You are on page 1of 14

-0-

รายงานการ วิเคราะห์ ผ้ ูเรียนราย


บุคคล
รายวิชา.................................... (....................)
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที… ่ ../…..
ภาคเรียนที่ ….. ปี การศึกษา 2556

……………………………………..
ผู้สอน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ .............................
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
สำนักงานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

บันทึกข้ อความ
ส่ วนราชการ โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้ สพม.12 จังหวัดนครศรี ธรรมราช
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-1-

ที่………..วันที่ ……. เดือน………………….. พ.ศ…………


เรื่ อง รายงานการวิเคราะห์ผเู้ รี ยนรายบุคคลของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่………
...................................................................................................................
เรี ยน ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้
สิ่ งที่ส่งมาด้วย รายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนรายบุคคลของนักเรี ยนชั้น…… จำนวน 1 ฉบับ
ด้วยข้าพเจ้า……………………………………..ตำแหน่งครู วิทยฐานะ……………..ปฏิบตั ิการ
สอนวิชา…………………………….กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้……………………….ได้ศึกษาผูเ้ รี ยนรายบุคคลของ
นักเรี ยนชั้น ……………..ประจำปี การศึกษา ………. เพื่อวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลและเป็ นข้อมูลเบื้องต้น
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ให้สอดคล้องกับวิธีการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งจะนำไปสู่ การพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รี ยน
บัดนี้ ได้ท ำการวิเคราะห์เสร็ จสิ้ นแล้วขอรายงานผลตามเอกสารที่แนบมาด้วยนี้
จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดทราบ
ลงชื่อ ผูร้ ายงาน
(…………………………….)
ลงชื่อ
(…………………………….)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้…………………….

บันทึกนิเทศจากกลุ่มบริหารวิชาการ  บันทึกนิเทศและสั่ งการของผู้อำนวยการ


…..………………………………………
………………………………………………. ……
.………………………………………….
…………………………………………………….
ลงชื่อ ลงชื่อ
( นางวันดี ชูประจง ) ( นายอำพล ยะสะนพ )
รองผูอ้ ำนวยการ/หัวหน้ากลุ่มบริ หารวิชาการ ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้

คำชี้แจง

การวิเคราะห์ผเู้ รี ยนฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะผูเ้ รี ยน เพื่อ


หาความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู ้พ้ืนฐาน และประสบการณ์เดิมที่มีอยูก่ ่อนที่จะให้ผู ้

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-2-

เรี ยนได้รับการเรี ยนรู้ใดๆในระดับชั้น ตลอดทั้งศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความพร้อมด้านพฤติกรรมและองค์


ประกอบความพร้อมด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
2. ความพร้อมด้านสติปัญญา
3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม
4. ความพร้อมด้านร่ างกาย
5. ความพร้อมด้านสังคม

การวิเคราะห์ผเู้ รี ยนมีการดำเนินการดังนี้

1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ตอ้ งการวิเคราะห์จากครู คนเดิม ที่ได้จากการเรี ยนรู ้


ในปี การศึกษาที่ผา่ นมา หรื อ จัดสร้างเครื่ องมือแบบทดสอบวิชานั้นๆ ขึ้นใหม่ แล้วนำมาใช้ทดสอบผูเ้ รี ยนทุกคน
2. นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรื อแยกแยะตามความเป็ นจริ ง พร้อมจัดกลุ่มผูเ้ รี ยน ออกเป็ น
3 กลุ่ม คือ กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง (หรื อผ่านเกณฑ์) และกลุ่มที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไข
3. การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน ควรพิจารณาทั้งความพร้อมด้านความรู ้ ความสามารถ สติปัญญา และความพร้อม
ด้านอื่นๆ ของผูเ้ รี ยน ควบคู่ไปด้วย
4. ผูเ้ รี ยนที่มีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ที่ก ำหนด ผูส้ อนได้รีบดำเนินการปรับปรุ งแก้ไขให้มีความพร้อมดี
ขึ้นก่อน จึงค่อยดำเนินการจัดการเรี ยนรู้ ในระดับชั้นที่จะทำการสอน ส่ วนความพร้อมอื่นๆ ให้พยายามปรับปรุ ง
แก้ไขให้ดีข้ ึนในลำดับต่อไป

แนวคิดวัตถุประสงค์
และขอบเขตของการวิเคราะห์ ผู้เรียน
1. แนวคิดในการวิเคราะห์ ผู้เรียน
1) การจัดการเรี ยนรู้ให้ประสบความสำเร็ จ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู ง
ผูเ้ รี ยนจะต้องมีความพร้อมที่ดีในทุกด้าน ดังนั้น ก่อนจะเริ่ มดำเนินการสอน ครู ผสู ้ อนได้ศึกษา วิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
รายบุคคลเกี่ยวกับ
- ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
- ความพร้อมด้านสติปัญญา
- ความพร้อมด้านพฤติกรรม
- ความพร้อมด้านร่ างกาย
- ความพร้อมด้านสังคม
2) ก่อนดำเนินการจัดการเรี ยน ครู ผสู ้ อนได้ศึกษาวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนให้รู้ถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลในแต่ละด้าน เมื่อผูเ้ รี ยนคนใด มีขอ้ บกพร่ องด้านใด
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-3-

ควรปรับปรุ ง แก้ไขให้มีความพร้อมที่ดีก่อน
3) การเตรี ยมความพร้อม หรื อการแก้ไขข้อบกพร่ อง สำหรับผูเ้ รี ยนที่ยงั ขาดความพร้อมในด้าน
ใดๆ ควรใช้กิจกรรมหลายๆแบบ หรื อ ใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสมจนผูเ้ รี ยนมีความพร้อม ดีข้ึ น

2. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ ผู้เรียน
1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์แยกแยะ เกี่ยวกับความพร้อมของผูเ้ รี ยนในแต่ละด้านเป็ นรายบุคคล
2) เพื่อให้ครู ผสู้ อนได้รู้จกั ผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล และหาทางช่วยเหลือผูเ้ รี ยน
ที่มีขอ้ บกพร่ องให้มีความพร้อมที่ดีข้ ึน
3) เพื่อให้ครู ผสู้ อนได้จดั เตรี ยมการสอน สื่ อ หรื อนวัตกรรมสำหรับดำเนินการจัดการเรี ยนรู ้แก่ผู ้
เรี ยนได้สอดคล้องเหมาะสม และตรงตามความต้องการของผูเ้ รี ยนมากยิง่ ขึ้น

3. ขอบเขตของการวิเคราะห์ ผู้เรียน

การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่างบุคคล ในเรื่ องต่างๆ ดังนี้


1) ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
(1) ความรู้พ้ืนฐานของวิชา.......................................
(2) ความสามารถในการอ่าน
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรี ยนรู ้

2) ความพร้อมด้านสติปัญญา
(1) ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
(2) ความมีเหตุผล
(3) ความสามารถในการเรี ยนรู ้
3) ความพร้อมด้านพฤติกรรม
(1) การแสดงออก
(2) การควบคุมอารมณ์
(3) ความมุ่งมัน่ อดทน ขยันหมัน่ เพียร
(4) ความรับผิดชอบ
4) ความพร้อมด้านร่ างกาย
(1) ด้านสุ ขภาพร่ างกายสมบูรณ์
(2) การเจริ ญเติบโตสมวัย
(3) ความสมบูรณ์ทางด้านสุ ขภาพจิต
5) ความพร้อมด้านสังคม
(1) การปรับตัวเข้ากับผูอ้ ื่น
(2) การช่วยเหลือ เสี ยสละ แบ่งปั น
(3) การเคารพครู กติกา และมีระเบียบ

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-4-

6) คะแนนจากผลการสอบกลางภาคเรี ยนหรื อปลายภาคเรี ยนที่ผา่ นมาของวิชาที่สอนหรื อผลจากการสอบ


จากเครื่ องมือวัดที่สร้างขึ้น

แบบสรุ ปผลการวิเคราะห์ ผ้ ูเรียน


วิชา …………………………………….……ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่……จำนวนนักเรี ยน ….……คน
โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้ จังหวัดนครศรี ธรรมราช ปี การศึกษา……..…..………
ดี ปานกลาง ปรับปรุ ง
ด้านที่ รายการวิเคราะห์ผเู้ รี ยน หมายเหตุ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
1 ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
(1) ความรู้พ้ืนฐานของวิชา………….. ….. ….. ….. ….. ….. …..
(2) ความสามารถในการอ่าน ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรี ยนรู้ ….. ….. ….. ….. ….. …..
2 ความพร้อมด้านสติปัญญา
(1) ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ….. ….. ….. ….. ….. …..
(2) ความมีเหตุผล ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) ความสามารถในการเรี ยนรู้ ….. …… …… …… …… ……
3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม
(1) การแสดงออก ….. ….. ….. ….. ….. …..
(2) การควบคุมอารมณ์ ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) ความมุ่งมัน่ อดทน ขยันหมัน่ เพียร ….. ….. ….. ….. ….. …..
(4) ความรับผิดชอบ ….. ….. ….. ….. ….. …..
4 ความพร้อมด้านร่ างกาย
(1) ด้านสุ ขภาพร่ างกายสมบูรณ์ ….. ….. ….. ….. ….. …..
(2) การเจริ ญเติบโตสมวัย ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) ความสมบูรณ์ทางด้านสุ ขภาพจิต …… …… …… …… …… ……
5 ความพร้อมด้านสังคม
(1) การปรับตัวเข้ากับผูอ้ ื่น ….. ….. ….. ….. ….. …..
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-5-

(2) การช่วยเหลือ เสี ยสละ แบ่งปัน ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) การเคารพครู กติกา และมีระเบียบ ….. ….. ….. ….. ….. …..
6 ผลจากการสอบคะแนนกลางภาคหรื อ
ปลายภาคเรี ยนที่ผา่ นมา ….. ….. ….. ….. ….. …..

แบบวิเคราะห์ ผู้เรียนรายบุคคล
1. ชื่อ – สกุล……………………….…………..อายุ…….ปี ชื่อผูป้ กครอง……………………..…………
2. ผลการเรี ยนในปี การศึกษาที่ผา่ นมา ระดับชั้น ……….……….เกรดเฉลี่ย…………………….………
3. ข้อมูลด้านสุ ขภาพ น้ำหนัก ……….….กก. ส่ วนสู ง……….……ซม. โรคประจำตัว……………….…
4. ปั จจุบนั อาศัยอยูก่ บั ………………บ้านเลขที่………หมู่ที่..…..ถนน……….……..ซอย…………..…
ตำบล………………อำเภอ…………………จังหวัด…………….รหัสไปรษณี ย… ์ …….โทร………….
5. ผลการวิเคราะห์ผเู้ รี ยนรายบุคคลวิชา………...…………..ชั้น………………ปี การศึกษา……………..
ผลการประเมินวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
ที่ รายการวิเคราะห์ผเู้ รี ยน การปรับปรุ งแก้ไข
ดี ปานกลาง ปรับปรุ ง
1 ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
(1) ความรู้พ้ืนฐานของวิชา……………. ….. ……………… ………………
(2) ความสามารถในการอ่าน ….. ……………… ………………
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรี ยนรู้ ….. ……………… ………………
2 ความพร้อมด้านสติปัญญา
(1) ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ….. ……………… ………………
(2) ความมีเหตุผล ….. ……………… ………………
(3) ความสามารถในการเรี ยนรู้ ….. ……………… ………………
3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม
(1) การแสดงออก ….. ……………… ………………
(2) การควบคุมอารมณ์ ….. ……………… ………………
(3) ความมุ่งมัน่ อดทน ขยันหมัน่ เพียร ….. ……………… ………………
(4) ความรับผิดชอบ ….. ……………… ………………
4 ความพร้อมด้านร่ างกาย
(1) ด้านสุ ขภาพร่ างกายสมบูรณ์ ….. ……………… ………………
(2) การเจริ ญเติบโตสมวัย ….. ……………… ………………
(3) ความสมบูรณ์ทางด้านสุ ขภาพจิต ….. ……………… ………………
5 ความพร้อมด้านสังคม
(1) การปรับตัวเข้ากับผูอ้ ื่น ….. ……………… ………………
(2) การช่วยเหลือ เสี ยสละ แบ่งปัน ….. ……………… ………………
(3) การเคารพครู กติกา และมีระเบียบ ….. ……………… ………………
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-6-

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของครู …………………………………………………………………………………………...


………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………………………….
(………………………………………….)
คะแนนจากการสอบ...................................วิชา........................................รหัสวิชา.........................
ภาคเรียนที่..... ปี การศึกษา .........
อ่ อน/
ที่ ชื่อ-สกุล คะแนน เก่ ง ปานกลาง หมายเหตุ
ปรับปรุ ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16.
17
18
19
20
21
22
23
24
25

อ่ อน/
ที่ ชื่อ-สกุล คะแนน เก่ ง ปานกลาง หมายเหตุ
ปรับปรุ ง
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-7-

26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
รวม
ร้ อยละ
หมายเหตุ เกณฑ์(ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม)
กลุ่มเก่ง ช่วงคะแนน ร้อยละ 80 – 100
กลุ่มปานกลาง ช่วงคะแนน ร้อยละ 50 – 79
กลุ่มอ่อน ช่วงคะแนน ร้อยละ ต่ำกว่า 50

บันทึกการให้ ความช่ วยเหลือ

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-8-

ที่ วัน เดือน ปี รายการปฏิบัติ ผู้ปกครอง


… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
.. ………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-9-

………… ……………………………………… …………………


………… ……………………………………… ……………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
…… ……………………………………… …………………
……………… …………………
……………

บันทึกการให้ ความช่ วยเหลือ

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-10-

ที่ วัน เดือน ปี รายการปฏิบัติ ครู ผู้สอน


… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
… ………… ……………………………………… …………………
.. ………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-11-

………… ……………………………………… …………………


………… ……………………………………… ……………
………… ……………………………………… …………………
………… ……………………………………… …………………
…… ……………………………………… …………………
……………… …………………
……………

การสร้ างเครื่องมือเพือ่ วิเคราะห์ ผู้เรียน

การสร้างเครื่ องมือสำหรับนำมาทดสอบหรื อตรวจสอบผูเ้ รี ยน เพื่อใช้เป็ นข้อมูล สำหรับวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน


นับว่าเป็ นเรื่ องที่จ ำเป็ นและสำคัญมาก แนวทางของการปฏิบตั ิ มีดงั นี้
ครู ผสู ้ อนสร้างเครื่ องมือหรื อสร้างแบบทดสอบเอง โดยเน้นการวัดและประเมินผล เฉพาะวิชาที่ท ำการ
สอน ซึ่ งเหมาะสมที่จะวัดผูเ้ รี ยนในแต่ละด้าน เช่น การวัดความรู ้ ความสามารถ หรื อความพร้อมทางด้านสติ
ปั ญญา จะใช้แบบทดสอบ ส่ วนการวัดความพร้อมทางด้านพฤติกรรม จะใช้แบบสังเกตหรื อแบบสอบถาม
การสร้างเครื่ องมือ เพื่อวิเคราะห์ผเู้ รี ยน ได้ยดึ หลักสำคัญ คือ
1. ครอบคลุมสาระหลักที่จะเรี ยนรู้ ครอบคลุมพฤติกรรมด้านต่างๆของผูเ้ รี ยน
2. สอดคล้องกับประเด็นที่จะวัดและประเมินผูเ้ รี ยนในแต่ละด้าน
3. กำหนดเกณฑ์ให้ชดั เจน ดังนี้
- ตอบถูกต้อง หรื อ มี ตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 70 ขึ้นไป ได้ระดับดี
- ตอบถูกต้อง หรื อ มี ตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 40-60 ผ่านเกณฑ์
- ตอบถูกต้อง หรื อ มี ตามหัวข้อประเมินน้อยกว่า ร้อยละ 40 ควรปรับปรุ ง
4. การวัดหรื อทดสอบผูเ้ รี ยนได้ด ำเนินการก่อนการสอน เพื่อค้นหาผูเ้ รี ยนที่มีความบกพร่ องในด้านต่างๆ
นำข้อมูลที่ได้กรอกลงในแบบวิเคราะห์ผเู้ รี ยนรายบุคคลจนครบทุกด้าน จากนั้นได้ประมวลผลจากแบบวิเคราะห์ผู ้
เรี ยนรายบุคคลไปสรุ ปและกรอกในแบบสรุ ปผลการวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน เพื่อให้ผสู ้ อนมองเห็นภาพรวม และข้อควรที่
จะต้องปรับปรุ งแก้ไขอย่างชัดเจน
5. ข้อบกพร่ องของผูเ้ รี ยน ได้ด ำเนินการปรับปรุ งแก้ไขให้มีความพร้อมที่ดี จึงเริ่ มจัดการเรี ยนรู ้

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-12-

-ตัวอย่ าง-
การสร้ างเครื่องมือเพือ่ วิเคราะห์ ผู้เรียนวิชาคณิตศาตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
..............................................................................................................
การสร้างเครื่ องมือสำหรับนำมาทดสอบหรื อตรวจสอบผูเ้ รี ยน เพื่อใช้เป็ นข้อมูล
สำหรับวิเคราะห์ผเู้ รี ยนได้แบ่งออกเป็ นหลายๆด้าน ดังนี้

ด้ านที่ 1 ด้ านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์


1) เป็ นแบบทดสอบ ครอบคลุมสาระสำคัญของวิชาคณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ได้ค ำนึงถึง
- ความรู้พ้นื ฐานทัว่ ไป
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสนใจในการเรี ยนรู้
2) แบบทดสอบเป็ นแบบอัตนัย (แบบโยงเส้นจับคู่)
3) ความยากง่ายมีสดั ส่ วน คือ ความยาก - ปานกลาง – ง่าย : 30 – 40 – 30
4) เกณฑ์การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป ได้ระดับดี ร้อยละ 40 – 70 ระดับปานกลาง ต่ำกว่า
ร้อยละ 40 ต้องปรับปรุ งแก้ไข

ด้ านที่ 2 ความพร้ อมด้ านสติปัญญา


1) ใช้แบบทดสอบ ในเรื่ องต่อไปนี้
- ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
- ความมีเหตุผล
- ความสามารถในการเรี ยนรู้ เช่น การจับใจความ การลำดับขั้นตอน
2) การสร้างแบบทดสอบ ความยากง่ายของข้อทดสอบ ใช้เกณฑ์การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70
ขึ้นไป ได้ระดับดี ร้อยละ 40 – 70 ระดับปานกลาง ต่ำกว่า ร้อยละ 40 ต้องปรับปรุ งแก้ไข

ด้ านที่ 3 ความพร้ อมด้ านพฤติกรรม


1) เป็ นการสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับ
- การแสดงออกของผูเ้ รี ยนในลักษณะต่างๆ
- การรู้จกั ควบคุมอารมณ์
- ความมุ่งมัน่ ตั้งใจ ขยันหมัน่ เพียร

2) ครู ผสู้ อนได้สงั เกตพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนด้วยตนเอง


3) การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ดว้ ยว่าด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรมในระดับ ดี ปานกลาง และปรับปรุ ง
แก้ไข
d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...
-13-

ด้ านที่ 4 ความพร้ อมด้ านร่ างกาย และจิตใจ


1) ใช้แบบสังเกต และแบบสังเกตเกี่ยวกับ
- สุ ขภาพร่ างกายของผูเ้ รี ยน
- ความเจริ ญเติบโตสมวัย
- ด้านสุ ขภาพจิต
2) ใช้แบบสังเกต และสัมภาษณ์ กับครู ประจำชั้น เพื่อนผูใ้ กล้ชิด ผูเ้ รี ยน หรื อ ผูป้ กครอง
3) การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ดว้ ยว่าความพร้อมทางด้านจิตใจในระดับ ดี ปานกลาง และปรับปรุ งแก้ไข
ด้ านที่ 5 ความพร้ อมด้ านสังคม
1) ใช้แบบสังเกต และแบบสังเกตเกี่ยวกับ
- การปรับตัวให้เข้ากับผูอ้ ื่น
- การเสี ยสละไม่เห็นแก่ตวั
- การมีระเบียบวินยั และการเคารพกติกา
2) ใช้แบบสังเกต และสัมภาษณ์ กับครู ประจำชั้น เพื่อนผูใ้ กล้ชิด ผูเ้ รี ยน หรื อ ผูป้ กครอง
3) การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ดว้ ยว่าความพร้อมทางด้านจิตใจในระดับ ดี ปานกลาง และปรับปรุ งแก้ไข

******ครู ผสู้ อนออกแบบประเมินให้ครบ 5 ด้านเพิม่ เติมได้*********

d:\math\วิเคราะห์ ผ้ เู รี ยน\\สมชัย...

You might also like