You are on page 1of 218

1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กิจการของลูกเสือแห่งชาติ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติประกอบด้วย สภาลูกเสือคณะกรรมการลูกเสือแห่ง
ชาติ คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด และคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางร่างกาย จิตใจ และให้มีความรับผิดชอบต่อ
สังคมต่อกิจการของคณะลูกเสือโลก ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ ตลอดจน
บทบาทของตนเองที่มีต่อชุมชน การดำเนินกิจกรรมลูกเสือจะได้บรรลุถึงจุดประสงค์การ
เรียนรู้ที่กำหนดไว้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมลูกเสือแห่งชาติได้
1. บอกโครงสร้างของคณะลูกเสือแห่งชาติได้
2. บอกการบริหารงานของคณะลูกเสือแห่งชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการของลูกเสือแห่งชาติ
2. กิจการของคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
3. กิจการของคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “เกมเรืออับปาง”
3. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
4. ผู้บังคับบัญชามอบใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมลูกเสือ แห่งชาติ
5. ให้กับหมู่ลูกเสือ หมู่ละ 1 ชุด เพื่อแยกไปช่วยกันศึกษาค้นคว้า ใน
เวลาที่กำหนดให้ ตามหัวข้อต่อไปนี้
– คณะลูกเสือแห่งชาติ
– คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
– คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
2
– คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
6. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวมกอง และให้แต่ละหมู่ส่งตัวแทน
ออกมาสรุปสาระสำคัญ เพียงหมู่ละ 1 หัวข้อตามฉลากที่จับได้
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “ สุนัขจิ้งจอกกับ
หน้ากาก ”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ช่วยกันคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้ กำกับ
ลูกเสือนำคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “เกมเรืออับปาง”
3. ใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมคณะลูกเสือแห่งชาติ
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ สุนัขจิ้งจอกกับหน้ากาก ”
3
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างคณะลูกเสือแห่งชาติไว้ให้ลูกเสือ
ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
4
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
5
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.....................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม ”เรืออับปาง”
6
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็น 6–8 หมู่ แต่ละหมู่ก็เป็นเรือแต่ละลำให้
2. นายหมู่ของแต่ละหมู่เป็นกัปตัน เป็นผู้นำเรือ
3. ให้ลูกเสือทุกคนหาเชือกมายาว 2 หลา เมื่อเริ่มเล่นให้ลูกเสือในหมู่
ของแต่ละหมู่ ต่อเชือกติดกันด้วย เงื่อนสมาธิ เมื่อแถวใดเสร็จก่อน นายหมู่ก็ลาก
เรือของตัวไปยังจุดหมายปลายทาง ที่กำหนดไว้เป็นฝั่ง หมู่ใดเสร็จก่อนและไปถึงถือว่า
ชนะ
7

โครงสร้างคณะลูกเสือแห่งชาติ

คณะลูกเสือแห่งชาติ

สภาลูกเสือแห่งชาติ

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด ผู้ตรวจการลูกเสือ สโมสรลูกเสือ

คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ ฝ่ ายอำนวยการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายลูกเสือชาว


บ้าน
กลุ่มลูกเสือ
หน่วยลูกเสือ กองลูกเสือ
หมู่ลูกเสือ

ตามวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรมลูกเสือคือ
1. ให้ลูกเสือมีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง
2. ให้ลูกเสือมีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
3. ให้ลูกเสือรู้จักบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์
4. ให้ลูกเสือรู้จักทำการฝี มือและฝึกฝนให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ เหมาะสม
5. ให้ลูกเสือรู้จักรักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความ
มั่นคงของประเทศชาติ โดยไม่เกี่ยวข้องกับลัทธิการเมืองใด
8
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ประกอบด้วยบุคคลในตำแหน่ง
ต่าง ๆ ดังใน “แผนภูมิคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ” ต่อไปนี้
9

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ”

ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
( รมต.กระทรวงศึกษาฯ)

รองประธานคณะกรรมการฯ
(– ปลัดกระทรวงศึกษา ฯ – ปลัดกระทรวงมหาดไทย)

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
(ผู้ทรงคุณวุฒิที่สภานายกสภาลูกเสือแต่งตั้งอีกไม่เกิน 20 คน)

กรรมการและเลขาธิการฯ
(อธิบดีกรมพลศึกษา)

กรรมการและรองเลขาธิการ
(รองอธิบดีกรมพลศึกษา)

กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ
(ผู้อำนวยการกองกองลูกเสือ)

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด”

ประธานคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
(ผู้ว่าราชการจังหวัด)
10
รองประธานคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด
(รองผู้ว่าราชการจังหวัด และปลัดจังหวัด)

กรรมการลูกเสือประจำจังหวัด กรรมการลูกเสือพิเศษประจำจังหวัด
(ผู้อำนวยการการประถมศึกษาจังหวัด (บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธาน
–นายอำเภอ –และกรรมการอื่นที่ คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด กรรมการ
ประธาน ประเภทนี้มีสิทธิเข้าประชุมในการ
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ประชุมคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด แต่
แต่งตั้ง ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน)
ไม่น้อยกว่า 15 คน แต่ไม่เกิน 30 คน)

กรรมการและเลขาธิการ
(ศึกษาธิการจังหวัด)

กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ
(ผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด)

ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็ นผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด รองผู้ว่า


ราชการจังหวัด ปลัดจังหวัดและศึกษาธิการจังหวัด เป็ นรองผู้อำนวยการลูกเสือ
จังหวัด และผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด เป็ นผู้ช่วยผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด มีหน้าที่
บริหารการลูกเสือในจังหวัด

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารของ “คณะกรรมการลูกเสืออำเภอ”

ประธานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
(นายอำเภอ)

รองประธานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ
(ปลัดอำเภอ)

กรรมการลูกเสือประจำอำเภอ กรรมการลูกเสือพิเศษประจำจังหวัด
(หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอ และ (บุคคลที่ประธานคณะกรรมการลูกเสือ
กรรมการอื่นตามที่ประธานคณะ จังหวัดแต่งตั้ง กรรมการประเภทนี้มีสิทธิ
กรรมการ เข้าร่วมประชุม แต่ ไม่มีสิทธิออกเสียง
การบริหารลูกเสือแห่งชาติแต่งตั้งอีก ลงคะแนน)
ไม่น้อยกว่า 10 คน แต่ไม่เกิน 20 คน)
11

กรรมการและเลขานุการ (ศึกษาธิการอำเภอ)

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ (ผู้ช่วยศึกษาธิการอำเภอ)

นายอำเภอเป็ นผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ ปลัดอำเภอรับผิดชอบงาน


ปกครอง ศึกษาธิการอำเภอเป็ นรองผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ และผู้ช่วย
ศึกษาธิการอำเภอเป็ นผู้ช่วยผู้อำนวยการลูกเสืออำเภอ มีหน้าที่บริหารลูกเสือในอำเภอ
ตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ ดังต่อไปนี้
1. ส่งเสริมความมั่นคงและความก้าวหน้าของการลูกเสือในอำเภอ
2. พิจารณารายงานประจำปี ของลูกเสืออำเภอ
3. ให้คำแนะนำผู้อำนวยการลูกเสือในการปฏิบัติงานลูกเสือ
4. การกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการลูกเสืออำเภอ โดยมี
ศึกษาธิการ–อำเภอ เป็ นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ และให้มีเจ้า
หน้าที่ตามสมควร

เรื่องสั้น “สุนัขจิ้งจอกกับหน้ากาก”

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่ง ปกติมันมักจะหา


อาหารอยู่แถวถิ่นที่อยู่บนภูเขา วันหนึ่ง สุนัขจิ้งจอกได้ลงจากภูเขา เข้ามาหา
อาหารกินในหมู่บ้านตรงเชิงเขา มันได้พบกล่อง ๆ หนึ่ง วางอยู่ในโรงเก็บของ
จึงใช้เท้าเขี่ยดู ก็เห็นหน้ากากมนุษย์ซึ่งสวยงามหลากหลาย
สุนัขจิ้งจอกมองดูหน้ากากที่สวยงามเหล่านั้น แล้วคิดพิจารณาว่า “น่า
เสียดายจัง….หน้ากากเหล่านี้เมื่อดูภายนอกแล้ว ก็สวยงามดีอยู่หรอก แต่ภายในกลับ
กลวง ไร้ค่ายิ่งนัก”
12
13

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กิจการของคณะลูกเสือโลก เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูก
เสือโลกและนานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์
ของลูกเสือนานาชาติ ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุ
จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “วิ่งส่งผ้าผูกคอ”
3. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม
14
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือสนทนาเกี่ยวกับการจัดองค์การลูกเสือโลก
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 4 ฐาน
6. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง กิจการองค์การ
7. ลูกเสือโลกและความสัมพันธ์กับลูกเสือนานาชาติ ตามฐานดังนี้ (มีผู้
บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สมัชชาลูกเสือโลก
ฐานที่ 2 เรื่อง คณะกรรมการลูกเสือโลก
ฐานที่ 3 เรื่อง สำนักงานลูกเสือโลก
ฐานที่ 4 เรื่อง การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย –
แปซิฟิ ก
8. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
10. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
11. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
12. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่
ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือในวันรุ่งขึ้น
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “วิ่งส่งผ้าผูกคอ”
3. ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
15
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
16
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
17
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม
18
“วิ่งส่งผ้าผูกคอ”

วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 – 6 แถว ๆ ละ เท่า ๆ กัน
2. ให้เลือกตัวแทน 1 คนในแต่ละแถวไปยืนข้างหน้าแถวของตนเอง ห่าง
จากแถวประมาณ 5 – 8 เมตร
3. ให้คนแรกของแต่ละแถวถือผ้าผูกคอไว้ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้วิ่งไป
อ้อมคนที่อยู่หน้าแถวของตนมาส่งผ้าผูกคอให้คนที่ 2 แล้วไปต่อท้ายแถว
4. ทำเช่นนี้จนครบทุกคน แถวใดเสร็จก่อนเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ ในข้อ 2 อาจหาสิ่งของหรืออุปกรณ์อื่น ๆ แทนคนก็ได้

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference)
สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่าง ๆ
ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 131 ประเทศ
สมัชชาลูกเสือโลกประชุมกันทุก 2 ปี จะเป็ นประเทศใดนั้นต้องเป็ นไป
ตามมติของที่ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องเป็ นตัวแทนของประเทศที่เป็ นสมาชิก
19
ประเทศละ 6 คน สมาชิกดังกล่าวนี้ จะเป็ นผู้ออกเสียงลงคะแนนลับเลือกตั้งคณะ
กรรมการลูกเสือโลกต่อไป
หน้าที่ของสมัชชาลูกเสือโลก
1. กำหนดนโยบายทั่วไปของคณะลูกเสือโลก
2. พิจารณารับสมาชิกใหม่และตัดสินชี้ขาดการขับออกจากสมาชิกภาพ
3. เลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก
4. พิจารณารายงานและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาแก้ไขธรรมนูญและข้อบังคับของคณะลูกเสือโลก
20

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลกประกอบด้วยบุคคล 12 คน จากประเทศ
สมาชิก 12 ประเทศ เลือกตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกอยู่
ในตำแหน่งวาระ 6 ปี
ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็ นอย่างสูงที่ได้เป็ นเจ้าภาพ ในการประชุม
สมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ 33 ระหว่างวันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2536 ณ โรงแรมอิมพิเรี
ยล ควีนส์ปาร์ค

หน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือโลก
1. ส่งเสริมกิจการลูกเสือโลก
2. แต่งตั้ง เลขาธิการและรองเลขาธิการของสำนักงานลูกเสือโลก
3. ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก
4. จัดหาเงินทุนสำหรับส่งเสริมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาให้เครื่องหมาย ลูกเสือสดุดี แก่ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือ
สนับสนุนกิจการลูกเสือโลก
ผู้แทนคณะกรรมการลูกเสือไทย ที่ได้รับเลือกให้เป็ นคณะกรรมการลูกเสือ
โลก มี 2 ท่าน ดังนี้
1. นายอภัย จันทวิมล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายแพทย์บุญสม มาร์ติน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

สำนักงานลูกเสือโลก
21
สำนักงานลูกเสือโลกทำหน้าที่เป็ นสำนักงานเลขาธิการปฏิบัติตามคำสั่ง
หรือมติของสมัชชาลูกเสือโลกและคณะกรรมการลูกเสือโลก ค.ศ. 1968 ได้ย้ายไปอยู่
เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน
นอกจากนี้ยังมีสำนักงานอีก 5 เขต คือ
เขตอินเตอร์ – อเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองซานโฮเซ ประเทศ
คอสตาริกา
เขตเอเชีย – แปซิฟิ ก ตั้งอยู่เมือง มะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
เขตอาหรับ ตั้งอยู่ที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์
เขตยุโรป ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์
เขตแอฟริกา ตั้งอยู่ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา
ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติกับกิจการลูกเสือของทุกประเทศ
มีหลักการที่สำคัญอย่างเดียวกัน ดังนี้
1. ความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
2. มีความศรัทธาในมิตรภาพ และความเป็ นพี่น้องของลูกเสือทั่วโลก
3. การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
4. การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
5. การเข้าเป็ นสมาชิกด้วยความสมัครใจ
6. มีความเป็ นอิสระต่ออิทธิพลทางการเมือง
7. มีกำหนดการพิเศษสำหรับการฝึกอบรมโดยอาศัย
–ระบบหมู่ / กลุ่ม
–การทดสอบเป็ นขั้น ๆ
–เครื่องหมายวิชาพิเศษ
–กิจกรรมกลางแจ้ง
22

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก
คณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก ประกอบด้วยผู้แทนจาก
ประเทศสมาชิกลูกเสือภาคฯที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 10 คนและอยู่ในตำแหน่งได้
เทอมละ 6 ปี คณะกรรมการลูกเสือภาค ฯ จะดำเนินการเลือกประธานและรอง
ประธานกันเอง ในการประชุมสมัชชาลูกเสือภาคฯ ทุกครั้ง กรรมการ 5 คน จะพ้น
จากตำแหน่งตามวาระ และจะมีการเลือกตั้งกรรมการคนใหม่ จำนวน 5 คน เข้ามา
แทนที่ผู้ออกหรือลาออก หรือ ถึงแก่กรรม
ประเทศไทยได้มีหลายท่านที่ได้รับเลือก เป็ นกรรมการลูกเสือภาคพื้น
เอเชีย – แปซิฟิ ก ในยุโรปมีลูกเสือ 1.5 ล้านคน แม้ว่าจำนวนลูกเสือจะไม่เพิ่มพูน
แต่ก็ยังสามารถยืนหยัดจำนวนคงที่อยู่ได้ และเน้นในทางสมาคมร่วมกันระหว่างลูกเสือ
กับลูกเสือหญิงซึ่งเป็ นความมุ่งประสงค์และวิธีการของลูกเสือ
ในเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก เป็ นเขตที่มีความเจริญงอกงามมากที่สุดกว่าทุก
เขต มีประชากรลูกเสือเกินกว่า 5 ล้านคน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการลูกเสือได้ตอบ
สนองความต้องการของประเทศ ที่กำลังพัฒนาได้ตรงเป้ าหมาย

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ผู้นำวัยรุ่น “

กบฝูงหนึ่ง มีกบหนุ่มเป็ นหัวหน้า หากินอยู่ที่สระชายป่ าแห่งหนึ่ง


23
นานวันอาหารหมดจึงปรึกษากันว่าควรอพยพไปหากินในที่ใหม่ ขณะนั้น
นกกระยางเจ้าเล่ห์บินผ่านมา ก็แนะนำว่า “ ข้าพบสระในป่ าไกลออกไปมีอาหารของ
พวกเจ้ามากมาย
ถ้าจะไปที่นั่น ข้าจะอาสาคาบพวกเจ้าไปส่งให้”
กบหนุ่มหัวหน้าไม่มีความยั้งคิดก็ตอบตกลงไปนกกระยางก็คาบพวกกบ
ไปทีละตัวและมันก็กินเสีย ทีละตัวจนหมดฝูง
นกกระยางบินกลับมาที่สระนั้นเห็นมีปูมากก็อยากกินปูอีกจึงออกอุบาย
บอกปูว่า “ พวกเจ้าไม่อพยพไปอยู่สระใหม่เช่นเดียวกับพวกกบหรือ”
ปูเฒ่าหัวหน้าปูในสระนั้นรู้ทันเล่ห์กลของนกยาง จึงออกอุบายว่า
“ ข้าอยากไปตรวจดูก่อน แต่เจ้าต้องให้ข้ากอดคอเจ้าไปนะ ข้าจึงไป”
นกกระยางหลงกลปูเฒ่า จึงให้ปูกอดคอไป พอนกกระยางก้มคอให้ปูกอด
ปูเฒ่าได้โอกาสก็พูดว่า “ เจ้าหลอกกินพวกกบหมดแล้ว จะมาหลอกกินพวกข้าอีก
แต่ข้านี่แหละจะกินเจ้าเสียก่อน” ว่าแล้วปูเฒ่าก็เอาก้ามอันแข็งแรงทั้งสองหนีบคอนกก
ระยางจนตาย

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ เวลา 1
ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การแต่งเครื่องแบบลูกเสือวิสามัญ การใช้อาวุธประจำตัวตลอดจนการ
แสดงความเคารพ และ คติพจน์ของลูกเสือวิสามัญ เป็ นสิ่งจำเป็ นที่ต้องปฏิบัติให้ถูก
24
ต้อง โดยมีกฎหมายข้อบังคับพระราชบัญญัติรองรับที่สร้างระเบียบวินัยให้กับลูกเสือ
ทำให้เกิดความศรัทราแก่ผู้ปฏิบัติและผู้พบเห็น และเป็ นที่ยอมรับในสังคมทั่วไป

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือแต่งเครื่องแบบ แสดงความเคารพ และบอกคติพจน์ ของลูกเสือ
วิสามัญได้อย่างถูกต้อง
1. บอกการแต่งเครื่องแบบลูกเสือวิสามัญได้
2. บอกการทำความเคารพในท่าอาวุธได้
3. บอกการทำความเคารพในท่า “ วันทยาหัตถ์ “ ได้
4. เลือกไม้ง่ามเป็ นอาวุธประจำตัวได้เหมาะสม และใช้อาวุธ
ท่าเบื้องต้นได้ถูกต้อง
5. ลูกเสือบอกคติพจน์ของลูกเสือวิสามัญได้

3. เนื้อหาสาระ
1. ระเบียบการแต่งเครื่องแบบลูกเสือวิสามัญ
2. ระเบียบท่าแสดงความเคารพ ท่ามือเปล่า และท่าอาวุธ
3. เครื่องหมายประกอบเครื่องแบบลูกเสือ
4. คติพจน์ของลูกเสือ

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ มองหา “
3. ผู้บังคับบัญชากล่าวต้อนรับลูกเสือวิสามัญและแนะนำให้รู้จัก ผู้บังคับ
บัญชา
4. ผู้บังคับบัญชานำเครื่องแบบลูกเสือแสดงให้ลูกเสือในกองดู
พร้อมอธิบายเรื่องเครื่องแบบลูกเสือวิสามัญ
5. ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ศึกษา ความรู้เบื้องต้นลูกเสือวิสามัญ ดังนี้
–คติพจน์ของลูกเสือ
–เครื่องแบบลูกเสือวิสามัญ
–อาวุธประจำตัวลูกเสือวิสามัญ
-การเคารพในท่า “วันทยาวุธ”
–คติพจน์ของลูกเสือ
6. ตัวแทนลูกเสือแต่ละหมู่ออกมานำเสนอ
7. ผู้บังคับบัญชา ช่วยเพิ่มเติมในสิ่งที่ขาด ให้กับลูกเสือ และ ลูกเสือ
จดบันทึกลงในสมุดของตนเองทุกคน
25
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เรื่อง “บี.พี. กับกองทหาร”
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น
10. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ มองหา “
3. เครื่องแบบลูกเสือ
4. เอกสาร เรื่อง ความรู้เบื้องต้นลูกเสือวิสามัญ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “เรื่อง “บี.พี. กับกองทหาร”

26
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.................................
27
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
28
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................................ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
29

เพลง “ มองหา ”

มอง มองหา ขวัญตาเจ้าอยู่แห่งใด


มอง มองไป ขวัญใจทำไมไม่มา
เจ้าหลอกให้พี่มารอ โอ้หนอมาทำพี่ได้
เป็ นเพราะเหตุอันใด ขวัญใจทำไมไม่มา

––––––––––––––––
30

เรื่องสั้น
เรื่อง “บี.พี. กับกองทหาร”

ที่ฝั่งตะวันตกของแอฟริกา ขณะที่ บี.พี. เป็ นผู้บังคับบัญชากอง


สอดแนมที่ประกอบด้วย ชาวเมืองจำนวนมาก ท่านมีหน้าที่สอดแนมข้าศึก และ
ก่อสร้างทางเพื่ออำนวยความสะดวกให้กองทัพอังกฤษที่เดินทัพตามมา ปรากฎว่า
ทหารของ บี.พี.ไม่รู้จักการผูกเงื่อนเลย แม้แต่เงื่อนง่าย ๆ ท่านจึงเปิ ดการสอนการผูก
เงื่อนขึ้น จึงทำให้งานของท่านรุดหน้าไปได้รวดเร็ว
ฉะนั้น การรู้จักใช้เชือกและฝึกฝนอยู่เสมอ ก็สามารถทำงานบางอย่าง
ได้อย่างรวดเร็ว และ ยังเป็ นประโยชน์ต่อผู้อื่นอีกด้วย

––––––––––––––––––––––––––––––––––––

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
31
เรื่อง บทบาทของลูกเสือวิสามัญ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
บทบาทของลูกเสือวิสามัญ ต้องสามารถบอกบทบาทของตนเอง
ในฐานะที่เป็ นลูกเสือวิสามัญ ต้องเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือ
นานาชาติ และกิจการของลูกเสือเพื่อจะสร้างสรรค์งานต่าง ๆ และเป็ นแบบอย่าง
แก่ชุมชนได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกบทบาทของลูกเสือวิสามัญได้
1. บอกความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติได้
2. บอกบทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือวิสามัญ
ที่มีต่อชุมชนได้
32
เนื้อหาสาระ
บทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือวิสามัญ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ส่งผ้า”
3. ผู้บังคับบัญชาอธิบายวิธีการระดมสมองให้ลูกเสือทุกหมู่ฟัง
4. ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ แยกกันระดมสมอง ตามใบความรู้ เรื่อง บทบาท
ของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือวิสามัญ โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษา ดังนี้
หมู่ที่ 1 ประโยชน์ของกิจกรรมสำหรับลูกเสือวิสามัญ
หมู่ที่ 2 ลักษณะกิจกรรมสำหรับลูกเสือวิสามัญ
หมู่ที่ 3 ลูกเสือวิสามัญกับการพัฒนาชุมชน
หมู่ที่ 4 การดำเนินโครงการพัฒนาชุมชน
หมู่ที่ 5 การบริการ
หมู่ที่ 6 การเป็ นผู้นำในการฝึ กสอน
5. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
6. ลูกเสือแต่ละหมู่ส่งตัวแทนออกมารายงานผลการระดมสมอง
7. ผู้บังคับบัญชา เสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ ต้นไทรกับต้นอ้อ”
9. แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น ลูกเสือทุกกลุ่มนำคติสอน
ใจไปติดที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าว ชมเชยและเสนอแนะ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
33
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เกม “ส่งผ้า”
3. ใบความรู้ เรื่อง บทบาทของตนเองในฐานะที่เป็ นลูกเสือ
สามัญรุ่นใหญ่
4. เรื่อง สั้น “ ต้นไทรกับต้นอ้อ”
34
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ผู้บังคับบัญชาควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษา
ครบทุกฐาน
35
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
36
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..................................
.ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ส่งผ้า”
37

วิธีเล่น
ให้แต่ละแถวมีผู้เล่นหมู่ละเท่า ๆ กันแต่ละหมู่เข้าแถวเป็ นรูปแถวตอน
ให้มีระยะช่วงห่างกันคนต่อคน ประมาณ 1 เมตร ผู้เล่นคนสุดท้ายถือผ้าผูกคอไว้ใน
มือ
เมื่อได้ยินคำสั่งให้เล่นจากผู้บังคับบัญชา คนสุดท้ายของแต่ละแถววิ่งไป
ยืนข้างหน้าแถวแล้วส่งผ้าผูกคอมาทางหลัง จนมาถึงคนสุดท้ายของแถว คนสุดท้าย
ของแถวเมื่อได้รับผ้าแล้วก็รีบวิ่งไปต่อหน้าเช่นคนที่ 1 วิธีการเล่นดำเนินไปเช่นนี้เรื่อย
ๆ แถวใดทำเสร็จก่อนแถวนั้นชนะ

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
ประโยชน์กิจกรรมสำหรับลูกเสือวิสามัญ

เด็กชายจะสมัครเข้าเป็ นลูกเสือวิสามัญสำหรับเด็กหญิงให้สมัครเป็ นเนตร


นารีสามัญรุ่นใหญ่ โดยจะต้องมีอายุ 14 – 18 ปี จะต้องศึกษาอยู่ในชั้น
มัธยมศึกษา ซึ่งอยู่ในวัยหนุ่มสาว ดังนั้นกิจกรรมที่จะจัดให้ฝึกด้วยความระมัดระวัง
38
ให้มีความเหมาะสมกับวัย จะต้องเป็ นผู้เสียสละเพื่อผู้อื่นอยู่เสมอ ลูกเสือวิสามัญก็
เป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน จึงเป็ นหน้าที่ของลูกเสือที่จะต้องช่วยกันพัฒนาชุมชนที่กองลูก
เสือตนเองตั้งอยู่

ประโยชน์ของกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ
1. ให้ลูกเสือเป็ นผู้รอบรู้ด้วยการคิดอย่างมีเหตุผล
2. ทั้งที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม
3. สามารถใช้ภาษาได้อย่างดี
4. มีการให้ข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน
5. มีการวิพากษ์วิจารณ์ความเป็ นไปของโลกปัจจุบัน
6. มีการแสวงหาเอกลักษณ์

ลักษณะกิจกรรมของลูกเสือวิสามัญ
ลูกเสือวิสามัญ จะสัมผัสกับงานสังคม สภาพสิ่งแวดล้อมทำงานส่วนรวม
เพื่อผู้อื่นและเพื่อปลูกฝังให้เป็ นพลเมืองดีของชาติสืบไป
ดังนั้นลักษณะของกิจกรรมหลักคือ งานลูกเสือกับชุมชนเพราะชุมชมเป็ น
สังคมกว้างที่ลูกเสือจะต้องสัมผัส เพื่อการพัฒนาความคิดในการทำงานเพื่อส่วนรวม
สามารถประสานงานและร่วมงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลูกเสือจึงต้องได้รับการฝึกหัดดังนี้
1.ให้มีความรู้ในเรื่องหลักการปฏิบัติงานตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น คือ มีการ
วางแผนล่วงหน้า โดยคำนึงว่างานนั้นจะเกิดในวัน เวลา สถานที่อย่างไร มี
กำหนดการอย่างไร เริ่มงานตรงไหน และจะหวังผลอะไร ตลอดจนต้องมีการเตรียม
ตัวอย่างไร
2. ให้มีความรู้ในการทำงานเป็ นกลุ่ม กลุ่ม คือ บุคคลต่างๆที่เข้ามามี
บทบาทร่วมกัน นับตั้งแต่ตัวลูกเสือเอง บิดา มารดา ญาติพี่น้อง เพื่อน หรือบุคคล
ภายนอก ในกองลูกเสือมีผู้บังคับบัญชา รองผู้บังคับบัญชา ที่ประชุมนายหมู่ และหมู่
ลูกเสือดังนั้นการทำงานเป็ นกลุ่มให้บรรลุผลสำเร็จจะต้องมีการยอมรับกันทั้งความคิด
และคำพูดการยอมปฏิบัติตามกันในฐานะผู้นำ และผู้ตาม ตลอดจนความมีน้ำใจ
ความซื่อสัตย์สุจริต ตรงต่อเวลาและหน้าที่
3. ให้มีการสร้างสัมพันธภาพต่อบุคคลโดยเปิ ดโอกาสให้ตนเองเข้าร่วม
กิจกรรมกับผู้อื่น เอาใจเขามาใส่ใจเราพยายามคิดถึงผู้อื่น เหมือนพี่น้อง ญาติมิตร
สนิทที่ต้องเอาใจใส่ระหว่างกัน มีการบริการซึ่งกันและกัน
39

ลูกเสือกับการพัฒนาชุมชน
ขบวนการลูกเสือ ควรตอบสนองในเรื่อง ความต้องการของสังคม
และทางเศรษฐกิจของสังคมที่ตนบริการอยู่ ไม่ควรปลีกตัวออกจากหน่วยงานอื่นของ
สังคมเพื่อว่าลูกเสือจะได้ทราบว่าสังคมมีความต้องการอะไร และจะได้เข้า
ให้การช่วยเหลือได้อย่างเต็มที่ในกิจการของสังคมนั้น ถึงแม้ว่า ความแตกต่างใน
ทางเศรษฐกิจของสมาชิกในสังคมยังมีอยู่มาก ขบวนการลูกเสือ ก็ต้องพยายาม
ช่วยพัฒนาสภาพความเป็ นอยู่ทางสังคมนั้นให้เข้าสภาพกับที่ใคร ๆ ในสังคมนั้นพอ
จะยอมรับได้

กิจกรรมการพัฒนาชุมชนที่เหมาะสมกับลูกเสือวิสามัญ
ในแต่ละสภาพของท้องถิ่น หรือท้องถิ่นเดียวกันแต่คนละช่วงเวลา ย่อมมี
ความแตกต่างกันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองท้องถิ่น ตลอดจน
ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เมื่อลูกเสือจะเข้าไปดำเนิน
กิจกรรมเหล่านี้ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ควรพยายามคัดเลือกโครงการ ที่จะจัด
กิจกรรมให้เกิดประโยชน์มากที่สุดเท่าที่จะมากได้

การดำเนินการโครงการพัฒนาชุมชน
ในการพัฒนาชุมชน ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือจะต้องศึกษาข้อมูล
เบื้องต้นแล้วเขียนเป็ นโครงการขึ้นมาก่อน หรือไปร่วมกับโครงการที่หน่วยราชการต่าง
ๆ จัดขึ้นก็ได้ตัวอย่างโครงการมีดังนี้
1. ขั้นการวางแผน
–สำรวจข้อมูลเบื้องต้น
–วางแผนเขียนโครงการ
–กำหนดรายละเอียดการปฏิบัติทุกขั้นตอน เตรียมอุปกรณ์ เครื่อง
อำนวยความสะดวกต่าง ๆ หากมีการติดต่อประสานงานภายนอกต้องระบุให้ละเอียด
2. ขั้นลงมือปฏิบัติ
– จัดแบ่งหมู่งาน ชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และ
รายละเอียดในการปฏิบัติอย่างถูกวิธี
– มอบอุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ
– ปฏิบัติงานตามกำหนดเวลา สถานที่
2. ขั้นประเมินผลการปฏิบัติตามโครงการ
– พิจารณารายละเอียดในโครงการว่าดำเนินงานไปครบถูกต้องเรียบร้อย
เพียงใด
– มีปัญหา อุปสรรค และข้อควรแก้ไขปรับปรุงในด้านใดบ้าง
40
– ทุกคนมีความพึงพอใจในผลงาน และประชาชนในชุมชนให้ความ
ร่วมมือในโครงการเพียงใด
– อภิปราย สรุป และเขียนบันทึกรายงาน ติดป้ ายประกาศให้ทุกคน
ทราบ
41

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ต้นไทรกับต้นอ้อ”

ในเย็นวันหนึ่ง ขณะที่ลูกเสือสองคนกำลังยืนคุยกันที่ริมฝั่งแม่น้ำสายหนึ่ง
ปรากฏว่า เกิดลมพัดอย่างรุนแรง ต้นไม้ทั้งหลายไหวเอน ทันใดนั้นก็ได้ยินเสียง
โครม! ต้นไทรใหญ่ริมแม่น้ำหักโค่นลงสู่แม่น้ำ ต้นไม้ใหญ่หลายต้นทำท่าจะโค่นลง
ลูกเสือทั้งสอง สังเกตว่าต้นไม้เล็ก ๆ เช่น ต้นอ้อทำไมไม่โค่นหัก ทั้งๆที่ลำต้นเล็กนิด
เดียว จึงนำไปคุยกับผู้บังคับบัญชาลูกเสือคนหนึ่ง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้ความเห็น
ต้นไทรลำต้นแข็งแรงไม่สามารถอ่อนลู่ตามแรงลมได้เหมือนต้นอ้อ มันจึงหักโค่น

คติ อย่าพยายามต่อสู้หรือปะทะด้วยกำลัง จงพยายาม


ใช้ ความอ่อนโยนและความสงบในการแก้ปัญหา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณนกหวีด – บุคคลท่ามือเปล่า (ระเบียบแถว 1 ) เวลา 1 ชั่วโมง
42

สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือเป็ นการฝึก สัญญาณนกหวีด , ท่ามือ
เปล่า ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำบอก
คำสั่ง และยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคีใน
หมู่คณะ การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่า,สัญญาณนกหวีดของ
ลูกเสือได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่าได้
2. ปฏิบัติการเข้าแถวตามสัญญาณนกหวีดของลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
2. สัญญาณนกหวีด

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ สัญญาณนกหวีด ”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
4. โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ
แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ น
ผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สัญญาณนกหวีด
ฐานที่ 2 เรื่อง การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า
ฐานที่ 3 เรื่อง การฝึกท่าหันอยู่กับที่

6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. ใบความรู้ เรื่อง การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
3. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
43
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “ต้นไทรกับต้นอ้อ”
44
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติ สัญญาณนกหวีด , ท่า
มือเปล่า
ท่าอาวุธ ที่ตนเองเป็ นผู้รับผิดชอบ อยู่ในกองของท่าน
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
45
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
46
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ สัญญาณนกหวีด”
47
ยาวหนึ่งครั้งเราฟังได้ความว่าหยุด เป่ ายาวเป็ นชุดเราต้องรีบรุดไปไปต่อไป
สั้นติดต่อกันเร็วพลันเข้าแถวทันใด สั้นยาวนั้นไซร้เราต้องว่องไวเพราะเกิด
เหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซีสั้นสามยาวหนึ่ง ลูกเสือเราพึงจดจำคำนึงนี่คือสัญญาณ

เรื่องสั้น
เรื่อง “การบุกเบิกของ บี.พี.”

ในขณะที่ บี.พี. และกองทหารสอดแนมของท่านทำการบุกเบิกใน


48
ภาคตะวันตกของแอฟริกา ปรากฏว่าได้สร้างสะพานเกือบ 200 สะพาน โดยใช้วัสดุ
ที่พอหาได้ในท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งนี้ บี.พี. ได้เห็นชาวพื้นเมืองในอินเดียทำสะพานโดยใช้
เชือกสามเส้นข้ามแม่น้ำ และใช้ไม้ผูกเป็ นตัววีเป็ นระยะ ๆ ส่วนสะพานข้ามแม่น้ำที่
แคบและลึกนั้น ก็โค่นต้นไม้หนึ่งหรือสองต้นพาด และตอนบนของต้นไม้ถากให้แบน
ลง ทำราวสำหรับจับก็ได้สะพานอย่างดีสะพานหนึ่ง
49

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
สัญญาณนกหวีด
1. เป่ ายาวหนึ่งครั้ง (–––––) หมายถึง หยุด ฟังหรือเตรียมตัวรับสัญญาณ
ต่อไป
2. เป่ ายาวติดต่อกัน 2 ครั้ง (––––– –––––) หมายถึง ปฏิบัติอะไรอยู่
ก็ให้ปฏิบัติสิ่งนั้นต่อไป
3. เป่ าสั้นติดต่อกันหลายครั้ง (–– –– –– –– ––) หมายถึง ให้รีบมายัง
สัญญาณ
และรวมกองรีบจัด แถวรีบปฏิบัติ
4. เป่ าสั้นสามครั้ง ยาวหนึ่งครั้ง เป็ นชุด ๆ (–– –– –– ––––– –– –– ––
–––––) หมายถึง เรียกนายหมู่มานี่ ถ้านายหมู่ติดธุระ ให้รองนายหมู่มา
แทนตัว
รองนายหมู่ติดธุระให้ผู้อื่นมาแทน
5. เป่ าสั้นหนึ่งครั้งยาวหนึ่งครั้ง สลับกันไป (–– ––––– –– –––––) หมาย
ถึง
มีเหตุสำคัญเกิดอันตรายขอความช่วยเหลือ หรือให้ระวังตัว

หมายเหตุ จะเป่ าสัญญาณใดก็ตาม จะต้องเป่ ายาวหนึ่งครั้งก่อน เพื่อให้ลูกเสือได้


หยุดฟังก่อนที่จะเป่ าสัญญาณต่อไป

การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า
คำบอกหรือการออกคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชาลูกเสือนับว่าเป็ นสิ่งสำคัญ
มาก เพราะจะทำให้ลูกเสือปฏิบัติถูกขั้นตอน จึงควรเข้าใจคำบอกไว้เป็ นเบื้องต้น
ซึ่งมี 2 ชนิด คือ
1. ตอนแรก เรียกว่า คำนำ จะทอดเสียวยาวและเว้นระยะเล็กน้อย เพื่อ
ให้ลูกเสือเข้าใจและปฏิบัติได้ถูก เช่น กอง……ตรง
2. ตอนหลัง เรียกว่า คำสัญญาณ จะออกเสียงหนักและสั้น เช่น
“แถว–ตรง” “ขวา–หัน” “วันทยา–วุธ”
50

ท่าพัก ท่าพักเป็ นท่าที่เปลี่ยนแปลงอิริยาบถจากท่าตรง เพื่อผ่อน


คลายความตึงเครียดตามโอกาสต่าง ๆ ผู้บังคับบัญชาจะเลือกใช้คำสั่งเองว่าท่าไหน
เหมาะที่สุด เช่น
– ท่าพักตามปกติ ใช้พักในโอกาสระหว่าง ฝึก–สอน
– พักตามระเบียบ ใช้พักในโอกาสในพิธีต่าง ๆ เช่น ตรวจพล
– พักตามสบาย ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอคำสั่ง เพื่อปฏิบัติต่อ
เป็ นระยะ ๆ
– พักนอกแถว ใช้ในโอกาสพักประจำชั่วโมงการฝึก
เพื่อให้ลูกเสือ ได้ทำธุระส่วนตัว

การหันอยู่กับที่ การหันจะมี 2 จังหวะ มือทั้งสองข้างจะไม่แกว่ง


ขวาหัน คำบอก คือ “ขวา–หัน” ผู้ปฏิบัติ จะทำต่อเนื่องกัน
ภาพประกอบ ขวาหัน

ซ้ายหัน คำบอก คือ “ซ้าย–หัน” ผู้ปฏิบัติจะปฏิบัติคล้ายกับขวาหัน


แต่เปลี่ยนทิศทางและสลับเท้า กับขวาหัน
กลับหลังหัน
คำบอก จะปฏิบัติต่อเนื่องกัน
51
ภาพประกอบ กลับหลังหัน
52
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณนกหวีด – บุคคลท่ามือเปล่า (ระเบียบแถว 3 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือเป็ นการฝึก สัญญาณนกหวีด , ท่ามือ
เปล่า ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำบอก
คำสั่ง และยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคีใน
หมู่คณะ การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่า,สัญญาณนกหวีดของ
ลูกเสือได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่ามือเปล่าได้
2. ปฏิบัติการเข้าแถวตามสัญญาณนกหวีดของลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
2. สัญญาณนกหวีด

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ สัญญาณนกหวีด ”
3. ทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาโดยให้ลูกเสือแต่ละหมู่แยกฝึก เมื่อลูกเสือ
เรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น “ความซื่อสัตย์”
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
8. ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
10. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
11. บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
53
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. ใบความรู้ เรื่อง การฝึกระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า
3. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
4. แถบบันทึกเสียง เรื่องสั้น “ความซื่อสัตย์”
54
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
และความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติ สัญญาณนกหวีด , ท่า
มือเปล่า ท่าอาวุธ ที่ตนเองเป็ นผู้รับผิดชอบ อยู่ในกองของท่าน
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
55
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
56
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.....................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./……

เพลง “ สัญญาณนกหวีด”
57
ยาวหนึ่งครั้งเราฟังได้ความว่าหยุด เป่ ายาวเป็ นชุดเราต้องรีบรุดไปไปต่อไป
สั้นติดต่อกันเร็วพลันเข้าแถวทันใด สั้นยาวนั้นไซร้เราต้องว่องไวเพราะเกิด
เหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซีสั้นสามยาวหนึ่ง ลูกเสือเราพึงจดจำคำนึงนี่คือสัญญาณ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความซื่อสัตย์”

นายมั่นได้ไปเรียนวิชาจากอาจารย์คนหนึ่ง เรียนจบอาจารย์ได้
บอกว่า เจ้าจงจำไว้ว่า ความซื่อสัตย์จะทำให้เจ้าพบความสำเร็จ นายมั่นจึงได้เดินทาง
ไปหางานทำ ระหว่างทางนายมั่นได้พบชายชรา ซึ่งได้สะพายย่ามมาด้วย 1 ใบ จึงถาม
ชายชราคนนั้นว่าจะไปไหน ชายชราบอกว่าจะนำย่ามนี้ไปให้ชายชื่อคง ที่หัวเมือง
58
นายมั่นอาสาจะนำย่ามไปให้นายคงแทนชายชรา ชายชราสั่งว่าระหว่างทางห้ามเปิ ดย่าม
ใบนี้ดู นายมั่นก็รับปากว่าจะไม่ดู ระหว่างทางที่จะไปหัวเมือง นายมั่นพบชายคนหนึ่ง
เขามาขอซื้อย่ามใบนี้ด้วยเงินมหาศาล นายมั่นก็บอกว่าไม่ขาย เพราะมีชายชราคนหนึ่ง
ให้เขานำไปให้นายคงที่หัวเมือง แล้วนายมั่นก็เดินทางต่อ นายมั่นก็ได้พบกับชายอีก
คนหนึ่งมาขอซื้อย่าม โดยเสนอให้ว่าจะซื้อโดยนำทองใส่ในย่ามจนเต็มนายมั่นก็ไม่ขาย
โดยให้เหตุผลเหมือนชายคนแรกนายมั่นคิดว่าในย่ามใบนี้มีอะไรหนอ ทำไมจึงมีค่า
มากมายนัก นายมั่นคิดจะเปิ ดดู แต่นึกได้ว่ารับปากกับชายชราไว้ว่าจะไม่เปิ ดย่ามดู
นายมั่นเดินทางไปจนถึงหัวเมือง ที่นั่นนายมั่นได้พบกับอาจารย์ของเขา นายมั่นก็เข้าไป
ถามหาชายชื่อ นายคง กับอาจารย์ของเขา อาจารย์บอกว่าข้านี่แหละชื่อคง ต้องการเห็น
ความซื่อสัตย์ของเจ้า จึงออกอุบายเช่นนี้ และอาจารย์ก็ให้นายมั่นเปิ ดย่ามดูนายมั่นก็พบ
รายละเอียดเกี่ยวกับการทำงานในย่าม นายมั่นดีใจมากที่เขาจะได้งานทำ ไม่ต้อง
เร่ร่อนหางานอีกต่อไป

คติ ความซื่อสัตย์มีค่ายิ่งกว่าทองคำ

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว

สัญญาณนกหวีด
1.เป่ ายาวหนึ่งครั้ง (–––––) หมายถึง หยุด ฟังหรือเตรียมตัวรับสัญญาณ
ต่อไป
2.เป่ ายาวติดต่อกัน 2 ครั้ง (––––– –––––) หมายถึง ปฏิบัติอะไรอยู่
ก็ให้ปฏิบัติสิ่งนั้นต่อไป
3.เป่ าสั้นติดต่อกันหลายครั้ง (–– –– –– –– ––) หมายถึง ให้รีบมายัง
สัญญาณ และรวมกองรีบจัด แถวรีบปฏิบัติ
59
4.เป่ าสั้นสามครั้ง ยาวหนึ่งครั้ง เป็ นชุด ๆ (–– –– –– ––––– –– –– ––
–––––) หมายถึง เรียกนายหมู่มานี่ ถ้านายหมู่ติดธุระ ให้รองนายหมู่มาแทน
ตัว รองนายหมู่ติดธุระให้ผู้อื่นมาแทน
5.เป่ าสั้นหนึ่งครั้งยาวหนึ่งครั้ง สลับกันไป (–– ––––– –– –––––) หมาย
ถึง มีเหตุสำคัญเกิดอันตรายขอความช่วยเหลือ หรือให้ระวังตัวหมายเหตุ จะเป่ า
สัญญาณใดก็ตาม จะต้องเป่ ายาวหนึ่งครั้งก่อน เพื่อให้ลูกเสือได้หยุดฟังก่อนที่จะเป่ า
สัญญาณต่อไป

การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า
คำบอกหรือการออกคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชาลูกเสือนับว่าเป็ นสิ่งสำคัญ
มาก เพราะจะทำให้ลูกเสือปฏิบัติถูกขั้นตอน จึงควรเข้าใจคำบอกไว้เป็ นเบื้องต้น
ซึ่งมี 2 ชนิด คือ
1. ตอนแรก เรียกว่า คำนำ จะทอดเสียวยาวและเว้นระยะเล็กน้อย เพื่อ
ให้ลูกเสือเข้าใจและปฏิบัติได้ถูก เช่น กอง……ตรง
2. ตอนหลัง เรียกว่า คำสัญญาณ จะออกเสียงหนักและสั้น เช่น
“แถว–ตรง” “ขวา–หัน” “วันทยา–วุธ”
60

ท่าพัก ท่าพักเป็ นท่าที่เปลี่ยนแปลงอิริยาบถจากท่าตรง เพื่อผ่อน


คลายความตึงเครียดตามโอกาสต่าง ๆ ผู้บังคับบัญชาจะเลือกใช้คำสั่งเองว่าท่าไหน
เหมาะที่สุด เช่น
– ท่าพักตามปกติ ใช้พักในโอกาสระหว่าง ฝึก–สอน
– พักตามระเบียบ ใช้พักในโอกาสในพิธีต่าง ๆ เช่น ตรวจพล
– พักตามสบาย ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอคำสั่ง เพื่อปฏิบัติต่อ
เป็ นระยะ ๆ
– พักนอกแถว ใช้ในโอกาสพักประจำชั่วโมงการฝึก
เพื่อให้ลูกเสือ ได้ทำธุระส่วนตัว

การหันอยู่กับที่ การหันจะมี 2 จังหวะ มือทั้งสองข้างจะไม่แกว่ง


ขวาหัน คำบอก คือ “ขวา–หัน” ผู้ปฏิบัติ จะทำต่อเนื่องกัน
ภาพประกอบ ขวาหัน

ซ้ายหัน คำบอก คือ “ซ้าย–หัน” ผู้ปฏิบัติจะปฏิบัติคล้ายกับขวาหัน


แต่เปลี่ยนทิศทางและสลับเท้า กับขวาหัน
กลับหลังหัน
คำบอก จะปฏิบัติต่อเนื่องกัน
61
ภาพประกอบ กลับหลังหัน
62
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง บุคคลท่าอาวุธการเคลื่อนที่ (ระเบียบแถว 3 ) เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
การฝึกระเบียบแถวของลูกเสือ เป็ นการฝึกบุคคลท่าอาวุธและการ
เคลื่อนที่ให้ถูกระเบียบวินัยมีความมานะอดทน ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำ
บอกคำสั่ง และยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ ความสามัคคี
ในหมู่คณะ การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวบุคคลท่าอาวุธของลูกเสือได้
1. ปฏิบัติการฝึกระเบียบแถวท่าถืออาวุธได้
2. ปฏิบัติการเดินเคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง

เนื้อหาสาระ
1. ระเบียบแถวเป็ นบุคคลท่าถืออาวุธ
2. การเคลื่อนที่แบบมีอาวุธ

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ลูกเสือเตรียมความพร้อม ”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน
แล้วจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
63

4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ น


ผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง การฝึกเป็ นบุคคลท่าถือไม้ง่าม
ฐานที่ 2 เรื่อง ท่าแบกอาวุธ–เรียบอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม
ฐานที่ 3 เรื่อง “ท่าหันและการเคลื่อนที่“ เวลาถือไม้ง่าม
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “วัวนอกคอก“
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟัง เขียนลงในกระดาษ
10. ลูกเสือแต่ละกลุ่มให้ตัวแทนนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
12. ลูกเสือทำแบประเมินผลหลังเรียน ส่งผู้บังคับบัญชา
13. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์การเรียนรู้ ส่งผู้บังคับบัญชา
14. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อ
ที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
15. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2.ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
3. เกม “ลูกเสือเตรียมความพร้อม ”
4. เรื่องสั้น เรื่อง “วัวนอกคอก”
64
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือทดสอบภาคปฏิบัติท่าอาวุธ การเคลื่อนที่ ที่
ตนเอง เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกองของท่าน
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติมจากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
65
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
66
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
67
เกม “ลูกเสือเตรียมพร้อม”

1. แข่งขันในระบบหมู่
2. จัดให้แต่ละหมู่มีจำนวนเท่ากัน
3. กำหนดจุดเริ่มและจุดสิ้นสุดระยะทางไม่เกิน 5 เมตร
4. ให้ลูกเสือถอดอุปกรณ์ในการแต่งกายออกและวางไว้
5. ให้ลูกเสือในหมู่แต่ละคน วิ่งออกไปแต่งให้สมบูรณ์ดังเดิม หมู่ใดเสร็จ
ก่อนถือว่าชนะ

หมายเหตุ ข้อ 4 ถอดหมวก ผ้าผูกคอ วอคเกิ้ล เป้ สะพายหลัง


68

เรื่องสั้น
เรื่อง “ วัวนอกคอก ”

สมัยก่อนการคมนาคมยังไม่เจริญ ยังต้องใช้สัตว์เป็ นพาหนะ มีพ่อค้า


กลุ่มหนึ่งนำฝูงวัวบรรทุกต่าง ๆ คือ บรรทุกของจากเมืองหนึ่งสู่เมืองหนึ่ง มีตัวหนึ่ง
เป็ นจ่าฝูง คือวัวนำ ในระหว่างทางวัวตัวหนึ่งแลเห็นหญ้าเขียวขจี ก็พยายาม
แหวกฝูงไปกินหญ้า มันจึงถูกเฆี่ยนตี พอเวลากลางคืนทุกชีวิตต่างหลับใหลด้วยความ
อ่อนเพลียประกอบกับกินอาหารอิ่ม แต่วัวตัวเดิมที่แหกฝูงตอนกลางวันนั้นหานอน
ไม่ มันสะบัดเชือกขาด และหนีไปกินหญ้าที่หมายปอง ระยะทางไกลมันเดิน
ลัดเลาะไปตามป่ า พอรุ่งเช้า พ่อค้าสำรวจวัวพบว่าวัวตัวนั้นหายไป พ่อค้าแกะรอย
ตามรอยเท้าไปก็พบแต่ซากและรอยเท้าเสือแสดงว่า “การไม่มีระเบียบวินัยทำให้เกิด
อันตราย“

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
การฝึ กเป็ นบุคคลท่าถือไม้ง่าม
ท่าตรงและท่าพัก
69
– ท่าตรง
คำบอก คือ “ตรง” หรือ “กอง–ตรง”
ผู้ปฏิบัติ จะใช้มือขวาจับไม้ง่าม ให้โคนไม้ง่ามอยู่ชิดนิ้วก้อย
ของเท้าขวา แขนขวาเหยียดตึงลงล่างจับไม้ง่าม ลักษณะเดียวกับจับปากกา
หัวแม่มือขวา อยู่ติดกับขาขวากดไม้ง่ามให้กระชับร่องไหล่ขวา
– ท่าพัก
พักตามปกติ
คำบอก คือ “พัก” หรือ “กอง–พัก”
ผู้ปฏิบัติ จะหย่อนเข่าขวาลงก่อน ถ้าพักต่อไปจะหย่อนเข่าไหน
ก็ได้
แต่จะต้องหย่อนเพียงเข่าเดียว
– พักตามระเบียบ
คำบอก คือ “ตามระเบียบ–พัก”
ผู้ปฏิบัติ จะเลื่อนมือขวาขึ้นมากำไม้ง่ามระดับเอว แล้วผลักไม้ง่า
ออกไป ข้างหน้า เฉียงไปทางขวาประมาณ 45 องศา จนสุดมือขวา พร้อมกับ
แยกเท้าซ้ายออกไป ด้านข้างประมาณ 30 ซม. ยกมือซ้ายไพล่หลังแบมือ ให้นิ้วทั้ง
ห้าเรียงชิดติดกันวางหลังมือ ซ้ายในแนวเข็มขัด
70

ท่าตรงในเวลาถือไม้ง่าม ท่าพักในเวลาถือไม้ง่าม

ท่าวันทยาวุธ–เรียบอาวุธ ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าวันทยาวุธ
คำบอก คือ “วันทยา–วุธ”
การปฏิบัติ จะยกมือซ้ายขึ้นมาด้านหน้า งอศอกขนานกับพื้น
คว่ำฝ่ ามือใช้นิ้วหัวแม่มือกดปลายนิ้วก้อยไว้สามนิ้ว ที่เหลือเหยียดตรงติดกัน ให้ข้อ
สุดท้ายของนิ้วชี้แตะอยู่ที่ ไม้ง่าม
ท่าเรียบอาวุธ
คำบอก คือ “เรียบ–อาวุธ”
การปฏิบัติ จะลดมือซ้ายมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ
เข้มแข็ง
โดยไม่ให้เกิดเสียงดัง
ท่าวันทยาวุธในเวลาถือไม้ง่ามท่าเรียบอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม

“ท่าแบกอาวุธ–เรียบอาวุธ” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าแบกอาวุธ
71
คำบอก ใช้คำบอกว่า “แบก–อาวุธ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำเป็ น 2 จังหวะ
72
ท่าแบกอาวุธในเวลาถือไม้ง่าม
จังหวะที่ 1 จังหวะที่ 2

ท่าเรียบอาวุธ
คำบอก ใช้คำบอก “เรียบ–อาวุธ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำเป็ น 3 จังหวะ
ท่าเรียบอาวุธ ในเวลาถือไม้ง่าม
จังหวะ 1 จังหวะ 2 จังหวะ 3
73
ท่าถอดหมวก–สวมหมวก” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าถอดหมวก
คำบอก ใช้คำบอก “ถอดหมวก
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือนำไม้ง่ามในมือขวามาไว้ตรงหน้า ให้ไม้ง่ามอยู่
กึ่งกลาง
ระหว่างเท้าทั้งสอง ไม้ง่ามส่วนบน
พิงแขนซ้ายด้านใน ซึ่งงอตรงศอก
แขนซ้ายท่อนบนชิดลำตัว หน้า
แขนตั้งได้ฉาก ฝ่ ามือแบหงายขณะ
เดียวกัน ใช้มือขวาถอดหมวกซึ่ง
อาจเป็ นหมวกเบเร่ต์ หมวกทรง
หม้อตาล หรือหมวกทรงปี กกว้าง
ที่ไม่ได้ใส่สายรัดคาง (แต่ถ้าใส่
สายรัดคางอยู่ ให้ปลดสายรัดคาง
ออกเสียก่อน) จากศีรษะแล้วนำ
74
ท่าทอดหมวกในเวลาถือไม้ง่าม เอามาวางบนฝ่ ามือซ้าย

ท่าสวมหมวก
คำบอก ใช้คำบอก “สวมหมวก”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือใช้มือขวานำหมวกใน
มือซ้ายขึ้นสวมโดยใช้มือซ้าย
ช่วย
สำหรับหมวกทรงปี กกว้าง ให้
ใส่
สายรัดท้ายทอยให้
เรียบร้อย(ถ้าก่อน
ถอดใส่สายรัดท้ายทอยไว้) แล้ว
ใช้ มือขวาจับไม้ง่าม
ที่พิงไว้กับแขนซ้าย มาถือไว้ใน
ท่าเรียบอาวุธตามเดิม
ท่าสวมหมวกในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าหันและการเคลื่อนที่” ในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าหันในเวลาถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอก และวิธีปฏิบัติเหมือนท่าอยู่กับที่มือเปล่า
การปฏิบัติ ถ้าหันขณะที่ไม้ง่ามอยู่ในท่าเรียบอาวุธ เพื่อให้การหัน
สะดวกขณะหันยกไม้ง่ามในมือขวา ให้ยกพ้นพื้น เล็กน้อย เมื่อหันเสร็จแล้วลด
มือขวาลงให้ไม้ง่ามจดพื้น

ท่าหมอบ–ลุกในเวลาถือไม้ง่าม
ท่าหมอบในขณะถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอก “หมอบ”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือปฏิบัติ
75

ท่าลุกในขณะถือไม้ง่าม
คำบอก ใช้คำบอกว่า “ลุก”
การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทำกลับกัน

ท่าคอนอาวุธ
คอนอาวุธ เป็ นการถืออาวุธอีกลักษณะหนึ่ง ที่จะทำให้เกิดความ
เรียบร้อยและเป็ นระเบียบ ลูกเสือเคลื่อนที่ไปทางใดก็ตาม ถ้าผู้บังคับบัญชาไม่ได้สั่ง
ให้แบกอาวุธแล้ว ลูกเสือจะต้องคอนอาวุธโดยใช้มือขวากำไม้ง่ามดึงขึ้นมาระดับเอว
แล้วเฉียงไม้ง่ามไปข้างหน้าประมาณ 45 องศา มือขวากำไม้ง่ามให้แน่นติดกับเอว
แกว่งเฉพาะมือซ้ายข้างเดียว
76

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณมือ (ระเบียบแถว 4 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
สัญญาณมือเป็ นสัญญาณสำคัญมากในกระบวนการลูกเสือ เป็ นสื่อที่จะ
ติดต่อ สั่งการ หรือบอกความหมายให้ผู้รับหรือสมาชิกได้ปฏิบัติถูกต้องเหมือนกัน
เป็ นสากลจะสร้างความมีวินัย ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยได้เป็ นอย่างดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือที่เรียกได้อย่างถูกต้อง
1. บอกความหมายของสัญญาณมือ ได้
2. ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือได้
3. ปฏิบัติการส่งสัญญาณมือได้
เนื้อหาสาระ
ระเบียบแถวเรื่องสัญญาณมือ
– แถวหน้ากระดานแถวเดียว
– แถวตอนเรียงหนึ่ง
– แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
– แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
77
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เรียกลูกเสือเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันร้องเพลง “ตรงต่อเวลา”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 4 ฐาน โดยแต่ละ
ฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้
ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ น
ผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สัญญาณมือในการเรียกแถวของลูกเสือสากล
ฐานที่ 2 เรื่อง แถวตอนเรียงหนึ่ง
ฐานที่ 3 เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
ฐานที่ 4 เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “เณรน้อย เจ้า
ปัญญา”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยให้กับลูกเสือ
11. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เพลง “ตรงต่อเวลา”
3. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “เณรน้อยเจ้าปัญญา”
78
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ทดสอบภาคปฏิบัติระเบียบแถวลูกเสือ ที่
ตนเอง เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกอง
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
79
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
80
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................... ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
81

เพลง “ตรงต่อเวลา”

ตรงต่อเวลาพวกเราต้องมาให้ตรงเวลา ตรง ตรง ตรงเวลา


พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา เราเกิดมาเป็ นคน เราต้องฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่าวันเวลาไม่เคยคอยใคร

เรื่องสั้น
เรื่อง “เณรน้อยเจ้าปัญญา”
82

เณรน้อยรูปหนึ่งปฏิบัติเคร่งครัดในศีลที่กำหนดไว้ เช่น เว้นจากการพูด


ปด และการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เป็ นต้น เช้าวันหนึ่งออกบิณฑบาตเห็นชายคนหนึ่งฆ่า
ชายอีกคนหนึ่งตาย เณรน้อยรู้จักชายทั้งสองคนดี แต่เมื่อตำรวจมาสอบว่า เห็นใคร
เป็ นคนฆ่าชายคนนั้น เณรน้อยก็คิดว่า หากตอบไปตามความจริง ชายที่เป็ นผู้ฆ่าต้อง
ถูกจับไปลงโทษประหารชีวิต
ทำให้ตนเองต้องผิดศีล แต่ถ้าไม่ตอบตามความเป็ นจริงก็จะเป็ นการพูดปดผิดศีลอีก
ในที่สุดเณรน้อยก็ตอบตำรวจไปว่า “สิ่งเห็นคือตานั้นมันตอบไม่ได้แต่สิ่งที่ตอบคือปาก
นั้นมันไม่ได้เห็น”

คติ ผู้ที่มีปัญญาย่อมกระทำแต่ในสิ่งที่ไม่ให้โทษทั้งแก่ผู้อื่นและ
แก่ตนเอง

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว

แถวหน้ากระดานแถวเดียว (หน้ากระดานเรียง 1)
ผู้เรียกเหยียดแขนทั้งสองออกไปด้านข้างเสมอไหล่มือแบนิ้วทั้งห้าชิดกัน
หันฝ่ ามือไปข้างหน้า
การเข้าแถวให้เข้าแถวหน้ากระดานแถวเดียว ข้างหน้าผู้เรียกหมู่ที่ 1 อยู่
ทางซ้ายมือของผู้เรียกให้กึ่งกลางของแถวอยู่ตรงหน้าผู้เรียกห่างประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล ให้ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก
ให้ฝ่ ามือพักอยู่บนสะโพก นิ้วเหยียดชิดกันและชี้ลงพื้น นิ้วกลางอยู่ประมาณแนว
ตะเข็บกางเกง ศอกอยู่เสมอแนวลำตัวการจัดแถวใช้แขนขวาจรดปลายศอกซ้ายของคน
83
ข้างเคียง ไม่เว้นระยะเคียงระหว่างหมู่ ทุกคนจัดแถวโดยสะบัดหน้าไปทางขวา ดูอก
คนที่สามผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ท่าตรง

ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานแถวเดียว
84
แถวตอนเรียงหนึ่ง (หลายหมู่เรียกว่าแถวตอนหมู่)
ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่มือแบนิ้ว
ทั้งห้าชิดกันหันฝ่ ามือเข้าหากันและขนานกัน
การเข้าแถว(ถ้าหมู่เดียว)ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียกนายหมู่อยู่ตรงหน้าผู้เรียก
และห่างประมาณ 6 ก้าว ลูกหมู่เข้าด้านหลังนายหมู่
การจัดแถวระยะต่อสุดช่วงแขนของลูกเสือ ยื่นไปจรดหลังของผู้อยู่ข้างหน้า
ผู้เรียกจัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงและอยู่ในท่า
ตรงแต่ถ้ามีมากกว่า 1 หมู่ ให้เรียกว่า “แถวตอนหมู่”
การเข้าแถวให้หมู่ที่เป็ นหลักเข้าแถวตอนตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ
6 ก้าว หมู่อื่น ๆ เข้าแถวตอนเป็ นแนวเดียวกันไปทางซ้ายและ
ทางขวาของหมู่หลัก
การจัดแถวระยะเคียงระหว่างหมู่แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
อยู่ในท่าตรงผู้เรียกจัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลงอยู่
ในท่าตรง
85
ภาพประกอบ แถวตอนหมู่

แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
ผู้เรียกกำมือทั้งสองข้างเหยียดตรงออกไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอศอกขึ้น
เป็ นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ให้หมู่ที่1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียกให้กึ่งกลางของ
หมู่อยู่ตรงหน้าผู้เรียกห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดาน
ด้านหลังตามลำดับระยะต่อระหว่างหมู่ 1ช่วงแขน (ไม่ต้องยกแขน)
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก
สะบัดหน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลง
พร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
86
ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
ผู้เรียกกำมือเหยียดแขนทั้งสองข้าง ออกไปด้านข้างให้ขนานกับพื้น งอ
ศอกขึ้นเป็ นมุมฉากหันหน้ามือไปข้างหน้า
การเข้าแถวให้หมู่ที่1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียกให้กึ่งกลางของหมู่
อยู่ตรงหน้าผู้เรียกห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดาน
ด้านหลังตามลำดับระยะต่อระหว่างหมู่ 3 ช่วงแขน (ไม่ต้องยกแขน)
การจัดแถวระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก สะบัด
หน้าไปทางขวา
ผู้เรียกจัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลงพร้อม
กับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
87
ภาพประกอบ แถวหน้ากระดานหมู่เปิ ดระยะ
88
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง สัญญาณมือ (ระเบียบแถว 6)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
สัญญาณมือเป็ นสัญญาณสำคัญมากในกระบวนการลูกเสือ เป็ นสื่อที่จะ
ติดต่อ สั่งการ หรือบอกความหมายให้ผู้รับหรือสมาชิกได้ปฏิบัติถูกต้องเหมือนกัน
เป็ นสากลจะสร้างความมีวินัย ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยได้เป็ นอย่างดี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือที่เรียกได้
1. บอกความหมายของสัญญาณมือ ได้
2. ปฏิบัติตนตามสัญญาณมือได้
3. ปฏิบัติการส่งสัญญาณมือได้
เนื้อหาสาระ
การฝึกระเบียบแถวเรื่องสัญญาณมือ
– แถวรูปครึ่งวงกลม
– แถววงกลม
– แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
– แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
89
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร่วมกันเล่นเกม “นักโทษแหกคุก”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 4 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน
แล้วจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระเบียบแถว ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ น
ผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
ฐานที่ 2 เรื่อง แถวรูปวงกลม
ฐานที่ 3 เรื่อง แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
ฐานที่ 4 เรื่อง แถวรัศมีหรือล้อเกวียน

5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”
9. เมื่อลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำติชม
11. มอบใบความรู้ เรื่องระเบียบแถว ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เกม “นักโทษแหกคุก”
3. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบแถว
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
90
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ทดสอบภาคปฏิบัติระเบียบแถวลูกเสือ
ที่ตนเอง เป็ นผู้รับผิดชอบอยู่ในกอง
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือระเบียบแถวเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือ
โรงเรียน
91
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
92
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................... ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
93

เกม “นักโทษแหกคุก”

วิธีเล่น
ลูกเสือยืนจับมือกันเป็ นวงกลม เลือกลูกเสือคนหนึ่งเป็ นนักโทษ
ยืนกลางวง นักโทษพยายามจะแหกออกจากวงกลม (คุก) โดยลอดใต้แขน
หรือกระโดดข้ามแขนก็ได้ห้ามกระชากมือให้หลุด เพื่อออกจากวงกลม ถ้า
นักโทษหนีออกได้ โดยลอดหรือข้ามออกเหนือแขน เขาจะเป็ นผู้ชนะ ลูกเสือ
ทุกคนต้องให้เกียรติเขาโดยการเชียร์ จะเป็ นอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ แล้ว
เลือกคนอื่นมาเป็ นนักโทษต่อไป

เรื่องสั้น
เรื่อง “ก้อนหินวิเศษ”
94
มีพรานล่าสัตว์คนหนึ่งยากจนมาก วันหนึ่งเขามานั่งซุ่มอยู่บนก้อนหิน
ขณะนั้นเขาก็ได้ยินเสียงก้อนหินที่อยู่ข้างเขา พูดกับก้อนหินที่เขานั่งทับอยู่ว่า “จะไป
หรือยัง” ก้อนหินก้อนนั้นตอบว่า “เขานั่งทับอยู่จะไปได้อย่างไร” ก้อนหินที่อยู่ข้างจึง
บอกว่า “ก็ชวนเขาไปด้วยซิ” ก้อนหินที่เขานั่งทับอยู่ก็พูดกับพรานคนนั้นว่า “ถ้าท่าน
จะไปกับเราต้องเกาะเราให้แน่น และอย่าลงจากเราเด็ดขาดไม่เช่นนั้นท่านจะไม่ได้
กลับมาที่นี่อีก” นายพรานตกลง
ก้อนหินพานายพรานเหาะผ่านดวงดาวต่าง ๆ และมาถึงสวนต้นไม้เงินมีดอกเป็ นเพชร
มีใบเป็ นทองก้อนหินก็เก็บให้นายพรานเพียงเล็กน้อยแม้เขาจะอยากได้อีกมาก ๆ แต่ก็
ไม่กล้าลงไปเก็บเพราะคำห้ามของก้อนหิน ครั้นแล้วก้อนหินก็เหาะกลับมาที่เดิม นาย
พรานกล่าวขอบคุณ แล้วนำเอาดอกไม้ไปขายได้เงินทองมามากมาย เขาก็มีความสุข
ตลอดมา
95

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบแถว
แถวรูปครึ่งวงกลม
ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้างเหยียดตรงลงข้างล่าง คว่ำฝ่ ามือ
เข้าหาตัว โบกผ่านลำตัวประสานกันด้านหน้าช้า ๆ เป็ นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกหมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ
ๆ ไปอยู่ทางซ้ายมือของหมู่ที่ 1 ตามลำดับนายหมู่ของหมู่ที่ 1 รองนายหมู่ของหมู่
สุดท้าย อยู่เป็ นเส้นตรงแนวเดียวกันกับ ผู้เรียก โดยถือผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลาง ไม่
เว้นระยะหมู่
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนจะ
ลดมือซ้ายลง พร้อมสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวครึ่งวงกลม

แถวรูปวงกลม
แบบผู้เรียกแถวยืนอยู่ที่จุดศูนย์กลาง
ผู้เรียกมือแบทั้งสองข้างเหยียดตรงลงข้างล่าง ค่ำฝ่ ามือเข้าหาตัว
โบกผ่านลำตัวประสานกันด้านหน้าจดด้านหลังเป็ นวงกลม
96
การเข้าแถวให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกโดยนายหมู่อยู่แนวเดียวกับ
ผู้เรียกหมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามดับ รองนายหมู่ของหมู่
สุดท้ายไปต่อนายหมู่ที่ 1 โดยผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม ไม่เว้นระยะต่อ
ระหว่างหมู่
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคล ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้า
สะโพกสะบัดหน้าไปทางขวาผู้เรียก จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคน
ลดมือซ้ายลงพร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
แบบผู้เรียกแถวยืนอยู่เส้นรอบวง
ผู้เรียก มือขวากำเหยียดแขนยกไปข้างหน้าหมุนขึ้นข้างบน และ
เลยไปหลังหมุนเป็ นวงกลม การเข้าแถว ให้หมู่ที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียกโดยนาย
หมู่ยืนชิดกับผู้เรียก หมู่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ด้ านซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับจน
รองนายหมู่ของหมู่สุดท้าย จดกับผู้เรียกด้านขวามือ
การจัดแถว ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ยกเว้นรองนายหมู่
ของหมู่สุดท้าย ยืนตรงชิดผู้เรียกสะบัดหน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้าย
ลงพร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง
ภาพประกอบ แถววงกลม ผู้เรียกเป็ นจุดศูนย์กลาง
97
แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง
ผู้เรียก ศอกงอทั้งสองข้างยกแขนทั้งสองขึ้นข้างหน้า ให้ฝ่ ามือทั้งสองแบ
เหยียดหันไปข้างหน้าฝ่ ามือขวาทับหลังมือซ้าย ประมาณ แนวคาง ห่างคาง
ประมาณ 1 ฝ่ ามือ
การเข้าแถว (ถ้ามี 3 หมู่)ให้หมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานทางซ้ายมือของ
ผู้เรียก ให้นายหมู่อยู่เสมอกับผู้เรียกหันหน้าเข้าในรูปสี่เหลี่ยม ให้หมู่ที่ 2 เข้าแถวหน้า
กระดานตรงข้ามกับผู้เรียก หันหน้าเข้าหาผู้เรียกและหมู่ที่ 3 เข้าแถวหน้ากระดาน
ตรงข้ามกับหมู่ที่ 1 ทางด้านขวาของผู้เรียก ถ้ามีลูกเสือมากกว่า 3 หมู่ ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของผู้เรียกแต่ควรให้ด้านซ้ายมือกับขวามือ มีจำนวนเท่ากัน
การจัดแถว ให้ทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก สะบัดหน้าไปทางขวา
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้าย
พร้อมกับ สะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง

ภาพประกอบ แถวสี่เหลี่ยมเปิ ดด้านหนึ่ง


98

แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
ผู้เรียก มือขวาแบคว่ำกางนิ้วออกทุกนิ้ว ชูไปข้างหน้าทำมุม
ประมาณ 45 องศา
การเข้าแถว ให้ทุกหมู่เข้าแถวตอนหมู่หน้าผู้เรียก ห่างจากผู้เรียก
ประมาณ 6 ก้าว เป็ นรูปรัศมีโดยให้หมู่ที่1อยู่ทางซ้ายมือผู้เรียกประมาณ 45 องศา
หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ด้านซ้ายของหมู่ที่ 1 ตาม ลำดับ จนถึงหมู่สุดท้ายจะอยู่
ทางขวามือของผู้เรียกประมาณ 45 องศา ถือผู้เรียกเป็ นศูนย์กลางระยะต่อภายใน
หมู่1ช่วงแขน ระยะเคียงระหว่างนายหมู่ต่อนายหมู่พอสมควร (ถ้ามีหลายหมู่ระยะ
เคียงของหมู่เท่ากันเสมอ)
การจัดแถว ให้ทุกคน (เว้นนายหมู่) เหยียดแขนซ้ายไปข้างหน้าสูง
เสมอไหล่ คว่ำมือให้ปลายนิ้วมือจรดหลังคนหน้าพอดี
ผู้เรียก จัดการตรวจแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือซ้าย
ลงและอยู่ในท่าตรง

หมายเหตุ 1. การใช้สัญญาณมือเรียกแถวนี้ ผู้เรียกต้องพิจารณาดูพื้นที่ว่าจะเหมาะ


สมกับการจัดแถวหรือไม่ และจะจัดแถวรูปใด จึงจะเหมาะสมกับการฝึก หรือการ
บรรยายของแต่ละครั้ง
2. การใช้สัญญาณมือเรียกแถวทุกครั้ง ผู้เรียกจะเรียก “กอง” แล้วจึงใช้
สัญญาณมือประกอบไปด้วย
99

ภาพประกอบ แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
100

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง กฎ และคำปฏิญาณ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือจะ
เป็ นการปลูกฝังให้ลูกเสือเป็ นพลเมืองดีของชาติต่อไป ลูกเสือควรเข้าร่วมอุดมการณ์
เดียวกัน และเป็ นแนวทางในการปฏิบัติที่ไม่มีการบังคับ ให้เกิดจากความสมัครใจ
และยอมรับในสิ่งดังกล่าว

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือมีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตาม คำปฏิญาณ – กฎ
และคติพจน์ของลูกเสือได้
1. บอกความหมายของคำปฏิญาณลูกเสือได้
2. บอกความหมายของกฎลูกเสือได้
3. บอกความหมายของคติพจน์ลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. คำปฏิญาณของลูกเสือ
2. กฎของลูกเสือ
3. คติพจน์ของลูกเสือ
101
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “น้ำค้างพรม”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 3 ฐาน
5. ลูกเสือศึกษา ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ
กฎของลูกเสือ ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายความหมายของคำปฏิญาณ
ฐานที่ 2 เรื่อง อธิบายความหมายของกฎข้อ 1 – 5
ฐานที่ 3 เรื่อง อธิบายความหมายของกฎข้อ 6 –10
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
11. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผ่นชาร์จคำปฏิญาณ กฎของลูกเสือ
3. เพลง “น้ำค้างพรม”
4. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ กฎของลูกเสือ
5. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”
102
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. แจกเอกสารเรื่อง คำปฏิญาณ กฎของลูกเสือให้ลูกเสือไปศึกษา
ด้วยตนเองหลังจาก หมดคาบ
2. ให้ลูกเสือจับฉลาก กฎของลูกเสือ ล่วงหน้าก่อนที่จะเรียนในคาบเรียน
นี้ เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาและเตรียมการแสดง
103
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
104
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

แผ่นชาร์ท
คำปฏิญาณ – กฎ
105

คำปฏิญาณของลูกเสือ
ด้วยเกียรติของข้า ข้าสัญญาว่า
ข้อ 1 ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ข้อ 2 ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ
ข้อ 3 ข้าจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ

กฎของลูกเสือ
ข้อ 1 ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้
ข้อ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์และซื่อตรงต่อผู้มีพระคุณ
ข้อ 3 ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์ และช่วย
เหลือผู้อื่น
ข้อ 4 ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคน และเป็ นพี่น้องกับลูกเสือ
อื่นทั่วโลก
ข้อ 5 ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย
ข้อ 6 ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ข้อ 7 ลูกเสือเชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดามารดา และผู้บังคับ
บัญชาด้วยความเคารพ
ข้อ 8 ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก
ข้อ 9 ลูกเสือเป็ นผู้มัธยัสถ์
ข้อ10 ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
106

เพลง “น้ำค้างพรม”

น้ำค้างพรมลมเย็นในยามดึก คะนึงนึกกฎลูกเสือเพื่อปรุงสมอง
หนึ่งมีเกียรติ สองจงรักภักดีปอง สามประคองหน้าที่ สี่มิตรคน ห้าสุภาพ
ไม่งันงก หกเมตตา เจ็ดเชื่อฟัง แปดเริงร่าอย่าสับสน เก้าเป็ นผู้มัธยัสถ์
ไม่อับจน สิบกายตนประพฤติชอบวาจาใจ

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ
107
คำว่า“ปฏิญาณ”ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า “การให้คำมั่นโดย
สุจริตใจ”
ข้อที่ 1 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “จงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์”
จงรักภักดีต่อชาติ คือ ลูกเสือจะต้องเคารพกฎหมายบ้านเมือง
ระเบียบข้อบังคับของสังคม
จงรักภักดีต่อศาสนา คือ ลูกเสือจะต้องปฏิบัติศาสนกิจ ตามคำ
สอนของศาสนานั้น ๆและไม่เหยียดหยาม ผู้นับถือศาสนาอื่นด้วย
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ คือ ปฏิบัติตามพระบรม
ราโชวาทที่ได้พระราชทานแก่พสกนิกรอยู่เนือง ๆ จัดงานเทิดพระเกียรติในวันสำคัญ ๆ
การเคารพธงชาติก็เปรียบเสมือนเรามีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์และสีของธงชาตินั้น มีความหมายอยู่ในตัวแล้ว คือ
สีแดง หมายถึง ชาติ
สีขาว หมายถึง ศาสนา
สีน้ำเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์
ข้อที่ 2 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “ช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ”
คำว่า “ช่วยเหลือผู้อื่น” หมายถึง การทำให้ผู้อื่นเกิดความสะดวก
สบายหรือเกิดความสุขขึ้นมา แต่การช่วยเหลือผู้อื่นของลูกเสือนั้น คงจะช่วยตาม
ความสามารถของวัย และโอกาสที่จะช่วยได้ จะเป็ นการฝึกให้ลูกเสือบำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อผู้อื่น ก็นับว่าเป็ นการช่วยสังคมและช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อได้
ข้อที่ 3 ลูกเสือจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า “ปฏิบัติตามกฎขอลูก
เสือ”กฎของลูกเสือ หมายถึง ข้อกำหนดที่จะให้ลูกเสือสมัครใจปฏิบัติตาม ผู้ใด
ละเมิดก็ไม่ถือเป็ นความผิดแต่ลูกเสือยึดมั่นในอุดมการณ์ของลูกเสือ
และกล่าวคำปฏิญาณแล้วก็ควรพยายามปฏิบัติตามกฎของลูกเสือให้ได้
108

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ

กฎของลูกเสือ (สามัญ สามัญรุ่นใหญ่และลูกเสือวิสามัญ ) มี 10 ข้อ

ข้อ 1 “ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้” การที่จะทำให้ผู้อื่นเชื่อถือเราได้ จะต้องเป็ นผู้ที่


พูดอย่างไรแล้วทำอย่างนั้น มีความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง ไม่ลักทรัพย์ผู้อื่น
ข้อ 2 “ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และซื่อตรงต่อ
ผู้มีพระคุณ” เรื่องการสร้างความมั่นคงให้แก่ประเทศชาติ จึงถือเป็ นเรื่องสำคัญยิ่ง
ส่วนความซื่อตรงต่อผู้มีพระคุณ ก็นับว่ามีความหมายกว้าง เราจึงต้องคำนึงถึงผู้มี
พระคุณต่อเรา
ข้อ 3 “ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น”
การกระทำตนให้เป็ นประโยชน์นั้น จะต้องทำเพื่อตนเองและเพื่อผู้อื่น
ด้วย
โดยไม่มีใจเอนเอียงไปทางใดทางหนึ่งของความรู้สึกเราเอง
ข้อ 4 “ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่น้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก”
ลูกเสือจะต้องมองผู้อื่นในแง่ดีไว้ก่อน ต้องแสดงความเป็ นมิตรกับคน
ทุกคน
ไม่ว่าจะเป็ นชาติ ศาสนา เดียวกันหรือศาสนาของลูกเสือคนนั้น
ข้อ 5 “ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย”
ลูกเสือจึงจำเป็ นจะต้องอ่อนน้อมถ่อมตน และให้เกียรติผู้อื่นอยู่เสมอ
แล้ว
ลูกเสือก็จะได้รับเกียรติจากผู้อื่นตลอดไปเช่นกัน ไม่ไปกระด้าง
กระเดื่อง
ต่อผู้ใหญ่และผู้ที่เราเคารพนับถือ เราลูกเสือจะได้มีความเจริญยิ่ง ๆ
ขึ้นไป

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของคำปฏิญาณ – กฎ

ข้อ 6 “ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์”
109
ลูกเสือจึงไม่ควรฆ่าสัตว์ ไม่ทรมานสัตว์ ควรให้ความเมตตากรุณาต่อสัตว์
เพราะชีวิตเราเราก็รัก ชีวิตเขาเขาก็รัก ในความอยู่รอดของตนเอง
ข้อ 7 “ลูกเสือเชื่อฟังคำสั่งของบิดามารดา และผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ”
คำสอนของบิดามารดาจึงเป็ นความหวังดีต่อลูก ๆ เสมอ ถ้าลูกเสือไม่
เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ก็เหมือนกับสร้าง ความทุกข์ให้กับพ่อแม่
นั่นเองสำหรับผู้บังคับบัญชา ก็เช่นเดียวกับบิดามารดา
ข้อ 8 “ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก”
ลูกเสือจะต้องมีอารมณ์สนุกสนานบ้างและให้ถูกกาลเทศะ จะทำให้
เพื่อนร่วมงานมีความสุขไปด้วย การงานก็จะสำเร็จด้วยดี
ข้อ 9 “ลูกเสือเป็ นผู้มัธยัสถ์”
คนรู้จักเก็บรู้จักใช้ในสิ่งที่เห็นสมควรแล้วได้ชื่อว่าเป็ นผู้ประหยัด
แต่การมัธยัสถ์ดูจะละเอียดอ่อนมากกว่า เพราะนอกจากจะเป็ นการ
ออมทรัพย์แล้ว ยังรวมไปถึงการถนอมเครื่องใช้ไม้สอย การ
ซ่อมแซมสิ่งของที่ชำรุดเสียหายให้ใช้การได้ดี คนเราจะก้าวหน้าจะมี
ฐานะมั่นคงและจะต้องเป็ นผู้มัธยัสถ์
ข้อ 10 “ลูกเสือประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ”
ศาสนาทุกศาสนามีบทสรุปของคำสอนที่คล้ายกัน คือ ประกอบ
กรรมดี ละเว้นกรรมชั่ว ถ้าคนเราต่างมุ่งประกอบกรรมดีละเว้นกรรม
ชั่วแล้ว สังคมจะมีแต่ความสุข ประกอบแต่กรรมดีพร้อมทั้งกาย
วาจา ใจ จะอยู่ในสังคมใดก็ได้รับเกียรติอยู่เสมอ

เรื่องสั้น
เรื่อง “การบังคับใจตนเอง”

ความซื่อสัตย์ถือเป็ นเกียรติอย่างหนึ่ง คนที่มีเกียรติย่อมเป็ น


คนที่เชื่อถือได้ในเรื่องต่าง ๆ ความคดโกงเป็ นการแอบซ่อนความทุจริต
เมื่อท่านรู้สึกอยากจะโกงเพื่อเอาชนะ หรือเศร้าใจเมื่อเป็ นผู้แพ้ จงคิดและ
เตือนตัวเองว่า “คนเราจะชนะเสมอไปไม่ได้แต่การเล่นอย่างเต็มที่อาจจะมีโอกาสมาถึง
บ้าง”การครองสติเช่นนี้ ในที่สุดท่านจะเป็ นผู้ชนะ และอย่าลืมว่า เมื่อเป็ นฝ่ ายแพ้ ถ้า
ท่านเป็ นลูกเสือที่แท้จริง ท่านจะกล่าวคำแสดงความยินดี กับชุดที่ชนะหรือจับมือ
แสดงความยินดีต่อผู้ที่ชนะท่านทันที
110
111
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การแสดงกฏและคำปฏิญาณ เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การแสดงคำปฏิญาณ กฎ และ คติพจน์ของลูกเสือจะเป็ นสื่อการปลูกฝัง
ให้ลูกเสือเป็ นพลเมืองดีของชาติต่อไป ลูกเสือควรกล้าแสดงความคิดในอุดมการณ์
และเป็ นแนวทางในการปฏิบัติที่ดี ให้เกิดความสนใจสมัครใจ และยอมรับในสิ่งดัง
กล่าวนี้

จุดประสงค์การเรียนรู้

ลูกเสือแสดงบทบาทตามคำปฏิญาณ – กฎ และคติพจน์ของลูกเสือได้
1. แสดงความหมายคำปฏิญาณลูกเสือได้
2. แสดงหมายของกฎลูกเสือได้
3. แสดงความหมายของคติพจน์ลูกเสือได้

เนื้อหาสาระ
1. คำปฏิญาณของลูกเสือ
2. กฎของลูกเสือ
3. คติพจน์ของลูกเสือ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “มาร์ชลูกเสือ”
112
3. ผู้บังคับบัญชาให้ลูกเสือแต่ละหมู่จับฉลากกฎของลูกเสือ 1 ข้อ โดยไม่
ได้บอกหมู่อื่นว่าได้ข้อใด
4. ลูกเสือคิดการแสดงของตนเอง
5. ลูกเสือออกมาแสดงบทบาทสมมุติ ตามกฎที่จับได้ หลังจากจบการ
แสดงของแต่ละหมู่ให้ลูกเสือที่ดูช่วยกันตอบว่าการแสดงนั้น ตรงกับกฎของลูกเสือข้อ
ใด
6. ลูกเสือแสดงครบทุกหมู่ให้สรุปสาระสำคัญของการแสดงแต่ละหมู่
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “วาทะของท่าน
บี.พี.”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชาสนทนา และกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสนอแนะ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “มาร์ชลูกเสือ”
3. ฉลากกฎของลูกเสือ 10 ชิ้น
4. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “วาทะของท่าน บี.พี.”
113
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. แจกเอกสารเรื่อง คำปฏิญาณ กฎของลูกเสือให้ลูกเสือไปศึกษาด้วย
ตนเองเพื่อเป็ นแนวคิดในการจัดการแสดง
2. ให้ลูกเสือจับฉลาก กฎของลูกเสือ ล่วงหน้าก่อนที่จะเรียนในคาบเรียน
นี้ เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาและเตรียมการแสดง
114
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
115
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................... ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
116

เพลง “มาร์ชลูกเสือ“

เรามาเป็ นลูกเสือเพื่อบำเพ็ญตน ทำประโยชน์ให้แก่บุคคลทั่วไป


ไม่ละเลยแม้เป็ นเด็กแต่ก็ไม่เคย เพิกเฉย
(ชาย) ช่วยเหลือทุกทาง
(หญิง) ช่วยเหลือทุกทาง
(ชาย) อย่างดีที่สุด
(หญิง) อย่างดีที่สุด
(พร้อม) ดุจมิตรปวงชนเป็ นพลเมืองดี
เรามีน้ำใจร่วมกันดังปฏิญาณไว้ เราจะทำสิ่งใดดุจดังวาที จึงดำรงเกียรติ
ภาคภูมิในศักดิ์ศรี เสียชีพอย่าเสียสัตย์นี้ ทุกคนจำมั่น

––––––––––––––––––––––––––––––––

เรื่องสั้น
“วาทะของท่าน บี.พี.”

การอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเรื่องใหญ่ในการเป็ นลูกเสือ ซึ่งเด็กชอบ


117
และเป็ นโอกาส สำหรับฝึกอบรม ให้มีความเชื่อมั่นในการคิดหาหนทางที่ต้อง
เดินให้พบ กับทั้งเป็ นการส่งเสริมสุขภาพอีกด้วย
บิดามารดาของเด็กบางคน ซึ่งไม่เคยมีประสบการณ์ในการอยู่ค่ายพักแรม
มองดูการอยู่ค่ายพักแรมด้วยความวิตกกังวล เพราะเกรงว่า บางทีจะเป็ นการลำบาก
และเสี่ยงภัยเกินไปสำหรับเด็ก แต่เมื่อได้เห็นบุตรของตนกลับมาเปี่ ยมด้วยสุขภาพ
และความสุขภายนอก ทั้งในด้านจิตใจก็ดีขึ้น ในเรื่องความเป็ นลูกผู้ชายและการคบ
เพื่อน บิดามารดาก็ย่อมมองเห็นส่วนดี ซึ่งได้มาจากการไปท่องเที่ยวเช่นนี้
ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงหวังด้วยความจริงใจว่า คงไม่มีอุปสรรคอันใดที่จะทำให้
เด็กไม่อาจพักผ่อนตามแนวที่ได้แนะนำไว้

–––––––––––––––––––––––––––––––
118
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือวิสามัญ (1)
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำเป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน รวมทั้งนำไปใช้
ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนพื้นฐานและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประเภทของเชือกได้
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนที่จำเป็ นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
4. ปฏิบัติการเก็บเชือกประจำตัวได้ด้วยตนเอง

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องเชือก
2. เรื่องเงื่อน
– เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนกระหวัดไม้
– เงื่อนบ่วงสายธนู, เงื่อนตะกรุดเบ็ด, เงื่อนประมง
– เงื่อนผูกซุง, เงื่อนผูกรั้ง, เงื่อนปมตาไก่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ต่อเชือก”
119
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน โดย
แต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน
แล้วจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือ ฯ ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เงื่อนพิรอด เงื่อนขัดสมาธิ เงื่อนผูกกระหวัดไม้
ฐานที่ 2 เงื่อนบ่วงสายธนู เงื่อนตะกรุดเบ็ด เงื่อนประมง
ฐานที่ 3 เงื่อนผูกซุง เงื่อนผูกรั้ง เงื่อนปมตาไก่
5. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม เก็บเชือก

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
120

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
เนื้อหาและเวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
4. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
5. ให้ลูกเสือศึกษาจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
121
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
122
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ลงชื่อ.............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
123

เกม “ต่อเชือก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ต่อเชือกแข่งขันกันในเวลาที่กำหนด หมู่ใดต่อเชือก
เสร็จก่อน ได้ยาวกว่า และแข็งแรงกว่าเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ
1. ลูกเสือต้องมีเชือกทุกคน
2. ต่อเชือกด้วยเงื่อนอะไรก็ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
124
เรื่อง เงื่อนพื้ นฐานลูกเสือวิสามัญ (2 ) เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำเป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน รวมทั้งนำไปใช้
ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนพื้นฐานและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประเภทของเชือกได้
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนที่จำเป็ นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
4. ปฏิบัติการเก็บเชือกประจำตัวได้ด้วยตนเอง

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องเชือก
2. เรื่องเงื่อน
– เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนกระหวัดไม้
– เงื่อนบ่วงสายธนู, เงื่อนตะกรุดเบ็ด, เงื่อนประมง
– เงื่อนผูกซุง, เงื่อนผูกรั้ง, เงื่อนปมตาไก่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ต่อเชือก”
3. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้บังคับบัญชา
4 . ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น “กวางกับหมาป่ า”
125
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
9. มอบใบความรู้ เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือ ฯให้ลูกเสือศึกษาต่อ
ที่บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
10. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม เก็บเชือก
6. ใบความรู้ เรื่อง เงื่อนพื้นฐานลูกเสือวิสามัญ
7. เรื่องสั้น “กวางกับหมาป่ า”
126
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
เนื้อหาและเวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
3. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
4. ให้ลูกเสือศึกษาจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
127
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
128
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ต่อเชือก”
129

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ต่อเชือกแข่งขันกันในเวลาที่กำหนด หมู่ใดต่อเชือก
เสร็จก่อน ได้ยาวกว่า และแข็งแรงกว่าเป็ นผู้ชนะ
หมายเหตุ
1. ลูกเสือต้องมีเชือกทุกคน
2. ต่อเชือกด้วยเงื่อนอะไรก็ได้

เรื่องสั้น
เรื่อง “กวางกับหมาป่ า”

กวางตัวหนึ่งกำลังกินน้ำอยู่ที่ลำธารแห่งหนึ่ง ขณะนั้นเอง ก็มีหมาป่ าเกเร


ซึ่งกำลังหิวโหยเดินหาอาหารอยู่ เมื่อมองเห็นกวาง ก็คิดจะกินจึงพูดดัง ๆ ว่า “เจ้า
กวางน้อยจงหยุดให้เรากินเสียดี ๆ“ กวางน้อยตกใจกลัวเป็ นอย่างยิ่งจึงออกวิ่งไปอย่าง
ไม่คิดชีวิต เจ้าหมาป่ าก็ออกวิ่งตามไปติด ๆ แต่ไม่สามารถจับกวางทัน จนมาถึงป่ า
130
ทึบแห่งหนึ่ง กวางก็วิ่งหายไป เจ้าหมาป่ าหมดแรงล้มลงนอนอย่างเหนื่อยอ่อน
เพราะตัวเองหิวมาก จึงไม่มีแรงที่จะวิ่งให้ทันกวาง ชายเลี้ยงแกะเห็นเหตุการณ์ทั้งหมด
ได้แต่นั่งหัวเราะเยาะเย้ยหมาป่ าแล้วพูดว่า “แค่กวางยังไม่มีปัญญาที่จะกิน” หมาป่ า
จึงพูดว่า กวางนั้นวิ่งเพื่อรักษาชีวิต แต่เขาวิ่งเพื่อจะกินอาหาร กวางย่อมวิ่งได้เร็ว
กว่า”

ใบความรู้
เรื่อง เงื่อนลูกเสือวิสามัญ
ประเภทของเชือก
1. เชือกป่ าน ทำจากต้นเฮมม์ สีเหลือง เส้นใยหยาบ แข็ง ผูกง่าย
2. เชือกมนิลา ทำจากต้นมนิลา สีค่อนข้างขาว ผูกง่าย
3. เชือกกาบมะพร้าว ทำจากใยมะพร้าว น้ำหนักเบา ลอยน้ำได้
4. เชือกปอ เป็ นเชือกที่ทำจากปอกระเจาในประเทศไทย
5. เชือกด้าย เป็ นเชือกที่ทำจากด้ายดิบ มีสีขาวสะอาดอ่อนนิ่ม ขดม้วน
ง่าย
6. เชือกไนลอน เป็ นเชือกที่ทำจากสารสังเคราะห์ มีความทนทานและ
เหนียวมาก
7. เชือกลวด (ลวดสลิง) เป็ นเชือกที่ใช้ลวดเหล็กกล้าเคลือบสังกะสี
ควั่นเป็ นเกลียวมีน้ำหนักและกำลังมาก
131
8. เชือกที่ลูกเสือใช้ประจำตัว เพื่อฝึกการผูกเงื่อนควรเป็ นเชือกด้าย
และควรมีความยาวประมาณ 2.50–3.00เมตร

การเก็บเชือก
เชือกประจำตัวของลูกเสือนั้น เมื่อใช้เชือกแล้วจะต้องเก็บให้เรียบร้อย
ตามวิธี การของลูกเสือ โดยร้อยไว้ที่เข็มขัดห้อยไว้ตรงด้านหน้าระหว่างหูกางเกง

ภาพประกอบ วิธีเก็บเชือก
132

ชนิดและประโยชน์ของเงื่อน สามารถแยกเงื่อนตามประเภทการใช้งานได้ดังนี้
ประเภทต่อเชือก เช่น เงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ, เงื่อนประมง,
เงื่อนนายพราน อื่น ๆ
– ประเภททำเป็ นบ่วง สำหรับคล้องหลัก สัตว์ หรือ คน เช่น เงื่อน
เก้าอี้
เงื่อนคนลาก เงื่อนผูกซุง เงื่อนผูกแน่น อื่น ๆ
– ประเภทใช้ถักและแทง เพื่อให้เกิดความสวยงาม เช่น ถักสาย
นกหวีด
ถังสายยงยศ ถักวอกเกิ้ล ถักลูกโซ่ แทงเชือก

เงื่อนพิรอด เป็ นเงื่อนที่ใช้กันมากในชีวิตประจำวัน ผูกได้เร็ว แน่นและแก้ได้ง่าย


ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือกหรือผ้าซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้มีความยาวตามต้องการ
2.ใช้ผูกเชือกรองเท้า
3.ใช้ในการปฐมพยาบาล เช่น ผูกชายผ้าพันแผล หรือผูกชายผ้าทำ
สลิงคล้องคอ

เงื่อนขัดสมาธิ เป็ นเงื่อนที่ใช้ต่อเชือกที่มีขนาดต่างกัน


ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือกที่ขนาดไม่เท่ากัน
2. ใช้ต่อเชือกแข็งกับเชือกอ่อน
3. ใช้ผูกกับขอหรือบ่วง
4. ใช้ต่อด้ายหรือเส้นไหมทอผ้า
133

ภาพประกอบ เงื่อนขัดสมาธิ

เงื่อนกระหวัดไม้
ประโยชน์ 1. ใช้ล่ามสัตว์เลี้ยงหรือผูกเรือ แพ ไว้กับหลัก เสา หรือห่วง
2 ใช้ปิ ดหัวเงื่อนตะกรุดเบ็ดเพื่อไม่ให้หลุดหรือคลายได้ง่าย
3. ใช้ในการผูกรอก
ภาพประกอบ เงื่อนกระหวัดไม้

เงื่อนบ่วงสายธนู เป็ นเงื่อนที่ไม่รูดหลุดหรือเลื่อน


ประโยชน์ 1. ใช้คล้องวัตถุ เสาหรือหลักและเหมาะสำหรับผูกเรือ แพ หรือ
สัตว์
2. ใช้แทนเงื่อนเก้าอี้ คล้องคนหย่อนจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ดึง
จากที่ต่ำ
ขึ้นที่สูงหรือช่วยลากคนจมน้ำ
3. ใช้ทำบ่วงเพื่อหิ้ว แขวน เพื่อลำเลียงสิ่งของต่าง ๆ
4. ใช้คล้องคันธนู

ภาพประกอบ เงื่อนบ่วงสายธนู
134

เงื่อนตะกรุดเบ็ด เป็ นเงื่อนที่ใช้งานบุกเบิกเพราะเป็ นพื้นฐานในการผูกเงื่อน อื่น ๆ


เช่น
ผูกประกบ ผูกกากบาท
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกเชือกกับสมอเรือ ผูกก้อนหินแทนสมอเรือ
2. ใช้ผูกแน่นในงานบุกเบิก
3. ใช้ผูกขอเบ็ดตกปลา
ภาพประกอบ เงื่อนตะกรุดเบ็ด

เงื่อนประมง เป็ นเงื่อนที่นิยมใช้ในหมู่นักตกปลาและชาวประมง เพราะใช้ต่อเชือกได้


ทุกขนาด โดยเฉพาะเชือกเปี ยกน้ำและสายเบ็ด
ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือกขนาดเล็ก ๆ เช่น เอ็น สายเบ็ด เป็ นต้น
2. ใช้ต่อเชือกขนาดใหญ่สำหรับลากจูง
3. ใช้ผูกสายไฟสำหรับทำกับระเบิด
135
ภาพประกอบ เงื่อนประมง

เงื่อนผูกซุง ใช้ผูกซุงหรือเสาขนาดใหญ่ ผูกได้แน่นและรูดออกง่าย


ประโยชน์ 1. ใช้ผูกลากซุงหรือเสาที่มีขนาดใหญ่
2. ใช้ผูกสัตว์เลี้ยง เรือ แพ ไว้กับเสาหลัก เมื่อถูกดึงเงื่อนจะยิ่ง
แน่นขึ้น
3. ใช้เป็ นเงื่อนที่เริ่มต้นในการผูกทแยง
ภาพประกอบ เงื่อนผูกซุง

เงื่อนผูกรั้ง เป็ นเงื่อนที่เลื่อนให้ตึงหรือหย่อนได้


ประโยชน์ 1. ใช้สำหรับผูกสายเต็นท์หรือเสาธงกันล้ม
2. ใช้รั้งต้นไม้กันล้ม
3. ใช้ผูกกับห่วงชนิดต่าง ๆ
136

ภาพประกอบ เงื่อนผูกรั้ง

เงื่อนปมตาไก่ เงื่อนเลขแปด
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกปลายเชือกให้เป็ นปม เพื่อผูกร้อยรอกเป็ นการป้ องกัน
ไม่ให้
เชือกหลุดจากรูร้อย
2. ใช้ร้อยสายเต็นท์

ภาพประกอบ เงื่อนปมตาไก่

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
137

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ (1 ) เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำ เป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน การผูกเงื่อนแน่น
รวมทั้งประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่น ซึ่งมีประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนแน่นและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนผูกแน่นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่นได้

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องการผูกแน่น
– เงื่อนผูกประกบ
– เงื่อนผูกกากบาท
– เงื่อนผูกทแยง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 3 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน
แล้วจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
138
4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ ดังนี้ (มีผู้
บังคับ บัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง ผูกประกบ
ฐานที่ 2 เรื่อง ผูกกากบาท
ฐานที่ 3 เรื่อง ผูกทแยง
5. ปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. กระดานเงื่อน
3. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
4. เชือกชนิดต่าง ๆ
5. เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
139
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
เนื้อหาและเวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
4. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
5. ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
140
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................................................
ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
141
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.....................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
....................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
142
วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นออกเป็ น 4 หมู่ด้วยกัน และยืนเป็ นรูปสี่เหลี่ยมตามรูป

1 2 3 4 5 6
6 1
5 2
4 3
3 4
2 5
1 6
6 5 4 3 2 1

เมื่อเริ่มเล่นลูกเสือคนที่ 1 ผูกเงื่อนพิรอด เมื่อผูกเสร็จแล้ว


ทิ้งเชือกลงไปแล้ว วิ่งไปแทนลูกเสือคนที่ 6 คนที่ 6 5 4 3 2 เลื่อนมา
ตามลำดับ เมื่อลูกเสือคนที่ 2 แทนคนที่ 1 แล้วก็ผูกเงื่อนพิรอดอีก เสร็จแล้ว
ทิ้งเชือกลงแล้วเวียนไปจนกว่าจะหมดหมู่ หมู่ไหนหมดก่อน และผูกได้ถูก
ต้องหมู่นั้นชนะ

หมายเหตุ อาจแบ่งหมู่ และวิธีการตามความเหมาะสม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ (2) เวลา 1
ชั่วโมง
143
สาระสำคัญ
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เรื่องเงื่อนที่จำ เป็ น ประเภทของเชือก ประโยชน์
ของเงื่อน การเก็บเชือกประจำตัว การต่อเชือกเข้าด้วยกัน การผูกเงื่อนแน่น
รวมทั้งประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่น ซึ่งมีประโยชน์ในชีวิตประจำวันของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือผูกเงื่อนแน่นและบอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ ได้
1. บอกประโยชน์ของเงื่อนต่าง ๆ
2. ปฏิบัติการผูกเงื่อนผูกแน่นได้
3. บอกประโยชน์ของเงื่อนผูกแน่นได้

เนื้อหาสาระ
1. เรื่องการผูกแน่น
– เงื่อนผูกประกบ
– เงื่อนผูกกากบาท
– เงื่อนผูกทแยง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
3. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
5. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
6. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
7. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ
ส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
8. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
9.มอบใบความรู้ เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติม
แล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสม งานของลูกเสือแต่ละคน
10. พิธีปิ ดประชุมกอง
144

สื่อการเรียนการสอน
1. กระดานเงื่อน
2. แผ่นภาพประโยชน์ของเงื่อน
3. เชือกชนิดต่าง ๆ
4. เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”
5. ใบความรู้ เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
145
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งกลุ่มให้มาก หรือน้อยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
เนื้อหาและเวลา
2. ควรมีแบบเงื่อนต่าง ๆ ให้ลูกเสือได้ดู
3. ครูควรศึกษาและทดสอบการผูกเงื่อนให้ถูกต้อง
4. ให้ลูกเสือต่อไม้ง่ามด้วยเชือกที่เรียนมา กลุ่มละ 3 คน
5. ให้ลูกเสือศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเงื่อนในห้องกิจกรรมลูกเสือ
146
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ...............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
147
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
148

เกม “การแข่งขันผูกเงื่อนพิรอด”

วิธีเล่น
แบ่งผู้เล่นออกเป็ น 4 หมู่ด้วยกัน และยืนเป็ นรูปสี่เหลี่ยมตามรูป

1 2 3 4 5 6
6 1
5 2
4 3
3 4
2 5
1 6
6 5 4 3 2 1

เมื่อเริ่มเล่นลูกเสือคนที่ 1 ผูกเงื่อนพิรอด เมื่อผูกเสร็จแล้ว


ทิ้งเชือกลงไปแล้ว วิ่งไปแทนลูกเสือคนที่ 6 คนที่ 6 5 4 3 2 เลื่อนมา
ตามลำดับ เมื่อลูกเสือคนที่ 2 แทนคนที่ 1 แล้วก็ผูกเงื่อนพิรอดอีก เสร็จแล้ว
ทิ้งเชือกลงแล้วเวียนไปจนกว่าจะหมดหมู่ หมู่ไหนหมดก่อน และผูกได้ถูก
ต้องหมู่นั้นชนะ

หมายเหตุ อาจแบ่งหมู่ และวิธีการตามความเหมาะสม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
149
มีพ่อ แม่ และลูก ครอบครัวหนึ่งกำลังเดินบนสะพานข้ามแม่น้ำ ทันใดนั้น
สะพานหักลงไปทั้งสามคนหล่นลงไปในแม่น้ำ แต่โชคยังดีที่มีขอนไม้เกาะไว้ น้ำพัดพา
ล่องลอยไป คนที่อยู่บนฝั่งเห็นเหตุการณ์ แต่ไม่มีใครช่วยเขาได้ ขณะที่ขอนไม้ลอย
ผ่านที่แห่งหนึ่ง มีคนหย่อนเชือกลงมาพอดีพ่อต้องการให้ลูกปลอดภัยก่อน จึงส่งเชือก
ให้ลูกจับ คนบนสะพานช่วยกันสาวเชือกขึ้นมา แต่หนูน้อยหมดแรงก่อนตกลงใน
แม่น้ำจมหายไป พ่อและแม่พยายามเข้าช่วยและก็จมหายไปเช่นกัน

คติ ถ้าลูกเสือทุกคนสามารถผูกเงื่อนสำหรับช่วยชีวิตได้ ก็จะนำไปใช้ช่วย


ชีวิตของลูกเสือเองและคนอื่น ๆ ได้
150

ใบความรู้
เรื่อง เงื่อนแน่นลูกเสือวิสามัญ

การผูกแน่น หมายถึง การผูกวัตถุให้ติดกัน เป็ นการผูกขั้นพื้นฐานของงานบุกเบิก


แบ่งออกเป็ น 3 แบบ

แบบผูกประกบ
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกต่อพลองในการทำเสาธงชั่วคราว
2. ใช้ผูกต่อไม้สำหรับการก่อสร้างชั่วคราว
3. ใช้ในการต่อไม้หลาย ๆ ท่อนให้ยาวหรือมัดไม้เข้าด้วยกัน
วิธีผูก 1. นำไม้ที่จะต่อมาวางซ้อนกันประมาณ 1/5 ถึง 1/4
ของความยาว
2. นำไม้ที่มีขนาดโตเท่าเส้นเชือก ที่ใช้ผูกมาสอดระหว่างไม้
ทั้งสองไว้ เพื่อความสะดวก ในการสอดเชือกหักคอไก่
3. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไม้อันใดอันหนึ่ง แล้วปิ ดพันปลาย
เชือกกับตัวเชือก หรือ เรียกว่า เอาเชือกแต่งงานกัน
4. พันเชือกรอบไม้ทั้งสองต้น โดยไม่ให้เชือกทับพันกันไป
จนกระทั่งมีความกว้างเท่ากับไม้ทั้งสองซ้อนกัน
5. สอดเชือกเข้ากลางระหว่างไม้ทั้งสอง แล้วพันรอบเชือก
ประมาณ 2–3 รอบ (หักคอไก่) ดึงไม้ที่สอดออกแล้วดึง เชือกให้แน่น
6. ผูกปลายเชือกด้วยเงื่อนตะกรุดเบ็ด กับไม้อีกอันหนึ่ง
151
ภาพประกอบ วิธีผูกประกบสอง

การผูกกากบาท เป็ นการผูกไม้ 2 อันที่วางพาดตั้งฉากกันเป็ นรูปกากบาท


ประโยชน์ 1. ใช้ผูกนั่งร้านในการก่อสร้างหรือทาสีอาคาร
2. ใช้ในการสร้างค่ายพักแรมและอุปกรณ์ในการพักแรม
3. ใช้ในการสร้างรั้วหรือคอกสัตว์
4. ใช้ผูกคาน หรือตอม่อสะพาน
วิธีผูก 1. ไม้มาวางพาดตั้งฉากกันเป็ นรูปกากบาท
2. นำเชือกมาผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดที่ไม้อันตั้ง หรือไม้อันนอนก็ได้
แต่นิยมไม้อันตั้งเพื่อป้ องกันมิให้ไม้อันนอนเลื่อนลงแล้วนำปลายเชือกพันกัน ให้
เรียบร้อย
3. ใช้เชือกพันรอบไม้ทั้งสองอันถ้าผูกกับไม้อันตั้งก่อน ก็จะดึง
เชือก
ทับไม้อันนอนอีกครั้ง แล้วสอดไปใต้ไม้อันตั้งอีกครั้งหนึ่งพันเชือกเรียงกัน ไปอย่าให้
เชือกทับกัน พยายามดึงเชือกให้แน่นประมาณ 3–4 รอบ
4. พันเชือกหักคอไก่ สัก 2–3 รอบ ดึงเชือกให้แน่นป้ องกัน
มิให้ไม้รูด
5. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดกับไม้อีกอันหนึ่ง ซึ่งมิใช่อันที่ผูกครั้งแรก
152
ภาพประกอบ ผูกกากบาท

การผูกทแยงหรือการผูกไขว้ เป็ นการนำไม้ 2 อัน มาไขว้กันแล้วผูกให้แน่นติดกัน


เพื่อค้ำยัน และสร้างความมั่นคงให้กับที่อยู่อาศัย
ประโยชน์ 1. ใช้ผูกนั่งร้านในงานก่อสร้าง
2. ใช้ผูกไม้สำหรับค้ำยัน ป้ องกันไม่ให้ล้ม
3. ใช้ผูกเสาตอม่อของสะพาน หอคอย
วิธีผูก 1. นำไม้สองอันมาวางพาดกันในแนวทแยง
2. นำเชือกมาคล้องไม้ทั้งสองอันในแนวทแยง แล้วผูก
ด้วยเงื่อนผูกซุง
3. พันเชือกให้รอบไม้แล้วดึงเชือกให้แน่น ประมาณ 3–4
รอบ
4. เปลี่ยนทิศทางเชือกไปพันทแยงอีกทางหนึ่ง ประมาณ
3–4 รอบ
5. พันเชือกหักคอไก่ให้แน่น ประมาณ 2–3 รอบ
6. ผูกเงื่อนตะกรุดเบ็ดกับไม้อันใดก็ได้
153
ภาพประกอบ ผูกทแยง
154
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมบุกเบิก,ผจญภัย,
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่อาจจะก่อให้เกิด
อันตรายหรือบาดเจ็บได้ ดังนั้นลูกเสือจำเป็ นจะต้องเรียนรู้ในเรื่องหลักของ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เช่น บุกเบิก ผจญภัย และเดิน
ทางไกล
เพื่อที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติ เกี่ยวกับความปลอดภัยในกิจกรรมบุกเบิก,ผจญภัย, เดิน
ทางไกล
ได้
1. บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิกได้
2. บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัยได้
3. บอกหลักความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกลได้

เนื้อหาสาระ
1. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
2. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัย
3. หลักความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล
155
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “รำวงชาวค่าย”
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 3 กลุ่มย่อย ไปอภิปรายกลุ่มย่อย 3 กลุ่ม
โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษากลุ่ม ตามหัวข้อต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
กลุ่มที่ 2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมผจญภัย
กลุ่มที่ 3 ความปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล
4. มอบใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรม บุกเบิก, ผจญ
ภัย, เดินทางไกล ของลูกเสือวิสามัญ สำหรับรองผู้บังคับบัญชาใช้ประกอบคำ
ปรึกษากลุ่มย่อย
5. ลูกเสืออภิปรายกลุ่มครบทุกกลุ่มย่อยแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละกลุ่มย่อยต่อที่ประชุมกอง
7. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”
9. ลูกเสือฟังเรื่องเล่าจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผนภูมิการเดินทาง
3. แผ่นภาพกิจกรรมบุกเบิก , ผจญภัย , เดินทางไกล
4. เพลง “รำวงชาวค่าย”
5. ใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมบุกเบิก, ผจญภัย ,
เดินทางไกล
6. เรื่องสั้น เรื่อง “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
156
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
157
กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ผู้สอนเตรียมเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
ประจำวัน
2. ผู้สอนจัดเตรียมเนื้อหาความปลอดภัยกิจกรรมบุกเบิก, ผจญภัย, เดิน
ทางไกล ไว้ให้พร้อม
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการเรียนการสอนให้พร้อมสมบูรณ์
158
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( .......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
159
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
160

เพลง “ รำวงชาวค่าย”

มาพวกเรามาสนุกเฮฮา ตามประสาชาวค่าย (ซ้ำ)


รำวงกับแบบง่าย ๆ (ซ้ำ) อย่ามัวเอียงอายเชิญมาร่ายรำ ๆ
(ซ้ำ)คนข้างซ้ายยักไหล่ไปมา คนข้างขวาทำท่ายักเอว
จับมือกันให้เร็ว ๆ (ซ้ำ) แล้วส่ายเอวโยกไปโยกมา ๆ (ซ้ำ)

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ

ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมบุกเบิก
161
กิจกรรม”บุกเบิก” หมายถึงการสำรวจและการตัดถนนให้เป็ นทางเดิน หรือ
การสร้างสะพาน ฝึกหัดให้เกิดทักษะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ควรเรียนรู้เกี่ยวกับ
เชือกรอกและสมอ ตลอดจนวิธีการใช้อย่างปลอดภัย
เชือก เป็ นอุปกรณ์ที่จำเป็ นสำหรับงานบุกเบิก จะต้องดูความเหมาะสม
กับงานที่จะใช้ว่าควรจะใช้เชือกที่มีขนาดเท่าใด ประเภทใด คุณภาพเป็ นอย่างไร เพื่อ
ความปลอดภัย
รอก เป็ นเครื่องมือที่ลดความเสียดทานช่วยผ่อนแรง ตลอดจนลดความ
สึกกร่อนของเชือกได้ดี รอกอาจจะเป็ นโลหะหรือวัสดุอย่างอื่นได้ ส่วนประกอบของ
รอกเดี่ยว
ภาพประกอบ ส่วนประกอบของรอก A หมายถึง เป็ นรูปตัวยู สำหรับ
ผูกรอกให้แน่น
B หมายถึง ตัวรอกเป็ นตัวแบนมีแกนติด
กับ
เรือนรอกหมุนได้
C หมายถึง เรือนรอกเป็ นแผ่นไม้หรือ
เหล็ก
ประกบตัวรอกไว้ทั้งสองด้าน
มีน็อตยึดหัวท้ายเอาไว้
D หมายถึง ขอรอก จะอยู่ตรงข้ามกับ
สายยู
สมอบก เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ ยึดเสาเต็นท์ ยึดสิ่งก่อสร้าง ป้ องกัน
มิให้ล้มหรือใช้ยึดสะพานเชือกให้ตึง ในกิจกรรมลูกเสือแบ่งตามลักษณะได้ 3 ชนิด
ภาพประกอบ สมอบกแบบหลุม – สมอบกแบบธรรมชาติ
เช่น ต้นไม้
หรือก้อนหิน ที่แข็งแรง
– สมอบกแบบหลุม โดยใช้เชือก
ผูก
ก้อนหินขนาดใหญ่หรือท่อนซุง
162
ภาพประกอบ สมอบกแบบ สาม–สอง–หนึ่ง – สมอบกแบบเสาหรือทรง
กระบอก
ตัน จะเป็ นโลหะหรือไม้

ใบความรู้
ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมผจญภัย

กิจกรรมผจญภัยของลูกเสือนั้นแบ่งเป็ น 3 หมวด คือ


163
1. กิจกรรมทางน้ำ ลูกเสือจะต้องว่ายน้ำเป็ นสามารถช่วยตนเองได้
และรู้วิธีการที่จะช่วยผู้อื่นได้ด้วย มีดังนี้
1.1 ลูกเสือต้องเชื่อฟังผู้บังคับบัญชา ๆ คอยระวังลูกเสือตลอดเวลา
1.2 ต้องเตรียมอุปกรณ์สำหรับช่วยเหลือให้พร้อม เช่น ชูชีพ ห่วงยาง
1.3 ลูกเสือที่ลงปฏิบัติกิจกรรมทางน้ำ ต้องมีสุขภาพแข็งแรง
สำหรับผู้ที่เคย
เป็ นลมบ้าหมู ห้ามทำกิจกรรมทางน้ำเด็ดขาด
1.4 การจัดกิจกรรมทางน้ำควรจัดลูกเสือเป็ นคู่ ไว้ช่วยเหลือกันเอง
2. กิจกรรมทางบก เป็ นกิจกรรมที่มีอันตรายน้อยกว่ากิจกรรมทางน้ำ
จะเป็ นกิจกรรมที่ทดสอบกำลังใจและความสนุกสนานไปด้วย คำนึงถึงความปลอดภัย
ดังนี้
2.1 ควรแต่งกายให้รัดกุมไม่ให้เสื้อผ้าไปติดกับกิ่งไม้ อาจทำให้ตกได้
2.2 ควรสวมรองเท้าผ้าใบหุ้มส้น
2.3 อย่าพกอาวุธติดตัวขณะปฏิบัติกิจกรรมอาจทำให้เกิดอันตรายได้
2.4 เมื่อเดินผ่านกิ่งไม้อย่าดึงเล่นอาจทำให้เป็ นอันตรายแก่ผู้ที่เดินตาม
2.5 ผู้บังคับบัญชาประจำฐานควรมีความสามารถแนะนำลูกเสือทำ
กิจกรรมได้
2.6 ถ้าลูกเสือไม่มั่นใจในการทำกิจกรรมอย่าบังคับ เพราะจะเกิด
อันตรายได้
3. กิจกรรมทางอากาศ เป็ นกิจกรรมที่สมมุติเหตุการณ์ แล้วให้ลูกเสือ
ช่วยกันแก้ไขสถานการณ์ที่ได้พบเห็น
3.1 ควรเลือกเชือกที่ใหม่หรือไม้ที่แข็งแรงสามารถ รับน้ำหนักมาก ๆ
ได้
3.2 ควรเลือกเงื่อนเชือกที่จะใช้ผูกให้เหมาะสมกับงาน
3.3 ผู้ที่จะขึ้นไปช่วยเหลือและผูกเชือกที่ดึงข้างล่างต้องเป็ นผู้ที่แข็งแรง
3.4 การดึงเชือก หรือ ปล่อยเชือก ต้องมีจังหวะ
3.5 ผู้บังคับบัญชาต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดและสามารถให้คำ
ปรึกษาได้
164
165

ใบความรู้
ความปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล

การเดินทางไกลเป็ นการเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยอาศัย


แผนที่หรือคำสั่งที่ผู้บังคับบัญชากำหนดให้ ส่วนใหญ่แล้ว กิจกรรมเดินทางไกล
จะต้องจัดควบคู่กันไปกับกิจกรรมอยู่ค่ายพักแรม แต่กิจกรรมเดินทางไกลไม่จำเป็ น
ต้องไปอยู่ค่ายพักแรมเสมอไป เป็ นการจัดกิจกรรมช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น
เมื่อถึง จุดหมายปลายทาง และปฏิบัติกิจกรรมครบตามคำสั่งผู้บังคับบัญชาเสร็จแล้ว
รวมกองแยกย้ายกันกลับบ้านได้ ดังนั้น กิจกรรมเดินทางไกล อาจจะเดินในเวลา
กลางวันหรือกลางคืนก็ได้ แล้วแต่จุดประสงค์การเรียนรู้ของการเดินทางไกลแต่ละครั้ง
ประโยชน์ที่
ลูกเสือจะได้รับจากการเดินทางไกล คือ
1. ลูกเสือได้ฝึกความอดทนและช่วยเหลือตนเอง
2. ลูกเสือได้ฝึกการเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
3. ลูกเสือได้ฝึกการทำงานร่วมกันโดยใช้ระบบหมู่
4. ลูกเสือมีความสนุกสนานร่าเริง
5. ลูกเสือได้มีโอกาสเรียนรู้สภาพภูมิประเทศตามเส้นทางที่เดิน
การเดินทางไกลแต่ละครั้ง จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของลูกเสือ
ให้มากที่สุด ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ควรให้คำแนะนำก่อนที่จะออกเดินทางไกลทุกครั้ง
และกำชับให้ลูกเสือปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยอาศัยหลักความปลอดภัย

เรื่องสั้น
เรื่อง “อุบัติเหตุที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์”

มีลูกเสือหมู่หนึ่ง เดินทางไกลไปค่ายพักแรมกัน โดยใช้เรือเป็ นพาหนะ


ขณะเดินทางไปนั้นเครื่องยนต์เกิดดับระหว่างทาง ลูกเสือหมู่นั้นต่างช่วยกันเพื่อจะให้
166
เครื่องยนต์ติด ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ลูกเสือคนหนึ่งเอามือไปจับสายพานในขณะ
ที่เพื่อนอีกคนหนึ่งหมุนเครื่องยนต์ โดยไม่ได้ดูว่า เพื่อนกำลังจับสายพานเครื่องยนต์อยู่
เผอิญเครื่องยนต์ติดขึ้นมา ลูกเสือคนนั้นเอามืออกจากสายพานไม่ทัน สายพานก็บด
เอานิ้วก้อยของเขาขาดหายไปครึ่งนิ้ว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมการเดินทางไกล
เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
167
การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่อาจจะก่อให้เกิด
อันตรายหรือบาดเจ็บได้ ดังนั้นลูกเสือจำเป็ นจะต้องเรียนรู้ในเรื่องหลักของความ–
ปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า รถยนต์ เรือ เพื่อที่จะทำให้เกิดความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสืออย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติ เกี่ยวกับความปลอดภัยในกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า,
รถยนต์, เรือได้
1. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเท้าได้
2. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยรถยนต์ได้
3. บอกหลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเรือได้

เนื้อหาสาระ
1. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเท้า
2. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยรถยนต์
3. หลักความปลอดภัยในการเดินทางด้วยเรือ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ล่าหางว่าว”
3. ผู้บังคับบัญชาทบทวนวิธีการระดมสมองที่เคยปฏิบัติมาแล้วในแผนที่ 4
4. แบ่งลูกเสือเป็ น 3 กลุ่ม แยกกันไประดมสมองตามใบความ รู้ที่
5. เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับกิจกรรมการเดินทางด้วยเท้า รถยนต์,เรือ
โดยมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นที่ปรึกษา
กลุ่มที่ 1 ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมเดินทางด้วยเท้า
กลุ่มที่ 2 ความปลอดภัยในการจักกิจกรรมทางรถยนต์หรือรถโดยสาร
กลุ่มที่ 3 ความปลอดภัยในการจัดกิจกรรมทางไกลโดยเรือ
5. ผู้บังคับบัญชาเรียกลูกเสือรวม
7. ลูกเสือแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานผลการระดมสมอง
8. ผู้บังคับบัญชากล่าวเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “กระต่ายกับเต่า”
168
10. ลูกเสือฟังเรื่องเล่าจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการเสนอแนะ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แผนภูมิการเดินทาง
3. เกม “ล่าหางว่าว”
4. ใบความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเดินทางด้วยเท้า,
รถยนต์,เรือ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ กระต่ายกับเต่า”
169
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ผู้สอนเตรียมเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
ประจำวัน
2. ผู้สอนจัดเตรียมเนื้อหาความปลอดภัยทั้งการเดินทางด้วยเท้า, รถยนต์,
เรือ ให้ครบถ้วน
3. ประสารงานในการทำกิจกรรมให้กับลูกเสือ เพื่อเสริมความปลอดภัย
และสะดวกในการทำกิจกรรม
4. ให้ศึกษารายละเอียดก่อนทำกิจกรรมทุกครั้ง หรือให้เข้าที่ประชุม
คณะการกอง

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
170
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
.........................................................................................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
171
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
172

เกม “ล่าหางว่าว”

จำนวนผู้เล่น 10 – 30 คน
อุปกรณ์ โบว์หรือเชือก
ให้ผู้เล่นเกาะเป็ นแถวยาวเรียงหนึ่ง โดยเกาะบ่าคนข้างหน้า ผู้เล่น
คนแรกเป็ นหัวว่าว คนสุดท้ายเป็ นหางว่าว มีโบว์ผูกติดด้างหลัง หัวว่าว
ต้องพยายามไล่เตะหรือจับโบว์ของผู้เล่นที่เป็ นหางว่าวให้ได้ในขณะ
เดียวกัน
ผู้เล่นหางว่าวก็จะต้องหลบหลีกอย่าให้โดยจับการตัดสินเปลี่ยนผู้เล่นเป็ น
หางว่าวทุกครั้งที่มีการจับกันได้

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเดินทางด้วยเท้า,

การอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ ยังนิยมเดินทางไกลด้วยเท้า ซึ่งจะใช้วิชา


แผนที่และเข็มทิศสอดแทรกเข้าไปด้วย ตลอดจนการสร้างสถานการณ์สมมุติ เพื่อให้
ลูกเสือช่วยกันแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ลูกเสือควรคำนึงถึงความปลอดภัย ดังนี้
173
1. ผู้บังคับบัญชากำชับให้ลูกเสือปฏิบัติตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่ง
ชาติ เกี่ยวกับการเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม
2. เดินตามถนนให้เดินบนทางเท้า ถ้าไม่มีทางเท้าให้เดินทางด้านขวาและ
เดินเรียงเดี่ยวเป็ นระบบหมู่
3. ถ้าเดินทางในเวลากลางคืน นายหมู่ควรมีไฟฉายสำหรับบอกสัญญาณ
ให้ทราบ และควรมีผ้าสีสะท้อนแสงติดไว้ที่แขนเสื้อของลูกเสือทุกคนด้วย
4. รองเท้าที่ใช้สวมควรเป็ นรองเท้าที่เคยใช้มาแล้วป้ องกันการบีบรัดขณะ
เดิน
5. ของใช้ที่นำติดตัวไป ต้องให้เหมาะกับการใช้งาน และผูกรัดให้กระชับ
6. ไม่ควรรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำให้มากเกินไปเพราะจะทำให้จุก
เสียด
7. ขณะเดินอย่าเล่นสนุกสนานจนเกินขอบเขต จะทำให้ขาดการ
ระมัดระวัง
8. ผู้ที่มีโรคประจำตัว ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าจะได้คอย
ดูแลอย่างใกล้ชิด
9. ไม่ควรเดินบนรางรถไฟ หรือตามรางรถไฟ
10. ควรมีไม้ง่ามติดตัวไปทุกครั้ง
11. ลูกเสือต้องอ่านคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ให้เข้าใจชัดเจนและช่วย
เหลือซึ่งกันและกัน ให้ไปถึงที่หมายพร้อมกันด้วย
174

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยในการเดินทางไกลโดยรถยนต์หรือรถโดยสาร

ต้องระมัดระวังอันตรายให้มากที่สุด เพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้ง จะ
เป็ นการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินเป็ นอย่างมาก แม้เราจะมิได้เป็ นผู้ขับขี่เองก็ตาม
ลูกเสือปฏิบัติ ดังนี้
1. ถ้าเป็ นรถโดยสารขนาดใหญ่ เมื่อขึ้นนั่งแล้วอย่าเดินไปมา หากมี
เข็มขัดนิรภัยให้รัดเข็มขัดให้เรียบร้อย
2. อย่ายื่นอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดออกไปนอกรถ
3. อย่ายืนหรือนั่ง บนบันได หรือหลังคารถ
4. อย่าก่อความรำคาญ ให้พนักงานขับรถจะทำให้ขับรถเครียด
5. การลงจากรถให้ลงทางประตูรถ หลังจากรถหยุดเรียบร้อยแล้ว
6. ถ้าจะข้ามถนนให้มองซ้ายขวาจนเห็นว่าปลอดภัยแล้วจึงข้าม
7. เมื่อลงจากรถ และจะข้ามถนน ให้เดินข้ามถนนทางด้านท้ายของรถ
ที่เราโดยสารมา
ความปลอดภัยในการเดินทางไกล
โดยรถจักรยานหรือจักรยานยนต์ยังเป็ นที่นิยมของลูกเสือต่างจังหวัดหรือ
ตามอำเภอรอบนอก เพราะเส้นทางการจราจร ยังไม่คับคั่งจนมากเกินไปผู้บังคับ
บัญชาก็ควรกำชับให้ลูกเสือปฏิบัติ ดังนี้
1. ให้ลูกเสือสำรวจพาหนะให้พร้อม และเตรียมอุปกรณ์สำหรับ
ซ่อมรถนำติดตัวในการเดินทางทุกครั้ง
2. ผู้บังคับบัญชาควรประสานกับตำรวจทางหลวง เพื่อขอให้ช่วย
อำนวย ความสะดวกก่อนเดินทาง
3. ขณะเดินทางให้ปฏิบัติตามกฎจราจร อย่างเคร่งครัด
4. ให้ขี่รถเรียงเดี่ยว อย่าขี่แข่งกันหรือเล่นกัน
5. เมื่อรถเสียหรือต้องหยุดพัก ให้นำรถออกไปจอดนอกเส้นทางการ
เดินรถ
175

ใบความรู้
เรื่อง ความปลอดภัยในการเดินทางไกลโดยเรือ

การเดินทางไกลโดยเรือนี้ ควรจะเป็ นกองลูกเสือที่อยู่ใกล้แม่น้ำหรือทะเล


เพราะมีความเคยชินกับการใช้เรือเป็ นพาหนะ หากจะเดินทางไกลโดยเรือ ผู้บังคับ–
บัญชาควรกำชับให้ลูกเสือปฏิบัติ ดังนี้
1. ลูกเสือควรฝึกว่ายน้ำให้เป็ น และรู้จักวิธีช่วยคนตกน้ำให้ได้
2. ขณะโดยสารเรือ อย่านั่งห้อยเท้าหรือยื่นแขนออกนอกกาบเรือ
3. อย่านั่งบนกาบเรือจะทำให้เรือโคลง
4. ขณะโดยสารเรืออย่าเดินไปเดินมา จะทำให้เรือโคลงหรือล่มได้
5. ขณะโดยสารเรือ ไม่ควรถอดเสื้อให้ลมพัดถูกตัว อาจทำให้ป่ วยได้
6. อย่าร่วมโดยสารไปกับเรือที่บรรทุกเกินพิกัด

เรื่องสั้น
เรื่อง “ กระต่ายกับเต่า ”

การที่กระต่ายวิ่งแพ้เต่านั้นทั้ง ๆ ที่กระต่ายวิ่งได้เร็วกว่าเต่ามาก
ก็เพราะกระต่ายมีความประมาทในการแข่งขัน ซึ่งกระต่ายวิ่งนำหน้าเต่ามาก
คิดว่านอนหลับสักตื่น เต่าก็ยังตามไม่ทัน แต่ครั้นตื่นขึ้นมา เต่าคลานเกือบถึง
176
เส้นชัยแล้วสุดที่กระต่ายจะวิ่งตามทัน กระต่ายจึงแพ้เต่าเพราะความประมาท
177

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง การปฐมพยาบาล เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปฐมพยาบาลเป็ นการรักษาบาดแผล หรืออาการขั้นต้นก่อนที่อาการ
จะลุกลาม หรือนำส่งแพทย์ ลูกเสือควรมีความรู้ ความเข้าใจ เพื่อที่จะได้ป้ องกันและ
ปฐมพยาบาลได้ทันท่วงที

จุดการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลได้
บอกหลักการทั่ว ๆ ไป ของการปฐมพยาบาลได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวกได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนเป็ นลมได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนงูกัดได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนเท้าแพลงได้
ปฏิบัติการปฐมพยาบาลคนถูกแมลงสัตว์กัดต่อยได้

เนื้อหาสาระ
การปฐมพยาบาล
178

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ลูกเสือ“
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาล
5. ลูกเสือทั้งหมดช่วยกันสรุปใจความสำคัญ
6. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 4 กลุ่มไปตามฐาน 4 ฐาน ศึกษาใบความรู้
จากรองผู้บังคับบัญชาที่ประจำฐานดังนี้ ( มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยน
ฐาน )
ฐานที่ 1 การปฐมพยาบาลแผลธรรมดาถูกไฟไหม้น้ำร้อนรวก
ฐานที่ 2 การปฐมพยาบาลคนเป็ นลม
ฐานที่ 3 การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัดแมงมุมกัดแมลงกัดต่อย
ฐานที่ 4 การปฐมพยาบาลผู้ที่เท้าแพลงและผิวหนังถลอก
7. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
8. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
9. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “วัวตัวปัญหา“
11. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจแล้วนำส่งผู้บังคับบัญชานำคติสอนใจ
ไปติดที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. ภาพประกอบการปฐมพยาบาล
3. อุปกรณ์ทำแผล เช่น ผ้าพันแผล ผ้าม้วน ทิงเจอร์ไอโอดีน
ยาแดงด่างทับทิม แอลกอฮอล์ ฯลฯ
4. ภาพเปรียบเทียบแสดงบาดแผลที่ถูกงูพิษและงูไม่มีพิษกัด
5. เพลง “ลูกเสือ“
6. ใบความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาล
6. เรื่องสั้น เรื่อง “วัวตัวปัญหา“
179
180
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ลูกเสือไปดูแผนภูมิการพันผ้าแบบต่าง ๆ ที่ห้องลูกเสือ
2. จัดการแสดงบทบาทสมมุติเหตุการณ์ต่าง ๆ ในคาบอิสระ
181
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ...............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
182
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
................... ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
183

เพลง “ลูกเสือ”

ลูกเสือ ลูกเสือ เราไม่เบื่อการบำเพ็ญ คติที่ดีเด่นถือเป็ นประจำใจ


แล้วจะปฏิบัติต่อไป ด้วยร่าเริงใจอยู่ทุกยาม
ลูกเสือ ลูกเสือ เราเผ่าเชื้อลูกเสือไทย คิดอ่านการใด ใด
ใช่ส่วนตนไม่หม่นหมอง คิดทำความดีครอง เพราะมุ่งใจปองแต่ผลดี

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาล

ความหมายของการปฐมพยาบาล
184
การปฐมพยาบาล หมายถึง การรักษาพยาบาลขั้นต้นแก่ผู้ป่ วย
ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเกิดอุบัติเหตุ หรือ เกิดจากการป่ วยโดยกะทันหัน การรักษา
ขั้นต้นก็จะใช้เครื่องมือและยาเท่าที่จะสามารถหาได้ ก่อนที่จะส่งผู้ป่ วยให้แพทย์

หลักทั่วไปของการปฐมพยาบาล
ผู้ที่จะทำหน้าที่ปฐมพยาบาลได้นั้นจะต้องรู้หลักเบื้องต้น ในการปฏิบัติดังนี้
1. เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่ วย ถ้าผู้ป่ วยยังมีชีวิตอยู่ ให้สังเกตระบบหายใจถ้า
หายใจไม่สะดวกให้ทำการผายปอด หรือนวดหัวใจ เพื่อให้หัวใจทำงานต่อไป
2. ถ้าผู้ป่ วย มีบาดแผลและมีโลหิตออกมาให้ทำการห้ามโลหิต
3. ถ้าผู้ป่ วยกระดูกหัก ให้เข้าเฝื อกก่อนที่จะเคลื่อนย้าย

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาลบาดแผล

บาดแผล หมายถึง การที่ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังฉีกขาดอาจจะ


ทำให้ฟกช้ำ หรือเกิดเป็ นแผลจากการถูกตีหรือถูกกระทบกระแทกด้วยของแข็ง

วิธีการปฐมพยาบาล
1. อาการฟกช้ำผิวหนังไม่เป็ นบาดแผล เป็ นเพียงเส้นโลหิตฝอยใต้ผิวหนัง
แตกเกิดอาการช้ำ ให้เช็ดผิวหนังบริเวณนั้นด้วยผ้าสะอาดประคบด้วยความเย็น ให้เส้น
โลหิตตีบโลหิตก็จะหยุดซึม แล้วให้ใช้ความร้อนประคบ
185
2. ถ้าเป็ นบาดแผลที่ถลอกบริเวณผิวหนัง โดยไม่มีอาการฟกช้ำใต้ผิวหนัง
ให้ทำความสะอาด บริเวณบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาดหรือจะใช้สำลีชุบ
แอลกอฮอล์ทำความสะอาดที่บาดแผล ใช้ยาฆ่าเชื้อทาแผลและปิ ดแผลด้วยผ้า
3. ถ้าเป็ นบาดแผลผิวหนังแยกหรือแผลลึกแผลชนิดนี้ จะมีโลหิตไหล
ออกมา รีบห้ามโลหิตทันที เมื่อโลหิตหยุดไหลใช้ผ้าสะอาดปิ ดปากแผลพันด้วยผ้า
รีบนำส่งสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด

การปฐมพยาบาลถูกไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก
วิธีการปฐมพยาบาล
แผลที่ถูกความร้อนผิวหนังไม่พอง และไม่แตกเพราะถูกความร้อนไม่
มาก
การปฐมพยาบาล เมื่อถูความร้อนใหม่ ๆ ให้ใช้วาสลินบริสุทธิ์หรือน้ำมัน
พืชป้ ายแผลแล้วใช้ผ้ากอซหรือผ้าพันแผลสัก 2 ชั้น เพื่อป้ องกันมิให้ถูกอากาศภายนอก
แผลที่ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวกหนังและเนื้อพอง ผู้ป่ วยจะมีอาการเจ็บ
ปวดมากถ้าได้รับความร้อนเป็ นบริเวณกว้างผู้ป่ วยอาจหมดสติ การปฐมพยาบาล
ควรใช้ผ้ากอซจุ่มน้ำผสมกรดแทนนิค 5 % วางปิ ดแผลเอาไว้ รีบนำผู้ป่ วยส่งสถาน
พยาบาล

ใบความรู้
เรื่อง การปฐมพยาบาลคนเป็ นลม

คนเป็ นลมมักจะเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น โลหิตไปเลี้ยงสมองไม่พอ


เนื่องจากอากาศถ่ายเทไม่สะดวก อาจเกิดจากอยู่ในที่แออัด พักผ่อนน้อยเกินไป
ได้รับความร้อนมากเกินไปหรือได้รับความกระทบกระเทือนทางใจมากเกินไป
ผู้ป่ วยจะมีอาการหน้ามืด ใจสั่น เวียนศีรษะเหงื่อออกตามผิวหนัง ชีพจร
เต้นเร็วกว่าปกติและอ่อน

การปฐมพยาบาล
ถ้าผู้ป่ วยรู้สึกตนเองว่า เริ่มมีอาการดังนี้ ให้รีบนั่งหรือนอนราบให้ศีรษะต่ำ
เพื่อโลหิตจะได้ไปเลี้ยงสมองเพียงพอสูดหายใจเข้าออกยาว ๆ ดื่มน้ำเย็นครั้งละน้อย ๆ
ถ้าผู้ป่ วยหมดสติ จนไม่รู้สึกตัวให้พยาบาลดังนี้
1. ให้ผู้ป่ วยนอนราบกับพื้น ศีรษะต่ำ ขยายเสื้อผ้าให้หลวม ๆ
186
2. ใช้ผ้าชุบน้ำ เช็ด ใบหน้าและบริเวณลำตัว
3. ให้ดมยาดมหรือแอมโมเนีย
4. ถ้ายังไม่รู้สึกตัวให้ช่วยผายปอด
5. ถ้าไม่รู้สึกตัวเกิน 5 นาที ให้รีบส่งสถานพยาบาล
187
ใบความรู้
การปฐมพยาบาลเมื่อถูกแมลงมีพิษกัดต่อย

แมลงที่เป็ นอันตรายแก่คนเราได้แก่ ผึ้ง ต่อ แตน แมลงป่ อง


ตะขาบ ฯลฯ สัตว์เหล่านี้จะมีเหล็กในที่มีสารพิษอยู่ภายใน เมื่อต่อยคนแล้วจะมี
อาการบวม คัน และเจ็บปวดบริเวณที่ถูกต่อย ถ้าถูกพิษมากอาจจะปวดมาก
จนหมดสติได้ ควรปฏิบัติดังนี้

การปฐมพยาบาล
1. ถ้าเป็ นแมลงที่เป็ นเหล็กใน ให้หาวิธีดึงเหล็กในออกโดยเร็ว
2. ใช้สำลีชุบน้ำยาที่มีฤทธิ์เป็ นด่าง เช่น น้ำปูนใส แอมโมเนีย ทาบริเวณ
แผล
3. รับประทานยาแก้ปวด ถ้าไม่บรรเทาให้นำผู้ป่ วยส่งสถานพยาบาล

การปฐมพยาบาลเมื่อถูกงูกัด
ลักษณะของงูที่มีพิษ จะสังเกตได้จากรอยเขี้ยวที่แผล จะมีรอย 2 เขี้ยว
การสังเกตแผล ถ้าเป็ นงูพิษจะมีจุดดำเข้มสองจุดรอยเขี้ยวจะมีสีคล้ำ
อาการของผู้ที่ถูกงูเห่า งูจงอาง หรืองูสามเหลี่ยมกัด จะปวดและบวมเล็ก
น้อยที่บริเวณแผลจะรู้สึกชาจากแผลและค่อย ๆ ลามไปทั่วร่างกายอย่างรวดเร็ว
อาการของผู้ถูกงูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้จะปวด และบวมมาก
ภายใน 12 ชั่วโมงจะมีอาการบวมมากผิวหนังจะเปลี่ยนสี หนังจะเป็ นเม็ดพอง
มีน้ำเหลืองอาจมีโลหิตออกตามผิวหนังเลือดกำเดาไหล หรือออกทางอุจจาระ
ปัสสาวะ
วิธีการปฐมพยาบาล
1. ตรวจรอยเขี้ยว
2. ถ้าเป็ นงูพิษให้ใช้เชือกรัดเหนือแผลห่างจากแผลประมาณ 5
เซนติเมตร
3. พยายามบีบโลหิตให้ออกจากปากแผลมาก ๆ
4. ล้างแผลด้วยด่างทับทิมแก่ ๆ หรือใช้เกล็ดด่างทับทิมปิ ดปากแผลไว้
5. ถ้าคนไข้มีอาการเป็ นลม ควรให้ดื่มกาแฟหรือชาร้อนๆ ห้ามดื่มสุรา
6. รีบนำผู้ป่ วยส่งสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด
ใบความรู้
การปฐมพยาบาลเท้าแพลง

เท้าแพลงหรือข้อเท้าเคลื่อนจากกัน มีอาการเจ็บปวดเพราะกล้ามเนื้อส่วน
นั้นถูกกระทบกระเทือน ควรปฏิบัติดังนี้
188
1. ใช้ความเย็นประคบบริเวณข้อต่อ
2. ใช้ผ้าพันบริเวณข้อเพื่อไม่ให้อวัยวะส่วนนั้นเคลื่อนที่
3. เมื่อครบ 24 ชั่วโมงแล้วใช้ความร้อนประคบ

การปฐมพยาบาลผิวหนังถลอก
1. ใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออ่อน ๆ ชะล้างแผลหรือใช้แอลกอฮอล์ชุบสำลี
เช็ดแผลให้สะอาด ไม่ควรใช้น้ำเปล่าล้างแผล เพราะอาจทำให้สกปรก บาดแผลอาจ
ติดเชื้อและทำให้โลหิตไหลออกมากเกินไป
2. ใช้ยาทาแผลสดให้ทั่วบริเวณผิวหนังที่ถลอก อาจไม่ต้องใช้ผ้า
ปิ ดแผลก็ได้ ถ้าบาดแผลนั้นไม่อยู่ในตำแหน่งที่สกปรกหรือถูกน้ำได้ง่าย ถ้าแผลอยู่ใน
ตำแหน่งที่ถูกน้ำได้ง่าย จะต้องใช้ผ้าหรือ ถุงพลาสติกห่อหุ้มไว้ก่อน เมื่ออยู่ในสภาพ
ปลอดภัยจึงถอดออก
189

เรื่องสั้น
เรื่อง “วัวตัวปัญหา”

ชายคนหนึ่ง นำวัวไปเลี้ยงที่ชายทุ่ง ตัวเองนั่งอยู่โคนต้นไม้เผลอหลับไปพอ


ตื่นขึ้นมา หาวัวไม่เจอจึงออกเดินตามหาวัว เขาเดินมาพบชายคนหนึ่งกำลังจูงวัวของ
ตนจึงเข้าไปพูดว่า “วัวตัวนี้เป็ นของข้า” แต่ชายคนนั้นบอกว่า วัวตัวนี้เป็ นของเขา ชาย
ทั้งสองคนต่างคนต่างถามว่า เมื่ออ้างว่าเป็ นวัวของตน วัวนั้นมีตำหนิอยู่ ตรงไหนบ้าง
ต่างคนต่างตอบไม่ได้ ขณะนั้นมีชายคนหนึ่งเดินผ่านมา ชายทั้งสองจึงขอร้องให้ชาย
คนนั้นช่วยตัดสินให้ ชายคนนั้นถามชายคนที่ลักวัวมาว่า “ท่านให้วัวกินอะไรวันนี้”
ชายคนลักวัวตอบว่า “กินงากินแป้ ง” ชายคนนั้นจึงถามชายเจ้าของวัวบ้าง ชาย
เจ้าของวัวตอบว่า “ตัวเขายากจนให้กินเพียงหญ้า” ชายคนนั้นจึงเก็บใบยามาตำขยำ
เอาน้ำให้วัวกินวัวก็สำรอก ออกมาเป็ นหญ้า จึงรู้ว่าใครเป็ นเจ้าของ
190

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง แผนที่เบื้องต้น เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการเรียนวิชาลูกเสือ สิ่งที่ลูกเสือต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับเรื่องอื่นๆ คือ
เรื่องของแผนที่ ซึ่งมีความจำเป็ นอย่างยิ่งในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ เช่น
เดินทางไกล การเดินสำรวจ ซึ่งลูกเสือต้องมีความรู้ ความเข้าใจเป็ นอย่างดีจึงทำให้
การจัดกิจกรรมบรรลุผลตามวัตถุประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออ่านและใช้แผนที่และรู้จักบริเวณที่ตนอยู่ได้ถูกต้อง
1. บอกความหมายของแผนที่ได้
2. บอกชนิดของแผนที่ได้
3. อ่านและใช้แผนที่ได้

เนื้อหาสาระ
– แผนที่

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. เกม “ทิศทั้ง 4”
3. เรียกลูกเสือรอมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาให้ความรู้ เรื่อง แผนที่เบื้องต้น เกี่ยวกับ
191
– ความหมายของแผนที่
– ชนิดของแผนที่ สีที่ใช้ในแผนที่
– การอ่านและการใช้แผนที่
5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของเนื้อหาจดบันทึกลงสมุด
6. รองผู้บังคับบัญชามอบใบความรู้ 1 เรื่อง แผนที่เบื้องต้น ให้ลูกเสือ
ไปศึกษาเพิ่มเติมที่บ้าน
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การสังเกต”
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือคัดเลือกคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. แผ่นภาพหรือภาพถ่ายดวงดาวบอกตำแหน่ง
3. เพลง “ทิศทั้ง 4”
4. ใบความรู้ เรื่อง แผนที่เบื้องต้น
5. แผ่นแผนที่ (ภาพผ้าม้วน)
6. แถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “การสังเกต”
192
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งฐานให้มากหรือน้อยตามแต่ความเหมาะสม
กับเนื้อหา เวลาและอุปกรณ์
2. ให้ศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือในห้องกิจกรรมลูกเสือ
.
193
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
194
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
195

เกม “ทิศทั้งสี่”

วิธีเล่น
ผู้บังคับบัญชากำหนดทิศคือ เหนือ ใต้ ออก ตก เมื่อเริ่มเล่นให้ลูกเสือยืน
รวมกัน ใครจะหันหน้าไปทางทิศใดก็ได้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือบอก ทิศเหนือ ลูกเสือ
ทุกคนจะต้องหันไป ทางทิศเหนือที่กำหนดไห้ทันที ใครหันผิดคนนั้นออกจากการเล่น
ผู้บังคับบัญชาคงดำเนินการบอกทิศต่อไป ถ้าบอกใต้ ทุกคน
ต้องหันไปทางใต้ ใครหันผิดก็ออกจากการเล่น จนกว่าจะเหลือคนสุดท้ายเป็ นผู้ที่
ประสาทสั่งงานดีเป็ นผู้ชนะ
196

ใบความรู้
เรื่อง แผนที่เบื้ องต้น

ความหมายของแผนที่
แผนที่ คือ การนำเอารูปภาพของสิ่งต่าง ๆ บนพื้นผิวของโลกมาย่อ
ส่วนให้เล็กลง แล้วนำมาเขียนบนกระดานหรือวัตถุที่แบนราบ เพื่อแสดงสิ่ง
ต่าง ๆ บนพื้นผิวโลก ประกอบด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์ทำ
ขึ้น สิ่งเหล่านี้แสดงบนแผนที่โดยใช้สี เส้น หรือรูปต่าง ๆ เป็ นสัญลักษณ์แทน
ความเป็ นมาของแผนที่ในประเทศไทย

แผนที่ภายในประเทศที่เก่าแก่ที่สุด คือ แผนที่ยุทธศาสตร์ครั้งรัชกาล


พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ต้นกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง ปี พ.ศ. 1893 – 1912
การทำแผนที่ภายในประเทศ เริ่มเมื่อปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ พ.ศ. 2411 ได้มีการทำแผนที่บริเวณเขตแดนด้านตะวันตก
ของไทย เพื่อกำหนดเขตแดน ไทย – พม่า และปี พ.ศ. 2413 ได้ทำแผนที่กรุงเทพฯ
และกรุงธนบุรี โดยชาวต่างประเทศเป็ นผู้ทำ
สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวปี พ.ศ. 2418
งานแผนที่เจริญมากได้ตั้งกองแผนที่ โดยชาวต่างประเทศเป็ นที่ปรึกษาส่วนพระองค์
และพัฒนามาจนถึงการจัดทำแผนที่ในปัจจุบัน
197

ใบความรู้
เรื่อง แผนที่แบนราบ

เป็ นแผนที่ที่แสดงพื้นผิวโลกในแนวราบ ไม่ได้แสดงความสูง


ต่ำเอาไว้ ใช้ในการแสดงตำแหน่ง ระยะทางเส้นทาง เช่น แผนที่โลก
แผนที่ประเทศ แผนที่จังหวัด แผนที่เส้นทางในกรุงเทพฯ เป็ นต้น

ภาพประกอบ แผนที่แบนราบ
198
แผนที่ภูมิประเทศ

เป็ นแผนที่ที่มีสองมิติ สามารถแสดงความสูง ต่ำของพื้นผิวโลก ให้เห็น


ทั้งแนวระดับ (แนวราบ) และแนวดิ่ง (แนวสูง–ต่ำ) เช่น การแสดงลักษณะภูเขา
ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำแผนที่ชนิดนี้ ให้คุณประโยชน์มากกว่าแผนที่แบบ
แบนราบ เช่น แผนที่ประเทศไทย 1 : 50,000 แผนที่นูน หรือ แผนที่ทรวดทรง
เป็ นต้น

ภาพประกอบ แผนที่ภูมิประเทศ

เรื่องสั้น
“การสังเกต”
199
มีสุนัขตัวหนึ่งเดินทางไปในป่ าพร้อมเจ้าของเพื่อจะไปหาของป่ ามา
ขาย ชายคนนั้นเดินไปพร้อมสุนัข เข้าป่ าลึกไปทุกที และได้ของป่ ามามากมาย
พอสมควรแต่เกิดหลงทางจำไม่ได้ แต่สุนัขที่ไปด้วยดมกลิ่น ไปตามโคนต้นไม้
ไปแล้วก็วิ่งต่อไปชายคนนั้นเดินตามสุนัขของเขาไปเรื่อย ๆ ในที่สุด เขาก็
สามารถเดินทางกลับบ้านได้ถูกต้อง และเขาคิดว่าการที่สุนัขวิ่ง ๆ ดม ไปตลอด
ทางนั้น เพราะมันจำกลิ่นปัสสาวะของมันที่ถ่ายไว้ได้ ในขณะเดินทางเข้าไปใน
ป่ านั่นเอง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


กิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ เวลา 20 ชั่วโมง
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น เวลา 1
ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ในการเรียนวิชาลูกเสือ สิ่งที่ลูกเสือต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับเรื่องอื่น ๆ คือ
เรื่องของเข็มทิศ ซึ่งมีความจำเป็ นอย่างยิ่งในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของลูกเสือ เช่น
200
เดินทางไกล การเดินสำรวจ ซึ่งลูกเสือต้องมีความรู้ ความเข้าใจเป็ นอย่างดีจึงทำให้
การจัดกิจกรรมบรรลุผลตามวัตถุประสงค์

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออ่านและใช้เข็มทิศได้อย่างถูกต้อง
1. บอกความหมายของเข็มทิศได้
2. บอกส่วนประกอบของเข็มทิศได้
3. ใช้เข็มทิศได้
4. ปฏิบัติหาทิศจากสิ่งแวดล้อมได้

เนื้อหาสาระ
เข็มทิศเบื้องต้น

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ทิศทั้ง 8“
3. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 2 ฐาน
โดยแต่ละฐานมีรองผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน
แล้วจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
201

4. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น ดังนี้ (มีผู้บังคับบัญชา


เป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ
ฐานที่ 2 เรื่อง การหาทิศโดยสังเกตจากสิ่งแวดล้อม เช่น ลม
เถาวัลย์ ต้นไม้
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือทุกหมู่ระดมความคิดปฏิบัติกิจกรรมใบงาน เรื่อง
เข็มทิศเบื้องต้น
7. ลูกเสือทุกหมู่นำใบงานส่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “หมาไม่มีเหตุผล“
9. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชยเพื่อเป็ นการให้กำลังใจ
10. มอบใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อ ที่บ้าน
แล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชา
2. เพลง “ทิศทั้ง 8“
3. ใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น
4. ใบงาน เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น
5. เรื่องสั้น “หมาไม่มีเหตุผล”
202
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และ
ความรับผิดชอบโดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับ
บัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือ
เป็ นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมิน
กระบวนการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ
80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
การสอนเป็ นฐานอาจแบ่งฐานให้มากหรือน้อย ตามแต่ความเหมาะสม
กับเนื้อหา เวลาและอุปกรณ์ ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือเข็มทิศเพิ่มเติมจากห้องกิจกรรม
203
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...............................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
204
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ปัญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
...................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
……../…………./…………
205
เพลง “ทิศทั้ง 8”

ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิมจำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องดีอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน (ซ้ำ) ตรงข้ามไปคือ อาคเนย์
206

เรื่องสั้น
เรื่อง “หมาไม่มีเหตุผล”

มีพ่อค้าคนหนึ่ง ขนหีบใส่อาหารข้ามสะพานมา ขณะนั้นเองหีบ


อาหารใบหนึ่งตกลงไปในน้ำ พ่อค้าต้องรีบเดินทางจึงต้องทิ้งหีบใบนั้นไว้ มีหมา
ฝูงหนึ่งเดินข้ามสะพานมา มองลงไปในน้ำเห็นก้อนเนื้ออยู่ในหีบ จึงปรึกษากัน
ถึงเรื่องทำอย่างไร จึงจะเอาหีบอาหารขึ้นมาได้ ต่างคนต่างแสดงความคิดเห็นแต่ก็
ตกลงกันไม่ได้ จึงชวนกันไปปรึกษาพญาช้าง เพราะคิดว่าช้างคงช่วยเหลือได้ เมื่อ
ไปถึงเห็นช้างนอนหลับอยู่ จึงได้ปลุกช้างให้ตื่น แล้วขอความช่วยเหลือ ช้างเพิ่ง
ตื่นงัวเงียอยู่ก็ตอบว่า “เราช่วยท่านเอาหีบขึ้นไม่ได้หรอก แต่เราแนะนำพวกเจ้าได้
คือ ให้พวกเจ้าช่วยกันกินน้ำให้หมดแล้วก็เอาหีบขึ้นมา” หมาต่างก็เห็นด้วย จึงหา
สะพานข้ามลำธาร ช่วยกันกินน้ำจนท้องแตก น้ำในลำธารก็ไม่แห้งเพราะน้ำไหลมา
ตลอดเวลา จึงล้มเลิกความคิดที่จะเอาหีบขึ้นมา
207

ใบความรู้
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น

เข็มทิศและส่วนประกอบของเข็มทิศ
เข็มทิศ คือ เครื่องมือที่ใช้ในการหาแนวทิศเหนือ เพื่อเป็ นหลักในการ
หาทิศอื่น ๆ ต่อไป เข็มทิศที่นิยมใช้ในวงการลูกเสือ คือ เข็มทิศแบบซิลวา
ของประเทศสวีเดน เป็ นเข็มทิศและไม้โปรแทรกเตอร์รวมอยู่ด้วยกัน ใช้ทำ
แผนที่และหาทิศทางได้ดี สะดวกในการใช้งาน
ภาพประกอบ เข็มทิศแบบซิลวา

ส่วนประกอบของเข็มทิศซิลวา
หมายเลข 1 แผ่นฐาน ทำด้วยวัสดุโปร่งใส
หมายเลข 2 ขอบฐานมีมาตราส่วนเป็ นนิ้วหรือเป็ นเซนติเมตร
หมายเลข 3 ลูกศรทิศทางที่จะไป
หมายเลข 4 เลนส์ขยาย
หมายเลข 5 ตลับเข็มทิศ เป็ นวงกลมหมุนไปมาได้ บนกรอบหน้าปัด
ของตลับเข็มทิศแบ่งมุมได้ 360 องศา
หมายเลข 6 ภายในตลับเข็มทิศ ตรงกลางมีเข็มทิศแม่เหล็กสีแดง
ซึ่งจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
หมายเลข 7 ตำแหน่งสำหรับตั้งมุม และอ่านค่าของมุมอยู่แนวเดียว
กับปลายลูกศรชี้ทิศทาง

การใช้เข็มทิศซิลวา
เข็มทิศซิลวา เราสามารถนำมาใช้ได้ดังนี้
1. หาทิศทางของจุดหมาย ที่เราต้องการจะไปในกรณีที่กำหนดมุม
208
อาซีมุท ให้สมมุติว่าบอกมุมอาซีมุท 70 องศา ให้ปฏิบัติดังนี้
– เอาแผ่นฐานเข็มทิศวางบนฝ่ ามือ หรือสมุด ในแนวราบ ให้ขนานกับ
พื้น
– หมุนรอบหน้าปัดตลับเข็มทิศให้เลข 70 องศา ตรงกับ ลูกศรชี้
ทิศทาง
– หมุนฝ่ ามือหรือสมุดที่วางเข็มทิศ ให้แม่เหล็กสีแดง ชี้ตัว อักษร N
– ออกเดินไปตามทิศทางลูกศรชี้ ก็จะทราบทิศทางของ จุดหมายที่เรา
จะไป
2. ต้องการหาค่ามุมอาซีมุท จากจุดที่เราอยู่ ไปจุดหมายที่เราจะ
เดินไป ให้ปฏิบัติดังนี้
– วางเข็มทิศบนฝ่ ามือหรือสมุดในแนวราบขนานกับพื้น
– หันลูกศรชี้จุดที่เราจะเดินไป
– หมุนกรอบหน้าปัดให้เข็มแม่เหล็กสีแดง ตรงกับอักษร N โดยให้ลูก
ศร ชี้ทิศที่เราจะเดินไป
– อ่านค่ามุมอาซีมุทลูกศรชี้ทิศทาง ก็จะทราบว่ามีค่าของ
อาซีมุทเท่าใด
อาซีมุท (Azimuth) เป็ นวิธีการที่คิดขึ้นมา เพื่อใช้ในการบอกทิศทาง โดย
กำหนดให้เป็ นมุมที่ราบ วัดแนวทิศเหนือไปตามเข็มนาฬิกา ถึงจุดหมายหรือทิศทาง

การหาทิศหรือการหาที่ตั้งของสถานที่
การจัดกิจกรรม การเดินสำรวจ การพักแรม การเดินทาไกล ที่มี
ภูมิประเทศเป็ นป่ าเขาจริง ๆ ลูกเสือต้องรู้จักวิธีการหาทิศ เพื่อที่จะค้นหาที่ตั้งหรือ
ตำแหน่งของสถานที่ ให้เป็ นความรู้เบื้องต้นไว้บ้าง มีวิธีหา 2 วิธี

การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ

จะใช้ทิศเหนือเป็ นหลักโดยวางแผ่นเข็มทิศในแนวราบ ให้ขนานกับพื้น


หมุนแผ่นเข็มทิศให้เข็มแม่เหล็กสีแดง ชี้ตรง N เราก็จะทราบทิศทั้ง 4 ทันที ถ้า
ต้องการ จะหาทิศทางอื่น ก็จะใช้ตามข้อแนะนำการใช้เข็มทิศซิลวา ซึ่งได้กล่าวไว้ใน
ตอนต้น
209
การหาทิศโดยสังเกตจากธรรมชาติ
1. สังเกตจากดวงอาทิตย์ ในช่วงเวลาเช้าหรือเวลาเย็น เราจะสังเกต
ได้ง่าย เพราะดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และจะตกทางทิศตะวันตก
2. สังเกตจากดวงจันทร์ ในเวลากลางคืนถ้าเราทราบว่า ขณะนั้นเป็ น
ข้างขึ้น หรือข้างแรม ถ้าเป็ นข้างขึ้น 1 – 6 ค่ำ ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันตก ถ้า
เป็ นข้างขึ้น 9 – 15 ค่ำ ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันออก ถ้าเป็ นข้างแรมดวงจันทร์จะ
ขึ้นทางฟากฟ้ าตะวันออกเสมอ บางครั้งเราอาจจะ ไม่ทราบว่า ขณะนั้นเป็ นข้างขึ้น
หรือข้างแรม ให้สังเกตจากลักษณะของดวงจันทร์ข้างขึ้นจะหันส่วนเว้าไปทางทิศตะวัน
ออก ข้างแรมดวงจันทร์จะหันส่วนเว้าไปทางทิศตะวันตก
3. สังเกตจากโบสถ์ โดยทั่วไปแล้ว ประตูจะอยู่ทางทิศตะวันออก
4. สังเกตจากหลุมฝังศพ จะหันศีรษะไปทางทิศตะวันตก มีป้ ายชื่อไม้
กางเขน อยู่เหนือศีรษะ
5. สังเกตจากเถาวัลย์ ที่พันรอบต้นไม้ส่วนมาก จะหันปลายยอดไป
ทางทิศ ตะวันออก
6. สังเกตต้นไม้ เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ าในป่ าโปร่งจะมีต้นไม้ใหญ่
ให้เอา แก้มแนบต้นไม้ สังเกตต้นไม้ดูว่า ด้านที่อุ่น ๆ จะเป็ นด้านทิศตะวันตก แล้วเรา
ก็จะได้ทิศอื่น

ใบงาน
เรื่อง เข็มทิศเบื้องต้น

คำสั่ง
210
1. ให้ลูกเสือ.แต่ละหมู่ ใช้เข็มทิศแบบซิลวาหามุมเข็มทิศ และระยะทาง
ตามจุดที่กำหนดให้
2. เมื่อทำใบงาน เสร็จแล้ว ให้ลูกเสือส่ง ที่ผู้บังคับบัญชา

แผนผังสนามใช้ประกอบใบงานที่ 3.1
3

5 1 2

3. จากจุด 1 ไปหาจุด 2
เป็ นมุม…………องศา ระยะทางประมาณ ………ก้าว
4. จากจุด 2 ไปหาจุด 3
เป็ นมุม………… องศา ระยะทางประมาณ……….ก้าว
5. จากจุด 3 ไปหาจุด 4
เป็ นมุม…………องศา ระยะทางประมาณ ………ก้าว
6.. จากจุด 4 ไปหาจุด 5
เป็ นมุม………… องศา ระยะทางประมาณ……….ก้าว
ชื่อ 1. ………………………. 2. ……………………………
3…………………………. 4……………………………….

*****************************
211

ภาคผนวก

– แบบประเมิน
– เกมและเพลง
ที่
เลข
ชื่อ สกุล

ดี ความสนใจ
พอใช้ และตั้งใจฟัง
ปรับปรุง
ดี การเข้าร่วม
พอใช้ กิจกรรม
ปรับปรุง
ได้ การเล่าประวัติ
แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม

ไม่ได้ ลูกเสือ
ได้ การบอก
ไม่ได้ ประโยชน์ลูก
ได้ แต่งเครื่อง
ไม่ได้ แบบลูกเสือ
สำรอง
ปรับปรุง

(ลงชื่อ) ……………………….. ผู้ประเมิน


212

ผ่าน ผลการ
ประเมิน
ไม่ผ่าน
213
แบบสังเกต
ที่ ชื่อ สกุล การเตรียม ท่าทางการ ขั้นตอนการ ความตั้งใจ ผลการ
อุปกรณ์ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติงาน ประเมิน
กิจกรรม กิจกรรม
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผ่าน
ไม่
ที่
ชื่อ สกุล

2
บอกการพักผ่อน
1

ที่ถูกวิธี
0
2

บอกการป้ องกัน
1

การไม่ให้โรค
0

หวัดแพร่ออกไป
แบบบันทึกกิจกรรม

แสดงวิธีการ
1

หายใจและการ
0

ป้ องกันการไม่ให้
แพร่ออกไป
2

ความตั้งใจปฏิบัติ
1

กิจกรรม
0
214

ผ่าน ผลการประเมิน
ไม่
215

แบบสังเกตการบันทึกกิจกรรม

ที่ ชื่อ สกุล ความสนใจเข้า บอกสถานที่ บอกวิธีขอความ ผลการ


ร่วมกิจกรรม สำคัญในท้อง ช่วยเหลือ ประเมิน
ถิ่น
3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ.

แบบสังเกตการบันทึกกิจกรรม
ความสนใจเข้า บอกชื่อพืช บอกชื่อสัตว์ ผลการ
ร่วมกิจกรรม ลักษณะ ลักษณะ ประเมิน
ที่ ชื่อ สกุล ประโยชน์หรือ ประโยชน์หรือ
โทษ โทษ
3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ.
216

แบบสังเกตการปฏิบัติงาน

เตรียม ผลงาน คุณลักษณะนิสัย ผลการ


วัสดุ ความ ประณีต
ริเริ่ม ตั้งใจ การเก็บ ประเมิน
ที่ ชื่อ สกุล สมบูรณ์ สวยงาม
สร้างสรร ปฏิบัติ อุปกรณ์
ค์ งาน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ
217

แบบสังเกตการทดสอบการผูกเงื่อน
การเตรียม ผูกเงื่อน ผูกเงื่อน การเก็บ การ
ที่ ชื่อ สกุล วัสดุ .................. …………… เชือก ประเมิน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ มผ
218

You might also like