หมายเลข 4 เลนส์ขยาย
หมายเลข 5 ตลับเข็มทิศ เป็ นวงกลมหมุนไปมาได้ บนกรอบหน้าปัด
ของตลับเข็มทิศแบ่งมุมได้ 360 องศา
หมายเลข 6 ภายในตลับเข็มทิศ ตรงกลางมีเข็มทิศแม่เหล็กสีแดง
ซึ่งจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
หมายเลข 7 ตำแหน่งสำหรับตั้งมุม และอ่านค่าของมุมอยู่แนวเดียว
กับปลายลูกศรชี้ทิศทาง

การใช้เข็มทิศซิลวา
เข็มทิศซิลวา เราสามารถนำมาใช้ได้ดังนี้
1. หาทิศทางของจุดหมาย ที่เราต้องการจะไปในกรณีที่กำหนดมุม
อาซีมุท ให้สมมุติว่าบอกมุมอาซีมุท 70 องศา ให้ปฏิบัติดังนี้
– เอาแผ่นฐานเข็มทิศวางบนฝ่ ามือ หรือสมุด ในแนวราบ ให้ขนานกับพื้น
– หมุนรอบหน้าปัดตลับเข็มทิศให้เลข 70 องศา ตรงกับ ลูกศรชี้ทิศทาง
– หมุนฝ่ ามือหรือสมุดที่วางเข็มทิศ ให้แม่เหล็กสีแดง ชี้ตัว อักษร N
– ออกเดินไปตามทิศทางลูกศรชี้ ก็จะทราบทิศทางของ จุดหมายที่เราจะไป
2. ต้องการหาค่ามุมอาซีมุท จากจุดที่เราอยู่ ไปจุดหมายที่เราจะ เดินไป
ให้ปฏิบัติดังนี้
– วางเข็มทิศบนฝ่ ามือหรือสมุดในแนวราบขนานกับพื้น
– หันลูกศรชี้จุดที่เราจะเดินไป
180
– หมุนกรอบหน้าปัดให้เข็มแม่เหล็กสีแดง ตรงกับอักษร N โดยให้ลูกศร ชี้
ทิศที่เราจะเดินไป
– อ่านค่ามุมอาซีมุทลูกศรชี้ทิศทาง ก็จะทราบว่ามีค่าของ
อาซีมุทเท่าใด
อาซีมุท (Azimuth) เป็ นวิธีการที่คิดขึ้นมา เพื่อใช้ในการบอกทิศทาง โดย
กำหนดให้เป็ นมุมที่ราบ วัดแนวทิศเหนือไปตามเข็มนาฬิกา ถึงจุดหมายหรือทิศทาง

การหาทิศหรือการหาที่ตั้งของสถานที่
การจัดกิจกรรม การเดินสำรวจ การพักแรม การเดินทาไกล ที่มีภูมิประเทศเป็ น
ป่ าเขาจริง ๆ ลูกเสือต้องรู้จักวิธีการหาทิศ เพื่อที่จะค้นหาที่ตั้งหรือตำแหน่งของสถานที่ ให้
เป็ นความรู้เบื้องต้นไว้บ้าง มีวิธีหา 2 วิธี

การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ
จะใช้ทิศเหนือเป็ นหลักโดยวางแผ่นเข็มทิศในแนวราบ ให้ขนานกับพื้นหมุน
แผ่นเข็มทิศให้เข็มแม่เหล็กสีแดง ชี้ตรง N เราก็จะทราบทิศทั้ง 4 ทันที ถ้าต้องการ
จะหาทิศทางอื่น ก็จะใช้ตามข้อแนะนำการใช้เข็มทิศซิลวา ซึ่งได้กล่าวไว้ในตอนต้น
181
การหาทิศโดยสังเกตจากธรรมชาติ
1. สังเกตจากดวงอาทิตย์ ในช่วงเวลาเช้าหรือเวลาเย็น เราจะสังเกตได้ง่าย
เพราะดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และจะตกทางทิศตะวันตก
2. สังเกตจากดวงจันทร์ ในเวลากลางคืนถ้าเราทราบว่า ขณะนั้นเป็ นข้างขึ้น
หรือข้างแรม ถ้าเป็ นข้างขึ้น 1 – 6 ค่ำ ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันตก ถ้าเป็ นข้างขึ้น 9 –
15 ค่ำ ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันออก ถ้าเป็ นข้างแรมดวงจันทร์จะขึ้นทางฟากฟ้ าตะวัน
ออกเสมอ บางครั้งเราอาจจะ ไม่ทราบว่า ขณะนั้นเป็ นข้างขึ้นหรือข้างแรม ให้สังเกตจาก
ลักษณะของดวงจันทร์ข้างขึ้นจะหันส่วนเว้าไปทางทิศตะวันออก ข้างแรมดวงจันทร์
จะหันส่วนเว้าไปทางทิศตะวันตก
3. สังเกตจากโบสถ์ โดยทั่วไปแล้ว ประตูจะอยู่ทางทิศตะวันออก
4. สังเกตจากหลุมฝังศพ จะหันศีรษะไปทางทิศตะวันตก มีป้ ายชื่อไม้กางเขน
อยู่เหนือศีรษะ
5. สังเกตจากเถาวัลย์ ที่พันรอบต้นไม้ส่วนมาก จะหันปลายยอดไป ทางทิศ
ตะวันออก
6. สังเกตต้นไม้ เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ าในป่ าโปร่งจะมีต้นไม้ใหญ่ ให้เอา
แก้มแนบต้นไม้ สังเกตต้นไม้ดูว่า ด้านที่อุ่น ๆ จะเป็ นด้านทิศตะวันตก แล้วเราก็จะได้ทิศอื่น
182
ใบงาน
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น

คำสั่ง
1. ให้ลูกเสือ.แต่ละหมู่ ใช้เข็มทิศแบบซิลวาหามุมเข็มทิศ และระยะทาง
ตามจุดที่กำหนดให้
2. เมื่อทำใบงาน เสร็จแล้ว ให้ลูกเสือส่ง ที่ผู้บังคับบัญชา

แผนผังสนามใช้ประกอบใบงานที่ 3.1
3

5 1 2

3. จากจุด 1 ไปหาจุด 2
เป็ นมุม…………องศา ระยะทางประมาณ ………ก้าว
4. จากจุด 2 ไปหาจุด 3
เป็ นมุม………… องศา ระยะทางประมาณ……….ก้าว
5. จากจุด 3 ไปหาจุด 4
เป็ นมุม…………องศา ระยะทางประมาณ ………ก้าว
6.. จากจุด 4 ไปหาจุด 5
เป็ นมุม………… องศา ระยะทางประมาณ……….ก้าว
ชื่อ 1. ………………………. 2. ……………………………
3…………………………. 4……………………………….
183
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การจัดรายการอาหารที่มีประโยชน์ (หัวหน้าคนครัว)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะต้องจัดเตรียมอาหารไปประกอบ เพื่อ
รับประทานเอง ลูกเสือแต่ละหมู่ ควรคิดรายการอาหารก่อนว่า มื้อใดควรรับประทาน
อาหารอย่างไร และต้องจัดเตรียมอาหารอะไรบ้าง อาหารที่จัดเตรียมควรเลือกซื้อ
อาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกายราคาไม่แพงเก็บรักษาง่าย ปริมาณเพียงพอ และ
เหมาะสมกับจำนวนสมาชิก

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกการจัดรายการอาหารที่มีประโยชน์ได้
1. จัดรายการอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
2. บอกวิธีเลือกซื้ออาหารที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกายได้

เนื้อหาสาระ
1. การจัดรายการอาหาร
2. หลักในการเลือกซื้ออาหาร

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “เชื้อโรคติดต่อ“
3. ลูกเสือศึกษา ใบความรู้ เรื่อง การจัดรายการอาหารที่มี
ประโยชน์
4. ลูกเสือทุกหมู่ ร่วมกันจัดรายการอาหารสำหรับอยู่ค่ายพักแรม
184
ในเวลากลางวัน และวิธีเลือกซื้ออาหารซึ่งจะใช้ประกอบอาหารที่หมู่ตนเองคิดขึ้น
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอที่ประชุมกอง
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่ขาด
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “โค้งดีกว่าหัก“
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ ห้องลูกเสือ
9. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
10. พิธีปิ ดประชุมกอง
185
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
186
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
187
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
188
เกม “ เชื้อโรคติดต่อ “

วิธีเล่น
1. เขียนวงกลมรัศมีพอสมควร ให้คนอยู่ในวงกลมหลบคนที่วิ่งรอบ ๆ วงได้
2. ให้ลูกเสือคนหนึ่งเป็ นเชื้อโรค วิ่งรอบ ๆ วงกลม
3. ลูกเสืออยู่ในวงกลมอย่าให้เชื้อโรคแตะถูกตัวได้ ใครถูกแตะต้องออกไปเป็ น
เชื้อโรค

ใบความรู้
เรื่อง การจัดรายการอาหารที่มีประโยชน์ (หัวหน้าคนครัว)

หัวหน้าคนครัวคือใคร
หัวหน้าคนครัว คือ ผู้ที่มีความรับผิดชอบในการจัดอาหาร เตรียมอาหาร
189
และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหาร ตลอดจนควบคุมการประกอบอาหาร
ให้ถูกต้องตามวิธีการของลูกเสือ

ความสำคัญของอาหาร
อาหารเป็ นสิ่งจำเป็ นสำหรับมนุษย์ ในการเสริมสร้างความเจริญเติบโต และ
บำรุงร่างกายให้แข็งแรง มีสุขภาพอนามัยที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การประกอบอาหาร
ในการไปอยู่ค่ายพักแรมนั้น ลูกเสือจะต้องประกอบอาหารเอง ลูกเสือแต่ละหมู่
จึงควรคิดรายการอาหารเสียก่อนว่า มื้อใดจะรับประทานอาหารอะไร และต้องเตรียม
อาหารล่วงหน้าด้วย อาหารที่จัดเตรียมควรเหมาะสมแก่วัยของตนเอง

การประกอบอาหารลูกเสือควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้คือ
1. เป็ นอาหารชนิดที่ง่าย ๆ แต่ให้คุณค่าทางโภชนาการและใช้เวลาไม่มาก
2. ควรมีราคาพอสมควร
3. ควรมีปริมาณที่เพียงพอแก่สมาชิกในหมู่ของตน

ตัวอย่างรายการอาหาร สำหรับลูกเสือ 2 หมู่ ๆ ละ 5 คน ในเวลา 1 วัน


อาหารเช้า อาหารกลางวัน อาหารเย็น
วันที่ 1
– ข้าวต้ม – ข้าว – ข้าว
– ไข่เค็มยำ – ต้มจืดผักกาดดอง – หมู – ผัดผักกาดขาว – หมู
– ถั่วลิสงคั่ว – ไข่เจียว – ปลาเค็ม
– ส้ม – แตงโม – สับปะรด
การเลือกซื้ออาหาร
การเลือกซื้ออาหาร ควรแบ่งประเภท เป็ นของสุก ของแห้ง และเบ็ดเตล็ด
การเลือกซื้ออาหารจำพวกผัก เนื้อสัตว์ ปลา และไข่ เพื่อให้ได้ของสดนั้น มีวิธีการ
เลือกซื้อดังต่อไปนี้ คือ

ที่ อาหาร ลักษณะที่ดีและสด


1 เนื้อหมู มีสีชมพู มันสีขาว
2 เนื้อวัว มีสีแดงสด เนื้อแน่น มันสีเหลือง
3 เนื้อควาย มีสีแดงคล้ำมันสีขาว
4 เนื้อไก่ มีหนังบาง เต็มไม่ย่นสีไม่ซีดใต้หนังมีมันสีเหลือง
5 เนื้อปลา ผิวเป็ นมัน มีเมือกใส ๆ บาง ๆ ตาใส เหงือกแดง
190
6 ผัก เลือกซื้อผักตามฤดูกาลจะได้ผักสดราคาถูก
7 ไข่ เปลือกจะบางและสากมือบ้างเล็กน้อย
8 ปู ปู ที่ยังไม่ตาย โดยสังเกตตาของปูกระดิก ๆ
9 หอย ฝาจะปิ ดสนิท
10 เครื่องกระป๋ อง กระป๋ องที่ไม่เป็ นสนิม หรือบุบมาก ๆ

เรื่องสั้น
เรื่อง “โค้งดีกว่าหัก”

ต้นอ้อเมื่อลมพัดแรง ๆ ต้นอ้อจะอ่อนตามแรงลม แต่พวกต้นไม้ใหญ่ ๆ


ซึ่งไม่สามารถจะอ่อนตามลมได้ก็ล้มหมด เปรียบเหมือนคนเรา ซึ่งต้องเปลี่ยนไป
ตามสถานการณ์ เมื่อเขาแรงมาเราก็อ่อนไป แต่ถ้าเราแข็งก็ทำให้พังไม่มีผลอะไรเลย
191

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การประกอบอาหารด้วยวิธีต่าง ๆ (หัวหน้าคนครัว)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะต้องจัดเตรียมอาหารไปประกอบ เพื่อ
รับประทานเอง ลูกเสือแต่ละหมู่ ควรคิดรายการอาหารก่อนว่า มื้อใดควรรับประทาน
อาหารอย่างไร และต้องจัดเตรียมอาหารอะไรบ้าง อาหารที่จัดเตรียมมาควรเลือกอาหารที่ดี
มีประโยชน์ต่อร่างกาย ราคาไม่แพงเก็บรักษาง่าย ปริมาณเพียงพอ และเหมาะสมกับ
จำนวนสมาชิก จัดทำง่าย ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกวิธีการประกอบอาหารได้
1. บอกกวิธีประกอบอาหารได้

เนื้อหาสาระ
1. วิธีการประกอบอาหารประเภทต่าง ๆ
2. หลักในการประกอบอาหารประเภทต่าง ๆ
192

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ดอกไม้แดนไพร“
3. ลูกเสือแต่ละหมู่ร่วมกันศึกษา ใบความรู้ เรื่อง การประกอบ
อาหารสำหรับลูกเสือ 1 หมู่
4. ลูกเสือทุกหมู่ ร่วมกันสรุปใจความสำคัญจากใบความรู้ที่ 5.1
จดบันทึกลงในกระดาษที่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเตรียมให้ของแต่ละหมู่
5. ลูกเสือแต่ละหมู่ส่งตัวแทนนำเสนอข้อสรุปหน้าแถว
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมให้กับลูกเสือทราบ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “สวยแต่รูปจูบไม่หอม“
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
9. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
10. ผู้บังคับบัญชามอบใบภาระงาน ให้ลูกเสือทุกหมู่
11 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพอาหารหลัก 5 หมู่
3. ตารางรายการอาหาร
4. อุปกรณ์การประกอบอาหาร เช่น หม้อ , เตา , ถ่าน , ฟื น , ทัพพี
6. เพลง “ดอกไม้แดนไพร“
7. ใบความรู้ เรื่อง “การประกอบอาหารสำหรับลูกเสือ 1 หมู่“
8. เรื่องสั้น เรื่อง “สวยแต่รูปจูบไม่หอม“
9. ใบภาระงาน
193
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรให้ลูกเสือศึกษาวิธีการประกอบอาหารเพิ่มเติม จากคู่มือการจัดและ
ประกอบอาหาร
2. ควรนำภาพจากวิดีทัศน์ เรื่อง การประกอบอาหาร มาให้ลูกเสือได้ศึกษาเพิ่ม
เติมควรให้เวลากับลูกเสือ ในการสำรวจดูแลความสะอาด อุปกรณ์
194
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
195
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
196

เพลง
“ดอกไม้แดนไพร”

แดนป่ าเขา หนูน้อยเริงใจ เด็ดดอกไม้ สอดใส่แซมผม


ดอกมะลิวัลย์ กรรณิการ์ ลั่นทม เฝ้ าเด็ดดม นิยมแดนไพร
ชวนกันร้องเพลง เพลินเดินไป น่าชื่นใจ ดอกไม้ในป่ า

ใบความรู้
เรื่อง วิธีการปรุงอาหาร

วิธีการปรุงอาหารมีหลายรูปแบบ ที่ควรทราบมีดังนี้
– ต้ม คือ การทำให้สุกโดยน้ำเดือด
–นึ่ง คือ การทำให้สุกจากไอน้ำเดือด โดยใช้หม้อหรือภาชนะสำหรับนึ่ง
197
–อบ โดยการใช้เตาอบ หรือภาชนะอื่นตามความเหมาะสม
–ปิ้ง คือ การทำให้ผิวนอกของอาหารที่ต้องการปิ้ง เช่น ปลา มีเนื้อในให้สุก
–ย่าง คือ การทำให้ผิวนอกนุ่ม ข้างในสุก
–เผา คือ การทำให้สุกโดยใช้ไฟแรงวางของที่จะเผาลงในไฟเช่น เผาไข่
–ลวก เป็ นวิธีการต้มอย่างครึ่งดิบครึ่งสุก หรือดิบ ๆ สุก ๆ
–ตุ๋น คือ การอบด้วยไอน้ำเดือด โดยใช้หม้อสองชั้นซ้อนกัน
–ทอด คือ การทำอาหารให้สุก หรือ การอบด้วยน้ำมันร้อน ๆ
–รวน คือ การทำอาหารให้สุกด้วยน้ำมันหรือน้ำ
1. ผัด คือ การทำอาหารโดยใช้น้ำมันหรือกะทิใส่ลงในกะทะแล้วนำ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ต้องการผัดใส่คนให้สุกทั่วและปรุงรสตามชอบ

ที่ วิธีการ วิธีทำข้าวให้สุกเพื่อรับประทาน


1 การหุงข้าว การหุงข้าวแบบเช็ดน้ำ, การหุงข้าวแบบไม่เช็ดน้ำ
2 การนึ่งข้าว จากไอน้ำ โดยการใช้หม้อนึ่ง
3 การหลามข้าว ใช้กระบอกไม้ไผ่ ตัดเป็ นท่อนแทนภาชนะหุงต้มอื่น ๆ

หลักในการจัดรายการอาหารประจำวัน
– มื้อเช้า จัดเป็ นมื้อที่มีความสำคัญมาก อาหารมื้อนี้ควรเป็ นอาหารที่ทำง่าย
– มื้อกลางวัน มีความสำคัญพอ ๆ กับมื้อเช้า ควรรับประทานให้อิ่ม
– มื้อเย็น ไม่ควรจะมีปริมาณมากนักเพราะช่วงกลางคืน การใช้พลังงาน
มีน้อยกว่ากลางวัน

ตัวอย่างการประกอบอาหารร้อน

การประกอบอาหารร้อน (สำหรับสมาชิก 5 คน)


ข้าวต้มกุ้ง
เครื่องปรุง – ข้าวสาร 2 ถ้วยตวง
– กุ้งสดปอกเปลือก 2 ถ้วยตวง ( ประมาณ 3 ขีด )
– กระเทียม 10 กลีบ ( 2 หัว )
– ต้นหอม ผักชี 1 ถ้วย
– ตั้งฉ่าย 1/2 ถ้วย
– น้ำปลา เกลือ
– น้ำส้มสายชู 1 ถ้วย
– พริกชี้ฟ้ าเขียว – แดงซอย 1/2 ถ้วย
198
– พริกไทย
– น้ำมัน 1/2 ถ้วย
วิธีทำ
1. นำข้าวสารไปล้างน้ำ และต้มบนไฟจนเมล็ดบาน (อย่าให้เละ)
{ขณะต้มให้ใส่เกลือพอเค็มเล็กน้อย ข้าวต้มจะมีรสอร่อย} พักไว้
2. ตั้งหม้อสนามอีกใบบนเตา ใส่น้ำมันให้ร้อนจัด ใส่กระเทียมเจียวพอเหลือง
ให้แบ่งกระเทียมเจียวครึ่งหนึ่งตักใส่ถ้วยไว้ ส่วนที่เหลือในหม้อให้ใส่กุ้งสดลงผัดพอสุก ใส่
น้ำปลาพอออกรสเค็ม ยกลงจากเตาพักไว้
3. เวลารับประทานให้ตักข้าวใส่ชาม แล้วตักกุ้งผัดในหม้อใส่ในข้าวต้ม ปรุงด้วย
เครื่องปรุงรส รับประทานร้อน ๆ
เครื่องปรุงรส
1. น้ำส้มพริกดอง ( น้ำส้ม พริกชี้ฟ้ า เกลือ ใส่รวมในถ้วยเดียวกัน )
2. ต้นหอม ผักชี ตั้งฉ่าย และพริกไทยใส่ในชามข้าวต้ม

หมายเหตุ 1. การแยกเนื้อข้าวต้มกับกุ้งจะทำให้ข้าวต้มมีสีสวย ไม่เหม็น


คาวกุ้งและ แยกทำให้เนื้อกุ้งไม่เละกุ้งที่เหลือสามารถใช้ประกอบอาหารอย่างอื่นได้อีก

เรื่องสั้น
เรื่อง “สวยแต่รูปจูบไม่หอม”

คนเราถึงแม้จะมีใบหน้าสวยงามเพียงใด แต่ถ้าจิตใจไม่สวยงาม
เหมือนใบหน้าหรือกริยามารยาทไม่เรียบร้อย ทำงานทำการใด ๆ ไม่เป็ นเลย
เป็ นแต่เพียงแต่งตัวได้เท่านั้น ก็ไม่มีใครอยากคบหาสมาคมหรือเลือกไปเป็ นคู่ครอง
199

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ภาคปฏิบัติ (หัวหน้าคนครัว) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
หัวหน้าคนครัวเป็ นการเรียนการทำอาหารให้มีคุณค่า ปรุงได้อย่างปลอดภัย
ให้ลูกเสือรับประทานได้พอดีกับจำนวนสมาชิกภายในหมู่ของตน และสามารถนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ประกอบอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
1. ปฏิบัติขั้นตอนการปรุงอาหารได้
2. ปฏิบัติการประกอบอาหารได้

เนื้อหาสาระ
การประกอบอาหาร
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “บนบกบนน้ำ”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาการประกอบอาหารสำหรับลูกเสือ
4. ลูกเสือ ปฏิบัติการประกอบอาหาร 1 ชนิด
5. รองผู้บังคับบัญชาเดินตรวจให้คำแนะนำ
6. แต่ละหมู่ปฏิบัติกิจกรรมเสร็จให้ตัวแทนหมู่ออกไปสรุป การปฏิบัติกิจกรรมการ
ประกอบอาหาร

7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะให้ความเข้าใจแก่ลูกเสือเพิ่มเติม
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “อย่าเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยการปฏิบัติกิจกรรม
200
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “บนบกบนน้ำ”
3. เรื่องสั้น เรื่อง “อย่าเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ”
201
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ให้ลูกเสือกลับไปที่บ้านแล้วหาความชำนาญในการปรุงอาหารเอง ให้เกิด
ความคล่องตัวในการปรุงอาหาร
202
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
203
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
204
เกม “บนบกบนน้ำ”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือเข้าแถวรูปวงกลม ผู้บังคับบัญชายืนตรงกลาง เมื่อผู้บังคับบัญชา
พูดดัง ๆ ว่า “บนบก” ให้ลูกเสือทุกคนกระโดดมาข้างหน้า ถ้าผู้บังคับบัญชาพูดว่า
“บนน้ำ” ให้ลูกเสือกระโดดถอยหลังกลับที่เดิม ถ้าใครกระโดดผิด ผู้นั้นตาย
ต้องมาอยู่กลางวง แต่ถ้าผู้บังคับบัญชาพูดซ้ำกับที่พูดก่อน ลูกเสือทุกคนต้องยืนนิ่ง ๆ
จะกระโดดอย่างใดไม่ได้ทั้งสิ้น ถ้าใครขยับตัวก็ตายเช่นกัน ทำเช่นนี้จน
ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร หรือทำจนเหลือคนสุดท้ายแสดงว่า คนนั้นเก่ง มีประสาทดี
ทุกคนกล่าวชมเชยให้เป็ นผู้ชนะ

เรื่องสั้น
เรื่อง “อย่าเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ”

พิมเสนเป็ นของที่มีประโยชน์มีราคาแพง ซึ่งผิดกับเกลือ เพราะเกลือ


205
ไม่มีราคา พิมเสนไปแลกกับเกลือจึงไม่คุ้มกัน ก็เปรียบเหมือนกับคนที่มีความรู้ มีงานมีการทำ
เป็ นคนดีแล้วไปทะเลาะหรือจะเอาชนะกับพวกอันธพาลเสเพล งานการไม่ทำ มันไม่คุ้มกัน
เพราะพวกนี้ไม่มีอนาคตจะทำอะไรก็ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณนกหวีด – บุคคลท่ามือเปล่า (ระเบียบแถว 1 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือเป็ นการฝึก สัญญาณนกหวีด , ท่ามือเปล่า
206
ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำบอกคำสั่ง และ
ยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคีในหมู่คณะ การเป็ น
ผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่า,สัญญาณนกหวีดของลูกเสือ
ได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่าได้
2. ปฏิบัติการเข้าแถวตามสัญญาณนกหวีดของลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
2. สัญญาณนกหวีด

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ สัญญาณนกหวีด ”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
4. โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของแต่ละ
ฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้
สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สัญญาณนกหวีด
ฐานที่ 2 เรื่อง การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า
ฐานที่ 3 เรื่อง การฝึกท่าหันอยู่กับที่

6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. ใบความรู้ เรื่อง การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
3. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “ต้นไทรกับต้นอ้อ”
207
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติ สัญญาณนกหวีด , ท่ามือ
เปล่า
ท่าอาวุธ ที่ตนเองเป็ นผู้รับผิดชอบ อยู่ในกองของท่าน
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
208
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
209
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้งเราฟังได้ความว่าหยุด เป่ ายาวเป็ นชุดเราต้องรีบรุดไปไปต่อไป


210
สั้นติดต่อกันเร็วพลันเข้าแถวทันใด สั้นยาวนั้นไซร้เราต้องว่องไวเพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซีสั้นสามยาวหนึ่ง ลูกเสือเราพึงจดจำคำนึงนี่คือสัญญาณ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ต้นไทรกับต้นอ้อ”
ในเย็นวันหนึ่ง ขณะที่ลูกเสือสองคนกำลังยืนคุยกันที่ริมฝั่ง
แม่น้ำสายหนึ่ง ปรากฎว่า เกิดลมพัดอย่างรุนแรง ต้นไม้ทั้งหลายไหวเอน
ทันใดนั้นก็ได้ยินเสียง โครม! ต้นไทรใหญ่ริมแม่น้ำหักโค่นลงสู่แม่น้ำ ต้นไม้
ใหญ่หลายต้นทำท่าจะโค่นลง ลูกเสือทั้งสอง สังเกตว่าต้นไม้เล็ก ๆ เช่น
ต้นอ้อทำไมไม่โค่นหัก ทั้งๆที่ลำต้นเล็กนิดเดียว จึงนำไปคุยกับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
211
คนหนึ่ง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้ความเห็น ต้นไทรลำต้นแข็งแรงไม่สามารถอ่อนลู่
ตามแรงลมได้เหมือนต้นอ้อ มันจึงหักโค่น

คติ อย่าพยายามต่อสู้หรือปะทะด้วยกำลัง จงพยายามใช้


ความอ่อนโยนและความสงบในการแก้ปัญหา
212
ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
สัญญาณนกหวีด
1.เป่ ายาวหนึ่งครั้ง (–––––) หมายถึง หยุด ฟังหรือเตรียมตัวรับสัญญาณต่อไป
2.เป่ ายาวติดต่อกัน 2 ครั้ง (––––– –––––) หมายถึง ปฏิบัติอะไรอยู่ ก็ให้
ปฏิบัติสิ่งนั้นต่อไป
3.เป่ าสั้นติดต่อกันหลายครั้ง (–– –– –– –– ––) หมายถึง ให้รีบมายังสัญญาณ
และรวมกองรีบจัด แถวรีบปฏิบัติ
4.เป่ าสั้นสามครั้ง ยาวหนึ่งครั้ง เป็ นชุด ๆ (–– –– –– ––––– –– –– –– –––––)
หมาย
ถึง เรียกนายหมู่มานี่ ถ้านายหมู่ติดธุระ ให้รองนายหมู่มาแทนตัว
รองนายหมู่ติดธุระให้ผู้อื่นมาแทน
5.เป่ าสั้นหนึ่งครั้งยาวหนึ่งครั้ง สลับกันไป (–– ––––– –– –––––) หมายถึง มี
เหตุ
สำคัญเกิดอันตรายขอความช่วยเหลือ หรือให้ระวังตัว
หมายเหตุ จะเป่ าสัญญาณใดก็ตาม จะต้องเป่ ายาวหนึ่งครั้งก่อน
เพื่อให้ลูกเสือได้หยุดฟังก่อนที่จะเป่ าสัญญาณต่อไป

การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า
คำบอกหรือการออกคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชาลูกเสือนับว่าเป็ นสิ่งสำคัญมาก
เพราะจะทำให้ลูกเสือปฏิบัติถูกขั้นตอน จึงควรเข้าใจคำบอกไว้เป็ นเบื้องต้นซึ่งมี 2 ชนิด
คือ
1. ตอนแรก เรียกว่า คำนำ จะทอดเสียวยาวและเว้นระยะเล็กน้อย เพื่อให้ลูก
เสือเข้าใจและปฏิบัติได้ถูก เช่น กอง……ตรง
2. ตอนหลัง เรียกว่า คำสัญญาณ จะออกเสียงหนักและสั้น เช่น
“แถว–ตรง” “ขวา–หัน” “วันทยา–วุธ”
213

ท่าพัก ท่าพักเป็ นท่าที่เปลี่ยนแปลงอิริยาบถจากท่าตรง เพื่อผ่อนคลาย


ความตึงเครียดตามโอกาสต่าง ๆ ผู้บังคับบัญชาจะเลือกใช้คำสั่ง
เองว่าท่าไหนเหมาะที่สุด เช่น
– ท่าพักตามปกติ ใช้พักในโอกาสระหว่าง ฝึก–สอน
– พักตามระเบียบ ใช้พักในโอกาสในพิธีต่าง ๆ เช่น ตรวจพล
– พักตามสบาย ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอคำสั่ง เพื่อปฏิบัติต่อ
เป็ นระยะ ๆ
– พักนอกแถว ใช้ในโอกาสพักประจำชั่วโมงการฝึก
เพื่อให้ลูกเสือ ได้ทำธุระส่วนตัว

การหันอยู่กับที่ การหันจะมี 2 จังหวะ มือทั้งสองข้างจะไม่แกว่ง


ขวาหัน คำบอก คือ “ขวา–หัน” ผู้ปฏิบัติ จะทำต่อเนื่องกัน
ภาพประกอบ ขวาหัน

ซ้ายหัน คำบอก คือ “ซ้าย–หัน” ผู้ปฏิบัติจะปฏิบัติคล้ายกับขวาหัน


แต่เปลี่ยนทิศทางและสลับเท้า กับขวาหัน
กลับหลังหัน
คำบอก จะปฏิบัติต่อเนื่องกัน
214
ภาพประกอบ กลับหลังหัน
215
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณนกหวีด – บุคคลท่ามือเปล่า (ระเบียบแถว 2 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือเป็ นการฝึก สัญญาณนกหวีด , ท่ามือเปล่า
ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำบอกคำสั่ง และ
ยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคีในหมู่คณะ การเป็ น
ผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่า,สัญญาณนกหวีดของลูกเสือ
ได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่าได้
2. ปฏิบัติการเข้าแถวตามสัญญาณนกหวีดของลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
2. สัญญาณนกหวีด

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ปิ ดประชุมกอง
2 ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ สัญญาณนกหวีด ”
3. ทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาโดยให้ลูกเสือแต่ละหมู่แยกฝึก เมื่อลูกเสือเรียนรู้
ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ต้นไทรกับต้นอ้อ”
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
8. ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
10. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
11. บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
216
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. ใบความรู้ เรื่อง การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
3. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “ต้นไทรกับต้นอ้อ”
217
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติ สัญญาณนกหวีด , ท่ามือ
เปล่า
ท่าอาวุธ ที่ตนเองเป็ นผู้รับผิดชอบ อยู่ในกองของท่าน
3. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
218
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
219
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้งเราฟังได้ความว่าหยุด เป่ ายาวเป็ นชุดเราต้องรีบรุดไปไปต่อไป


220
สั้นติดต่อกันเร็วพลันเข้าแถวทันใด สั้นยาวนั้นไซร้เราต้องว่องไวเพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซีสั้นสามยาวหนึ่ง ลูกเสือเราพึงจดจำคำนึงนี่คือสัญญาณ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ต้นไทรกับต้นอ้อ”
ในเย็นวันหนึ่ง ขณะที่ลูกเสือสองคนกำลังยืนคุยกันที่ริมฝั่ง
แม่น้ำสายหนึ่ง ปรากฎว่า เกิดลมพัดอย่างรุนแรง ต้นไม้ทั้งหลายไหวเอน
ทันใดนั้นก็ได้ยินเสียง โครม! ต้นไทรใหญ่ริมแม่น้ำหักโค่นลงสู่แม่น้ำ ต้นไม้
ใหญ่หลายต้นทำท่าจะโค่นลง ลูกเสือทั้งสอง สังเกตว่าต้นไม้เล็ก ๆ เช่น
ต้นอ้อทำไมไม่โค่นหัก ทั้งๆที่ลำต้นเล็กนิดเดียว จึงนำไปคุยกับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
221
คนหนึ่ง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้ความเห็น ต้นไทรลำต้นแข็งแรงไม่สามารถอ่อนลู่
ตามแรงลมได้เหมือนต้นอ้อ มันจึงหักโค่น

คติ อย่าพยายามต่อสู้หรือปะทะด้วยกำลัง จงพยายามใช้


ความอ่อนโยนและความสงบในการแก้ปัญหา
222
ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
สัญญาณนกหวีด
1.เป่ ายาวหนึ่งครั้ง (–––––) หมายถึง หยุด ฟังหรือเตรียมตัวรับสัญญาณต่อไป
2.เป่ ายาวติดต่อกัน 2 ครั้ง (––––– –––––) หมายถึง ปฏิบัติอะไรอยู่ ก็ให้
ปฏิบัติสิ่งนั้นต่อไป
3.เป่ าสั้นติดต่อกันหลายครั้ง (–– –– –– –– ––) หมายถึง ให้รีบมายังสัญญาณ
และรวมกองรีบจัด แถวรีบปฏิบัติ
4.เป่ าสั้นสามครั้ง ยาวหนึ่งครั้ง เป็ นชุด ๆ (–– –– –– ––––– –– –– –– –––––)
หมาย
ถึง เรียกนายหมู่มานี่ ถ้านายหมู่ติดธุระ ให้รองนายหมู่มาแทนตัว
รองนายหมู่ติดธุระให้ผู้อื่นมาแทน
5.เป่ าสั้นหนึ่งครั้งยาวหนึ่งครั้ง สลับกันไป (–– ––––– –– –––––) หมายถึง มี
เหตุ
สำคัญเกิดอันตรายขอความช่วยเหลือ หรือให้ระวังตัว
หมายเหตุ จะเป่ าสัญญาณใดก็ตาม จะต้องเป่ ายาวหนึ่งครั้งก่อน
เพื่อให้ลูกเสือได้หยุดฟังก่อนที่จะเป่ าสัญญาณต่อไป

การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า
คำบอกหรือการออกคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชาลูกเสือนับว่าเป็ นสิ่งสำคัญมาก
เพราะจะทำให้ลูกเสือปฏิบัติถูกขั้นตอน จึงควรเข้าใจคำบอกไว้เป็ นเบื้องต้นซึ่งมี 2 ชนิด
คือ
1. ตอนแรก เรียกว่า คำนำ จะทอดเสียวยาวและเว้นระยะเล็กน้อย เพื่อให้ลูก
เสือเข้าใจและปฏิบัติได้ถูก เช่น กอง……ตรง
2. ตอนหลัง เรียกว่า คำสัญญาณ จะออกเสียงหนักและสั้น เช่น
“แถว–ตรง” “ขวา–หัน” “วันทยา–วุธ”
223

ท่าพัก ท่าพักเป็ นท่าที่เปลี่ยนแปลงอิริยาบถจากท่าตรง เพื่อผ่อนคลาย


ความตึงเครียดตามโอกาสต่าง ๆ ผู้บังคับบัญชาจะเลือกใช้คำสั่ง
เองว่าท่าไหนเหมาะที่สุด เช่น
– ท่าพักตามปกติ ใช้พักในโอกาสระหว่าง ฝึก–สอน
– พักตามระเบียบ ใช้พักในโอกาสในพิธีต่าง ๆ เช่น ตรวจพล
– พักตามสบาย ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอคำสั่ง เพื่อปฏิบัติต่อ
เป็ นระยะ ๆ
– พักนอกแถว ใช้ในโอกาสพักประจำชั่วโมงการฝึก
เพื่อให้ลูกเสือ ได้ทำธุระส่วนตัว

การหันอยู่กับที่ การหันจะมี 2 จังหวะ มือทั้งสองข้างจะไม่แกว่ง


ขวาหัน คำบอก คือ “ขวา–หัน” ผู้ปฏิบัติ จะทำต่อเนื่องกัน
ภาพประกอบ ขวาหัน

ซ้ายหัน คำบอก คือ “ซ้าย–หัน” ผู้ปฏิบัติจะปฏิบัติคล้ายกับขวาหัน


แต่เปลี่ยนทิศทางและสลับเท้า กับขวาหัน
กลับหลังหัน
คำบอก จะปฏิบัติต่อเนื่องกัน
224
ภาพประกอบ กลับหลังหัน
225
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง บุคคลท่าอาวุธการเคลื่อนที่ (ระเบียบแถว 3) เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือ เป็ นการฝึกบุคคลท่าอาวุธและการเคลื่อนที
ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำบอกคำสั่ง และ
ยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคีในหมู่คณะ การเป็ น
ผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่าอาวุธของลูกเสือได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวท่าถืออาวุธได้
2. ปฏิบัติการเดินเคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง

เนื้อหาสาระ
1. ระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่าถืออาวุธ
2. การเคลื่อนที่แบบมีอาวุธ

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ข้ามแม่น้ำ”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
226
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้วจึง
ให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้
สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง การฝึกเป็ นบุคคลท่าถือไม้ง่าม
ฐานที่ 2 เรื่อง ท่าแบกอาวุธ–เรียบอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม
ฐานที่ 3 เรื่อง “ท่าหันและการเคลื่อนที่“ เวลาถือไม้ง่าม
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “วัวนอกคอก“
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟัง เขียนลงในกระดาษ
10. ลูกเสือแต่ละกลุ่มให้ตัวแทนนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
12. ลูกเสือทำแบประเมินผลหลังเรียน ส่งผู้บังคับบัญชา
13. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์การเรียนรู้ ส่งผู้บังคับบัญชา
14. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อ
ที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
15. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2.ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
3. เกม “ข้ามแม่น้ำ”
4. เรื่องสั้น เรื่อง “วัวนอกคอก”
227
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติท่าอาวุธ การเคลื่อนที่ ที่ตนเอง
เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกองของท่าน
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติมจากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
228
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
229
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ ข้ามแม่น้ำ “
230
วิธีเล่น
ให้แต่ละหมู่เข้าแถวเป็ นรูปตอน คนแรกของหมู่ถือลูกบอลที่
เส้นเริ่มต้นห่างจากเส้นเริ่มต้นประมาณ 8 หลา ขนานกัน สมมุติว่าเป็ นแม่น้ำ
เมื่อได้ยินคำสั่ง ให้เริ่มเล่นคนแรกของแต่ละแถววิ่งไปข้างหน้า กระโดดข้าม
แม่น้ำ แล้วหมุนตัวขว้างลูกบอล มายังคนที่ 2 เมื่อคนที่ 2 รับบอลได้แล้วก็ให้
วิ่งไปข้ามแม่น้ำ แล้วก็ขว้างให้คนที่ 3 ต่อไป
เมื่อแถวไหนข้ามแม่น้ำได้หมดทุกคน ก็นับว่าแถวนั้นเป็ นผู้ชนะ
ถ้าใครข้ามไม่ได้พยายามให้กลับมาแล้วข้ามใหม่จนข้ามได้ หรือถ้าใครรับบอล
ไม่ได้ จะทำให้การเล่นช้าลง อาจทำให้หมู่ของตนแพ้ได้

เรื่องสั้น
เรื่อง “ วัวนอกคอก ”

สมัยก่อนการคมนาคมยังไม่เจริญ ยังต้องใช้สัตว์เป็ นพาหนะ มีพ่อค้ากลุ่มหนึ่ง


นำฝูงวัวบรรทุกต่าง ๆ คือ บรรทุกของจากเมืองหนึ่งสู่เมืองหนึ่ง มีตัวหนึ่งเป็ นจ่าฝูง คือวัว
นำ ในระหว่างทางวัวตัวหนึ่งแลเห็นหญ้าเขียวขจี ก็พยายามแหวกฝูงไปกินหญ้า มันจึง
ถูกเฆี่ยนตี พอเวลากลางคืนทุกชีวิตต่างหลับใหลด้วยความอ่อนเพลียประกอบกับกินอาหาร
231
อิ่ม แต่วัวตัวเดิมที่แหกฝูงตอนกลางวันนั้นหานอนไม่ มันสะบัดเชือกขาด และหนีไป
กินหญ้าที่หมายปอง ระยะทางไกลมันเดินลัดเลาะไปตามป่ า พอรุ่งเช้า พ่อค้าสำรวจวัว
พบว่าวัวตัวนั้นหายไป พ่อค้าแกะรอยตามรอยเท้าไปก็พบแต่ซากและรอยเท้าเสือแสดงว่า “
การไม่มีระเบียบวินัยทำให้เกิดอันตราย“

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
การฝึ กเป็ นบุคคลท่าถือไม้ง่าม
ท่าตรงและท่าพัก
– ท่าตรง
คำบอก คือ “ตรง” หรือ “กอง–ตรง”
ผู้ปฏิบัติ จะใช้มือขวาจับไม้ง่าม ให้โคนไม้ง่ามอยู่ชิดนิ้วก้อย ของเท้า
ขวา แขนขวาเหยียดตึงลงล่างจับไม้ง่าม ลักษณะเดียวกับจับปากกา หัวแม่มือขวา
อยู่ติดกับขาขวากดไม้ง่ามให้กระชับร่องไหล่ขวา
– ท่าพัก
พักตามปกติ
คำบอก คือ “พัก” หรือ “กอง–พัก”
ผู้ปฏิบัติ จะหย่อนเข่าขวาลงก่อน ถ้าพักต่อไปจะหย่อนเข่าไหนก็ได้
232
แต่จะต้องหย่อนเพียงเข่าเดียว
– พักตามระเบียบ
คำบอก คือ “ตามระเบียบ–พัก”
ผู้ปฏิบัติ จะเลื่อนมือขวาขึ้นมากำไม้ง่ามระดับเอว แล้วผลักไม้ง่า
ออกไป ข้างหน้า เฉียงไปทางขวาประมาณ 45 องศา จนสุดมือขวา พร้อมกับแยกเท้า
ซ้ายออกไป ด้านข้างประมาณ 30 ซม. ยกมือซ้ายไพล่หลังแบมือ ให้นิ้วทั้งห้าเรียงชิดติดกัน
วางหลังมือ ซ้ายในแนวเข็มขัด
ท่าตรงในเวลาถือไม้ง่าม ท่าพักในเวลาถือไม้ง่าม

ท่าวันทยาวุธ–เรียบอาวุธ ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าวันทยาวุธ
คำบอก คือ “วันทยา–วุธ”
การปฏิบัติ จะยกมือซ้ายขึ้นมาด้านหน้า งอศอกขนานกับพื้น
คว่ำฝ่ ามือใช้นิ้วหัวแม่มือกดปลายนิ้วก้อยไว้สามนิ้ว ที่เหลือเหยียดตรงติดกัน ให้ข้อสุดท้าย
ของนิ้วชี้แตะอยู่ที่ ไม้ง่าม
ท่าเรียบอาวุธ
คำบอก คือ “เรียบ–อาวุธ”
การปฏิบัติ จะลดมือซ้ายมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และเข้มแข็ง
โดยไม่ให้เกิดเสียงดัง
ท่าวันทยาวุธในเวลาถือไม้ง่าม ท่าเรียบอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม
233

“ท่าแบกอาวุธ–เรียบอาวุธ” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าแบกอาวุธ
คำบอก ใช้คำบอกว่า “แบก–อาวุธ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำเป็ น 2 จังหวะ
234
ท่าแบกอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม
จังหวะที่ 1 จังหวะที่ 2

ท่าเรียบอาวุธ
คำบอก ใช้คำบอก “เรียบ–อาวุธ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำเป็ น 3 จังหวะ
ท่าเรียบอาวุธ ในเวลาถือไม้ง่าม
จังหวะ 1 จังหวะ 2 จังหวะ 3
235
ท่าถอดหมวก–สวมหมวก” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าถอดหมวก
คำบอก ใช้คำบอก “ถอดหมว
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือนำไม้ง่ามในมือขวามาไว้ตรงหน้า ให้ไม้ง่ามอยู่
กึ่งกลาง
ระหว่างเท้าทั้งสอง ไม้ง่ามส่วนบน
พิงแขนซ้ายด้านใน ซึ่งงอตรงศอก
แขนซ้ายท่อนบนชิดลำตัว หน้า
แขนตั้งได้ฉาก ฝ่ ามือแบหงายขณะ
เดียวกัน ใช้มือขวาถอดหมวกซึ่ง
อาจเป็ นหมวกเบเร่ต์ หมวกทรง
หม้อตาล หรือหมวกทรงปี กกว้าง
ที่ไม่ได้ใส่สายรัดคาง (แต่ถ้าใส่
สายรัดคางอยู่ ให้ปลดสายรัดคาง
ออกเสียก่อน) จากศีรษะแล้วนำ
ท่าทอดหมวกในเวลาถือไม้ง่าม เอามาวางบนฝ่ ามือซ้าย

ท่าสวมหมวก
คำบอก ใช้คำบอก “สวมหมวก”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือใช้มือขวานำหมวกใน
มือซ้ายขึ้นสวมโดยใช้มือซ้ายช่วย
สำหรับหมวกทรงปี กกว้าง ให้ใส่
สายรัดท้ายทอยให้ เรียบร้อย(ถ้าก่อน
ถอดใส่สายรัดท้ายทอยไว้) แล้วใช้
มือขวาจับไม้ง่าม ที่พิงไว้กับแขนซ้าย
มาถือไว้ในท่าเรียบอาวุธตามเดิม

ท่าสวมหมวกในเวลาถือไม้ง่าม

ท่าหันและการเคลื่อนที่” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าหันในเวลาถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอก และวิธีปฏิบัติเหมือนท่าอยู่กับที่มือเปล่า
236
การปฏิบัติ ถ้าหันขณะที่ไม้ง่ามอยู่ในท่าเรียบอาวุธ เพื่อให้การหัน
สะดวกขณะหันยกไม้ง่ามในมือขวา ให้ยก
พ้นพื้น
เล็กน้อย เมื่อหันเสร็จแล้วลดมือขวาลงให้ไม้ง่าม
จดพื้น

ท่าหมอบ–ลุกในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าหมอบในขณะถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอก “หมอบ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือปฏิบัติ

ท่าลุกในขณะถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอกว่า “ลุก”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำกลับกัน

ท่าคอนอาวุธ
คอนอาวุธ เป็ นการถืออาวุธอีกลักษณะหนึ่ง ที่จะทำให้เกิดความเรียบร้อย
และเป็ นระเบียบ ลูกเสือเคลื่อนที่ไปทางใดก็ตาม ถ้าผู้บังคับบัญชาไม่ได้สั่งให้แบกอาวุธแล้ว
ลูกเสือจะต้องคอนอาวุธโดยใช้มือขวากำไม้ง่ามดึงขึ้นมาระดับเอวแล้วเฉียงไม้ง่ามไปข้างหน้า
ประมาณ 45 องศา มือขวากำไม้ง่ามให้แน่นติดกับเอวแกว่งเฉพาะมือซ้ายข้างเดียว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณมือ ( ระเบียบแถว 4 ) เวลา 1 ชั่วโมง
237
สาระสำคัญ
สัญญาณมือเป็ นสัญญาณสำคัญมากในกระบวนการลูกเสือ เป็ นสื่อที่จะติดต่อ
สั่งการ หรือบอกความหมายให้ผู้รับหรือสมาชิกได้ปฏิบัติถูกต้องเหมือนกันเป็ นสากล
จะสร้างความมีวินัย ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยได้เป็ นอย่างดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือที่เรียกได้อย่างถูกต้อง
1. บอกความหมายของสัญญาณมือ ได้
2. ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือได้
3. ปฏิบัติการส่งสัญญาณมือได้

เนื้อหาสาระ
ระเบียบแถวเรื่องสัญญาณมือ
– แถวหน้ากระดานแถวเดียว
– แถวตอนเรียงหนึ่ง
– แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
– แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
238
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เรียกลูกเสือเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ตรงต่อเวลา”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 4 ฐาน โดยแต่ละฐานมี
รองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้
สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สัญญาณมือในการเรียกแถวของลูกเสือสากล
ฐานที่ 2 เรื่อง แถวตอนเรียงหนึ่ง
ฐานที่ 3 เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
ฐานที่ 4 เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “เณรน้อย เจ้าปัญญา”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยให้กับลูกเสือ
11. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เพลง “ตรงต่อเวลา”
3. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “เณรน้อยเจ้าปัญญา”
239
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ทดสอบภาคปฏิบัติระเบียบแถวลูกเสือ ที่ตนเอง
เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกอง
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน
240
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
241
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ตรงต่อเวลา”

ตรงต่อเวลาพวกเราต้องมาให้ตรงเวลา ตรง ตรง ตรงเวลา


242
พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา เราเกิดมาเป็ นคน เราต้องฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่าวันเวลาไม่เคยคอยใคร

เรื่องสั้น
เรื่อง “เณรน้อยเจ้าปัญญา”

เณรน้อยรูปหนึ่งปฏิบัติเคร่งครัดในศีลที่กำหนดไว้ เช่น เว้นจากการพูดปด


และการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เป็ นต้น เช้าวันหนึ่งออกบิณฑบาตเห็นชายคนหนึ่งฆ่าชายอีกคน
หนึ่งตาย เณรน้อยรู้จักชายทั้งสองคนดี แต่เมื่อตำรวจมาสอบว่า เห็นใครเป็ นคนฆ่าชายคน
นั้น เณรน้อยก็คิดว่า หากตอบไปตามความจริง ชายที่เป็ นผู้ฆ่าต้องถูกจับไปลงโทษประหาร
ชีวิต
243
ทำให้ตนเองต้องผิดศีล แต่ถ้าไม่ตอบตามความเป็ นจริงก็จะเป็ นการพูดปดผิดศีลอีก ในที่สุด
เณรน้อยก็ตอบตำรวจไปว่า “สิ่งเห็นคือตานั้นมันตอบไม่ได้แต่สิ่งที่ตอบคือปากนั้นมันไม่ได้
เห็น”

คติ ผู้ที่มีปัญญาย่อมกระทำแต่ในสิ่งที่ไม่ให้โทษทั้งแก่ผู้อื่นและแก่
ตนเอง

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว

แถวหน้ากระดานแถวเดียว (หน้ากระดานเรียง 1)
ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปด้านข้างเสมอไหล่ มือแบนิ้วทั้งห้า
ชิดกัน หันฝ่ ามือไปข้างหน้า
การเข้าแถว ให้เข้าแถวหน้ากระดานแถวเดียว ข้างหน้าผู้เรียกหมู่ที่ 1 อยู่
ทางซ้ายมือของผู้เรียก ให้กึ่งกลางของแถวอยู่ตรงหน้าผู้เรียก
ห่างประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล ให้ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ให้ฝ่ ามือ
พักอยู่บนสะโพก นิ้วเหยียดชิดกันและชี้ลงพื้น นิ้วกลางอยู่
ประมาณแนวตะเข็บกางเกง ศอกอยู่เสมอแนวลำตัวการจัด
แถว
ใช้แขนขวาจรดปลายศอกซ้ายของคนข้างเคียง ไม่เว้นระยะ
244
เคียงระหว่างหมู่ ทุกคนจัดแถวโดยสะบัดหน้าไปทางขวา ดูอก
คนที่สาม
ผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ท่าตรง

ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานแถวเดียว
245
แถวตอนเรียงหนึ่ง (หลายหมู่เรียกว่าแถวตอนหมู่)
ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ มือแบนิ้ว
ทั้งห้าชิดกันหันฝ่ ามือเข้าหากันและขนานกัน
การเข้าแถว(ถ้าหมู่เดียว)ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียกนายหมู่อยู่ตรงหน้าผู้เรียก
และห่างประมาณ 6 ก้าว ลูกหมู่เข้าด้านหลังนายหมู่
การจัดแถว ระยะต่อสุดช่วงแขนของลูกเสือ ยื่นไปจรดหลังของผู้อยู่ข้างหน้า
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงและอยู่ใน
ท่าตรงแต่ถ้ามีมากกว่า 1 หมู่ ให้เรียกว่า “แถวตอนหมู่”
การเข้าแถว ให้หมู่ที่เป็ นหลักเข้าแถวตอนตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ 6
ก้าว หมู่อื่น ๆ เข้าแถวตอนเป็ นแนวเดียวกันไปทางซ้ายและ
ทางขวาของหมู่หลัก
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างหมู่แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้าย
ลง
อยู่ในท่าตรง
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
อยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวตอนหมู่

แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
ผู้เรียก กำมือทั้งสองข้างเหยียดตรงออกไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอศอก
ขึ้นเป็ นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ให้หมู่ที่1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียกให้กึ่งกลางของหมู่
อยู่ตรงหน้าผู้เรียกห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไปเข้าแถว
246
หมู่หน้ากระดาน ด้านหลังตามลำดับระยะต่อระหว่างหมู่ 1
ช่วงแขน (ไม่ต้องยกแขน)
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก
สะบัด
หน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
ผู้เรียก กำมือเหยียดแขนทั้งสองข้าง ออกไปด้านข้างให้ขนานกับพื้น
งอศอกขึ้นเป็ นมุมฉากหันหน้ามือไปข้างหน้า
การเข้าแถว ให้หมู่ที่1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียกให้กึ่งกลางของหมู่
อยู่ตรงหน้าผู้เรียกห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไปเข้าแถว
หมู่หน้ากระดาน ด้านหลังตามลำดับระยะต่อระหว่างหมู่ 3
ช่วงแขน (ไม่ต้องยกแขน)
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก สะบัด
หน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ


247
248
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณมือ (ระเบียบแถว 5) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
สัญญาณมือเป็ นสัญญาณสำคัญมากในกระบวนการลูกเสือ เป็ นสื่อที่จะติดต่อ
สั่งการ หรือบอกความหมายให้ผู้รับหรือสมาชิกได้ปฏิบัติถูกต้องเหมือนกันเป็ นสากล
จะสร้างความมีวินัย ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยได้เป็ นอย่างดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือที่เรียกได้
1. บอกความหมายของสัญญาณมือ ได้
2. ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือได้
3. ปฏิบัติการส่งสัญญาณมือได้

เนื้อหาสาระ
การฝึกระเบียบแถวเรื่องสัญญาณมือ
– แถวรูปครึ่งวงกลม
– แถววงกลม
– แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
– แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
249
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
9. ลูกเสือร่วมกันเล่นเกม “นักโทษแหกคุก”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 4 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้วจึง
ให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้
สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
ฐานที่ 2 เรื่อง แถวรูปวงกลม
ฐานที่ 3 เรื่อง แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
ฐานที่ 4 เรื่อง แถวรัศมีหรือล้อเกวียน

5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”
9. เมื่อลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำติชม
11. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เกม “นักโทษแหกคุก”
3. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
250
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ทดสอบภาคปฏิบัติระเบียบแถวลูกเสือ ที่ตนเอง
เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกอง
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
251
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
252
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “นักโทษแหกคุก”
253
วิธีเล่น
ลูกเสือยืนจับมือกันเป็ นวงกลม เลือกลูกเสือคนหนึ่งเป็ นนักโทษ
ยืนกลางวง นักโทษพยายามจะแหกออกจากวงกลม (คุก) โดยลอดใต้แขน
หรือกระโดดข้ามแขนก็ได้ห้ามกระชากมือให้หลุด เพื่อออกจากวงกลม ถ้า
นักโทษหนีออกได้ โดยลอดหรือข้ามออกเหนือแขน เขาจะเป็ นผู้ชนะ ลูกเสือ
ทุกคนต้องให้เกียรติเขาโดยการเชียร์ จะเป็ นอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ แล้ว
เลือกคนอื่นมาเป็ นนักโทษต่อไป

เรื่องสั้น
เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”

มีพรานล่าสัตว์คนหนึ่งยากจนมาก วันหนึ่งเขามานั่งซุ่มอยู่
บนก้อนหิน ขณะนั้นเขาก็ได้ยินเสียงก้อนหินที่อยู่ข้างเขา พูดกับก้อนหินที่เขา
นั่งทับอยู่ว่า “จะไปหรือยัง” ก้อนหินก้อนนั้นตอบว่า “เขานั่งทับอยู่จะไปได้
อย่างไร” ก้อนหินที่อยู่ข้างจึงบอกว่า “ก็ชวนเขาไปด้วยซิ” ก้อนหินที่เขานั่งทับ
254
อยู่ก็พูดกับพรานคนนั้นว่า “ถ้าท่านจะไปกับเราต้องเกาะเราให้แน่น และ
อย่าลงจากเราเด็ดขาดไม่เช่นนั้นท่านจะไม่ได้กลับมาที่นี่อีก” นายพรานตกลง
ก้อนหินพานายพรานเหาะผ่านดวงดาวต่าง ๆ และมาถึงสวนต้นไม้เงินมีดอก
เป็ นเพชร มีใบเป็ นทองก้อนหินก็เก็บให้นายพรานเพียงเล็กน้อยแม้เขาจะอยาก
ได้อีกมาก ๆ แต่ก็ไม่กล้าลงไปเก็บเพราะคำห้ามของก้อนหิน ครั้นแล้วก้อนหิน
ก็เหาะกลับมาที่เดิม นายพรานกล่าวขอบคุณ แล้วนำเอาดอกไม้ไปขาย
ได้เงินทองมามากมาย เขาก็มีความสุขตลอดมา
255

ใบความรู้ที่ 8.1
เรื่อง ระเบียบแถว
แถวรูปครึ่งวงกลม
ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้างเหยียดตรงลงข้างล่าง คว่ำฝ่ ามือเข้าหาตัว
โบกผ่านลำตัวประสานกันด้านหน้าช้า ๆ เป็ นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกหมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป
อยู่ทางซ้ายมือของหมู่ที่ 1 ตามลำดับนายหมู่ของหมู่ที่ 1 รองนายหมู่ของหมู่สุดท้าย อยู่เป็ น
เส้นตรงแนวเดียวกันกับ ผู้เรียก โดยถือผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลาง ไม่เว้นระยะหมู่
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนจะลด
มือซ้ายลง พร้อมสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวครึ่งวงกลม

แถวรูปวงกลม
แบบผู้เรียกแถวยืนอยู่ที่จุดศูนย์กลาง
ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้างเหยียดตรงลงข้างล่าง ค่ำฝ่ ามือเข้าหา
ตัว โบกผ่านลำตัวประสานกันด้านหน้าจดด้านหลังเป็ นวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกโดยนายหมู่อยู่แนวเดียวกับ
256
ผู้เรียกหมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามดับ รองนายหมู่ของหมู่สุดท้ายไป
ต่อนายหมู่ที่ 1 โดยผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม ไม่เว้นระยะต่อระหว่างหมู่
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก
สะบัดหน้าไปทางขวาผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
แบบผู้เรียกแถวยืนอยู่เส้นรอบวง
ผู้เรียก มือขวากำเหยียดแขนยกไปข้างหน้าหมุนขึ้นข้างบน และเลยไป
หลังหมุนเป็ นวงกลม การเข้าแถว ให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกโดยนายหมู่ยืนชิดกับผู้
เรียก หมู่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ด้ านซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับจนรองนายหมู่ของหมู่
สุดท้าย จดกับผู้เรียกด้านขวามือ
การจัดแถว ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ยกเว้นรองนายหมู่ของหมู่
สุดท้าย ยืนตรงชิดผู้เรียกสะบัดหน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลงพร้อม
กับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
ภาพประกอบ แถววงกลม ผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลาง
257
แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
ผู้เรียก ศอกงอทั้งสองข้างยกแขนทั้งสองขึ้นข้างหน้า ให้ฝ่ ามือทั้งสอง
แบเหยียดหันไปข้างหน้าฝ่ ามือขวาทับหลังมือซ้าย ประมาณ แนวคาง ห่างคางประมาณ
1 ฝ่ ามือ
การเข้าแถว (ถ้ามี 3 หมู่)ให้หมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานทางซ้ายมือของ
ผู้เรียก ให้นายหมู่อยู่เสมอกับผู้เรียกหันหน้าเข้าในรูปสี่เหลี่ยม ให้หมู่ที่ 2 เข้าแถวหน้า
กระดานตรงข้ามกับผู้เรียก หันหน้าเข้าหาผู้เรียกและหมู่ที่ 3 เข้าแถวหน้ากระดานตรงข้าม
กับหมู่ที่ 1 ทางด้านขวาของผู้เรียก ถ้ามีลูกเสือมากกว่า 3 หมู่ ให้อยู่ใน ดุลพินิจของผู้
เรียกแต่ควรให้ด้านซ้ายมือกับขวามือ มีจำนวนเท่ากัน
การจัดแถว ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก สะบัดหน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายพร้อมกับ
สะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง


258

แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
ผู้เรียก มือขวาแบคว่ำกางนิ้วออกทุกนิ้ว ชูไปข้างหน้าทำมุมประมาณ
45 องศา
การเข้าแถว ให้ทุกหมู่เข้าแถวตอนหมู่หน้าผู้เรียก ห่างจากผู้เรียกประมาณ
6 ก้าว เป็ นรูปรัศมีโดยให้หมู่ที่1อยู่ทางซ้ายมือผู้เรียกประมาณ 45 องศา หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ
ๆ ไปอยู่ด้านซ้ายของหมู่ที่ 1 ตาม ลำดับ จนถึงหมู่สุดท้ายจะอยู่ทางขวามือของผู้เรียก
ประมาณ 45 องศา ถือผู้เรียกเป็ นศูนย์กลางระยะต่อภายในหมู่1ช่วงแขน ระยะเคียงระหว่าง
นายหมู่ต่อนายหมู่พอสมควร (ถ้ามีหลายหมู่ระยะเคียงของหมู่เท่ากันเสมอ)
การจัดแถว ให้ทุกคน (เว้นนายหมู่) เหยียดแขนซ้ายไปข้างหน้าสูงเสมอแน
ไหล่ คว่ำมือให้ปลายนิ้วมือจรดหลังคนหน้าพอดี
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลงและ
อยู่ในท่าตรง

หมายเหตุ 1. การใช้สัญญาณมือเรียกแถวนี้ ผู้เรียกต้องพิจารณาดูพื้นที่ว่าจะเหมาะสมกับ


การจัดแถวหรือไม่ และจะจัดแถวรูปใด จึงจะเหมาะสมกับการฝึก หรือการบรรยายของ
แต่ละครั้ง
2. การใช้สัญญาณมือเรียกแถวทุกครั้ง ผู้เรียกจะเรียก “กอง” แล้วจึงใช้
สัญญาณมือประกอบไปด้วย
259

ภาพประกอบ แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
260

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง คำปฏิญาณ – กฎ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือจะเป็ นการ
ปลูกฝังให้ลูกเสือเป็ นพลเมืองดีของชาติต่อไป ลูกเสือควรเข้าร่วมอุดมการณ์ เดียวกัน
และเป็ นแนวทางในการปฏิบัติที่ไม่มีการบังคับ ให้เกิดจากความสมัครใจ และยอมรับในสิ่ง
ดังกล่าว

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือมีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตาม คำปฏิญาณ – กฎ และ
คติพจน์ของลูกเสือได้
1. บอกความหมายของคำปฏิญาณลูกเสือได้
2. บอกความหมายของกฎลูกเสือได้
3. บอกความหมายของคติพจน์ลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. คำปฏิญาณของลูกเสือ
2. กฎของลูกเสือ
3. คติพจน์ของลูกเสือ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “น้ำค้างพรม”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 3 ฐาน
5. ลูกเสือศึกษา ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ
กฎของลูกเสือ ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
261
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายความหมายของคำปฏิญาณ
ฐานที่ 2 เรื่อง อธิบายความหมายของกฎข้อ 1 – 5
ฐานที่ 3 เรื่อง อธิบายความหมายของกฎข้อ 6 –10
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
11. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นชาร์จคำปฏิญาณ กฎของลูกเสือ
3. เพลง “น้ำค้างพรม”
4. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ กฎของลูกเสือ
5. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”
262
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. แจกเอกสารเรื่อง คำปฏิญาณ กฎของลูกเสือให้ลูกเสือไปศึกษาด้วย
ตนเองหลังจาก หมดคาบ
2. ให้ลูกเสือจับฉลาก กฎของลูกเสือ ล่วงหน้าก่อนที่จะเรียนในคาบเรียนนี้
เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาและเตรียมการแสดง
263
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
264
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

แผ่นชาร์ท
คำปฏิญาณ – กฎ
265

คำปฏิญาณของลูกเสือ
ด้วยเกียรติของข้า ข้าสัญญาว่า
ข้อ 1 ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ข้อ 2 ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ
ข้อ 3 ข้าจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ

กฎของลูกเสือ
ข้อ 1 ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้
ข้อ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์และซื่อตรงต่อผู้มีพระคุณ
ข้อ 3 ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์ และช่วย
เหลือผู้อื่น
ข้อ 4 ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคน และเป็ นพี่น้องกับลูกเสือ
อื่นทั่วโลก
ข้อ 5 ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย
ข้อ 6 ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ข้อ 7 ลูกเสือเชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดามารดา และผู้บังคับ
บัญชาด้วยความเคารพ
ข้อ 8 ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก
ข้อ 9 ลูกเสือเป็ นผู้มัธยัสถ์
ข้อ10 ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
266

เพลง “น้ำค้างพรม”

น้ำค้างพรมลมเย็นในยามดึก คะนึงนึกกฎลูกเสือเพื่อปรุงสมอง
หนึ่งมีเกียรติ สองจงรักภักดีปอง สามประคองหน้าที่ สี่มิตรคน ห้าสุภาพ
ไม่งันงก หกเมตตา เจ็ดเชื่อฟัง แปดเริงร่าอย่าสับสน เก้าเป็ นผู้มัธยัสถ์
ไม่อับจน สิบกายตนประพฤติชอบวาจาใจ

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ

คำว่า“ปฏิญาณ”ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า “การให้


คำมั่นโดยสุจริตใจ”
267
ข้อที่ 1 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์”
จงรักภักดีต่อชาติ คือ ลูกเสือจะต้องเคารพกฎหมายบ้านเมือง ระเบียบ
ข้อบังคับของสังคม
จงรักภักดีต่อศาสนา คือ ลูกเสือจะต้องปฏิบัติศาสนกิจ ตามคำสอน
ของศาสนานั้น ๆและไม่เหยียดหยาม ผู้นับถือศาสนาอื่นด้วย
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ คือ ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทที่
ได้พระราชทานแก่พสกนิกรอยู่เนือง ๆ จัดงานเทิดพระเกียรติในวันสำคัญ ๆ
การเคารพธงชาติก็เปรียบเสมือนเรามีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์และสีของธงชาตินั้น มีความหมายอยู่ในตัวแล้ว คือ
สีแดง หมายถึง ชาติ
สีขาว หมายถึง ศาสนา
สีน้ำเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์
ข้อที่ 2 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “ช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ”
คำว่า “ช่วยเหลือผู้อื่น” หมายถึง การทำให้ผู้อื่นเกิดความสะดวก
สบายหรือเกิดความสุขขึ้นมา แต่การช่วยเหลือผู้อื่นของลูกเสือนั้น คงจะช่วยตาม
ความสามารถของวัย และโอกาสที่จะช่วยได้ จะเป็ นการฝึกให้ลูกเสือบำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อผู้อื่น ก็นับว่าเป็ นการช่วยสังคมและช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อได้
ข้อที่ 3 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “ปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ”
กฎของลูกเสือ หมายถึง ข้อกำหนดที่จะให้ลูกเสือสมัครใจปฏิบัติตาม ผู้ใด
ละเมิดก็ไม่ถือเป็ นความผิดแต่ลูกเสือยึดมั่นในอุดมการณ์ของลูกเสือ และกล่าวคำ
ปฏิญาณแล้วก็ควรพยายามปฏิบัติตามกฎของลูกเสือให้ได้
268

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ

กฎของลูกเสือ (สามัญ สามัญรุ่นใหญ่ ) มี 10 ข้อ


ข้อ 1 “ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้” การที่จะทำให้ผู้อื่นเชื่อถือเราได้ จะต้องเป็ นผู้ที่
พูดอย่างไรแล้วทำอย่างนั้น มีความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง ไม่ลักทรัพย์ผู้อื่น
ข้อ 2 “ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และซื่อตรงต่อ
ผู้มีพระคุณ” เรื่องการสร้างความมั่นคงให้แก่ประเทศชาติ จึงถือเป็ นเรื่อง
สำคัญยิ่ง ส่วนความซื่อตรงต่อผู้มีพระคุณ ก็นับว่ามีความหมายกว้าง เราจึงต้อง
คำนึงถึงผู้มีพระคุณต่อเรา
ข้อ 3 “ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น”
การกระทำตนให้เป็ นประโยชน์นั้น จะต้องทำเพื่อตนเองและเพื่อผู้อื่นด้วย
โดยไม่มีใจเอนเอียงไปทางใดทางหนึ่งของความรู้สึกเราเอง
ข้อ 4 “ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่น้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก”
ลูกเสือจะต้องมองผู้อื่นในแง่ดีไว้ก่อน ต้องแสดงความเป็ นมิตรกับคนทุกคน
ไม่ว่าจะเป็ นชาติ ศาสนา เดียวกันหรือศาสนาของลูกเสือคนนั้น
ข้อ 5 “ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย”
ลูกเสือจึงจำเป็ นจะต้องอ่อนน้อมถ่อมตน และให้เกียรติผู้อื่นอยู่เสมอ แล้ว
ลูกเสือก็จะได้รับเกียรติจากผู้อื่นตลอดไปเช่นกัน ไม่ไปกระด้างกระเดื่อง
ต่อผู้ใหญ่และผู้ที่เราเคารพนับถือ เราลูกเสือจะได้มีความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ

ข้อ 6 “ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์”
ลูกเสือจึงไม่ควรฆ่าสัตว์ ไม่ทรมานสัตว์ ควรให้ความเมตตากรุณาต่อสัตว์
เพราะชีวิตเราเราก็รัก ชีวิตเขาเขาก็รัก ในความอยู่รอดของตนเอง
269
ข้อ 7 “ลูกเสือเชื่อฟังคำสั่งของบิดามารดา และผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ”
คำสอนของบิดามารดาจึงเป็ นความหวังดีต่อลูก ๆ เสมอ ถ้าลูกเสือไม่เชื่อฟัง
คำสั่งสอนของพ่อแม่ก็เหมือนกับสร้าง ความทุกข์ให้กับพ่อแม่นั่นเองสำหรับ
ผู้บังคับบัญชา ก็เช่นเดียวกับบิดามารดา
ข้อ 8 “ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก”
ลูกเสือจะต้องมีอารมณ์สนุกสนานบ้างและให้ถูกกาลเทศะ จะทำให้เพื่อน
ร่วมงานมีความสุขไปด้วย การงานก็จะสำเร็จด้วยดี
ข้อ 9 “ลูกเสือเป็ นผู้มัธยัสถ์”
คนรู้จักเก็บรู้จักใช้ในสิ่งที่เห็นสมควรแล้วได้ชื่อว่าเป็ นผู้ประหยัด แต่การ
มัธยัสถ์ดูจะละเอียดอ่อนมากกว่า เพราะนอกจากจะเป็ นการออมทรัพย์แล้ว
ยังรวมไปถึงการถนอมเครื่องใช้ไม้สอย การซ่อมแซมสิ่งของที่ชำรุดเสียหาย
ให้ใช้การได้ดี คนเราจะก้าวหน้าจะมีฐานะมั่นคงและจะต้องเป็ นผู้มัธยัสถ์
ข้อ 10 “ลูกเสือประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ”
ศาสนาทุกศาสนามีบทสรุปของคำสอนที่คล้ายกัน คือ ประกอบกรรมดี
ละเว้นกรรมชั่ว ถ้าคนเราต่างมุ่งประกอบกรรมดีละเว้นกรรมชั่วแล้ว สังคม
จะมีแต่ความสุข ประกอบแต่กรรมดีพร้อมทั้งกาย วาจา ใจ จะอยู่ใน
สังคมใดก็ได้รับเกียรติอยู่เสมอ
270
เรื่องสั้น
เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”
ความซื่อสัตย์ถือเป็ นเกียรติอย่างหนึ่ง คนที่มีเกียรติย่อมเป็ น
คนที่เชื่อถือได้ในเรื่องต่าง ๆ
ความคดโกงเป็ นการแอบซ่อนความทุจริต
เมื่อท่านรู้สึกอยากจะโกงเพื่อเอาชนะ หรือเศร้าใจเมื่อเป็ นผู้แพ้ จงคิดและเตือน
ตัวเองว่า “คนเราจะชนะเสมอไปไม่ได้แต่การเล่นอย่างเต็มที่อาจจะมีโอกาสมาถึงบ้าง”การ
ครองสติเช่นนี้ ในที่สุดท่านจะเป็ นผู้ชนะ และอย่าลืมว่า เมื่อเป็ นฝ่ ายแพ้ ถ้าท่านเป็ นลูกเสือ
ที่แท้จริง ท่านจะกล่าวคำแสดงความยินดี กับชุดที่ชนะหรือจับมือแสดงความยินดีต่อผู้ที่ชนะ
ท่านทันที
271
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การแสดงคำปฏิญาณ – กฎ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การแสดงคำปฏิญาณ กฎ และ คติพจน์ของลูกเสือจะเป็ นสื่อการปลูกฝังให้ลูก
เสือเป็ นพลเมืองดีของชาติต่อไป ลูกเสือควรกล้าแสดงความคิดในอุดมการณ์ และเป็ น
แนวทางในการปฏิบัติที่ดี ให้เกิดความสนใจสมัครใจ และยอมรับในสิ่งดังกล่าวนี้

จุดประสงค์การเรียนรู้

ลูกเสือแสดงบทบาทตามคำปฏิญาณ – กฎ และคติพจน์ของลูกเสือได้
1. แสดงความหมายคำปฏิญาณลูกเสือได้
2. แสดงหมายของกฎลูกเสือได้
3. แสดงความหมายของคติพจน์ลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. คำปฏิญาณของลูกเสือ
2. กฎของลูกเสือ
3. คติพจน์ของลูกเสือ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ผู้บังคับบัญชาให้ลูกเสือแต่ละหมู่จับฉลากกฎของลูกเสือ 1 ข้อ โดยไม่ได้
บอกหมู่อื่นว่าได้ข้อใด
272
4. ลูกเสือคิดการแสดงของตนเอง
5. ลูกเสือออกมาแสดงบทบาทสมมุติ ตามกฎที่จับได้ หลังจากจบการแสดงของ
แต่ละหมู่ให้ลูกเสือที่ดูช่วยกันตอบว่าการแสดงนั้น ตรงกับกฎของลูกเสือข้อใด
6. ลูกเสือแสดงครบทุกหมู่ให้สรุปสาระสำคัญของการแสดงแต่ละหมู่
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “วาทะของท่าน
บี.พี.”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชาสนทนา และกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสนอแนะ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ฉลากกฎของลูกเสือ 10 ชิ้น
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “วาทะของท่าน บี.พี.”
273
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. แจกเอกสารเรื่อง คำปฏิญาณ กฎของลูกเสือให้ลูกเสือไปศึกษาด้วย
ตนเองเพื่อเป็ นแนวคิดในการจัดการแสดง
2. ให้ลูกเสือจับฉลาก กฎของลูกเสือ ล่วงหน้าก่อนที่จะเรียนในคาบเรียนนี้
เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาและเตรียมการแสดง
274
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
275
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
276
เพลง “มาร์ชลูกเสือ“

เรามาเป็ นลูกเสือเพื่อบำเพ็ญตน ทำประโยชน์ให้แก่บุคคลทั่วไป


ไม่ละเลยแม้เป็ นเด็กแต่ก็ไม่เคย เพิกเฉย
(ชาย) ช่วยเหลือทุกทาง
(หญิง) ช่วยเหลือทุกทาง
(ชาย) อย่างดีที่สุด
(หญิง) อย่างดีที่สุด
(พร้อม) ดุจมิตรปวงชนเป็ นพลเมืองดี
เรามีน้ำใจร่วมกันดังปฏิญาณไว้ เราจะทำสิ่งใดดุจดังวาที จึงดำรงเกียรติภาค
ภูมิในศักดิ์ศรี เสียชีพอย่าเสียสัตย์นี้ ทุกคนจำมั่น

––––––––––––––––––––––––––––––––

เรื่องสั้น
“วาทะของท่าน บี.พี.”
การอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเรื่องใหญ่ในการเป็ นลูกเสือ ซึ่งเด็กชอบ
และเป็ นโอกาส สำหรับฝึกอบรม ให้มีความเชื่อมั่นในการคิดหาหนทางที่ต้อง
เดินให้พบ กับทั้งเป็ นการส่งเสริมสุขภาพอีกด้วย
277
บิดามารดาของเด็กบางคน ซึ่งไม่เคยมีประสบการณ์ในการอยู่ค่ายพักแรม มอง
ดูการอยู่ค่ายพักแรมด้วยความวิตกกังวล เพราะเกรงว่า บางทีจะเป็ นการลำบากและเสี่ยง
ภัยเกินไปสำหรับเด็ก แต่เมื่อได้เห็นบุตรของตนกลับมาเปี่ ยมด้วยสุขภาพ และความสุข
ภายนอก ทั้งในด้านจิตใจก็ดีขึ้น ในเรื่องความเป็ นลูกผู้ชายและการคบเพื่อน บิดามารดาก็
ย่อมมองเห็นส่วนดี ซึ่งได้มาจากการไปท่องเที่ยวเช่นนี้
ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงหวังด้วยความจริงใจว่า คงไม่มีอุปสรรคอันใดที่จะทำให้เด็กไม่
อาจพักผ่อนตามแนวที่ได้แนะนำไว้

–––––––––––––––––––––––––––––––
278
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง (นักเดินทางไกล) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การบรรจุเครื่องหลังในการเดินทางไกลของลูกเสือ เป็ นการฝึกทักษะและพัฒนา
ทางร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญาเป็ นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญใน
การเตรียมตัวทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้ และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็ นการสร้างประสบการณ์
ให้ลูกเสือได้รู้จักกับสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกและปฏิบัติตัวในการบรรจุเครื่องหลังได้
2. บอกการบรรจุเครื่องหลังได้
3. บอกอุปกรณ์ในการบรรจุเครื่องหลังได้
4. ปฏิบัติการบรรจุเครื่องหลังทางไกลได้

เนื้อหาสาระ
1. การบรรจุเครื่องหลัง
2. อุปกรณ์ในการบรรจุเครื่องหลัง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “วชิราวุธรำลึก”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐานโดยแต่ละฐานมี
รองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง ดังนี้
279
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายการเตรียมตัวในการเดินทางไกล
ฐานที่ 2 เรื่อง สาธิตการบรรจุเครื่องหลังจากอุปกรณ์
ฐานที่ 3 เรื่อง ให้ลูกเสือทำการบรรจุเครื่องหลัง
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ นกกระสากับเต่า ”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ ห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยลูกเสือ
11. มอบใบความรู้ เรื่อง การบรรจุเครื่องหลัง ให้ลูกเสือไปศึกษา
ต่อที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “วชิราวุธรำลึก”
3. ใบความรู้ เรื่อง “การบรรจุเครื่องหลัง”
4. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
280
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
281
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
282
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………

เพลง “วชิราวุธรำลึก”
283
วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าประชา ก่อกำเนิดลูกเสือมาข้าเลื่อมใส
พวกเราลูกเสือเชื้อชาติไทย เทิดเกียรติพระองค์ไว้ด้วยภักดี
ลูกเสือรำลึกนึกพระคุณเทิดบูชา ปฏิญาณรักกษัตริย์ ชาติ ศาสน์ศรี
มาเถิดลูกเสือสร้างความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทยดั่งใจปอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระสากับเต่า”

เต่าตัวหนึ่งเฝ้ าแต่แหงนมองท้องฟ้ าดูฝูงนกกระสาบินผ่านไปมา ในใจคิดอิจฉา


อยากมีปี กบินได้บ้าง จะได้บินเที่ยวชมธรรมชาติอันสวยงาม ขณะนั้นเองก็มี
นกกระสาผัวเมียคู่หนึ่งบินลงมาเกาะใกล้ ๆ เต่า แล้วถามว่า “ท่านสบายดีหรือ”
เต่าบอกว่า “ฉันสบายกายแต่ใจไม่สบาย เพราะอยากจะบินได้อย่างท่าน” นกระสา
284
ผัวเมียสงสารจึงเอาไม้ให้เต่าคาบไว้ แล้วนกกระสาผัวเมียจึงเอาปากคาบไม้คนละ
ข้าง
พาบินไปบนท้องฟ้ าเหนือสระน้ำนั้น มีนกเหยี่ยวตัวหนึ่งผ่านมาก็พูดว่า “เต่าตัวนี้มี
บุญวาสนานัก ได้ท่องเที่ยวในอากาศด้วย” เต่าได้ยินก็นึกภูมิใจ และเหลิงลืมตัว
อ้าปากจะพูดกับเหยี่ยวตัวนั้นด้วย จึงตกลงมายังสระตามเดิม

ใบความรู้
การบรรจุเครื่องหลังในการเดินทางไกล
หลักสูตร
1. เข้าร่วมในการเดินทางไกล 3 ครั้ง ดังต่อไปนี้
ครั้งที่ 1 2. มีระยะทางแต่ละครั้งไม่น้อยกว่า 16 กม.นอนกลางแจ้ง1 คืน
ครั้งที่ 3 มีระยะทางไม่น้อยกว่า 48 กม. นอนกลางแจ้ง 2 คืน
การเดินทางไกลทุกครั้ง ให้นำเครื่องหลังติดตัวไปด้วย และทำสมุดปูมให้ได้มาตรฐานอันดี
2. เลือกเส้นทางเดินไกลระยะทาง 24 กม. จากแผนที่ของทางราชการ
โดยให้เหตุผลในการเลือกเส้นทางเช่นนั้น ซึ่งไม่จำเป็ นต้องอยู่ในท้องถิ่นของตน
3. สิ่งของเครื่องใช้ในการเดินทางไกลอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น เต็นท์
ถุงนอน เครื่องหลัง หรือถุงสำหรับบรรจุเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็ น
285
4. มีความรู้เรื่องการอนามัยส่วนบุคคล เช่น การรักษาเท้า รองเท้า
ถุงเท้า ฯลฯ

เครื่องหลังแบบเดินทางวันเดียว
เป็ นเครื่องหลังที่เบาและมีขนาดเล็กเพื่อที่จะบรรจุ อาหารกลางวัน เสื้อผ้า เสื้อ
กันฝน และเครื่องปฐมพยาบาล

อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล
อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล เช่น เต็นท์ เครื่องใช้ส่วนตัว เครื่อง
แบบ ยาประจำตัว รองเท้า ไฟฉาย ฯลฯ

การบรรจุสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ มีหลักการดังนี้
1. ควรมีขนาดพอเหมาะ
2. บรรจุของที่ใช้ที่หลังหรือของหนักลงไปก่อนและที่ใช้ก่อนบรรจุที่หลัง
3. ของแข็งใส่ไว้ด้านใน ของอ่อนนิ่มไว้ด้านสะพายติดหลัง
4. อาหารสด อาหารแห้งควรใช้เนื้อที่น้อย
5. อุปกรณ์ที่จำเป็ นอื่น ๆ ให้บรรจุตามสมควร
286
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล (นักเดินทางไกล)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางไกลของลูกเสือเป็ นการฝึกทักษะและพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญาเป็ นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมตัว
ทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้ และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็ นการสร้างประสบการณ์ ให้ลูกเสือได้
รู้จักกับสิ่งแวดล้อม พร้อมฝึกความอดทน และความมีระเบียบวินัย

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ปฏิบัติกิจกรรมในการเดินทางไกลได้
2. ปฏิบัติการเดินทางไกลด้วยทางเท้าระยะทาง 2.2 กิโลเมตรได้

เนื้อหาสาระ
การเดินทางไกล

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ลูกเสือเรียนเป็ นระบบหมู่
4. ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงานที่ 8.1 เรื่อง การฝึกเดินทางไกล
ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร
5. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด หลังจากเดินทางไกลกลับ มาที่
โรงเรียนแล้ว
287

6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ม้าหลงตัวเอง ”


7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
9. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ใบงานที่ 8.1 การฝึกเดินทางไกล
4. เรื่องสั้น “ม้าหลงตัวเอง”
288
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรมีอุปกรณ์สำหรับการสาธิตหลายรูปแบบ ทั้งที่จำเป็ น และไม่จำเป็ น
ในการเดินทางไกล
2. ผู้บังคับบัญชาควรสมมุติเหตุการณ์ว่า หากลูกเสือจะไปค้างคืน 1–2 คืน ใน
การ
ไปอยู่ค่ายพักแรม ควรจะเตรียมอะไรไปบ้าง
289
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
290
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
291
ใบงาน
เรื่อง การปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล
คำสั่ง ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายดังต่อไปนี้
– ช่วยกันอ่านและทำความเข้าใจคำสั่งการปฏิบัติกิจกรรม
– ก่อนออกเดินทางให้รายงานตัวกับผู้บังคับบัญชาเป็ นระบบหมู่
– หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมเดินทางเข้าโรงเรียนให้รายงานตัว
กับผู้บังคับบัญชาเป็ นระบบหมู่ด้วย
– ร่วมกันสรุปและเขียนผลการเดินทางตามความคิดเห็นของหมู่
– ส่งตัวแทนหมู่รายงานต่อที่ประชุมและส่งรายงานสรุปกับผู้บังคับบัญชา
1. ลูกเสือเดินจากประตูหน้าโรงเรียนด้านทิศตะวันออก ให้เลี้ยวซ้ายไป ตามเส้น
ทางวัดสองพี่น้อง ประมาณ 600 เมตร
2. ลูกเสือจะพบสามแยกด้านหลังของโรงเรียนคุรุประชาสรรค์
3. ลูกเสือเลี้ยวซ้ายไปทางทิศตะวันตก เดินตามถนนคันคลองไปประมาณ 700
เมตรจะพบสี่แยกสะพานที่ 1
4. ลูกเสือเลี้ยวซ้ายไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไปประมาณ 500 เมตร จะพบ
สี่แยกหอนาฬิกา
5. ลูกเสือเลี้ยวขวาไปทางทิศตะวันออกประมาณ 300 เมตร จะถึงประตู
โรงเรียนคุรุประชาสรรค์ด้านทิศตะวันออก
6. ลูกเสือเลี้ยวซ้าย 100 เมตร เข้าสู่สนามฟุตบอลโรงเรียนคุรุประชาสรรค์

เรื่องสั้น
เรื่อง “ม้าหลงตัวเอง”

ชายผู้เลี้ยงม้าคนหนึ่งได้นำม้า 2 ตัวบรรทุกสิ่งของมา ม้าตัวแรกบรรทุก


พวกของมีค่า พวกเพชรพลอยและของมีค่า ส่วนอีกตัวบรรทุกพวกของใช้ธรรมดา
ม้าตัวที่ขนของมีค่ารู้สึกหยิ่งลำพองว่าตนเองมีความสำคัญมากว่าม้าอีกตัว เดินแบบ
อวดดี ม้าอีกตัวเดินแบบสบาย ๆ เพราะรู้ว่าตนเองไม่ได้ขนของมีค่าเดินไปไม่นานนัก
292
ก็มีพวกโจรมาปล้นเอาของมีค่าจากม้าตัวนั้น และยังทุบตีทารุณกรรมอีกด้วย ทำให้
ม้าตัวนั้นเจ็บปวดทรมานมาก ส่วนม้าตัวที่ขนของธรรมดาโจรไม่ได้เอาอะไรไปเลย
ทำให้ม้าตัวที่ขนของมีค่าพูดอย่างน้อยใจว่า “ไม่น่าขนของที่มีค่ามาเลย”
293
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือต้องเรียนรู้ถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างชาญฉลาด และคุ้มค่า เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อชนรุ่นหลังต่อไป

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกวิธีการอนุรักษ์และสงวนทรัพยากรธรรมชาติได้
1. บอกผลกระทบจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติได้
2. บอกวิธีการสงวนทรัพยากรธรรมชาติได้

เนื้อหาสาระ
การอนุรักษ์และสงวนทรัพยากรธรรมชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2 . ลูกเสือเล่นเกม “ยืนสามัคคี”
3. ผู้บังคับบัญชาอธิบายใบความรู้ เรื่อง การสงวนทรัพยากรธรรมชาติ
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การสงวน
ทรัพยากรธรรมชาติ ตามฐาน ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สาเหตุที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย
ฐานที่ 2 เรื่อง วิธีการสงวนทรัพยากรธรรมชาติ
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด

7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ความคุ้นเคยทำให้หมด ความเกรงใจ”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ผู้บังคับบัญชาลูก
เสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ ห้องลูกเสือ
10. ลูกเสือหมู่ที่ 1 รับใบภาระงาน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อให้กำลังใจ
294
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพของธรรมชาติที่สวยงามและที่ถูกทำลายแล้ว
3. เกม “ยืนสามัคคี”
4. ใบความรู้ เรื่อง “การสงวนทรัพยากรธรรมชาติ”
5. เรื่องสั้น “ความคุ้นเคยทำให้หมดความเกรงใจ”
295
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ควรมีภาพธรรมชาติที่สวยงามและถูกทำลายให้ลูกเสือได้ดูประกอบ
หนังสือและเอกสารเกี่ยวกับการสงวนทรัพยากรธรรมชาติให้ศึกษา
296
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
297
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

ใบความรู้
298
เรื่อง การสงวนทรัพยากร

ทรัพยากรธรรมชาติ มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของมวลมนุษย์ และ


ประเทศชาติเป็ นอย่างยิ่ง เป็ นสิ่งคอยค้ำจุนความเจริญในทุก ๆ ด้านประเทศใดมี
ทรัพยากรธรรมชาติอุดม และประชากรรู้จักหลักวิธีการอนุรักษ์ หรือการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ จะมีความมั่นคงร่ำรวยมีความเป็ นอยู่อย่างสุขสบายและประเทศที่
เป็ นอู่ข้าวอู่น้ำก็ตาม ถ้าประชาชนขาดหลักการอนุรักษ์ ใช้อย่างไม่ประหยัด อนาคตของ
ประเทศจะตกอยู่ในฐานะน่าเป็ นห่วงอย่างยิ่ง
ทรัพยากรธรรมชาติ คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ธรรมชาติสร้างขึ้นมา และมนุษย์ได้นำ
ไปใช้ให้เป็ นประโยชน์ เช่น ป่ า พืช สัตว์ แร่ธาตุ อากาศ พื้นดิน แสงแดด ฯลฯ เมื่อมนุษย์
นำทรัพยากรมาใช้ ทรัพยากรเหล่านั้นย่อมหมดสิ้นไป ดังนั้นจึงจำเป็ นที่มนุษย์ต้องหาวิธีการ
ที่ฉลาด และประหยัดคุ้มค่าเป็ นประโยชน์ให้มากที่สุด และมีใช้ต่อไปจนถึงลูกหลาน วิธีการ
นี้เราเรียกว่า “การสงวนทรัพยากรธรรมชาติ”หรือบางครั้งเรียกว่า “การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ”

ใบความรู้
เรื่อง การสงวนทรัพยากร

สาเหตุที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย
1. ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างเป็ นอาหารของมนุษย์
2. ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่าง เป็ นปัจจัยในการดำรงชีพของมนุษย์ เช่น
ใช้ไม้ในการก่อสร้างบ้านเรือน หรือเหล็กใช้ทำวัสดุก่อสร้าง
299
3. ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภท เป็ นปัจจัยใช้เป็ นเครื่องมือทำมาหากิน
4. พลเมืองเพิ่มขึ้นทำให้มนุษย์ มีความต้องการในเครื่องอุปโภคบริโภคมากขึ้น
ทำให้มนุษย์ทำลายทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
5. เกิดจากโลกปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ทันสมัยมากขึ้น
6. เกิดจากขนบธรรมเนียมและความเชื่อของมนุษย์ เช่น การพิธีบูชายันต์
ทำให้สัตว์ถูกทำลาย
7. การกีฬาของมนุษย์ เช่น การยิงนก ตกปลา ล่าสัตว์
8. ยุคของอาณานิคม ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลายมากขึ้น
9. การสงคราม ทำให้มนุษย์ล้มตาย และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ถูกนำมาใช้
เพื่อสงคราม
10..นโยบายของรัฐ เช่น รัฐบาลให้สิทธิประชาชนจับจองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ทำให้ป่ าไม้ถูกทำลายมากขึ้น
11. ไม่รู้ค่า เช่น นกช่วยกินแมลง
12. ประมาท เช่น ทิ้งก้นบุหรี่ทำให้เกิดไฟไหม้

ใบความรู้
เรื่อง การสงวนทรัพยากร
วิธีสงวนทรัพยากรธรรมชาติโดยทั่วไป
1. การปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิมทางธรรมชาติ หมายถึง การปรับปรุงหรือแต่ง
เติม เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติชนิดนั้นมีประโยชน์มากขึ้นกว่าธรรมชาติ เช่น การปรับปรุง
พื้นดิน ที่ทำเพาะปลูกไม่ได้ ให้ทำการเพาะปลูกได้ดีขึ้นมา หรือนำไปทำประโยชน์อย่างอื่น
แทน เช่น ปลูกหญ้าเพื่อทำการเลี้ยงสัตว์ การปลูกป่ า
2. การใช้และมีการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างเป็ น
สิ่งที่สิ้นเปลืองหมดไปได้ เช่น แร่ธาตุต่าง ๆ ดังนั้น การใช้ทรัพยกรธรรมชาติเหล่านี้ จึงต้อง
ใช้ให้ได้ประโยชน์มากที่สุด และการผลิตก็ต้องให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
3. การนำมาใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเมื่อนำมาใช้จนหมดคุณภาพแล้ว ก็นำมา
ผลิตใหม่อีก เช่น เศษเหล็ก หรือรถยนต์ที่ใช้ไม่ได้แล้ว ก็นำเอามาถลุงใหม่เพื่อนำมาใช้
ประโยชน์อีก
300
4. การเอาสิ่งอื่นมาแทน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งไหนที่กำลังจะหมดไป เราก็นำ
เอาสิ่งอื่นมาใช้แทน เช่น การสร้างตึกแทนไม้ เป็ นการลดความต้องการไม้ให้น้อยลง หรือ
การนำพลาสติกมาใช้แทนอะลูมิเนียม พลังงานน้ำตก และแร่พลังงานอะตอมใช้แทน
แร่เชื้อเพลิง
301
เรื่องสั้น
เรื่อง “ความคุ้นเคยทำให้หมดความเกรงใจ”

ใครก็ตามที่ได้เห็นอูฐ ก็มักจะกลัวและอยากวิ่งหนี เพราะตัวมันใหญ่


มาก แต่เมื่อเวลาผ่านไปสักพัก เขาก็จะพบว่า อูฐเป็ นสัตว์ที่อ่อนโยน จึงกล้า
เดินเข้าไปใกล้ ต่อจากนั้นก็ตระหนักอีกว่า มันเป็ นสัตว์ที่มีอารมณ์ดี จนเขา
สามารถเอาบังเหียนใส่จูงมาให้เด็ก ๆ ขี่เล่นได้ในที่สุด นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า สิ่งที่น่าสะ
พรึงกลังนั้นจะหมดความน่ากลัว เมื่อเราคุ้นเคยกับมัน
302

ใบภาระงาน
คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 1 ช่วยกันหานิทานเรื่องสั้นจากห้องสมุด 1 เรื่อง
2. หาตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่และช่วยกันคิด เขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่า เวลา 1
ชั่วโมง
303

สาระสำคัญ
ลูกเสือต้องเรียนรู้ถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติ เช่น การอนุรักษ์สัตว์ ความสัมพันธ์
ของสัตว์ป่ า กฎหมายห้ามล่าสัตว์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การสงวนสัตว์ป่ า
อย่างชาญฉลาด และคุ้มค่า

จุดประสงค์การเรียนรู้
1.สงวนทรัพยากรธรรมชาติได้
2. บอกผลกระทบจากการทำลายป่ าไม้ที่มีต่อสัตว์ป่ าได้
3. บอกความสัมพันธ์ของป่ าไม้และสัตว์ป่ าได้
4. บอกกฎหมายห้ามล่าสัตว์ได้

เนื้อหาสาระ
การอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่ า

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “คืนเดือนหงาย”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปตามฐานศึกษา ใบความรู้ที่
4. เรื่อง การอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่ า ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณ
เปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง วิธีการอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่ า
ฐานที่ 2 เรื่อง การรักษาสภาพทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
ฐานที่ 3 เรื่อง สัตว์ป่ าสงวน,เขตรักษาสัตว์ป่ าและข้อสังเกต
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ตัวแทนลูกเสือหมู่ที่ 1 เล่าเรื่องสั้น ที่ได้รับมอบหมาย(ภาระงาน)
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพของธรรมชาติที่สวยงามและที่ถูกทำลายแล้ว
304
3. เพลง “คืนเดือนหงาย”
4. ใบความรู้ เรื่อง “การอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่ า”
305
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
306
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
307
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “คืนเดือนหงาย”

ยามค่ำคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา
308
เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา
เย็นร่มธงไทยปกไปทั่วหล้า เย็นยิ่งน้ำฟ้ ามาประพรมเอย

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์และสงวนสัตว์ป่ า
การอนุรักษ์สัตว์ป่ า

สัตว์นับเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ มีประโยชน์ คือ


1. ประโยชน์ที่ได้รับจากสัตว์ป่ าทางตรง
–เนื้อสัตว์ มนุษย์เราได้เนื้อสัตว์เป็ นอาหาร
–ขนและหนัง ให้ทำเป็ นเครื่องนุ่งห่ม และเครื่องใช้
–กระดูก งา และเขา ใช้ทำเป็ นเครื่องใช้
–ใช้แรงงาน
309
2. ประโยชน์ที่ได้รับจากสัตว์ปาทางอ้อม
–ในด้านเกษตร เช่น นกบางชนิดกินแมลงที่เป็ นศัตรูพืช
–ช่วยด้านวิจัยค้นคว้า
–ช่วยให้ความเพลิดเพลิน เช่น สวนสัตว์
วิธีสงวนสัตว์ป่ า
ทางตรง
1. การเพิ่มพันธุ์ คือ การเพาะพันธุ์สัตว์ป่ า และนำไปปล่อยไว้ในป่ าเพื่อให้มี
จำนวนมาก
2. ออกกฎหมายควบคุมการล่าสัตว์
3. ตั้งเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่ า
ทางอ้อม
1. ให้สัตว์ป่ ามีอาหารและที่อยู่อาศัย
2. ควบคุมขยายพันธุ์
3. ให้ความรู้แก่ประชาชน

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
นอกจากจะจัดเตรียมหญ้า เพื่อเป็ นอาหารสัตว์ แล้วจำเป็ นต้องคำนึงถึง
ประโยชน์ของหญ้าในการอนุรักษ์ ดิน น้ำ สภาพแวดล้อมอื่น ๆ ไปด้วย เช่น การใช้ทุ่ง
หญ้าเป็ นพืชคลุมดิน ช่วยปรับปรุงสภาพทางฟิ สิกส์ของดิน เพิ่มพูนอาหารและอินทรีย์วัตถุ
แก่ดิน ป้ องกันวัชพืช รักษาความชื้น เพิ่มอัตราการซึมของน้ำลงดิน ลดการไหลบ่าของน้ำ
ตามผิวหน้าดินเป็ นการบรรเทาการพังทลายของดินจึงจำเป็ นต้องมีการควบคุมจำนวนสัตว์
จะปล่อยเข้าไปเลี้ยงในทุ่งหญ้า ให้มีอัตราส่วนจำนวนตัวต่อไร่ที่เหมาะสม อย่าปล่อยให้กิน
หญ้ามากเกิน (Overgrazing) เพราะนอกจากจะทำลายพืชคลุมดิน และหญ้าที่เป็ นอาหาร
สัตว์ให้หมดไปแล้ว ยังทำให้ดินแน่นตัว หรือเกิดพังทลายได้ จึงควรดำเนินการดังนี้
1.ควบคุมจำนวนสัตว์ที่จะกินหญ้าในทุ่งหญ้าแต่ละแห่งให้เหมาะสม
2.หาทางป้ องกันการกัดเซาะผิวดินและการพังทลายของดิน
3.ทำการปลูกหญ้า บำรุงดินขึ้นใหม่
4.ปรับปรุงเสาะหาแหล่งน้ำ ให้มากพอกับความต้องการ
5.กำจัดพืชพันธุ์ที่เป็ นพิษ
6.จัดระบบการขนส่งเข้าออกทุ่งหญ้าสะดวกรวดเร็วขึ้น
310
7.สร้างสิ่งกีดขวางเพิ่มจากที่มีอยู่ตามธรรมขาติ เพื่อควบคุมจำนวนสัตว์ การ
เลี้ยงสัตว์เพื่อผลิตเนื้อและนมมีน้อย เมื่อหมดฤดูทำนา ชาวบ้านมักปล่อยสัตว์เข้าไปหากิน
ในป่ าหรือทุ่งหญ้าใกล้เคียง ตัวอย่างการจัดทุ่งหญ้าเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น ที่เพชรบูรณ์ ฟาร์ม
โคนมไทยเดนมาร์ค สระบุรี ฟาร์มโชคชัย ปากช่อง สหกรณ์โคนม อยุธยา ฯลฯ
สามารถทำเป็ นธุรกิจได้โดยใช้ที่ว่างเปล่า ทำเป็ นทุ่งหญ้าเลี้ยงปศุสัตว์ ซึ่งต้องลงทุนสูง
ในตอนแรกจะได้ผลผลิตที่ดีต่อไป
311

ใบความรู้
เรื่อง รัฐบาลได้ประกาศพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ.2503

เขตรักษาสัตว์ป่ า มี 12 แห่งได้แก่
1. เขาสลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี
2. คลองนาคา จังหวัดระนอง
3. ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี และตาก
4. ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
5. หินเหล็กไฟ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
6. เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
7. ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
8. อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
9. ภูวัว จังหวัดหนองคาย
10. คลองแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
11. ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และ ตาก
12. เขาเขียว เขาชมภู จังหวัดชลบุรี
สัตว์ป่ าสงวน 9 ชนิด คือ
1. แรด 2. ควายป่ า 3. เลียงผา 4. กระซู่ 5. สมัน
6. เนื้อทราย 7. กวางผา 8. ละองหรือละมั่ง 9. กรูปี หรือ โคไพร
ข้อสังเกต
1. การล่าสัตว์โดยไม่มีขอบเขตจำกัดในอดีตและปัจจุบัน มักจะล่าเพื่อเป็ น
อาหาร เพื่อขาย เพื่อสนุกสนาน เป็ นเหตุให้สัตว์ป่ าหลายพันธุ์สูญไป
2. การทำลายที่อยู่อาศัย ทำให้สัตว์ไม่มีที่อยู่ ขาดแหล่งน้ำ แหล่งอาหาร
3. ไฟป่ า ที่เกิดขึ้นจะทำลาย ป่ าไม้ ทุ่งหญ้า และสัตว์ป่ าเป็ นจำนวนมาก
4. ความแห้งแล้ง น้ำท่วม หรือพายุ จะเป็ นอันตรายต่อสัตว์ป่ าและทำให้ดิน
เสียหายเสื่อมคุณภาพไป
5. ความหนาแน่นของทรัพยากรเอง ได้เกิดอย่างรวดเร็วในเนื้อที่จำกัด ต้อง
แย่งกันทำลายกันเอง ผู้ที่แข็งแรงกว่าจึงจะเลี้ยงตัวเองอยู่ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
312
เรื่อง การอนุรักษ์ดินและสงวนป่าไม้ (1)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอนุรักษ์ดิน ป่ าไม้ เป็ นสิ่งจำเป็ นมากในปัจจุบัน ถ้าเรามองข้ามไป
จะเสียหายต่อประชากรของประเทศไทย และของโลกในอนาคตได้ ทั้งยังต้องเรียนรู้ในเรื่อง
การสงวนดิน และการพังทลายของดินด้วยตลอดจนถึงป่ าไม้ด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออนุรักษ์ดินและสงวนป่ าไม้ได้
1. บอกหลักการสงวนดินได้
2. บอกวิธีการป้ องกันป่ าไม้ถูกทำลายได้

เนื้อหาสาระ
1. การอนุรักษ์ดิน
2. การอนุรักษ์ป่ าไม้

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา เรื่อง การอนุรักษ์ดิน , ป่ าไม้
4. เชิญเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ เป็ นผู้บรรยายพิเศษ
เรื่อง การอนุรักษ์ดิน, ป่ าไม้ ตามหัวข้อต่อไปนี้
– การสงวนดินและการพังทลายของดิน
– การอนุรักษ์ดินและการพังทลายของดิน
– การอนุรักษ์และการป้ องกันป่ าไม้ถูกทำลาย
5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของเนื้อหาจดบันทึกลงสมุด
6. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพการอนุรักษ์ป่ าไม้
3. หนังสือการอนุรักษ์และการพังทลายของดิน
4. แผ่นภาพสัตว์น้ำ
5. หนังสือพระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490
313
6. เพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”
314
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ผู้บังคับบัญชามีเวลาในการสอนกิจกรรมลูกเสือ แล้วให้พาลูกเสือไปดูการ
เปลี่ยนแปลงของแม่น้ำ ลำคลองหรือไปตามภูเขา เพื่อไปดูการพังทลายของหน้า
ดิน ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แต่ละปี
315
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
316
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”


317

ป่ าไม้นั้นช่วยให้ฝนตก ป่ ารกฝนตกมากมาย ห้วยคลองน้ำนอง


หลากหลาย แต่ไม่อันตรายเพราะป่ าไม้ช่วยบัง ป่ าไม้ถ้าทำลายกันเสียหมด
น้ำจะลดแสนสลดใจจัง ยามฝนตกนองจะบ่าคลองสองฝั่ง ๆ เซาะบ้านเรือนพัง
โปรดระวังอันตราย

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์ดิน ป่ าไม้
ดินและการพังทลายของดิน

ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญมาก เป็ นแหล่งที่เกิดอาหารของมนุษย์


แต่มนุษย์ก็ยังเป็ นตัวทำลายพร้อม ๆ กับการอนุรักษ์เช่นกัน
318
การพังทลายของดิน
ทางธรรมชาติ
1. ความลาดชันของพื้นที่ คือ พื้นดินมีความชันมาก ในเวลาฝนตกน้ำจะไหล
เร็วมาก ทำให้กัดเซาะดินได้มากขึ้น
2. ลมฟ้ า อากาศ เช่น ดินร่วนหรือดินเหนียว ถ้าเป็ นดินร่วน หรือดินทราย
ทำให้เกิดการพังทลายได้ง่าย
มนุษย์
1. ทำลายพืชปกคลุมดิน เช่น การทำไร่เลื่อนลอย หรือ ปล่อยให้สัตว์เข้าไป
แทะเล็มหญ้ามากเกินไป เมื่อไม่มีพืช ปกคลุมดิน ก็จะทำให้ดินพังทลายง่ายขึ้น
– ทำลายความสมบูรณ์ของดิน เช่น ทำการเพาะปลูกพืช ซ้ำ ๆ กัน นาน
จนทำให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ไป จึงทำให้ดินเกิดการพังทลายขึ้น
– การไถพรวนดิน การไถพรวนดินที่ผิดวิธี ทำให้เกิดการพังทลายได้ง่าย
เพราะการไถพรวนดินทำให้ดินร่วนน้ำเซาะได้ง่าย
– การทำถนนหรือทางเดิน เกิดร่องน้ำเซาะ

การอนุรักษ์ดินและการป้ องกันการพังทลายของดิน
การอนุรักษ์ดินและการป้ องกันการพังทลายของดิน
1. ดัดแปลงพื้นที่ลาดให้เป็ นขั้นบันได แล้วทำการเพาะปลูกบนขั้น ๆ เหล่านั้น
2. ควบคุมร่องน้ำ โดยการสร้างเขื่อนเล็ก ๆ คั่นเป็ นตอน ๆ เพื่อให้น้ำไหลช้าลง
3. การไถดินไม่ให้ป่ นเกินไป
4. นำดินที่ถูกพัดพาไปกลับไปไว้ที่เดิม
5. การเพาะปลูกอย่างเหมาะสม ไม่ทำไร่เลื่อนลอย ปลูกพืชหมุนเวียน ไถกลบ

6. ปลูกพืชคลุมดิน เช่น ตระกูลถั่ว


7. ปลูกพืชหมุนเวียน
8. ปลูกต้นไม้กำบังลม
9. ปลูกสร้างสวนและป่ า ช่วยปกคลุมดินและทำความชุ่มชื้นให้ความสมบูรณ์แก่
ดิน
10. ใส่ปุ๋ ยให้ดินสมบูรณ์
11. ปลูกพืชสลับเป็ นแปลง ๆ ไป

ผลเสียที่เกิดขึ้นจาการพังทลายของดิน
1. ทำลายดิน ดินชั้นบนมีฮิวมัส แร่ธาตุ อินทรีย์วัตถุ ถูกทำลายไป
2. ทำลายน้ำ น้ำขุ่น นำไปใช้การไม่ได้
319
3. สิ้นเปลือง ดินพังทลายทำให้เกิดตะกอนตื้นเขิน ต้องขุดลอกคลอง สันดอน
เสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก
4. กระทบกระเทือนสวัสดิภาพสังคม อาณาจักรในสมัยก่อนบาง
อาณาจักรต้องเสื่อมสลายลงเพราะดินไม่ดี ผลผลิตไม่เพียงพอ รายได้ต่ำ พัฒนาบ้านเมือง
ไม่ได้

การอนุรักษ์และการป้ องกันป่ าไม้ถูกทำลาย

จากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวอย่างรวดเร็วของ
วงการอุตสาหกรรม การใช้ไม้ในการก่อสร้าง การบุกรุกที่ทำกิน ทำที่อยู่อาศัยเป็ นสาเหตุให้
เกิดการบุกรุกทำลายป่ า เราจึงควรช่วยกันสงวนป่ าไว้ เพราะป่ าไม้มีความสำคัญต่อการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น อนุรักษ์ป่ าไม้ ไว้เป็ นต้นน้ำลำธาร เพื่อ
ป้ องกันดินพังทลาย ป้ องกันการเกิดอุทกภัย ได้มีการสร้างเขื่อนเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้ า
และการชลประทานเพิ่มขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ป่ าไม้ยังสัมพันธ์กับดิน น้ำ สัตว์
ป่ า อย่างแยกกันไม่ได้
320
ความเสียหายที่เกิดต่อป่ าไม้ได้แก่
1. การโค่นถางเพื่อทำการเพาะปลูก เพราะพลเมืองมากขึ้น
2. การตัดไม้ไปขายเพื่อการค้า หรือ การตัดไม้ไปทำที่อยู่อาศัย
3. สูญไปเพราะไฟป่ า ไฟป่ าอาจจะเกิดขึ้นเพราะธรรมชาติ หรืออาจ
4. จะเกิดเพราะความเผลอเรอของมนุษย์
5. สูญไปเพราะโรคของต้นไม้และแมลง

วิธีอนุรักษ์ป่ าไม้
1. ป้ องกันไม่ให้เกิดไฟป่ า
2. ป้ องกันแมลงและโรคของต้นไม้
3. ป ลูกต้นไม้เพิ่ม
4. หาสิ่งอื่นทดแทนไม้
5. ป้ องกันการพังทลายของดิน
6. กำหนดเขตที่เป็ นแหล่งทำมาหากิน
7. ให้การศึกษาแก่ประชาชนและขอความร่วมมือในการอนุรักษ์ป่ าไม้
321
เรื่องสั้น
เรื่อง “แก้ไม่หาย”

หญิงผู้หนึ่งมีสามีเป็ นคนขี้เมาหยำเป จึงคิดแผนการจะให้สามีอดเหล้า


เธอคอยจนกระทั่งสามีเมาได้ที่จนไม่รับรู้อะไรในโลกนี้แล้ว จึงแบกเขาขึ้นบ่าพาไปเก็บ
ไว้ในสุสาน พอคะเนว่า สามีน่าจะสร่างเมาแล้ว จึงกลับมาเคาะประตูสุสาน
“ใครนะ” เขาถาม เธอตอบว่านำอาหารมาเซ่นคนตาย
“ข้าไม่ต้องการอาหารของแกหรอกแกเอ๋ย” เขากล่าว เอาเหล้ามาดีกว่า
ข้าต้องการเหล้า ได้ยินไหม”
เมื่อได้ยินดังนั้น หญิงสาวก็ตีอกชกหัวตัวเองแล้วรำพันว่า “โธ่เอ๋ย !
ข้าได้ทำดีที่สุดแล้ว เพื่อที่จะให้บทเรียนกับแก แต่ดูซิกลับทำให้แกร้ายยิ่งกว่าเดิม
เสียอีก นิสัยขี้เหล้าของแกติดแน่นในสันดานเสียแล้ว”

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า อย่าได้หลงไหลไปกับอบายมุข เพราะต่อไป


แม้จะอยากแก้นิสัยก็แก้ไม่ได้เสียแล้ว

ใบงาน
วิธีการเล่าเรื่องสั้น

คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 2 ช่วยกันหาวิธีการเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลูกกตัญญู”


2. ตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
322
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่ช่วยกันสรุปและเขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา
เรื่องสั้น เรื่อง “ลูกกตัญญู”
ยังมีครอบครัวที่ยากจนอยู่ครอบครัวหนึ่ง มีลูกชายกับแม่ผู้ตาบอด
ลูกต้องทำงานทุกอย่างเพื่อเลี้ยงแม่ วันหนึ่ง ชายยาจกเข้าป่ าเพื่อตัดฟื นไปขาย
เทวดาสงสารชายหนุ่ม เพราะเห็นเป็ นคนดี จึงปลอมตัวเป็ นหญิงแก่แกล้งทำ
ทองแท่งหล่นไว้ ชายหนุ่มเห็น จึงวิ่งไปเก็บคืนให้หญิงแก่เจ้าของ หญิงแก่
เลยยกทองให้ชายหนุ่ม แต่ชายหนุ่มบอกว่า “อยากได้ลูกตาไปใส่ให้แม่มากกว่าได้
ทอง” หญิงแก่บอกว่าได้ แต่ต้องมีการแลกเปลี่ยน คือ ตาเจ้าต้องบอดแทน
ชายหนุ่มบอกตกลง หญิงแก่คนนั้น จึงควักเอาดวงตาของชายหนุ่มไป และให้
ชายหนุ่มนำทองกลับบ้าน โดยเดินคลำทางมาตลอดเพราะตาบอด ชายหนุ่ม
เดินทางกลับบ้าน ด้วยความยากลำบาก เมื่อกลับมาถึงบ้านได้พบว่าแม่ตา
หายบอดแล้ว พอเขาส่งทองให้แม่ ตาของเขาที่บอดก็หาย มองเห็นอย่างเดิม
ต่อจากนั้น เขาก็กลายเป็ นคนร่ำรวย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์ดินและสงวนป่าไม้ (2)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอนุรักษ์ดิน ป่ าไม้ เป็ นสิ่งจำเป็ นมากในปัจจุบัน ถ้าเรามองข้ามไป
323
จะเสียหายต่อประชากรของประเทศไทย และของโลกในอนาคตได้ ทั้งยังต้องเรียนรู้ในเรื่อง
การสงวนดิน และการพังทลายของดินด้วยตลอดจนถึงป่ าไม้ด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออนุรักษ์ดินและสงวนป่ าไม้ได้
1. บอกหลักการสงวนดินได้
2. บอกวิธีการป้ องกันป่ าไม้ถูกทำลายได้

เนื้อหาสาระ
1. การอนุรักษ์ดิน
2. การอนุรักษ์ป่ าไม้

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”
3. ทบทวนกิจกรรมที่ในชั่วโมงที่ผ่านมา
4. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
5. รองผู้บังคับบัญชามอบใบความรู้ประกอบคำบรรยาย เรื่อง การอนุรักษ์ดิน ,
ป่ าไม้ ให้ลูกเสือไปศึกษาเพิ่มเติมที่บ้าน
6. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง“แก้ไม่หาย”
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ ห้องลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
9. ผู้บังคับบัญชามอบใบภาระงานให้กับลูกเสือหมู่ที่ 2
10. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพการอนุรักษ์ป่ าไม้
3. หนังสือการอนุรักษ์และการพังทลายของดิน
4. แผ่นภาพสัตว์น้ำ
5. หนังสือพระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490
6. เพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”
7. ใบความรู้ เรื่อง “การอนุรักษ์ดิน ป่ าไม้”
8. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง“แก้ไม่หาย”
324
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ผู้บังคับบัญชามีเวลาในการสอนกิจกรรมลูกเสือ แล้วให้พาลูกเสือไปดูการ
เปลี่ยนแปลงของแม่น้ำ ลำคลองหรือไปตามภูเขา เพื่อไปดูการพังทลายของหน้า
ดิน ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แต่ละปี
325
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
326
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “อนุรักษ์ป่ าไม้”


327

ป่ าไม้นั้นช่วยให้ฝนตก ป่ ารกฝนตกมากมาย ห้วยคลองน้ำนอง


หลากหลาย แต่ไม่อันตรายเพราะป่ าไม้ช่วยบัง ป่ าไม้ถ้าทำลายกันเสียหมด
น้ำจะลดแสนสลดใจจัง ยามฝนตกนองจะบ่าคลองสองฝั่ง ๆ เซาะบ้านเรือนพัง
โปรดระวังอันตราย

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์ดิน ป่ าไม้
ดินและการพังทลายของดิน

ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญมาก เป็ นแหล่งที่เกิดอาหารของมนุษย์


แต่มนุษย์ก็ยังเป็ นตัวทำลายพร้อม ๆ กับการอนุรักษ์เช่นกัน
328
การพังทลายของดิน
ทางธรรมชาติ
1. ความลาดชันของพื้นที่ คือ พื้นดินมีความชันมาก ในเวลาฝนตกน้ำจะไหล
เร็วมาก ทำให้กัดเซาะดินได้มากขึ้น
2. ลมฟ้ า อากาศ เช่น ดินร่วนหรือดินเหนียว ถ้าเป็ นดินร่วน หรือดินทราย
ทำให้เกิดการพังทลายได้ง่าย
มนุษย์
1. ทำลายพืชปกคลุมดิน เช่น การทำไร่เลื่อนลอย หรือ ปล่อยให้สัตว์เข้าไป
แทะเล็มหญ้ามากเกินไป เมื่อไม่มีพืช ปกคลุมดิน ก็จะทำให้ดินพังทลายง่ายขึ้น
– ทำลายความสมบูรณ์ของดิน เช่น ทำการเพาะปลูกพืช ซ้ำ ๆ กัน นาน
จนทำให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ไป จึงทำให้ดินเกิดการพังทลายขึ้น
– การไถพรวนดิน การไถพรวนดินที่ผิดวิธี ทำให้เกิดการพังทลายได้ง่าย
เพราะการไถพรวนดินทำให้ดินร่วนน้ำเซาะได้ง่าย
– การทำถนนหรือทางเดิน เกิดร่องน้ำเซาะ

การอนุรักษ์ดินและการป้ องกันการพังทลายของดิน
การอนุรักษ์ดินและการป้ องกันการพังทลายของดิน
1. ดัดแปลงพื้นที่ลาดให้เป็ นขั้นบันได แล้วทำการเพาะปลูกบนขั้น ๆ เหล่านั้น
2. ควบคุมร่องน้ำ โดยการสร้างเขื่อนเล็ก ๆ คั่นเป็ นตอน ๆ เพื่อให้น้ำไหลช้าลง
3. การไถดินไม่ให้ป่ นเกินไป
4. นำดินที่ถูกพัดพาไปกลับไปไว้ที่เดิม
5. การเพาะปลูกอย่างเหมาะสม ไม่ทำไร่เลื่อนลอย ปลูกพืชหมุนเวียน ไถกลบ

6. ปลูกพืชคลุมดิน เช่น ตระกูลถั่ว


7. ปลูกพืชหมุนเวียน
8. ปลูกต้นไม้กำบังลม
9. ปลูกสร้างสวนและป่ า ช่วยปกคลุมดินและทำความชุ่มชื้นให้ความสมบูรณ์แก่
ดิน
10. ใส่ปุ๋ ยให้ดินสมบูรณ์
11. ปลูกพืชสลับเป็ นแปลง ๆ ไป

ผลเสียที่เกิดขึ้นจาการพังทลายของดิน
1. ทำลายดิน ดินชั้นบนมีฮิวมัส แร่ธาตุ อินทรีย์วัตถุ ถูกทำลายไป
2. ทำลายน้ำ น้ำขุ่น นำไปใช้การไม่ได้
329
3. สิ้นเปลือง ดินพังทลายทำให้เกิดตะกอนตื้นเขิน ต้องขุดลอกคลอง สันดอน
เสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก
4. กระทบกระเทือนสวัสดิภาพสังคม อาณาจักรในสมัยก่อนบาง
อาณาจักรต้องเสื่อมสลายลงเพราะดินไม่ดี ผลผลิตไม่เพียงพอ รายได้ต่ำ พัฒนาบ้านเมือง
ไม่ได้

การอนุรักษ์และการป้ องกันป่ าไม้ถูกทำลาย

จากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวอย่างรวดเร็วของ
วงการอุตสาหกรรม การใช้ไม้ในการก่อสร้าง การบุกรุกที่ทำกิน ทำที่อยู่อาศัยเป็ นสาเหตุให้
เกิดการบุกรุกทำลายป่ า เราจึงควรช่วยกันสงวนป่ าไว้ เพราะป่ าไม้มีความสำคัญต่อการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น อนุรักษ์ป่ าไม้ ไว้เป็ นต้นน้ำลำธาร เพื่อ
ป้ องกันดินพังทลาย ป้ องกันการเกิดอุทกภัย ได้มีการสร้างเขื่อนเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้ า
และการชลประทานเพิ่มขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ป่ าไม้ยังสัมพันธ์กับดิน น้ำ สัตว์
ป่ า อย่างแยกกันไม่ได้
330
ความเสียหายที่เกิดต่อป่ าไม้ได้แก่
1. การโค่นถางเพื่อทำการเพาะปลูก เพราะพลเมืองมากขึ้น
2. การตัดไม้ไปขายเพื่อการค้า หรือ การตัดไม้ไปทำที่อยู่อาศัย
3. สูญไปเพราะไฟป่ า ไฟป่ าอาจจะเกิดขึ้นเพราะธรรมชาติ หรืออาจ
4. จะเกิดเพราะความเผลอเรอของมนุษย์
5. สูญไปเพราะโรคของต้นไม้และแมลง

วิธีอนุรักษ์ป่ าไม้
1. ป้ องกันไม่ให้เกิดไฟป่ า
2. ป้ องกันแมลงและโรคของต้นไม้
3. ป ลูกต้นไม้เพิ่ม
4. หาสิ่งอื่นทดแทนไม้
5. ป้ องกันการพังทลายของดิน
6. กำหนดเขตที่เป็ นแหล่งทำมาหากิน
7. ให้การศึกษาแก่ประชาชนและขอความร่วมมือในการอนุรักษ์ป่ าไม้
331
เรื่องสั้น
เรื่อง “แก้ไม่หาย”

หญิงผู้หนึ่งมีสามีเป็ นคนขี้เมาหยำเป จึงคิดแผนการจะให้สามีอดเหล้า


เธอคอยจนกระทั่งสามีเมาได้ที่จนไม่รับรู้อะไรในโลกนี้แล้ว จึงแบกเขาขึ้นบ่าพาไปเก็บ
ไว้ในสุสาน พอคะเนว่า สามีน่าจะสร่างเมาแล้ว จึงกลับมาเคาะประตูสุสาน
“ใครนะ” เขาถาม เธอตอบว่านำอาหารมาเซ่นคนตาย
“ข้าไม่ต้องการอาหารของแกหรอกแกเอ๋ย” เขากล่าว เอาเหล้ามาดีกว่า
ข้าต้องการเหล้า ได้ยินไหม”
เมื่อได้ยินดังนั้น หญิงสาวก็ตีอกชกหัวตัวเองแล้วรำพันว่า “โธ่เอ๋ย !
ข้าได้ทำดีที่สุดแล้ว เพื่อที่จะให้บทเรียนกับแก แต่ดูซิกลับทำให้แกร้ายยิ่งกว่าเดิม
เสียอีก นิสัยขี้เหล้าของแกติดแน่นในสันดานเสียแล้ว”

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า อย่าได้หลงไหลไปกับอบายมุข เพราะต่อไป


แม้จะอยากแก้นิสัยก็แก้ไม่ได้เสียแล้ว

ใบงาน
วิธีการเล่าเรื่องสั้น

คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 2 ช่วยกันหาวิธีการเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลูกกตัญญู”


2. ตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
332
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่ช่วยกันสรุปและเขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา
เรื่องสั้น เรื่อง “ลูกกตัญญู”
ยังมีครอบครัวที่ยากจนอยู่ครอบครัวหนึ่ง มีลูกชายกับแม่ผู้ตาบอด
ลูกต้องทำงานทุกอย่างเพื่อเลี้ยงแม่ วันหนึ่ง ชายยาจกเข้าป่ าเพื่อตัดฟื นไปขาย
เทวดาสงสารชายหนุ่ม เพราะเห็นเป็ นคนดี จึงปลอมตัวเป็ นหญิงแก่แกล้งทำ
ทองแท่งหล่นไว้ ชายหนุ่มเห็น จึงวิ่งไปเก็บคืนให้หญิงแก่เจ้าของ หญิงแก่
เลยยกทองให้ชายหนุ่ม แต่ชายหนุ่มบอกว่า “อยากได้ลูกตาไปใส่ให้แม่มากกว่าได้
ทอง” หญิงแก่บอกว่าได้ แต่ต้องมีการแลกเปลี่ยน คือ ตาเจ้าต้องบอดแทน
ชายหนุ่มบอกตกลง หญิงแก่คนนั้น จึงควักเอาดวงตาของชายหนุ่มไป และให้
ชายหนุ่มนำทองกลับบ้าน โดยเดินคลำทางมาตลอดเพราะตาบอด ชายหนุ่ม
เดินทางกลับบ้าน ด้วยความยากลำบาก เมื่อกลับมาถึงบ้านได้พบว่าแม่ตา
หายบอดแล้ว พอเขาส่งทองให้แม่ ตาของเขาที่บอดก็หาย มองเห็นอย่างเดิม
ต่อจากนั้น เขาก็กลายเป็ นคนร่ำรวย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ เป็ นสิ่งจำเป็ นมากในปัจจุบัน ถ้าเรามองข้ามไป
จะเสียหายต่อประชากรของประเทศไทย และของโลกในอนาคตได้ ทั้งยังต้องเรียนรู้ในเรื่อง
การสงวนน้ำและการขยายพันธุ์สัตว์น้ำด้วย
333

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกการสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำได้
1. บอกวิธีการสงวนน้ำได้
2. บอกวิธีการสงวนพันธุ์สัตว์น้ำได้

เนื้อหาสาระ
การอนุรักษ์น้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “กองจู่โจม”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาเกี่ยวกับการสงวนน้ำ , พันธุ์สัตว์น้ำ
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปตามฐาน ศึกษา ใบความรู้ที่
5. เรื่อง การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ จากรองผู้บังคับบัญชาที่ประจำฐาน ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง การสงวนน้ำ
ฐานที่ 2 เรื่อง การสงวนพันธุ์สัตว์น้ำ
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ตัวแทนลูกเสือหมู่ที่ 2 เล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลูกกตัญญู”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสนอแนะ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นภาพสัตว์น้ำ
3. หนังสือพระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490
4. เกม “กองจู่โจม”
5. ใบความรู้ เรื่อง “การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ”
334
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ผู้บังคับบัญชามีเวลาในการสอนกิจกรรมลูกเสือ แล้วให้พาลูกเสือ
2. ไปดูการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำ ลำคลอง หรือไปตามภูเขา เพื่อไปดูการพัง
ทลาย ของหน้าดิน ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แต่ละปี
335
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
336
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
337
เกม “กองจู่โจม”

วิธีการเล่น
แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 พวก คนโต ๆ เป็ นม้า คนเล็ก ๆ เป็ นทหาร
คนกลาง ๆ เป็ นพยาบาล คนพยาบาลอยู่หลังกองทัพ เมื่อกองทัพปะทะกัน ถ้าทหาร
คนใดตกจากหลังม้ามา ให้หน่วยพยาบาลเข้าทำการทำบาดแผล โดยการพันบาดแผลให้

ใบความรู้
เรื่อง การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ
การสงวนน้ำ
338
ปัญหาเรื่องน้ำที่สำคัญสำหรับประเทศไทยเรา ซึ่งส่วนมากอยู่ในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ นอกจากนั้นก็อยู่ตามบริเวณเงาฝน ถ้าพิจารณาถึงปริมาณน้ำฝนที่ตกใน
ประเทศไทยแล้ว เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 50 นิ้ว ซึ่งก็คงจะไม่ เดือดร้อนหรือมีปัญหา
1. โคลนตมที่แฝงตัวอยู่ในน้ำ ซึ่งเกิดจากการพังทลายของดิน ซึ่งสิ่งเหล่านี้
อาจเป็ นอันตราย ต่อน้ำบริโภคและเขื่อนกั้นน้ำ
2. สิ่งสกปรก ที่ถ่ายเทออกมาจากบริเวณเมืองบรรดาสิ่งสกปรกในบริเวณตัว
เมืองที่มีคนอาศัยอยู่ มักจะถ่ายเทหรือระบายลงในแม่น้ำหรือลำธาร ซึ่งก็ทำให้น้ำนั้นสกปรก
ไปด้วย
3. สิ่งสกปรกตามโรงงานต่าง ๆ มักจะถ่ายสิ่งสกปรกหรือน้ำที่ใช้ทางอุตสาหกรรม
ที่เสียนั้นลงในแม่น้ำลำคลอง
4. สิ่งสกปรกที่ถ่ายเทออกจากเหมืองแร่
5. สิ่งสกปรกที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์

ใบความรู้
เรื่อง การสงวนน้ำและพันธุ์สัตว์น้ำ
การสงวนพันธุ์สัตว์น้ำ
การสงวนพันธุ์สัตว์น้ำ ตามพระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490 ได้
กำหนดการสงวนพันธุ์สัตว์น้ำไว้ดังนี้
1. ห้ามจับ ดัก ล่อ ทำอันตราย เต่าหรือกระทะเล
2. ห้ามจับปลาฤดูวางไข่ ปลาน้ำจืด 16 พฤษภาคม – 15 กันยายน ของทุกปี
3. ห้ามจับปลาทูในฤดูวางไข่ 1 มกราคม – 30 เมษายน ทุกปี
4. ห้ามใช้กระแสไฟฟ้ าทำการประมง
339

ข้อสังเกต
1. การจับสัตว์น้ำโดยไม่มีขอบเขตตามฤดูกาล มักจะจับสัตว์น้ำเพื่อ
เป็ นอาหาร เพื่อขาย เพื่อสนุกสนาน เป็ นเหตุให้สัตว์น้ำหลายพันธุ์ สูญหายไป
2. การทำลายแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ หรือแนวที่อยู่ในการผสมพันธุ์ปลาหรือ
สัตว์น้ำอื่น ๆ ทำให้ประชากรสัตว์น้ำลดลง หรือใกล้สูญพันธุ์
3. สารเคมีเป็ นอันตรายอย่างยิ่งกับสัตว์น้ำ โดยรู้เท่าไม่ถึงการนำไปใช้ใน
การเกษตร ในการจับปลา หรือการทิ้งขยะ สารเคมีที่มีผลทำอันตรายกับสัตว์น้ำ จะมีฤทธิ์
ทำให้สัตว์น้ำถึงแก่ความตายได้อย่างมากมายในครั้งเดียว
340
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การก่อกองไฟ (ผู้จัดการค่ายพักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม เป็ นกิจกรรมที่ใช้ชีวิตกลางแจ้ง เป็ นการส่งเสริมให้ทุกคน
รู้จักช่วยเหลือตนเอง และผู้ร่วมงาน ต้องเรียนรู้การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน ต้องช่วยก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ ใช้ชีวิตอยู่ได้ภาย
ใต้เงื่อนไขที่มีข้อจำกัด

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกลักษณะกองไฟ และ ก่อได้อย่างถูกต้อง
1. ปฏิบัติสร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอนได้
2. ปฏิบัติการก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟได้

เนื้อหาสาระ
1. การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
2. การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “แข่งจระเข้”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การก่อกองไฟ การใช้ฟื น–ถ่านหุงต้ม
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม ไปศึกษาและฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน จุดละ 10 นาที โดยมี
รองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิต ดังนี้
จุดที่ 1 การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
จุดที่ 2 สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือเลือกคติสอนใจไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
341
10. มอบใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า และ
เครื่องนอน ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่บ้านแล้ว นำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือ
แต่ละคน
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. รูปภาพเกี่ยวกับการก่อกองไฟแบบต่าง ๆ ในการอยู่ค่าย
3. เกม “แข่งจระเข้”
4. ใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
342
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
343
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
344
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “แข่งจระเข้”

วิธีเล่น
ให้แต่ละหมู่เข้าแถวตอน ระยะเคียงห่างกัน 1 เมตร แล้วนั่งลง
345
บนส้นเท้า คนหลังให้เกาะไหล่คนที่อยู่ข้างหน้าตามลำดับ คนหน้าสุดคือ นายหมู่ให้นั่ง
กอดอก ทุก ๆ หมู่ จะต้องเคลื่อนที่ไปยังจุดข้างหน้า ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ
10 เมตร ด้วยการกระโดดไปข้างหน้า หรือขยับเท้าก้าวไปข้างหน้าพร้อม ๆ กัน
ในสภาพที่นั่งอยู่ และไม่ให้แถวขาด พร้อมทั้งต้องเกาะไหล่กันอยู่ตลอดไป ใครถึง
เส้นชัยก่อน ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

เรียนระบบอิสระ 2 จุด ดังนี้

จุดที่ 1 การก่อกองไฟ สำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ


การใช้ฟื น – ถ่านหุงต้ม

จุดที่ 2 การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้า


346
และเครื่องนอน
347

เรื่องสั้น
เรื่อง “ทำคุณ บูชาโทษ”

หมาป่ าตัวหนึ่ง ต้องทนทุกข์ทรมาน เพราะก้างปลาติดคอ มัน


พยายามตามหาผู้ที่สามารถจะช่วยให้มันพ้นจากความทรมานนี้ ในที่สุด ก็ได้พบ
นกกระสา จึงเอ่ยปากขอความช่วยเหลือ โดยสัญญาว่าจะจ่ายค่าจ้างให้ นกกระสา
จึงเอาจะงอยปากล้วงเข้าไป คีบก้างปลาออกจากคอหมาป่ า เสร็จแล้วทวงค่าจ้าง
หมาป่ าจึงพูดว่า “เฮอะ เจ้ายังไม่พอใจอีกหรือ ที่สามารถเอาหัวออกปากข้าได้
ยังจะมีหน้ามาเรียกร้องค่าจ้างอีก”

ใบความรู้
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้าและเครื่องนอน
การก่อกองไฟ
การก่อกองไฟเป็ นกิจกรรมที่ลูกเสือทุกคน จะต้องปฏิบัติได้ ในขณะ
ที่เข้าค่ายพักแรม แต่การก่อกองไฟแต่ละครั้ง จะต้องมีจุดมุ่งหมาย ว่าจะก่อกองไฟ
เพื่ออะไร จะใช้ปรุงอาหาร จะใช้แสงสว่าง เพื่อจะได้เลือกสถานที่ให้เหมาะสม
348

ข้อปฏิบัติในการก่อกองไฟ
1. รู้จุดมุ่งหมายในการก่อกองไฟ
2 . เตรียมอุปกรณ์ในการก่อกองไฟให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. จัดสถานที่ให้เกิดความปลอดภัย เพื่อป้ องกันเศษไฟที่ จะกระเด็นออกไปลุก
ไหม้บริเวณข้างเคียงได้
การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
การก่อกองไฟ สำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ โดยทั่วไปแล้วนิยม
ก่อกองไฟเป็ น 3 แบบ คือ
แบบกระโจม
การก่อกองไฟแบบนี้ จะสิ้นเปลืองฟื นมาก เพราะไฟติดเร็วเหมาะ
สำหรับงานที่ต้องการความร้อน และแสงสว่างมาก ๆ
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบกระโจม

การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
แบบนี้ให้ความร้อนดี แต่แสงสว่างจะไม่มากนัก สิ้นเปลืองฟื นไม่มาก
โดยนำฟื นมาวางเรียงกันเป็ นชั้น ๆ สลับกันไป

ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
349

แบบผสม
เป็ นการก่อกองไฟแบบกระโจม และแบบเชิงตะกอนผสมกัน ให้
แสงสว่างมาก เหมาะสำหรับการแสดงรอบกองไฟ ในเวลาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม
โดยวางฟื นดังนี้
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบผสม

ข้อระวังในการก่อกองไฟ
1. เมื่อเลิก งานแล้วต้องดับไฟให้เรียบร้อย ด้วย น้ำ ทราย หรือดินเปี ยก ๆ
2. ปรับสถานที่ ที่ใช้ก่อกองไฟให้เรียบร้อย โดยการเก็บกวาดเศษไม้ หรือ เถ้า
ถ่านออกให้หมด จนมีสภาพเหมือนเดิมทุกอย่าง

การตากผ้า และเครื่องนอนที่เปี ยกชื้นให้แห้ง ในระหว่างการอยู่


ค่ายพักแรม ในการไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะมีเสื้อผ้าและเครื่องนอนไปจำนวน
จำกัด ดังนั้น จึงจำเป็ นต้องรักษาให้สะอาดและใช้การได้อยู่เสมอ ในกรณีที่เปี ยกชื้น
จะต้องทำให้แห้งโดยเร็ว และถ้าในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรมมีฝนตก ยิ่งจำเป็ น
ที่จะต้องทำให้เสื้อผ้าแห้งอย่างรวดเร็วเท่าที่จะทำได้
ต่อไปนี้เป็ นข้อเสนอแนะในการตากผ้าให้แห้งเร็วขึ้น
1. ทำไม้แขวนเสื้อ แทนที่จะตากเสื้อผ้าหรือเครื่องนอนกับราวตากผ้า ควรทำไม้
แขวนเสื้อผ้า จากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น จะช่วยให้น้ำระเหยเร็ว เพราะเสื้อผ้ามีพื้นที่ที่จะ
รับลมได้มากขึ้น
350
2. ในกรณีที่ฝนตก ไม่สามารถตากเสื้อผ้ากลางแจ้งได้ อาจจะแขวนไว้เหนือเตาไฟ
ที่ใช้ประกอบอาหาร แต่ควรระวังไม่ให้เสื้อผ้าถูกควันไฟ
3. ในกรณีที่มีแดดออก ควรให้เสื้อผ้าได้รับแสงแดดบ้างจะช่วยให้เสื้อผ้า ไม่มีกลิ่น
อับชื้น
4. ในกรณีที่จำเป็ น ไม่สามารถจะตากเสื้อผ้าให้แห้งได้อย่างรวดเร็ว ควรแขวน
เสื้อผ้าไว้ในที่ที่มีลมพัดผ่านได้สะดวก เพื่อป้ องกันไม่ให้เสื้อผ้าอับชื้น
5. ถ้าอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเวลาหลายวัน ควรนำเครื่องนอนออกผึ่งแดดบ้างเป็ น
ครั้งคราว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ (ผู้จัดการค่ายพักแรม ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม การกางเต็นท์เป็ นสิ่งจำเป็ นอย่างยิ่งของลูกเสือ ในการ
สร้างระบบหมู่ ระเบียบ วินัย ความอดทนและแก้ไขปัญหาได้อย่างดียิ่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของเต็นท์และกางเต็นท์ได้
1. บอกส่วนประกอบของเต็นท์ได้
2.ปฏิบัติการกางเต็นท์ได้
3.ปฏิบัติการป้ องกันไฟไหม้ในขณะพักแรมได้
351

เนื้อหาสาระ
1. เต็นท์ลูกเสือ
2. การระวังป้ องกันไฟป่ า

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “พาไปเที่ยว”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 2 ฐาน โดยแต่ละฐาน
มีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือ
ปฏิบัติ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิตการกางเต็นท์
ฐานที่ 2 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิต การระวังป้ องกัน
ไฟไหม้ ระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
11. ลูกเสือหมู่ที่ 3 รับใบภาระงานที่ 14.1
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
13. มอบใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อ
ที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
14. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เต็นท์และอุปกรณ์เต็นท์
2. แผนผังการกางเต็นท์
3. รูปภาพของการรักษาขยะ
4. รูปภาพของอาหาร 5 หมู่ และการเก็บรักษา
5. เพลง “พาไปเที่ยว”
6. ใบความรู้ เรื่อง “การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ”
7. แถบบันทึกเสียง เรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
352
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เพื่อให้ลูกเสือได้ปฏิบัติจริงผู้บังคับบัญชาเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เพียงพอ
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือบุกเบิกเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน
353
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
354
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
355

เพลง “พาไปเที่ยว”

พวกเราจะไป รถไฟ – พวกเราจะไปรถยนต์


พวกเราจะไปไอพ่น – พวกเราทุกคนจะไปไอพ่น
จะไปรถยนต์ จะไปรถไฟ – ฉึกฉัก ปิ้น ปิ้น บึ้น บึน บึน บึน

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”

แขกผู้หนึ่ง มาถึงบ้านคนดักนกช้าไปหน่อย เจ้าภาพไม่เหลืออะไรไว้


356
ต้อนรับเลย จึงฆ่านกกระทาที่เลี้ยงไว้ นกกระทาทวงบุญคุณว่ามันทำประโยชน์
โดยเป็ นนกต่อล่อนกตัวอื่น ๆ มาติดตาข่าย ทำให้เขาจับนกได้
คนดักนกก็พูดขึ้นว่า “นั่นเป็ นเหตุผลที่สมควรที่สุด เพราะเจ้าไม่มี
ความเมตตาแม้แต่กับญาติพี่น้องของเจ้าเอง”
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า เพื่อนที่ทรยศไม่เพียงแต่เป็ นที่เกลียดชัง
ของผู้ที่ถูกทรยศเท่านั้น แต่ยังได้รับความเกลียดชัง จากบุคคลที่สั่งให้
เขากระทำการอันนั้นด้วย

ใบงาน
วิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น

คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 3 ช่วยกันหาวิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น เรื่อง“เกิดมาให้ทุกข์


ทรมาน”
2. หาตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่ช่วยกันสรุปและเขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา

เรื่องสั้น เรื่อง “เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน”


357
นกพิราบตัวหนึ่ง ถูกขังอยู่ในกรง มันพูดโอ้อวดอย่างภาคภูมิใจว่ามี
ครอบครัวที่ใหญ่มาก เมื่อกาได้ยินดังนั้นจึงพูดว่า “หยุดคุยโวเสียเถอะเพื่อน ยิ่งเจ้า
มีลูกมากเท่าไร ก็จะยิ่งนำความเศร้าหมองมาสู่ใจเจ้ามากเท่านั้น”
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนที่เป็ นทาสนั้น เมื่อมีลูกหลานเกิดมา
ก็ต้องปวดร้าวใจ เพราะลูกหลานต้องตกอยู่ในสภาพทาสด้วย

ใบความรู้
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ

การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
1. เต็นท์รวมหรือเต็นท์ขนาดใหญ่ แบบเป็ นผ้าเต็นท์สี่เหลี่ยมธรรมดา
ภาพประกอบ การกางเต็นท์รวมหรือเต็นท์ใหญ่
358
2. เต็นท์หมู่สำเร็จรูป
ภาพประกอบ การกางเต็นท์หมู่สำเร็จรูป

การพับเต็นท์
การพับเต็นท์หมู่สำเร็จรูป มีลำดับขั้นตอน ดังนี้
1. นำเต็นท์สำเร็จรูป ซึ่งทำความสะอาดใต้พื้นเต็นท์เรียบร้อยแล้ว วางบน
พื้นที่สะอาด แผ่ออกเป็ นรูปสี่เหลี่ยม ตามขนาดของพื้นเต็นท์
2. แบ่งส่วนกว้างของพื้นเต็นท์ออกเป็ น 4 ส่วน แล้วพับส่วนข้างทั้งสองเข้าหา
กัน ให้ทับผ้าเต็นท์ ซึ่งเป็ นส่วนของหลังคา ที่กองแนบเรียบติดพื้นล่างของเต็นท์แล้ว
3. โดยพับสองข้างเข้าหากันที่กึ่งกลาง เสร็จแล้วพับตรงแนวกึ่งกลางนั้นอีกครั้ง
จะเห็นเฉพาะพื้นเต็นท์เป็ นรูปสี่เหลี่ยมยาว
4. เก็บอุปกรณ์เสา คาน และสมอบกรวมกันใส่ถุงเล็ก ๆ เรียบร้อยแล้ว นำมา
วางบนพื้นเต็นท์ที่พับแล้ว โดยวางขวางกับด้านยาวของพื้นเต็นท์ตรงริมใดริมหนึ่ง แล้วม้วน
เต็นท์ที่พับทับถุงอุปกรณ์ จนได้เป็ นรูปกลมทรงกระบอก (การม้วนนั้น ควรจะม้วนจากด้าน
หัวเต็นท์ไปหาด้านประตูเต็นท์) ใช้เชือกมัดไว้
5. นำเต็นท์ที่ม้วนแล้วนั้นบรรจุถุงของเต็นท์เพื่อเก็บรักษาต่อไป

การป้ องกันไฟไหม้ระหว่างอยู่ค่ายพักแรม

สาเหตุของไฟไหม้
ไฟไหม้ที่เกิดขึ้นระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม อาจเกิดขึ้นได้จากกรณีต่อไปนี้
1. เกิดจากไฟป่ า
2.เกิดจากไฟที่ชาวบ้านเผาป่ า
3.เกิดจากความสะเพร่าของลูกเสือ
359
การป้ องกัน
เพื่อป้ องกันข้อบกพร่องดังกล่าว เมื่อลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม ควรเตรียม
การป้ องกันไฟไหม้ไว้ด้วย กล่าวคือ
1. บริเวณที่ตั้งค่ายโดยรอบควรเก็บกวาดและเผาใบไม้แห้งให้สะอาด
2. ถ้าบริเวณโดยรอบที่ตั้งค่ายมีหญ้าแห้ง ควรถากถางให้เป็ นแนว
3. กองไฟที่ใช้ประกอบอาหาร กองไฟที่ใช้ในการชุมนุมรอบกองไฟ เมื่อเลิกใช้
แล้วต้องดับให้สนิท
360

4. ไฟที่ลูกเสือใช้เพื่อแสงสว่างในเวลากลางคืน เช่น เทียนไข หรือตะเกียง


น้ำมัน ควรทำที่ตั้ง หรือแขวนให้เหมาะสม
5. ตรวจตราความเรียบร้อยของค่ายพักแรมเป็ นประจำ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
361
เรื่อง สุขาภิบาล (ผู้จัดการค่ายพักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม การสุขาภิบาลเป็ นสิ่งจำเป็ นอย่างยิ่งของลูกเสือ จะสร้าง
สุขอนามัย ความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อมที่ดี ระเบียบ วินัย ความอดทน และแก้ไข
ปัญหาได้อย่างดียิ่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกการระวัง รักษาอาหาร การกำจัดขยะและสร้างส้วมชั่วคราวได้
1. บอกการระวังรักษาอาหารได้
2. บอกการรักษาน้ำดื่มได้
3. ปฏิบัติการหุงต้มอาหารได้
4. ปฏิบัติการกำจัดขยะได้
เนื้อหาสาระ
1. การระวังรักษาอาหารและเครื่องดื่ม
2. การกำจัดขยะ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “บอลยิ้ม”
3. สนทนาเกี่ยวกับการระวังรักษา น้ำดื่ม ส้วม การกำจัดขยะ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็ น 5 กลุ่ม ไปตามฐานศึกษา ใบความรู้ที่ 15.1
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม การกำจัดขยะ จากรอง ผู้บังคับบัญชาที่ประจำ
ฐานดังนี้(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)

ฐานที่ 1 เรื่อง การระวังรักษาอาหาร


ฐานที่ 2 เรื่อง การระวังรักษาน้ำดื่ม
ฐานที่ 3 เรื่อง การระวังรักษาที่หุงต้มอาหาร
ฐานที่ 4 เรื่อง การกำจัดขยะ
ฐานที่ 5 เรื่อง การสร้างและระวังรักษาส้วมชั่วคราว
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ตัวแทนลูกเสือหมู่ที่ 3 เล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน” พร้อมคติ
สอนใจ
362
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10 ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. รูปภาพของการกำจัดขยะ
2. รูปภาพของอาหาร 5 หมู่ และการเก็บรักษา
3. เกม “บอลยิ้ม”
4. ใบความรู้ เรื่อง “การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ”
363
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
364
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
365
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
366

เกม “บอลยิ้ม”
วิธีการเล่น
ให้ลูกเสือเข้าแถวเป็ นรูปวงกลม แต่ละคนห่างกันไปประมาณ 1 ก้าว
แล้วให้นับ 2 แบ่งครึ่งวงกลมเป็ นจุดเริ่มต้น เช่น มีลูกเสือ 24 คน จุดแรกให้เริ่ม
คนที่นับ 1 จุดที่ 2 ให้เริ่มคนที่ 14
อุปกรณ์
ลูกฟุตบอล 2 ลูกเมื่อลูกเสือพร้อมแล้ว ผู้ฝึกแจกลูกบอลให้คนที่นับ 1 กับคนที่
นับ 14 พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้คนนับ 1 โยนลูกบอลให้คนที่นับ 1 เหมือนกัน
ซึ่งอยู่ถัดไปแต่มีคนนับ 2 คั่นอยู่ (คือ ให้โยนลูกบอลข้ามคนหนึ่งนั่นเอง) และ
ในขณะเดียวกัน คนที่นับ 14 ซึ่งเป็ นคนนับ 2 ก็โยนลูกบอลให้คนที่อยู่ถัดไป
อีกคนหนึ่ง ทั้งผู้โยนและผู้รับต้องร้อง 1 – 2 ตามที่ตัวนับด้วย การโยนลูกบอลให้โยน
ไปทางเดียวกัน ฝ่ ายใดโยนลูกบอลได้เร็ว ลูกบอลก็ไล่ฝ่ ายที่โยนและรับช้าเข้าไป
ทุกที ฝ่ ายใดไล่ทันอีกฝ่ ายหนึ่ง ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การระวังรักษาอาหาร
การระวังรักษาอาหารที่นำไปรับประทานในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
มีข้อควรระวัง ดังต่อไปนี้
367
1. การป้ องกันอาหาร ไม่ให้บูดเน่าหรือเสียหาย ทั้งยังรักษาคุณค่าทางอาหาร
ไว้ได้นาน ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในที่มีอากาศร้อนอบอ้าว ถ้าเป็ นอาหารประเภทเนื้อสด ควร
ทำให้สุกและใส่น้ำปลาหรือเกลือ เพื่อไม่ให้เน่าเสีย
2 .การป้ องกันอาหารไม่ให้ฝุ่ นละอองปลิวลงควรปกปิ ดอาหารให้มิดชิด
3. การป้ องกันอาหารไม่ให้สัตว์บางชนิดรบกวน ในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
สัตว์ที่มักจะเข้ามารบกวน มาลักขโมยอาหารหรือคุ้ยเขี่ยอาหารให้เสียหาย เช่น สุนัข มด
นก ลิง ฯลฯ ในบริเวณที่อยู่ค่ายพักแรม ควรหาวิธีป้ องกันมิให้สัตว์เหล่านั้นมารบกวน เช่น
ควรทำที่เก็บอาหารให้สูง หรือแขวนอาหารไว้กับต้นไม้แล้วใช้น้ำมันพืชทาเชือก หรือใช้
เถาวัลย์แขวนอาหาร หรือหล่อน้ำไว้
ภาพประกอบ ที่เก็บอาหาร
368

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การระวังรักษาน้ำดื่ม

น้ำดื่มเป็ นสิ่งจำเป็ นสำหรับร่างกาย ในวันหนึ่ง ๆ ร่างกายควรได้รับน้ำสะอาด


อย่างเพียงพอ การไปอยู่ค่ายพักแรมบางแห่ง เราอาจหาน้ำที่สะอาด เหมาะแก่การดื่มได้
ยาก ลูกเสือจึงควรทราบวิธีการที่จะทำให้น้ำสะอาด และเก็บรักษาไว้ดื่มได้ โดย
ปราศจากอันตราย ดังนี้
1. การทำน้ำให้สะอาดโดยการใช้ความร้อน
2. การใช้สารเคมีใส่ฆ่าเชื้อ
3. เก็บไว้ในภาชนะที่สะอาดและปิ ดให้มิดชิด

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
369
การระวังรักษาที่หุงต้มอาหาร
เตาที่ใช้ในการหุงต้มอาหารระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม มีหลายแบบการใช้เตา
แบบใด ย่อมแล้วแต่สภาพของสถานที่ที่ลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม ไม่ว่าลูกเสือจะใช้เตา
ประกอบอาหารแบบใดก็ตาม ควรรู้จักวิธีการรักษาเตาที่ใช้ประกอบอาหารให้ใช้ได้ผลดีตลอด
เวลา ดังนี้
1. ถ้าไปอยู่ค่ายพักแรมในฤดูฝน ควรทำเพิงปิ้งกันไม่ให้เตาเปี ยกฝน
2. หลังจากใช้เตาแต่ละครั้งแล้ว ควรดับไฟและทำความสะอาดเตาให้เรียบร้อย
อย่าให้มีขี้เถ้าเหลือทิ้งอยู่ในเตา
3. ต้องสร้างเตา ให้มีความแข็งแรงพอ ที่จะใช้ได้ตลอดการอยู่ค่ายพักแรม
4. ลักษณะของเตา ควรให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อฟื นจะได้ลุกไหม้ได้ดี
และให้ความร้อนสูง ไม่เสียเวลาในการปรุงอาหาร
ภาพประกอบ เตาแบบต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบอาหาร

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
กำจัดขยะ
1. หลุมแห้ง สำหรับทิ้งขยะมูลฝอย เศษอาหารแห้ง
ภาพประกอบ หลุมแห้ง
370

2. หลุมเปี ยก สำหรับเทน้ำที่ใช้ล้างแล้วทิ้ง
ภาพประกอบ หลุมเปี ยก
371

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การสร้างและระวังรักษาส้วม
1. ขุดดินให้เป็ นหลุมสี่เหลี่ยม แล้วใช้ไม้พาดปากหลุมให้ขนานกัน ห่างกันพอที่

ลูกเสือจะนั่งถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะได้สะดวก
2. ทำที่กั้นหลุมถ่ายอุจจาระด้วยผ้าใบ ผ้าพลาสติก เสื่อรำแพน หรือวัสดุ
ธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น หญ้าคา แฝก ทางมะพร้าว เป็ นต้น

ภาพประกอบ ส้วมชั่วคราว

ภาพประกอบ ส้วมชั่วคราวแบบไม่มีที่กั้น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39
372
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เครื่องมือ เครื่องใช้ในการอยู่ค่ายพักแรม (ผู้จัดการ
ค่ายพักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ผู้จัดการค่ายพักแรม ในคาบนี้จะหมายถึงการจัดการเครื่องมือเครื่องใช้ในการ
อยู่ค่ายพักแรม ซึ่งเป็ นเรื่องจำเป็ นในการอยู่ค่ายพักแรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
จัดการกับเครื่องมือเครื่องใช้ ได้
1. บอกหลักการใช้เครื่องมือได้
2. บอกวิธีเก็บรักษาเครื่องมือได้

เนื้อหาสาระ
เครื่องมือในการอยู่ค่ายพักแรม

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “เป็ ด”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การใช้ขวาน / เลื่อย / ค้อน
4. นำลูกเสือไปฟังคำอธิบายและสาธิต แล้วให้ลูกเสือฝึกปฏิบัติ จากรองผู้บังคับ
บัญชาประจำจุดทีละจุด จุดละ 8 นาทีตามลำดับดังนี้
จุดที่ 1 การใช้และเก็บรักษาขวานโค่นต้นไม้
จุดที่ 2 การใช้และเก็บรักษาเลื่อย
จุดที่ 3 การใช้และเก็บรักษาการใช้ค้อนหนัก

5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
7. มอบใบความรู้ เรื่อง การใช้ขวาน เลื่อย ค้อน ไปศึกษา เพิ่มเติมที่บ้าน
แล้วให้นำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของ ลูกเสือแต่ละคน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “มองต่างมุม”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือเลือกคติสอนใจไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
373
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. อุปกรณ์ใช้ในการสาธิต ขวาน , เลื่อย , ค้อน
3. เพลง “เป็ ด”
4. ใบความรู้ เรื่อง การใช้ขวาน , เลื่อย , ค้อน
5. เรื่องสั้น เรื่อง “มองต่างมุม”
374
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
375
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( .......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
376
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “เป็ ด”
377
ยามเมื่อเป็ ด มันเดินมา มองดูแล้ว ไม่น่าดูเลย
จำไว้เถิดเพื่อน เอ๋ย อย่าได้เดินเหมือนเป็ ด

เรื่องสั้น
เรื่อง “มองต่างมุม”
ขโมยกลุ่มหนึ่งเข้าไปในบ้านหลังหนึ่ง เพื่อขโมยของ แต่ไม่พบอะไร นอกจากพ่อ
ไก่ จึงฉวยเอาไปด้วย ขณะที่พวกขโมยกำลังจะเชือดไก่นั่นเอง ไก่ก็ร้องขอชีวิต โดยอ้างว่า
ทำประโยชน์ให้กับคน ด้วยการปลุกพวกเขาในตอนเช้า เพื่อให้เริ่มทำงาน
ขโมยตอบว่า “เหตุผลที่ควรจะฆ่าเจ้าเป็ นที่สุด ก็คือ การที่เจ้าปลุกคน
ขึ้นมานั่นแหละ เพราะทำให้พวกข้าเข้าไปขโมยของไม่ได้
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ผลประโยชน์ของคนที่ซื่อสัตย์ เป็ นอุปสรรค
378
ที่ร้ายกาจของคนเลว
379

ใบความรู้
เรื่อง การใช้ขวาน, เลื่อย, ค้อน
การใช้เครื่องมือในการอยู่ค่ายพักแรม
ภาพประกอบ ส่วนต่าง ๆ ของขวาน

หลักการใช้ขวาน
1. ใช้ให้ได้งาน คือ ต้องหมั่นลับให้คม ใช้ขวานให้พอเหมาะกับขนาดของงาน
2. ใช้ให้นาน คือ รู้จักวิธีเก็บรักษาให้ดี ใช้แล้วล้างให้สะอาดทาน้ำมันอย่าให้
เกิดสนิม
3. ใช้ให้ปลอดภัย คือ นำไปให้ดี ไม่ให้เป็ นอันตรายแก่ตัว
ข้อควรระวังในการใช้ขวาน
1. จงหันคมขวานออกนอกตัว
2. ถ้าเป็ นขวานเล็ก จับที่ตัวขวานปล่อยด้ามขวานชี้ลง หันคมขวานไปทาง
ด้านหลังคมขวานจะบิดออกนอกตัว ตัวขวานจะขนานกับพื้น
3. เวลาส่งขวาน ให้จับปลายด้ามขวาน ปล่อยให้ตัวขวานห้อยลง
ให้ด้านข้างของตัวขวาน หันเข้าหาตัวผู้ส่งและผู้รับ คมขวานจะหัน
ออกข้าง ๆ
4. ขวานชนิดมีหน้ากากให้สวมหน้ากาก แล้วติดห้อยที่เข็มขัดทางด้านหลัง
ข้างแก้มก้น หันคมไปทางด้านซ้ายของผู้นำขวานไป
5. อย่าใช้ขวานถากฟันวัตถุที่แข็งเกินไปจนคมทื่อ บิ่น

6. การถือต้องระมัดระวังอย่าให้เป็ นอันตรายต่อผู้อื่นและตัวเอง
7. รักษาคมให้สะอาดเสมอก่อนใช้ ควรเช็ดให้สะอาด และหลังใช้ก็ต้องให้
สะอาด อย่าลืมทาน้ำมันกันสนิมก่อนเก็บให้เรียบร้อย
8. อย่าเอาขวานลนไฟ
380
9. อย่าวางขวานไว้บนพื้นดิน พื้นหญ้า หรือ พื้นบ้านจะเป็ นอันตราย ถ้าเตะ
หรือหกล้มไปถูกเข้า
10. ควรสับขวานเก็บไว้กับต้นไม้ เมื่อไม่ใช้งานแล้ว หรือเก็บไว้ในที่เฉพาะ
11. รู้จักลับคมขวานให้คมสม่ำเสมอ และเก็บไว้ให้ดี
ภาพประกอบ การพกพา การส่งขวาน การเก็บขวาน
381
การใช้เลื่อยลันดา
ในขณะที่เราชักเลื่อยขึ้นและลงนั้น ต้องพยายามดึงขึ้นและลงให้ได้ฉาก คือ
ดึงให้ตรงนั่นเอง ถ้าผู้ปฏิบัติดึงเลื่อยขึ้น และลงไม่ตรงแล้ว ด้านบนไม้จะเลื่อยได้ตรง
เส้น แต่ด้านล่างของไม้เลื่อยจะกินเฉออกไปทางใดทางหนึ่ง

ภาพประกอบ การเลื่อยไม้

การใช้ค้อนหนักตอกเสา เนื่องจากค้อนมีน้ำหนักมากเวลาตอก ควรระมัดระวังมิ


ให้ค้อนพลาดมาทำอันตรายคนที่อยู่ใกล้เคียง หรือ ผู้ตอกเอง ควรหาไม้รองหัวเสาที่จะตอก
เพื่อป้ องกันมิให้หัวเสาแตก
ภาพประกอบ ค้อน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


382
กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาล (ผู้จัดการค่าย
พักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเป็ นเรื่องจำเป็ นมากในการอยู่ค่ายพักแรม ซึ่งจะมี
เนื้อหาถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาล ในเวลาที่เรา
ไปเข้าค่ายพักแรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลและบรรจุยาได้
1. ปฏิบัติการบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาลได้
2. บอกชื่อยาและอุปกรณ์การปฐมพยาบาลได้

เนื้อหาสาระ
1. การบรรจุยาในการปฐมพยาบาล
2. การปฐมพยาบาล

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ผ้าผูกคออภินิหาร”
3.ผู้บังคับบัญชาสนทนาการบรรจุยาและเครื่องใช้ปฐมพยาบาล
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุยา
ที่ใช้ในการปฐมพยาบาล จากรองผู้บังคับบัญชาที่ ประจำฐานดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้
ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สาธิตการบรรจุยา เครื่องใช้สำหรับการปฐมพยาบาล
ฐานที่ 2 เรื่อง ยาและอุปกรณ์การปฐมพยาบาล
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “หลอกไม่ได้”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
383

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. กระเป๋ ายา
3. ยา
4. เครื่องใช้ปฐมพยาบาล
5. เกม “ผ้าผูกคออภินิหาร
6. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาล
7. เรื่องสั้น เรื่อง “หลอกไม่ได้”
384
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับ
ผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..................
385
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( .......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
386
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
........
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
การปรับปรุงแก้ไข
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
......................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
..........

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ผ้าผูกคออภินิหาร”
387
วิธีเล่น
เอาผ้าผูกคอขมวดเป็ นปม 2 อัน ให้เป็ นเกลียว (จะใช้ผ้าอื่นก็ได้) ลูกเสือเข้า
แถวเป็ นวงกลม ยืนโค้งตัวไปข้างหน้ามือยื่นไปทางหลังทั่งสองมือ ให้ลูกเสือคนหนึ่งอยู่นอก
วงกลมถือผ้าเดินไปรอบ ๆ วง หากเอาผ้านี้ไปใส่มือข้างขวาผู้ใด ให้ผู้นั้นเอาผ้าไล่ตีคนที่อยู่
ทางขวาไปรอบ ๆ วง แรง ๆ จนกว่า เขาจะกลับเขาที่เอง แต่ถ้าเอาผ้าวางในมือซ้ายของผู้
ใด ให้ผู้นั้นไล่ตีคนที่อยู่ทางซ้ายมือ และให้นำผ้าตีสลับกันไปเช่นนี้ส่วนคนแรกให้เข้าที่คนที่
วิ่งไล่ในตอนแรก เกมนี้สนุกดี น่าดู
388

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาล
การบรรจุยาและเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับการปฐมพยาบาล

ขณะเดินทางไกลหรือไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสืออาจเกิดอุบัติเหตุ หรือเกิดการเจ็บ


ป่ วยกะทันหัน เพื่อความไม่ประมาทลูกเสือจึงควรรู้จักวิธีเตรียมเครื่องปัจจุบันพยาบาลไว้
สำหรับหมู่ของตนเอง
การบรรจุยาและเครื่องใช้ต่าง ๆ สำ หรับการปฐมพยาบาลลูกเสือ 1 หมู่
ในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเวลา 7 วันนั้น ควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. กิจกรรมที่ลูกเสือจะต้องปฏิบัติระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม ทั้งนี้ เพื่อจะได้
พิจารณาได้ว่า จะเลือกยาและอุปกรณ์ชนิดใด เพื่อให้เหมาะแก่การที่จะใช้ปฐมพยาบาลลูก
เสือที่ได้รับอันตราย ที่เกิดจากการปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆ
2. มียาและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฐมพยาบาลชนิดใดบ้าง ที่จำเป็ นต้องนำไปทุก
ครั้ง หรือมีไว้เป็ นประจำ
3. วิธีเก็บรักษายาและอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล ไม่ให้เกิดการเสียหายหรือ
เสื่อมคุณภาพ ในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม หรือในขณะพกพาไป
4. ปริมาณยาและอุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับการอยู่ค่ายพักแรม 7วัน

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุยาที่ใช้ในการปฐมพยาบาล
ยาและอุปกรณ์การปฐมพยาบาล
ยา และอุปกรณ์ที่จำเป็ นสำหรับอันตราย ที่อาจเกิดจากการ ปฏิบัติกิจกรรมของ
ลูกเสือ และยาที่ควรนำไปทุกครั้ง มีดังนี้
ยาภายใน
389
1. ยาแก้ปวดลดไข้ เช่น พาราเซตามอล
2. ยาลดน้ำมูก , แก้แพ้แก้คัน เช่น คลอเฟนิรามีน
3. ยาแก้ท้องเสีย
4. ยาแก้จุกเสียด
ยาภายนอก
1. ยาบรรเทาอาการผดผื่นคัน เช่น แป้ งน้ำคาลาไมน์โลชั่น
2. แอลกอฮอล์ 70 % ไว้ชำระแผล
3. ยาใส่แผลสด เช่น ยาแดง ทิงเจอร์ไทเมอร์โรซอล
4. ยาหม่องแก้ปวดบวม
5. ยาสูดดมแก้เป็ นลม เช่น เหล้าแอมโมเนียมหอม
เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์
1. สำลี 2. ผ้าพันแผลม้วน ผ้ายางยืด
3. ผ้าพลาสเตอร์ 4. กรรไกรเล็ก ๆ 5. ถ้วยยา
หลักการดูแลยา และการใช้ยา
1. อย่าให้กระเป๋ าบรรจุถูกความร้อน หรือความชื้น
2. การบรรจุยาลงกระเป๋ าพยายามแยก ยาภายนอก ยา
ภายใน เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ พยาบาลต่าง ๆ ให้ชัดเจน
เพื่อสะดวกในการหยิบใช้
3. จัดการให้มีฉลากยาชัดเจน ทั้งชื่อยา , สรรพคุณ , วิธีใช้ , ขนาดใช้
4. ก่อนใช้ยาต้องอ่านฉลากให้ชัดเจน

เรื่องสั้น
เรื่อง “หลอกไม่ได้”

แมวตัวหนึ่งรู้มาว่ามีแม่ไก่หลายตัวป่ วยอยู่ในฟาร์ม จึงปลอมตัวเป็ น


หมอถือกระเป๋ ายาไปปรากฎตัวที่นั่น มันยืนร้องเรียกแม่ไก่ อยู่นอกโรงนาและถามไถ่ถึง
อาการป่ วย มีเสียงตอบมาว่า “สบายดีจ๊ะ ถ้าท่านจะกรุณาออกไปให้พ้นจากสถานที่นี้”

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนชั่วแม้จะพยายามทำตัวให้ดูเป็ นคนซื่อสัตย์


ก็ไม่สามารถตบตาคนที่มีเหตุผลได้
390
391

ภาคผนวก
เพลงและเกม
392

เพลงวชิราวุธรำลึก
วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าประชาก่อกำเนิดลูกเสือมา ข้าฯ เลื่อมใส
พวกเราลูกเสือเชื้อชาติไทย เทิดเกียรติพระคุณไว้ด้วยภักดี
ลูกเสือรำลึกนึกพระคุณเทิดบูชา ปฏิญาณรักกษัตริย์ ชาติ ศาสน์ศรี
มาเถิดลูกเสือ สร้างความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทยดั่งใจปอง

เพลง ลูกเสือธีรราช
เหล่าลูกเสือของธีรราช ทะนงองอาจสืบชาติเชื้อพงศ์พันธ์
สมัครสมานโดยมีสามัคคีมั่น พวกเราจะรักร่วมกัน จะผูกสัมพันธ์ตลอดกาล
มีจรรยา รักษาซื่อ สร้างเกียรติระบือ เลื่องลือต่อไปช้านาน
ร่าเริงแจ่มใส ใฝ่ รักให้ยืนนาน พวกเราล้วนชื่นบาน เพราะกิจการลูกเสือ
ไทย
เพลง ลูกเสือจับมือ
ลูกเสือเขาไม่จับมือขวา
ยื่นซ้ายมาจับมือกันมั่น
มือขวาใช้เคารพกัน (ซ้ำ)
ยื่นซ้ายออกมาพลันจับมือ จับมือ
จับมือนั้นหมายถึงมิตร
เหมือญาติสนิทควรคิดยึดถือ
ยิ้มด้วยเมื่อยามจับมือ (ซ้ำ)
เพราะพวกเราคือลูกเสือด้วยกัน

เพลง B.P. Spirit


I’ve got that B.P. Spirit
Right in my head.
Right in my head.
Right in my head.
393
I’ve got that B.P. Spirit
Right in my head.
Right in my head to stay.
I’ve got that B.P. Spirit
Deep in my heart .....
I’ve got that B.P. Spirit.
All round my Feet ....
I’ve got that B.P. Spirit.
Right in my head .....
เพลง สัญญาณนกหวีด
ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็ นชุด เราต้องรีบรุดไป ไป ต่อไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันเข้าแถวทันใด
สั้นยาวนั้นไซร้ ต้องรีบเร็วไว เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นยามยาวหนึ่ง
ลูกเสือควรคำนึง ฟังจำให้ดีนี่คือสัญญาณ
394

เพลง วันนี้ยินดี
วันนี้ยินดีที่เราได้มาพบกัน (ซ้ำ)
ยินดี ยินดี ยินดี
มาเถิดมา เรามาร่วมสนุก
ปลดเปลื้องความทุกข์ให้มันสิ้นไป
มาเถิดมา เรามาร่วมจิต
ช่วยกันคิดทำให้การลูกเสือเจริญ
เพลง ตรงต่อเวลา
ตรงต่อเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
ตรง ตรง ตรงเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
เราเกิดมาเป็ นคน ต้องหมั่นฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่า วันเวลาไม่เคยคอยใคร (ซ้ำ)
เพลง ทิศทั้งแปด
ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิม จำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน ตรงข้ามไปคืออาคเนย์
เพลง กายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุนๆ ชู้มือขึ้นโบกไปมา
กางแขนขึ้นและลง พับแขนมือแตะไหล่
กางแขนขึ้นและลง ชูมือตรงหมุนไปรอบตัว
เพลง สัญญาณนกหวีด
ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็ นชุด เราต้องรีบรุดไป ไป ต่อไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันเข้าแถวทันใด
สั้นยาวนั้นไซร้ ต้องรีบเร็วไว เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นยามยาวหนึ่ง
ลูกเสือควรคำนึง ฟังจำให้ดีนี่คือสัญญาณ
เพลง รถไฟ
ชั่ก ชึก ชั่ก เสียงตัวจักรของเครื่องรถไฟ
วิ่งตรงมาโดยเร็วไว เสียงรถไฟมันดัง ชึกชั่ก
ชั่ก ชึก ชั่ก เสียงรัวหนักยิ่งฟังคึกคัก
เช้าสายบ่ายเย็นค่ำดึก เสียงมันก้องกึก ชึ่ก ชั่ก
395
ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก วูน วูน วูน วู้น วู้น วู้น
เพลง ช่วยกันทำงาน
งานสิ่งใด งานสิ่งใด แม้ใครละเลยทิ้งปล่อย
มัวแต่คอย เฝ้ าแต่คอย หวังคอยแต่เกี่ยวโยนกลอง
ไม่มีเสร็จ ไม่มีเสร็จ รับรอง จำไว้ทุกคนต้อง
ทำงาน เราต้องช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน
เพลง วันนี้ยินดี
วันนี้ยินดีที่เราได้มาพบกัน (ซ้ำ)
ยินดี ยินดี ยินดี
มาเถิดมา เรามาร่วมสนุก
ปลดเปลื้องความทุกข์ให้มันสิ้นไป
มาเถิดมา เรามาร่วมจิต
ช่วยกันคิดทำให้การลูกเสือเจริญ
เพลง ตรงต่อเวลา
ตรงต่อเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
ตรง ตรง ตรงเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
เราเกิดมาเป็ นคน ต้องหมั่นฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่า วันเวลาไม่เคยคอยใคร (ซ้ำ)
เพลง ทิศทั้งแปด
ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิม จำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน ตรงข้ามไปคืออาคเนย์

เพลง กายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุนๆ ชู้มือขึ้นโบกไปมา
กางแขนขึ้นและลง พับแขนมือแตะไหล่
กางแขนขึ้นและลง ชูมือตรงหมุนไปรอบตัว

เพลง รักเมืองไทย
รักเมืองไทย ชูชาติไทย ทะนุบำรุงให้รุ่งเรือง สมเป็ นเมืองของไทย
เราชาวไทย เกิดเป็ นไทย ตายเพื่อไทย (ซ้ำ)
396
ไม่เคยอ่อนน้อม เราไม่ยอมแพ้ใคร ศัตรูใจกล้ามาแต่ทิศใด ถ้าข่มเหงไทย คงจะได้
เห็นดี
รักเมืองไทย ชูชาติไทย ทะนุบำรุงให้รุ่งเรือง สมเป็ นเมืองของไทย
เราชาวไทย เกิดเป็ นไทย ตายเพื่อไทย (ซ้ำ)
เกม ไฟไหม้
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสืออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน และจัดเป็ นวงกลม 2 วงซ้อนกัน
ลูกเสือวงนอกยืนตรงกับลูกเสือวงใน และให้ผู้นำคนหนึ่งอยู่กลางวง
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ผู้นำกลางวงพูดว่า “ไฟไหม้ วิ่ง” ให้ลูกเสือวงนอก
วิ่งไปทางเดียวกันรอบวงกลม ส่วนผู้นำและลูกเสือวงในปรบมือพร้อมกัน
3. เมื่อผู้นำหยุดปรบมือ ลูกเสือวงในก็หยุด พร้อมจับมือกันและยกขึ้นเหนือศีรษะ
4. ลูกเสือวงนอกรีบเข้าวงใน แล้วจับมือกับลูกเสือวงใน ขณะเดียวกันผู้นำก็
เข้าไปจับมือด้วย จะเหลือลูกเสือ 1 คนที่ไม่ได้จับมือ จะต้องเป็ นคนอยู่กลางวงต่อไป
397
เกม หาคู่
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือจัดแถวเป็ นวงกลม 2 วงซ้อนกัน
2. ให้ลูกเสือวงนอกและวงในจับคู่กัน และจำกันให้ได้
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือที่อยู่วงในขวาหัน ส่วนลูกเสือที่อยู่
วงนอกซ้ายหัน เดินส่วนทางกันและร้องเพลงด้วย
4. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณหยุด ให้ลูกเสือจับคู่ของตนให้ได้ ใครจับไม่ได้ถือว่าแพ้
ให้ออกจากการเล่น
เกม แข่งเรือบก
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน
2. ให้ลูกเสือนั่งเหยียดเท้าเป็ นแถวตอน โดยให้นายหมู่อยู่หน้าและให้เอามือจับ
ข้อเท้าคนต่อไปทั้ง 2 เท้าไว้ให้แน่น
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือเคลื่อนตัวไปข้างหน้า
4. ลูกเสือหมู่ใดถึงเส้นชันก่อนถือว่าชนะ
เกม ทดสอบ
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ยืนห่างจากเส้นพอประมาณ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือวิ่งไปเขียนกฎบนกระดานที่จุด กำหนด
คนละ 1 ข้อ
3. ลูกเสือหมู่ใดเขียนได้สมบูรณ์และมากที่สุดถือว่าชนะ
398

เกม รถตัดหญ้า
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือแถว 2 แถวเป็ นคู่กัน
2. ให้ลูกเสือที่ยืนหน้าเป็ นรถ แขนทั้งสองยันพื้นไว้ ส่วนคนหลังเป็ นคนเข็น จับขา
คนหน้าพาดไว้ที่เอว
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ลูกเสือที่เป็ นรถเดินด้วยมือ คู่ใดถึงจุดกำหนดก่อน
ถือว่าชนะ
เกม เปลี่ยนของ
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ลูกเสือเข้าแถวตอนและให้นาย
หมู่นำหมวกและผ้าผูกคอไปวางไว้ที่จุดกำหนด ซึ่งห่างจากแถวพอประมาณ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือคนแรกวิ่งไปเอาหมวกมาให้คนที่ 2
แล้วไปต่อท้ายแถว
3. ลูกเสือคนที่ 2 วิ่งเอาหมวกไปเก็บไว้ที่เดิม แล้วให้เอาผ้าผูกคอไปให้คนที่ 3
สลับกันไปตามลำดับ
4. หมู่ใดเสร็จก่อนถือว่าชนะ

เกม ตั้งพลอง
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือจัดแถวเป็ นวงกลม และให้ผู้นำจับไม้พลองอยู่กลางวง
2. ให้ลูกเสือ นับเลขและจำเลขของตัวเองไว้
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ผู้นำจะขานเลข พร้อมปล่อยให้ไม้พลองล้ม
4. ลูกเสือคนใดที่มีเลขตรงกับที่ผู้นำขาย ให้รีบวิ่งไปจับไม้พลองไม่ให้ล้ม
5. ถ้าวิ่งไปจับไม่ทันถือว่าแพ้ให้ออกจาการเล่น
399

เกม กาป้ อนเหยื่อ


วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ลูกเสือเข้าแถวตอนและให้นาย
หมู่คาบผ้าผูกคอเป็ นเหยื่อ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้นายหมู่วิ่งไปแตะเส้นที่กำหนด แล้วส่งเหยื่อ
ด้วยปากให้คนต่อไป แล้วไปต่อท้ายแถว
3. หมู่ใดเสร็จก่อนถือว่าชนะ

เกม แข่งเรือบก
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน
2. ให้ลูกเสือนั่งเหยียดเท้าเป็ นแถวตอน โดยให้นายหมู่อยู่หน้าและให้เอามือจับ
ข้อเท้าคนต่อไปทั้ง 2 เท้าไว้ให้แน่น
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือเคลื่อนตัวไปข้างหน้า
4. ลูกเสือหมู่ใดถึงเส้นชันก่อนถือว่าชนะ

……………………………………
400

You might also like