You are on page 1of 458

1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง องค์การลูกเสือโลก (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูกเสือโลกและ
นานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ
ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ แข่งเรือบก ”
3. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือสนทนาเกี่ยวกับการจัดองค์การลูกเสือโลก
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปตามฐานทั้ง 4 ฐาน
6. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษา ใบความรู้ เรื่อง กิจการองค์การ
7. ลูกเสือโลกและความสัมพันธ์กับลูกเสือนานาชาติ ตามฐานดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง สมัชชาลูกเสือโลก
ฐานที่ 2 เรื่อง คณะกรรมการลูกเสือโลก
ฐานที่ 3 เรื่อง สำนักงานลูกเสือโลก
ฐานที่ 4 เรื่อง การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก
8. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
9. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูก
2
เสือในวันรุ่งขึ้น
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “เรืออับปาง”
3. ใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
3
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
4
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/.........
5
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
6

เกม “แข่งเรือบก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่เข้าแถวตอน หันหลังให้เส้นเริ่มต้น นายหมู่อยู่หัวแถวหัน
หน้าเข้าหาลูกหมู่เป็นนายท้ายเรือ แล้วเอาไม้พลอง 2 อัน สอดเข้าใต้ระหว่างขาของทุก ๆ
คน ลูกเสือจับไม้พลองเป็นหมู่ ๆ ไป (เปรียบเหมือนเรือ) พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้
ทุกคนวิ่งถอยหลังไปทั้ง ๆ ที่ไม้พลองสอดอยู่ใต้ขา นอกจากนายหมู่คอยบอกเรือให้แล่น
ให้ตรง ทางขวาหรือซ้าย ไปยังจุดที่อยู่ห่างออกไป 10 เมตร แล้วให้เรือแล่นกลับลำ
กลับมาที่จุดตั้งต้น หมู่ใดถึงก่อนเป็นผู้ชนะ

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference)
สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันมี
สมาชิกทั้งหมด 131 ประเทศ
7
สมัชชาลูกเสือโลกประชุมกันทุก 2 ปี จะเป็นประเทศใดนั้นต้องเป็นไปตามมติของที่
ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องเป็นตัวแทนของประเทศที่เป็นสมาชิก ประเทศละ 6 คน
สมาชิกดังกล่าวนี้ จะเป็นผู้ออกเสียงลงคะแนนลับเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลกต่อไป
หน้าที่ของสมัชชาลูกเสือโลก
1. กำหนดนโยบายทั่วไปของคณะลูกเสือโลก
2. พิจารณารับสมาชิกใหม่และตัดสินชี้ขาดการขับออกจากสมาชิกภาพ
3. เลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก
4. พิจารณารายงานและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาแก้ไขธรรมนูญและข้อบังคับของคณะลูกเสือโลก
8

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลกประกอบด้วยบุคคล 12 คน จากประเทศสมาชิก 12
ประเทศ เลือกตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกอยู่ในตำแหน่งวาระ 6 ปี
ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงที่ได้เป็นเจ้าภาพ ในการประชุมสมัชชาลูกเสือ
โลก ครั้งที่ 33 ระหว่างวันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2536 ณ โรงแรมอิมพิเรียล ควีนส์ปาร์ค

หน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือโลก
1. ส่งเสริมกิจการลูกเสือโลก
2. แต่งตั้ง เลขาธิการและรองเลขาธิการของสำนักงานลูกเสือโลก
3. ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก
4. จัดหาเงินทุนสำหรับส่งเสริมการลูกเสือโลก
5. พิจารณาให้เครื่องหมาย ลูกเสือสดุดี แก่ผู้ที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนกิจการลูก
เสือโลก
ผู้แทนคณะกรรมการลูกเสือไทย ที่ได้รับเลือกให้เป็นคณะกรรมการลูกเสือโลก มี 2
ท่าน ดังนี้
1. นายอภัย จันทวิมล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2. นายแพทย์บุญสม มาร์ติน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

สำนักงานลูกเสือโลก
สำนักงานลูกเสือโลกทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขาธิการปฏิบัติตามคำสั่ง หรือมติของ
สมัชชาลูกเสือโลกและคณะกรรมการลูกเสือโลก ค.ศ. 1968 ได้ย้ายไปอยู่เมืองเจนีวา ประเทศสวิต
9
เซอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน
นอกจากนี้ยังมีสำนักงานอีก 5 เขต คือ
เขตอินเตอร์ – อเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองซานโฮเซ ประเทศคอสตาริกา
เขตเอเชีย – แปซิฟิ ก ตั้งอยู่เมือง มะนิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
เขตอาหรับ ตั้งอยู่ที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์
เขตยุโรป ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
เขตแอฟริกา ตั้งอยู่ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา
ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติกับกิจการลูกเสือของทุกประเทศ มีหลักการที่
สำคัญอย่างเดียวกัน ดังนี้
1.ความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
2.มีความศรัทธาในมิตรภาพ และความเป็นพี่น้องของลูกเสือทั่วโลก
3.การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
4.การยอมรับและปฏิบัติตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
5.การเข้าเป็นสมาชิกด้วยความสมัครใจ
6.มีความเป็นอิสระต่ออิทธิพลทางการเมือง
7.มีกำหนดการพิเศษสำหรับการฝึ กอบรมโดยอาศัย
–ระบบหมู่ / กลุ่ม
–การทดสอบเป็นขั้น ๆ
–เครื่องหมายวิชาพิเศษ
–กิจกรรมกลางแจ้ง
10

ใบความรู้
เรื่อง กิจการขององค์การลูกเสือโลก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก
คณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิ ก ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิก
ลูกเสือภาคฯที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 10 คนและอยู่ในตำแหน่งได้เทอมละ 6 ปี คณะ
กรรมการลูกเสือภาค ฯ จะดำเนินการเลือกประธานและรองประธานกันเอง ในการประชุมสมัชชา
ลูกเสือภาคฯ ทุกครั้ง กรรมการ 5 คน จะพ้นจากตำแหน่งตามวาระ และจะมีการเลือกตั้งกรรมการ
คนใหม่ จำนวน 5 คน เข้ามาแทนที่ผู้ออกหรือลาออก หรือ ถึงแก่กรรม
ประเทศไทยได้มีหลายท่านที่ได้รับเลือก เป็นกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย –
แปซิฟิ ก ในยุโรปมีลูกเสือ 1.5 ล้านคน แม้ว่าจำนวนลูกเสือจะไม่เพิ่มพูน แต่ก็ยังสามารถยืนหยัด
จำนวนคงที่อยู่ได้ และเน้นในทางสมาคมร่วมกันระหว่างลูกเสือกับลูกเสือหญิงซึ่งเป็นความมุ่ง
ประสงค์และวิธีการของลูกเสือ
ในเขตเอเชีย – แปซิฟิ ก เป็นเขตที่มีความเจริญงอกงามมากที่สุดกว่าทุกเขต มี
ประชากรลูกเสือเกินกว่า 5 ล้านคน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการลูกเสือได้ตอบสนองความต้องการ
ของประเทศ ที่กำลังพัฒนาได้ตรงเป้ าหมาย

เรื่องสั้น
เรื่อง “ ผู้นำวัยรุ่น “

กบฝูงหนึ่ง มีกบหนุ่มเป็นหัวหน้า หากินอยู่ที่สระชายป่ าแห่งหนึ่ง


นานวันอาหารหมดจึงปรึกษากันว่าควรอพยพไปหากินในที่ใหม่ ขณะนั้นนกยางเจ้า
11
เล่ห์บินผ่านมา ก็แนะนำว่า “ ข้าพบสระในป่ าไกลออกไปมีอาหารของพวกเจ้ามากมาย
ถ้าจะไปที่นั่น ข้าจะอาสาคาบพวกเจ้าไปส่งให้”
กบหนุ่มหัวหน้าไม่มีความยั้งคิดก็ตอบตกลงไปนกยางก็คาบพวกกบ
ไปทีละตัวและมันก็กินเสีย ทีละตัวจนหมดฝูง
นกยางบินกลับมาที่สระนั้นเห็นมีปูมากก็อยากกินปูอีกจึงออกอุบายบอกปูว่า “ พวกเจ้า
ไม่อพยพไปอยู่สระใหม่เช่นเดียวกับพวกกบหรือ”
ปูเฒ่าหัวหน้าปูในสระนั้นรู้ทันเล่ห์กลของนกยาง จึงออกอุบายว่า
“ ข้าอยากไปตรวจดูก่อน แต่เจ้าต้องให้ข้ากอดคอเจ้าไปนะ ข้าจึงไป”
นกยางหลงกลปูเฒ่า จึงให้ปูกอดคอไป พอนกยางก้มคอให้ปูกอด
ปูเฒ่าได้โอกาสก็พูดว่า “ เจ้าหลอกกินพวกกบหมดแล้ว จะมาหลอกกินพวกข้าอีก แต่ข้านี่แหละ
จะกินเจ้าเสียก่อน” ว่าแล้วปูเฒ่าก็เอาก้ามอันแข็งแรงทั้งสองหนีบคอนกยางจนตาย

––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––
12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง องค์การลูกเสือโลก (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
คณะลูกเสือแห่งชาติ มีส่วนสำคัญในการให้ความสัมพันธ์กับองค์การลูกเสือโลกและ
นานาประเทศให้เกิดความรักความผูกพันฉันพี่น้อง ส่งเสริม ความสัมพันธ์ของลูกเสือนานาชาติ
ตลอดจนบทบาทของตนเองที่มีต่อลูกเสือนานาประเทศให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกถึงกิจกรรมองค์การลูกเสือโลกได้
1. บอกกิจการองค์การลูกเสือโลกได้
2. บอกความสัมพันธ์ลูกเสือนานาชาติได้

เนื้อหาสาระ
1. กิจการขององค์การคณะลูกเสือโลก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือนานาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ แข่งเรือบก ”
3. ทำกิจกรรมต่อจากชั่วโมงที่แล้ว โดยให้ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกัน
ที่ผู้บังคับบัญชา
4. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
10. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
11. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
12. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจเขียนลงในกระดาษ แล้วนำไป ติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้อง
ลูกเสือในวันรุ่งขึ้น
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชย
14. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “เรืออับปาง”
13
3. ใบความรู้ เรื่อง กิจกรรมองค์การลูกเสือโลก
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้นำวัยรุ่น”
14
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ควรแจกใบความรู้ให้ลูกเสือไปศึกษามาก่อน
2. ห้องลูกเสือควรมีแผนภูมิโครงสร้างองค์การลูกเสือโลก ศึกษาเพิ่มเติม
3. ครูควรเตรียมเนื้อหาหรือใบความรู้ให้ลูกเสือได้ศึกษาครบทุกฐาน
15
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/.........
16
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
17

เกม “แข่งเรือบก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่เข้าแถวตอน หันหลังให้เส้นเริ่มต้น นายหมู่อยู่หัวแถวหัน
หน้าเข้าหาลูกหมู่เป็นนายท้ายเรือ แล้วเอาไม้พลอง 2 อัน สอดเข้าใต้ระหว่างขาของทุก ๆ
คน ลูกเสือจับไม้พลองเป็นหมู่ ๆ ไป (เปรียบเหมือนเรือ) พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้
ทุกคนวิ่งถอยหลังไปทั้ง ๆ ที่ไม้พลองสอดอยู่ใต้ขา นอกจากนายหมู่คอยบอกเรือให้แล่น
ให้ตรง ทางขวาหรือซ้าย ไปยังจุดที่อยู่ห่างออกไป 10 เมตร แล้วให้เรือแล่นกลับลำ
กลับมาที่จุดตั้งต้น หมู่ใดถึงก่อนเป็นผู้ชนะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับการบริการ (1) เวลา 1 ชั่วโมง
18

สาระสำคัญ
ลูกเสือกับการบริการ เป็นเรื่องสำคัญที่ลูกเสือจะต้องปฏิบัติตนให้เป็นนิสัย เพื่อช่วย
เหลือบุคคลหรือชุมชน ในโอกาสต่าง ๆ ทำด้วยความศรัทรา เต็มใจ แม้จะไม้ได้รับการขอร้อง
จากบุคคลหรือชุมชนแต่อย่างใด

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกความหมายของการบริการ รู้หน้าที่ของหมู่บริการ และกระทำตน
เป็นผู้บริการที่ดีได้
1. ลูกเสือบอกความหมายของการบริการได้
2. ลูกเสือบอกกฎของลูกเสือกับการบริการได้
3. ลูกเสือบอกหน้าที่ของหมู่บริการได้
4. ลูกเสือปฏิบัติตนให้เป็นกิจนิสัยในการบริการได้

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของการบริการ
2. กฎของลูกเสือกับการบริการ
3. หน้าที่ของหมู่บริการ
4. ประโยชน์ของการบริการ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “หมู่บริการ” ตามเอกสารเพลง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 3 กลุ่ม
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความหมายของการบริการ
และกฎของลูกเสือกับการบริการได้
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการ
ข้อ 3, 4
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการ
ข้อ 5, 8, 10
19
1. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญจากฐานต่าง ๆ
2. มอบใบงาน ตารางการให้บริการ ไปทำทั้งที่บ้านมาส่งในสัปดาห์หน้า
3. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ใครสำคัญ”
4. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
5. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
6. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
7. พิธีปิ ดประชุมกอง
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “รวมเงิน”
3. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
4. เรียกลูกเสือรวมกอง
5. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
6 แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 2 กลุ่ม
7. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หมู่บริการ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์ของการบริการ
20
8. รวมลูกเสือและให้สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น “ความรอบคอบ”
10. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
11. ผู้บังคับบัญชานำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติงานของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารเพลง “หมู่บริการ”
2. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของการบริการ และกฎของลูกเสือกับการบริการได้
3. ใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 3, 4
4. ใบความรู้ เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 5, 8, 10
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ใครสำคัญ”
1. เกม “รวมเงิน”
2. ใบความรู้ เรื่อง หมู่บริการ
3. ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์ของการบริการ
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ความรอบคอบ”
21
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
22
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
23
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “หมู่บริการ”

ใบงานที่
เรื่อง
24

หมู่บริการของเราช่างดีหมด
งามงดยอดลูกเสือขวัญ
ปัดกวาดทำความสะอาดทั่วไป
สามัคคีมีน้ำใจก่อให้เกิดพลัง
เราช่วยกันทำด้วยกันให้งานนั้นเสร็จทันที
ใจเย็นอดทนเป็นคนดี
และรู้จักหน้าที่สมนามหมู่บริการ

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายของการบริการและกฎของลูกเสือกับการ บริการ

ความหมายของการบริการ
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน การบริการ หมายถึง การปฏิบัติรับใช้
หรือการให้ความสะดวก สำหรับลูกเสือนั้น การบริการ หมายถึงความพร้อมการบำเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อบุคคลหรือชุมชนด้วยความเต็มใจ ตามคำปฏิญาณข้อที่ 2 ของลูกเสือ
ที่ว่า “ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ”

กองลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 1 “ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้”
25
ลูกเสือเป็นผู้มีเกียรติ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในเครื่องแบบ ลูกเสือจะต้องระมัดระวัง
ไม่ทำสิ่งใดที่เป็นที่เสื่อมเสียเกียรติของลูกเสือ ลูกเสือจะต้องกระทำอย่างเปิ ดเผยไม่มี
ลับลมคมนัย เพื่อให้เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไปและเพื่อชื่อเสียงอันดีงามของลูกเสือ
ทั้งหมดด้วย
26
ใบความรู้
เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 3, 4

กฎของลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 3 “ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนให้เป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น”
ลูกเสือจะต้องไม่ปล่อยให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์ และต้องถือเป็นหน้าที่ใน
การช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อโดยไม่นิ่งดูดาย

กฎข้อที่ 4 “ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่น้องกับลูกเสือทั่วโลก”


ลูกเสือต้องยึดมั่นว่าทุกคนมีความเสมอภาคกันในการให้การช่วยเหลือ จะต้อง
ไม่เลือกที่รักมักที่ชังหรือรังเกียจในชาติตระกูลลูกเสือจะต้องยึดหลักเมตตาเป็นที่ตั้งเสมอ
27
ใบความรู้
เรื่อง กฎของลูกเสือกับการบริการข้อ 5, 8, 10

กฎของลูกเสือกับการบริการ
กฎข้อที่ 5 “ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย”
ความสุภาพเป็นสมบัติของผู้ดี ลูกเสือจะต้องรู้จักวิธีปฏิบัติต่อเด็ก สตรีและคนชรา
ลูกเสือจะต้องใช้ความสุภาพ แม้กับคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อตน

กฎข้อที่ 8 “ลูกเสือมีใจร่าเริง และไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก”


ลูกเสือจะต้องมีความอดทนในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติงาน
ด้วยความมีสติแจ่มใสร่าเริงอยู่เสมอ ซึ่งจะทำให้สามารถผ่านพ้นอุปสรรคต่าง ๆ ได้

กฎข้อที่ 10 “ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ”


ลูกเสือจะต้องทำทุกอย่างด้วยความบริสุทธิ์ ใจและเต็มใจ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ใด ๆ ทั้งสิ้น
28

ตารางการให้บริการ
ครั้งที่ วัน เดือน ปี การให้บริการ สถานที่

ลงชื่อ…………………………………..ผู้บริการ
(…………..…………………….)

เรื่องสั้น
เรื่อง “ใครสำคัญ”

ณ สนามหญ้าแห่งหนึ่ง มีเก้าอี้ตัวหนึ่ง ถูกนำมาวางทิ้งไว้นายจนเจ้าของเดิมลืม


วันหนึ่งอากาศร้อนมาก ขาเก้าอี้ทั้งสี่ข้างทะเลาะกันถึงความสำคัญของตนเอง ขณะที่ได้
โอกาสเจ้าขาข้างขวาหน้าพูดขึ้นว่า ตัวของมันสำคัญกว่าใคร ขาเก้าอี้ที่เกลือต่างคัดค้านว่า
29
ไม่เป็นความจริง ด้วยความโกรธมันจึงแยกตัวออกจากเก้าอี้ พอขาหน้าแยกตัวออกมา
ก็ทำให้เก้าอี้ตัวนั้นล้มลมทันที ขาข้างขวาด้านหน้าได้ทีจึงพูดว่า
“เห็นหรือไม่ว่าข้าสำคัญ” แล้วก็กลับเข้าที่เดิม ขาหน้าข้างซ้าย บอกกับเพื่อนใน
กลุ่มว่า มันก็สำคัญ แต่ขาทุกข้างก็ค้านว่าไม่เป็นความจริง ขาข้างซ้ายได้ยินเช่นนั้นก็
แยกตัวออกมาจากเก้าอี้ ขณะที่ขาข้างซ้ายแยกตัวออกมานั้น ก็ทำให้เก้าอี้เสียหลักล้มลง
ทันที มันจึงพูดขึ้นว่า
“เห็นไหมข้าก็สำคัญไม่แพ้เจ้าขาขวา” ส่วนขาหลังทั้งสองที่เหลือ ก็บอกว่ามัน
ก็สำคัญเหมือนกัน พร้อมกับจะแยกตัวออกมาบ้าง แต่ถูกเก้าอี้ห้ามไว้ก่อน ตัวเก้าอี้จึง
อธิบายถึงความสำคัญของขาเก้าอี้แต่ละข้างว่า ถ้าไม่มีขาเก้าอี้ข้างใดข้างหนึ่ง เก้าอี้ก็ไม่
สามารถดำรงตัวอยู่ได้ หลังจากที่ได้ฟังเก้าอี้อธิบาย ขาเก้าอี้จึงคิดได้ จึงกล่าวคำขอโทษ
ซึ่งกันและกัน พร้อมกับบอกว่าจะไม่แยกตัวออกอีก เก้าอี้จึงพูดเสริมขึ้นอีกว่า ถ้าเรา
รู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้หน้าที่ของตนเอง หันหน้าเข้าหากัน ก็จะทำประโยชน์แก่ผู้
อื่นได้ต่อไป

คติสอนใจ : “ถ้าเรารู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้หน้าที่ของตนเอง


หันหน้าเข้าหากัน ก็จะทำประโยชน์แก่ผู้อื่นได้ต่อไป”
30
เกม “รวมเงิน”

รวมเงิน รวมเงินให้ดี รวมเงินคราวนี้อย่าให้พลาด รวมแล้วอย่าเกินอย่า


ขาด รวมแล้วอย่าเกินอย่าขาด ผู้หญิงให้เป็นเหรียญบาท ผู้ชายเก่งกาจเป็นห้าสิบ
สตางค์

ใบความรู้
เรื่อง หมู่บริการ

หมู่บริการ
เนื่องจากการลูกเสือแผนใหญ่นิยมการสอน การฝึก การทำงาน และการประชุม
เป็นระบบหมู่ เพื่อให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ใบงานที่
ได้รู้จักการแบ่งงานและรับผิดชอบร่วมกัน การ
รับใช้ช่วยเหลือผู้อื่นและส่วนรวม ที่ประชุมของนายหมู่จึงตกลงให้ลูกเสือแต่ละหมู่
เรื่อง
31
หมุนเวียนเปลี่ยนเวรกันทำหน้าที่เป็นหมู่บริการ หน้าที่ของหมู่บริการมีดังนี้ คือ
1. ทำความสะอาดสถานที่ที่ใช้ร่วมกัน เช่น ห้องเรียนและบริเวณรอบเสาธง
2. ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม และรักษาความสะอาดบริเวณค่าย
3. ทำหน้าที่เชิญธงชาติ นำสวดมนต์
4. จัดเตรียมธงชาติสำหรับเช้าวันรุ่งขึ้น หรือสำหรับการประชุมอบรมกองลูกเสือ
5. ทำหน้าที่จัดสถานที่เล่นรอบกองไฟ จุดไฟ เตรียมพวงมาลัยสำหรับประธาน
ในพิธี
6. หน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
32
ใบความรู้
เรื่อง ประโยชน์ของการบริการ

ประโยชน์ของการบริการ
1. ช่วยลูกเสือได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์
2. ช่วยให้ลูกเสือได้พัฒนาตนเองทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อจะได้เป็น
พลเมืองดีต่อไปในอนาคต
3. ช่วยให้ลูกเสือได้ฝึ กหัดการทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักการแบ่งหน้าที่
4. ช่วยฝึ กให้ลูกเสือมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเริ่มจากกลุ่มย่อยก่อน
5. ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในกลุ่ม และชุมชนต่อไป
6. ช่วยให้ลูกเสือได้เรียนรู้ในเรื่องความร่วมมือ ความซื่อสัตย์ ความเห็นอกเห็นใจ
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยการปฏิบัติด้วยตนเองเท่านั้น

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความรอบคอบ”
มีเด็กชาย 2 คน เป็นเพื่อนกัน ซึ่งอาศัยอยู่ที่วัดแห่งหนึ่งกับสัมภารวัด เด็กชาย 2 คน
นี้มีหน้าที่ตามพระสงฆ์ที่วัดบิณฑบาตในตอนเช้า และดูแลความสะอาดภายในวัด วันหนึ่ง
สุนัขที่อาศัยอยู่ที่วัดได้ออกลูกมา สมภารวัดก็ได้ใช้เด็กทั้งสองไปดูว่าสุนัขนั้นออกลูกกี่ตัว เด็กทั้ง
2 คนก็วิ่งไปดูพร้อมกัน แล้วก็มาบอกกับสมภารวัดว่าออกมา 7 ตัว แล้วสมภารวัดก็อยากรู้อีก
33
ว่ามีตัวผู้และตัวเมียอย่างละกี่ตัว จึงได้ถามเด็กทั้ง 2 ต่ออีก เด็กคนแรกตอบไม่ได้เพราะไม่ได้ดู
มา จึงวิ่งไปดูใหม่ ส่วนอีกคนนั้นได้ตอบสมภารวัดไปว่ามีตัวผู้ 3 ตัว และตัวเมีย 4 ตัว
และสมภารวัดก็ถามเด็กคนนี้อีกว่า และมีสีอะไรบ้าง เด็กคนนี้ก็ตอบว่ามีสีขาว 1 ตัว สีน้ำตาล 3
ตัว สีดำแกมน้ำตาล 2 ตัว และสีแดง 1 ตัว ส่วนเด็กคนแรกที่วิ่งไปดูก็กลับมาตอบสมภาร
วัด และสมภารวัดก็ถามเหมือนเด็กคนแรกว่ามีสีอะไรบ้าง เด็กคนที่ 2 ก็ตอบไม่ได้จึงต้องวิ่งไปดู
อีก

คติสอนใจ : จงทำตัวให้เป็นคนชั่งสังเกตและรอบคอบ
34
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับการบริการ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือบริการชุมชน เป็นเรื่องสำคัญที่ดียิ่ง เพราะจะเป็นการสร้างศรัทธา
และความดีงามให้ตนเอง หมู่คณะ สถานศึกษา สร้างวินัย จิตสำนึก ให้ตนเองนำไปใช้ในอนาคต
ต่อไป

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการบริการและหน้าที่ต่อชุมชนได้
1. ลูกเสือบอกกิจกรรมที่จะบริการชุมชนได้
2. ลูกเสือปฏิบัติตนบริการชุมชนได้
3. ลูกเสือบอกระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการ
อนุญาตให้ลูกเสือรับบริจาคเงินหรือบริจาดสิ่งของ พ.ศ. 2525 ได้

สาระการเรียนรู้
1.กิจกรรมที่ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการบริการชุมชน
2. การวางโครงการเพื่อบริการชุมชน
3. ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการอนุญาตให้ ลูกเสือ – เนตรนารี รับบริจาคเงินหรือบริจาคสิ่งของ พ.ศ. 2525

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “งานสิ่งใด” ตามเอกสารเพลง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 2 กลุ่ม
35
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือกับการบริการชุมชน
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ระเบียบสำนักงาน
คณะกรรมการการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
6. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “งานสิ่งใด”
3 ใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือกับการบริการชุมชน
4. ใบความรู้ เรื่อง ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
5. เรื่องสั้น “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
36
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
37
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
38
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
....................................................................................................
.ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
39

เพลง “งานสิ่งใด”

งานสิ่งใด งานสิ่งใด แม้ใครละเลยทิ้งปล่อย


มัวแต่คอย เฝ้ าแต่คอย หวังคอยแต่เกี่ยงโดยนกลอง
ไม่มีเสร็จ ไม่มีเสร็จ รับรอง จำไว้ทุกคนต้องทำงาน
เราต้องช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน

ใบงานที่
เรื่อง
40
ใบความรู้
เรื่อง ลูกเสือกับการบริการ
วิชาลูกเสือเป็นวิชาที่มีคุณประโยชน์อย่างมาก เพราะเป็นวิชาที่ช่วยอบรมบ่มนิสัยให้
เยาวชนเป็นพลเมืองดี มีความซื่อสัตย์ เสียสละและรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น โรงเรียนต่าง ๆ จึงได้บรรจุ
วิชาลูกเสือไว้เข้าในหลักสูตร และได้จัดให้ลูกเสือได้ปฏิบัติหน้าที่ตลอดปี การศึกษา เพื่อบริการ
ชุมชนบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน และให้ความช่วยเหลือแก่องค์การการกุศลหรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่
ขอความช่วยเหลือมา กิจกรรมที่ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับการบริการชุมชนได้แก่
1. ช่วยโบกรถบริเวณทางเข้าโรงเรียน และบริเวณใกล้เคียง
2. ทำความสะอาดสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ถนนหนทาง
3. รักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกบริเวณงานแสดงต่าง ๆ
4. ช่วยจำหน่ายสิ่งของ ขององค์การกุศลต่าง ๆ หรือรับบริจาคเงินให้หน่วยงาน
5. ช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุต่าง ๆ เมื่อพบเห็น
ในวันสำคัญ ๆ ลูกเสือจะร่วมแรงร่วมใจกันออกพัฒนาชุมชน วันสำคัญของลูกเสือ
ได้แก่ วันกำเนิดลูกเสือ (1 กรกฎาคม) และวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จ–
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้ก่อตั้งลูกเสือของชาติไทย (25 พฤศจิกายน) วันเฉลิมพระชนม พรรษา
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (12 สิงหาคม) และวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันวิสาฆบูชา
วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
41
ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการอนุญาตให้ลูกเสือและเนตนารีรับบริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของ
พ.ศ. 2525 (โดยสรุป)
1. ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด สำหรับลูกเสือและเนตรนารีในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่
ในเขตอำเภอเมืองเป็นผู้อนุญาต
2. ผู้อำนวยการลูกเสืออำเภออื่นนอกจากอำเภอเมืองสำหรับลูกเสือและเนตรนารี
ในโรงเรียนของอำเภอนั้นเป็นผู้อนุญาต
3. กองลูกเสือ กองเนตรนารีใด ซึ่งจะร่วมมือกับการองค์การกุศล หรือหน่วยงาน
รับบริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของ ต้องปฏิบัติดังนี้
3.1 จัดให้มีผู้บังคับบัญชาลูกเสือและเนตรนารี ดูแลการปฏิบัติงานของ
ลูกเสือและเนตรนารี
3.2 อบรมลูกเสือและเนตรนารี ให้ปฏิบัติงานอย่างมีระเบียบวินัยโดย
เคร่งครัดและรักษาเกียรติศักดิ์ของลูกเสือและเนตรนารีไว้
4. เวลาออกไปปฏิบัติงานรับบริจาคเงินหรือจำหน่ายสิ่งของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ผู้บังคับบัญชาเนตรนารี ลูกเสือและเนตรนารีต้องแต่งเครื่องแบบให้ถูกต้อง
5. ผู้มีอำนาจอนุญาตตามข้อ 2 อาจจะไม่อนุญาตให้ลูกเสือและเนตรนารีออก
ปฏิบัติงานดังกล่าวมาก็ได้ หากเห็นว่าการรับบริจาค หรือการหาเงินของ
องค์การกุศลหรือหน่วยงานใดกระทำเป็นการพร่ำเพรื่อ หรือไม่เป็นการส่งเสริม
เกียรติศักดิ์ของลูกเสือ และเนตรนารี
42
เรื่องสั้น
เรื่อง “เหตุเกิดที่แม่น้ำ”
มี พ่อ แม่ และลูก ครอบครัวหนึ่ง กำลังเดินบนสะพานข้ามแม่น้ำ
ทันใดนั้น สะพานหักลงไป ทั้งสามคนหล่นลงไปในน้ำ แต่โชคยังดีที่มีขอนไม้เกาะไว้ คนที่อยู่
บนฝั่งเห็นเหตุการณ์ แต่ไม่มีใครช่วยเขาได้ ขณะที่ขอนไม้ลอยผ่านที่แห่งหนึ่ง มีคนหย่อนเชือก
ลงมาพอดี พ่อต้องการให้ลูกปลอดภัยก่อน จึงส่งเชือกให้ลูกจับ คนบนสะพานช่วยกันสาวเชือก
ขึ้นมาแต่หนูน้อยหมดแรงก่อนตกลงในแม่น้ำจมหายไป พ่อและแม่พยายามเข้าช่วยและก็จมน้ำหาย
ไปเช่นกัน

คติสอนใจ : พ่อแม่ บุพการีนั้นยอมเสียชีวิตเพื่อลูกได้เสมอ

เครื่องหมายวิชาพิเศษ นักผจญภัย
หลักสูตร
1. เดินทางไกลไปอยู่ค่ายพักแรมเป็นเวลา 1 คืน การไปอยู่ค่ายพักแรมต้องเดินทางไปยัง
ท้องถิ่นที่ลูกเสือยังไม่คุ้นเคย จำนวนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ที่จะไปอยู่ค่ายพักแรม
แบ่งเป็นชุด ๆ ละ4 คน การเดินทางไกลต้องมีระยะทางอย่างน้อย 8 กิโลเมตร และ
ในระหว่างการเดินทางให้สมมุติว่ามีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อย่าง เช่น ช่วย
43
เหลือผู้ประสบภัย หรือมีผู้ติดอยู่ในที่สูง, การใช้เข็มทิศ, การปฏิบัติงานเวลากลาง
คืน, การแปลรหัสและเหตุฉุกเฉินทางน้ำ เป็นต้น เหตุฉุกเฉินเช่นว่านี้ ให้เว้น
ระยะห่างกันพอสมควรและลูกเสือจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องแผนที่และเข็มทิศ
จึงจะสามารถเดินทางไปถึงจุดหมายปลายทางได้ การฝึ กอบรมวิชานี้ต้องมีลักษณะ
เป็นการทดสอบอย่างจริงจัง ความคิดริเริ่มและการพึ่งตนเอง
2. สามารถปฏิบัติได้ 3 ข้อ ในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ขึ้นต้นไม้จากพื้นได้สูงไม่น้อยกว่า 5 เมตร
2.5 ขว้างหรือโยนเชือกช่วยชีวิตยาว 18 เมตร ให้ตกอยู่ในระหว่างหลัก 2 หลัก
ซึ่งปักห่างกัน 1.20 เมตร โดยผู้ขว้างเชือกยืนห่างหลักทั้งสอง 15 เมตร
ให้เชือกตกอยู่ในระหว่างหลัก กำหนด 2 ครั้งใน 3 ครั้ง
2.3 ไต่เชือกจากพื้นได้สูง 4.50 เมตร
2.4 โรยตัวตามเชือกสูง 6.00 เมตร
2.5 ว่ายน้ำโดยสวมเครื่องแต่งกายเป็นระยะทาง 18.00 เมตร
2.6 กระโดดข้ามเครื่องกีดขวางสูง 2 ใน 3 ของส่วนสูงตัวเอง
ตัวอย่าง รายชื่อฐานผจญภัย และคำสั่งสมมุติในการทดสอบ
1. ฐานตามเสียง
คำสั่ง ลูกเสือเดินทางไกลไปพักแรมในป่ า เผอิญหลงทาง ไม่สามารถจะหา
ทางออกได้ ขณะนั้นได้ยินเสียงสัญญาณจากหมู่บ้าน ซึ่งมีผู้คนอาศัยอยู่หลายครัวเรือน
เสียงสัญญาณดังกล่าวเป็นจังหวะ ๆ ให้พยายามเดินตามเสียงนั้นไป เป็นทางเดียวที่จะ
รอดตายได้ (เงียบและเร็วที่สุดภายในเวลา 10 นาที)

2. ฐานแพรว
คำสั่ง ท่านนำลูกหมู่ของท่านมาถึงลำน้ำ ให้ท่านพาลูกหมู่ข้ามลำน้ำแห่งนี้ ไปด้วย
ความระมัดระวังทุกคน ให้จับเชือกไว้ด้วยมือ ส่วนเท้าจะวางอยู่บนอุปกรณ์ใด ๆ ก็ได้ตาม
ที่จัดการไว้ให้ใช้เวลาข้ามให้ได้ทุกคนเสร็จภายใน 10 นาที
ภาพประกอบ ฐานแพรว
44

5. ฐานลอดห่วงยาง
คำสั่ง ในที่บนดาวอังคาร ยานอวกาศของท่านชำรุดเสียหาย ต้องการบรรจุพลังงานให้
กับยานอวกาศ ทุกคนในหมู่ต้องนำหัวขั้วซึ่งโยงสายไฟไว้แล้วผ่านขดชนวนของเครื่องยนต์นี้
ไปโดยให้หัวขั้วสายไฟอยู่ภายนอกขดชนวน (ยาง) ตลอดเวลาจนกว่าจะนำไปเสียบเข้ากับ
ปลั๊กอีกด้านหนึ่งได้สำเร็จใช้เวลาปฏิบัติการภายในเวลา 10 นาที
ภาพประกอบ ฐานลอดห่วงยาง

5. ฐานลำเลียงน้ำ
คำสั่ง สมมุติว่าหมู่ของท่านเดินทางไกลไปอยู่ค่ายพักแรมคราวหนึ่ง ไปพบ
ครอบครัวของหญิงชราในหมู่บ้าน ซึ่งกันดารน้ำมาก หญิงชราขอให้ท่านช่วยเหลือ
ในการลำเลียงน้ำมาดื่มและใช้ ให้หมู่ของท่านใช้อุปกรณ์ที่พอจะหาได้ในบริเวณนั้น
ช่วยเหลือภายในเวลา 10 นาที

ภาพประกอบ ฐานลำเลียงน้ำ
45

7. ฐานถังยูเรเนียม
คำสั่ง ถังยูเรเนียมนี้ ตกลงมาจากเครื่องบิน ซึ่งพื้นที่เป็นทรายดูดกำลังจะจมลงไปใต้
พื้นทราย พื้นที่ในเขตล้อมไว้มีรังสีอันตราย ถังกำลังจมไปทุกขณะจะต้องรีบยกเอาถังออก
มาตั้งให้ตรงในที่ปลอดภัยภายในเวลา 10 นาที การปฏิบัติงานต้องรวดเร็ว อย่าใช้มือจับ
ภายในเขตที่กำหนดไว้
ภาพประกอบ ฐานถังยูเรเนียม

ตัวอย่าง รายชื่อฐานผจญภัยอื่น ๆ
1. สะพานเชือกเส้นเดียว 11. ลอดลวดหนาม
2. สะพานเชือกสองเส้นขนานในแนวนอน 12. ข้ามเหวด้วยกระเช้าสวรรค์
3. โหนเชือกข้ามลำธาร 13. ข้ามสะพานเชือก
4. ต้มน้ำบนต้นไม้ 14. ปี นกำแพง
46
5. ปิ ดตากางเต็นท์ 15. ข้ามสะพานไม้เดี่ยว
6. หนีไฟ 16. เข้าถ้ำ
7. เดินไม้สูง 17. เรือบก
8. แหกค่ายลงปล่อง 18. ไต่หน้าผา
9. ช่วยคนลงจากที่สูง 19. การส่งสัญญาณ
10. หาที่หมายด้วยเข็มทิศ 20. หอคอย 10 นาที
47
วิธีการเข้าฐาน
ในการปฏิบัติกิจกรรมการผจญภัยฐานต่าง ๆ วิชาลูกเสือได้กำหนดขั้นตอนในการ
ปฏิบัติเป็นแบบแผนในเรื่องวิธีการเข้าฐานดังได้กล่าวไว้แล้วในหน่วยการเรียนที่ 2
การเปลี่ยนฐาน
สัญญาณที่จะใช้ในกรณีที่เริ่มการฝึ กกิจกรรมและสิ้นสุดเวลาการปฏิบัติในฐาน
ผจญภัยโดยทั่วไปใช้สัญญาณ นกหวีด หรือจุดประทัด ดังได้กล่าวไว้แล้วใน
หน่วยการเรียนที่ 2
48
ตัวอย่าง
บันทึกของผู้ประจำฐาน
ฐานที่…………….ชื่อฐาน………………………………………….

หมู่ ความเป็ นผู้นำ ระบบหมู่ ความสำเร็จ รวม หมายเหตุ


5 5 10 20

ลงชื่อ…………………………………….ผู้ประจำฐาน

ใบงาน
1. ให้ทุกหมู่สรุปผลการอภิปรายตามแบบรายงานสิ่งในสัปดาห์ต่อไป

แบบรายงาน

วิชา ผจญภัย เรื่อง…………………………………..


49
หมู่……………..
สมาชิก
1……………………………………………………….. ประธาน
2………………………………………………………... รองประธาน
3………………………………………………………… กรรมการ
4………………………………………………………… กรรมการ
5………………………………………………………… กรรมการ
6………………………………………………………… กรรมการ
7………………………………………………………… เลขานุการ
8………………………………………………………… ผู้ช่วยเลขานุการ
ผลการอภิปราย
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………

ผู้ประเมิน………………………………………
(…………………………………………)
50
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
กิจกรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมที่ต้องทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้งานสำเร็จลุล่วง
ไปด้วยดี ลูกเสือจึงควรต้องรู้ถึงความสำคัญของบทบาทและหน้าที่ของตน ตลอดจนบทบาทของ
คณะลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ รู้ระบบหมู่และจัดทำแผนปฏิบัติการแบบง่ายได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. รู้บทบาทและหน้าที่ปฏิบัติของตนในฐานะสมาชิกของกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญได้
2. บอกประเภทของลูกเสือได้
3. บอกบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
4. บอกการปฏิบัติงานตามระบบหมู่ของกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
5. ทำแผนปฏิบัติงานในวันสำคัญได้

สาระการเรียนรู้
1. บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
2. ปฏิบัติงานตามระบบหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
3. แผนปฏิบัติงานวันสำคัญ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “งานสิ่งใด” ตามแถบบันทึกเสียง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนากับลูกเสือ
51

4. ลูกเสือศึกษาใบความรู้ เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ ลูกเสือสามัญรุ่น


ใหญ่
5. ลูกเสือร่วมกันสรุปใจความสำคัญของใบความรู้
6. ให้ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงาน เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ
7. ผู้บังคับบัญชาสุ่มตัวอย่างให้ลูกเสืออ่านคำตอบใบงานที่ 1.1 จำนวน 3 คน
8. ตัวแทนอ่านเฉลยคำตอบแล้วลูกเสือทุกคนจดบันทึกคำตอบที่ถูกต้องลงสมุด
9. ลูกเสือนำใบงานทั้งหมดส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่อง สั้น เรื่อง “ชั่วดีเป็นตรา” ให้ลูกเสือฟัง
11. ลูกเสือช่วยกันคิดคติสอนใจจากเรื่องสั้น
12. ผู้บังคับบัญชาสรุปคติสอนใจจากเรื่องสั้น พร้อมให้ข้อคิด
13. ผู้บังคับบัญชาเขียนคติสอนใจและข้อคิดไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศ
14. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติงานของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
15. ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียน แล้วส่งผู้บังคับบัญชา
16. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ แล้วส่งผู้บังคับบัญชา
17. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. แถบบันทึกเสียงเพลง “งานสิ่งใด”
3. ใบความรู้ เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
4. ใบงาน เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ชั่วดีเป็นตรา”
52
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
53
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
54
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
55

ข้อความในแถบบันทึกเสียง
เพลง “งานสิ่งใด”

งานสิ่งใด งานสิ่งใด แม้ใครละเลยทิ้งปล่อย


มัวแต่คอยเฝ้ าแต่คอย หวังแต่คอยแต่เกี่ยงโยนกอง
ไม่มีเสร็จ ไม่มีเสร็จ รับรอง จำไว้ทุกคนต้อง
ทำงาน เราต้องช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน

แผนปฏิบัติงานของกองลูกเสือ

ลูกเสือนั้นถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือจะพูดอีกนัยหนึ่งก็คือ ลูกเสือเป็น
ส่วนสำคัญยิ่งของสังคม เพราะไม่ว่าจะมีงานอะไรงานเล็กหรืองานใหญ่จะต้องมีลูกเสือ
เข้าไปมีส่วนร่วมด้วยเสมอ โดยเฉพาะงานวันที่
ใบงานที่ 5 ธันวามหาราชของทุกปี ลูกเสือจะ
ได้รับเกียรติเป็นอย่างมาก เพราะทางกรมตำรวจ
เรื่อง ได้แต่งตั้งให้ลูกเสือมีหน้าที่บริการ
56
และรักษาการณ์เป็นเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายด้วย นี่คือความสำคัญของลูกเสือ ที่สามารถ
ทำแทนผู้ใหญ่ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ
ลูกเสือมีกิจกรรม ที่จะต้องบำเพ็ญประโยชน์ และบริการต่อสังคมมากมายทั้งยาม
เหตุการณ์ปกติ และฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม และภัยอย่างอื่น ทุกชนิด กองลูกเสือ
แต่ละกองจึงมีกิจกรรมมากมายที่จะต้องปฏิบัติตลอดปี
ตัวอย่างแผนปฏิบัติกิจกรรมกองลูกเสือ
แผนปฏิบัติงานของกองลูกเสือที่จะกล่าวต่อไปนี้ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ตามลักษณะของกิจกรรม ดังนี้
1. กิจกรรมวันสำคัญประจำปี
2. กิจกรรมพิธีการลูกเสือ – เนตรนารี
3. กิจกรรมในวันสำคัญของลูกเสือ – เนตรนารี
4. กิจกรรมเกี่ยวกับสังคมและชุมชน
57
ใบงาน
เรื่อง แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………..
ชื่อหมู่ลูกเสือ………………………………….กลุ่มที่………กองที่…………
รายชื่อสมาชิกในหมู่
1. …………………………………………………………… นายหมู่
2. ……………………………………………………………
3. ……………………………………………………………
4. ……………………………………………………………
5. ……………………………………………………………
6. ……………………………………………………………
7. ……………………………………………………………
8. ………………………………………………………..รองนายหมู่

วัน เดือน ปี กิจกรรมที่ปฏิบัติ ผลการปฏิบัติ หมายเหตุ

ลงชื่อ………………………………ผู้รายงาน
(…………………………)
รับทราบ

ลงชื่อ……………………………… ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ

เรื่องสั้น
เรื่อง “กตัญญูของโจร”

“รณรงค์สุดแต่จะเอาชัย เพื่อบำเหน็จไว้กับกร”
58
จำได้เลา ๆ ว่า เมื่อทศกัณฐ์จะให้กุมภกรรณไปรบกับพระรามนั้น กุมภกรรณ ทูลว่า
“อันองคต สุครีพ หนุมาน ดัวมันก็เป็นทหารใหญ่ รณรงค์สุดแต่จะเอาชัย เพื่อเป็น
บำเหน็จไว้กับกร” นี่เป็นคำกล่าวที่น่าคิดมาก ถึงแม้เราจะบำเพ็ญความเมตตากรุณา ความ
เห็นอกเห็นใจกัน แต่ธรรมดาของโลก คือการต่อสู้ เราต่อสู้เพื่อผู้อื่นเสมอ ๆ และสู้ทุกวิธี
เพื่อเอาชัยชนะให้ได้
เราจึงไม่ควรทะนงใจเมื่อได้ขัยชนะ เพราะอีกฝ่ ายหนึ่งคงจะพยายามเอาชนะเราให้
ได้ และเราไม่ควรย่อท้อ เมื่อถึงคราวแพ้ เราจะต้องต่อสู้ไปใหม่ ยิ่งเราต้องการจะเอาชนะ
ในเรื่องสำคัญ ๆ ก็ต้องสู้ศึกใหญ่ขึ้น เพราะทางไปสู่ความยิ่งใหญ่นั้นไม่ได้โรยด้วยกลีบ
กุหลาบ

คติสอนใจ : ความพยายามอยู่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น


59
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ระบบหมู่ (1 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเรียนลูกเสือ จะต้องเรียนรู้ในเรื่องระบบหมู่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในกิจกรรมลูกเสือ
เรียนรู้ถึงประโยชน์ของระบบหมู่ และการปฏิบัติตนในระบบหมู่ กิจกรรมทุกอย่างจะสำเร็จได้ด้วย
ดีต้องมีระบบหมู่ เพื่อให้กิจกรรมลูกเสือประสบผลสำเร็จและมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกและปฏิบัติงานระบบหมู่ของกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้ และ บอกประโยชน์
ของระบบหมู่ได้
1. ปฏิบัติงานในหน้าที่การเก็บรักษาอุปกรณ์การฝึ กได้
2. บอกชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
3. ปฏิบัติการประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
3. สาระการเรียนรู้
1. ประโยชน์ของระบบหมู่
2. หน้าที่รับผิดชอบในหมู่
3. ชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
4. การประชุมคณะกรรมการลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ่
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “หน้าผากติดกัน
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม
60

4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของระบบหมู่
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
การตั้งชื่อหมู่
6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม ”หน้าผากติดกัน”
2. ใบความรู้1 เรื่อง ประโยชน์ของระบบหมู่
3. ใบความรู้ เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ , การตั้งชื่อหมู่
4. เรื่องสั้น เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”
61
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
62
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
63
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
64

เกม “หน้าผากติดกัน”

ให้ลูกเสือยืนเป็นคู่ ๆ หันหน้าเข้าหากัน หากล่องไม้ขีดมาคู่ละหนึ่งกล่อง


เริ่มเล่นเอากล่องไม้ขีดวางบนหน้าผาก แล้วใช้หน้าผากของทั้งสองคนเข้ามาชนกัน โดย
ดันกล่องไม้ขีดไว้ไม่ให้กล่องไม้ขีดตก เมื่อได้สัญญาณเริ่มแข่งขันให้แต่ละคู่วิ่งแข่งกัน
ใครถึงที่หมายก่อนชนะแต่ต้องไม่ให้กล่องไม้ขีดตก (อาจจะเปลี่ยนมาที่จมูกหรือปลายคาง
ก็ได้) เกมนี้ต้องช่วยกันทั้งสองคน มิฉะนั้นกล่องไม้ขีดจะตก

ใบความรู้
ประโยชน์ของระบบหมู่

ในการฝึ กอบรมลูกเสือ จะมีการแบ่งลูกเสือออกเป็นกอง แต่ละกองจะแบ่งออก


เป็นหมู่ ในกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่จะประกอบด้วยหมู่ลูกเสืออย่างน้อย 2 หมู่แต่ไม่เกิน
6 หมู่ แต่ละหมู่จะมีลูกเสือ 3 – 7 คน และมีหัวหน้าและรอง เรียกว่า นายหมู่และรอง
นายหมู่ มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลควบคุม และพัฒนาคุณลักษณะของลูกหมู่ และลูกหมู่จะ
65
ยอมรับนับถือผู้เป็ นหัวหน้าโดยไม่มีใครบังคับ เพราะเป็ นนายหมู่หรือหัวหน้า จะมี
คุณลักษณะเด่นกว่าสมาชิกอื่น ชักนำสมาชิกให้ช่วยกันทำงาน เช่น การปฏิบัติหน้าที่
ตระหนักถึงบทบาทของตนว่ามีส่วนรับผิดชอบอยู่ในหมู่นั้น เกียรติของหมู่ขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของสมาชิกทุกคนในหมู่ ลักษณะดังกล่าวนี้ก็คือ ระบบหมู่ นั่นเอง

ประโยชน์ของระบบหมู่

1. เป็นหลักประกันถาวรสำหรับการมีชีวิตจิตใจและความสำเร็จของลูกเสือ
2. จะแบ่งเบางานเล็ก ๆ น้อย ๆ จาก ผู้บังคับบัญชาไปทำเสียเอง
3. จะช่วยฝึกให้นายหมู่รู้จักการรับผิดชอบและมีคุณสมบัติเป็นผู้นำ
4. สอนให้ลูกเสือยอมรับมติของผู้อื่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
5. สอนให้ลูกเสือทุกคน รู้จักงดเว้นการกระทำตามใจตนเองในทางที่ไม่ถูกไม่ควร
6. สอนให้ลูกเสือทุก ๆ คน รู้จักควบคุมตนเองเพื่อก่อให้เกิดเจตนารมณ์ร่วมกัน
เป็นหมู่คณะและมีความสามัคคี
7. เป็นวิธีพัฒนาลักษณะนิสัยของเด็กได้ดีกว่าวิธีอื่น
8. จะปลุกใจให้เกิดความเลื่อมใส รักใคร่นายหมู่ของตน ขยายไปสู่กองลูกเสือ
จนถึงชาติในที่สุด
9. ช่วยฝึ กอบรมให้มีน้ำใจผูกพันกับหมู่คณะ
66
ใบความรู้
เรื่อง ระบบหมู่ในกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

1. จำนวนสมาชิกในหมู่
2. หน้าที่ความรับผิดชอบในหมู่
2.1 นายหมู่ 2.2 รองนายหมู
2.3 เหรัญญิก 2.4 พลาธิการ
2.5 เลขาธิการ 2.6 เจ้าหน้าที่ปฐมพยาบาล
2.1 เจ้าหน้าที่ห้องสมุด

นายหมู่
หน้าที่ของนายหมู่ คือ การฝึกอบรม การนำและการสนับสนุนส่งเสริม สมาชิกอื่น
และมอบหมายงานประจำวัน ให้ลูกเสืออื่นได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ นายหมู่ควรมี
สมุดพก เล่มหนึ่ง เพื่อบันทึกชื่อของลูกหมู่ทุกคน
รองนายหมู่
เป็นผู้ช่วยในกิจกรรมทุกอย่างของนายหมู่ โดยทั่วไปควรมอบหมายให้จัดโครงการ
ใดโครงการหนึ่ง เพราะรองนายหมู่นั้นอาจจะเป็นนายหมู่ก็ได้
เหรัญญิก
มีหน้าที่เรียกเก็บ เตือน ดูแลและทำบัญชีการเงินให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน สามารถ
ชี้แจงได้ทันที
พลาธิการ
มีหน้าที่จัดหาบำรุงรักษา และทำบัญชีวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อาจจะแยกเป็น 2 กลุ่ม
1. ฝ่ ายอุปกรณ์การฝึ กอุปกรณ์การฝึ ก ที่ควรจัดหาและบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพ
ที่ใช้การได้ดีแต่โดยทางปฏิบัติ อุปกรณ์ของหมู่มักจะรวมอยู่ในอุปกรณ์ของหมู่อยู่แล้ว
ซึ่งพลาธิการก็ควรจะทำบัญชีอุปกรณ์ไว้ด้วย
2. ฝ่ ายอาหาร มีหน้าที่เตรียมบัญชีรายการอาหาร ในกรณีที่จะออกไปฝึ กภาค
ปฏิบัติและจัดเตรียมรายการอาหารตามที่กำหนดไว้ และควรบันทึกผลการปฏิบัติ
งาน ทุกครั้ง
67
เลขานุการ
มีหน้าที่บันทึกกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่เป็นบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน ลูกเสือในหมู่
ทุกคน ควรช่วยเลขานุการส่งเรื่องราวกิจกรรมที่สมาชิกในหมู่ได้ทำลงไปให้เลขานุการ
เจ้าหน้าที่พยาบาล
มีหน้าที่จัดหาและรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล โดยเก็บไว้ในตู้ยา
และเครื่องอุปกรณ์ปฐมพยาบาลควรมีบัญชีสิ่งของต่าง ๆ ปิ ดไว้ที่ฝาตู้ให้ชัดเจน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด
ถ้าหมู่ลูกเสือได้ตั้งขึ้นเป็นหลักเป็นฐาน และนานพอสมควรอาจจะมีหนังสือต่าง ๆ
เป็นสมบัติของหมู่บ้านแล้วถ้ายังไม่มีห้องสมุดก็ควรจะพิจารณาดูว่าควรจะมีหนังสืออะไร
ไว้ในห้องสมุดของหมู่บ้าน

การตั้งชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
จะใช้ชื่อ พระมหากษัตริย์และวีรชนในการตั้งชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ดังนี้
1. หมู่ศรีอินทราทิตย์ 10. หมู่พระนารายณ์
2. หมู่รามคำแหง3 11. หมู่โกษาปาน
3. หมู่อู่ทอง5 12. หมู่พันท้ายนรสิงห์
4. หมู่พระบรมไตรโลกนารถ 13. หมู่โกษาเหล็ก
5. หมู่พระมหาจักรพรรดิ 14. หมู่พระเจ้าตาก
6. หมู่สุริโยทัย 15. หมู่พระพุทธยอดฟ้ า
7. หมู่นเรศวร 16. หมู่เทพกษัตรีย
8. หมู่เอกาทศรถ 17. หมู่ศรีสุนทร
9. หมู่ประสาททอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “นิ้วนั้นสำคัญไฉน”

นิ้วมือทั้ง 5 ได้เกิดถกเถียงกันเรื่อง ความสำคัญของกันและกันหัวแม่มือได้บอกว่า


ยิ่งใหญ่กว่าใคร ๆ เพราะเวลาเจ้าของนิ้วต้องการคุย หรือยกย่องใครว่าเก่ง หรือใหญ่
ขนาดไหน เขาต้องชูข้าขึ้นมา นิ้วชี้ได้ฟังก็บอกว่า เมื่อเจ้าของนิ้วต้องการหรือสั่งอะไร
68
ก็ต้องชูข้าขึ้นมาชี้โน่นชี้นี่และพวกเจ้าก็จะมีนิ้วหัวแม่มือคอยกดพวกเจ้าหมอบลง นิ้วกลาง
ก็พูดขึ้นมาบ้างว่า ข้าซิใหญ่กว่าเพื่อน เพราะอยู่ตรงกลางระหว่างเจ้าทั้ง 4 ทำหน้าที่
เหมือนท้าวมาลีวราชว่าความคอยตัดสินและห้ามพวกเจ้าเวลาทะเลาะกัน และข้าก็สูงกว่า
ใคร ๆ นิ้วนางได้ฟังก็พูดด้วยเสียงอันนุ่มนวลว่า พวกเจ้าทั้ง 3 ทะเลาะกันอยู่ได้
จะทะเลาะกันทำไม ฟังข้าก่อน ข้านี่ซิจึงจะได้ชื่อว่ามีค่าและสำคัญกว่าใคร ๆ เวลา
หญิงสาวจะแต่งงาน เขาก็จะหมั้นด้วยการสวมแหวนเพชรอันมีค่ามากมายที่ข้านี้ น้องนุช
สุดท้องได้ฟังพวกพี่ ๆ ถกเถียงกันอยู่เป็นนาน ก็โพล่งออกมาถึงตัวน้องจะเล็กนิดเดียว
แต่ก็มีความสำคัญไม่แพ้พวกพี่ ๆ หรอก เวลาคนเขาจะไหว้หรือกราบสิ่งที่ควรเคารพบูชา
ข้านี่แหละจะต้องเป็นผู้คอยนำหน้าพวกพี่ ๆ เหมือนช้างเท้าหน้า
จะเห็นได้ว่านิ้วทั้ง 5 ได้ถกเถียงถึงความสำคัญของตนเอง ซึ่งถ้าจะพิจารณากัน
จริง ๆ แล้ว นิ้วทั้ง 5 มีความสำคัญด้วยกันทั้งสิ้น เราจะขาดนิ้วใดนิ้วหนึ่งไม่ได้แต่ละนิ้ว
ถึงจะแตกต่างกัน แต่ก็มีหน้าที่ไม่เหมือนกัน เช่นเดียวกัน คนเราก็ควรจะให้เกียรติกัน
ด้วยการให้ความสำคัญแก่ทุกคน จึงจะทำให้สังคมเจริญและมีความสุข

คติสอนใจ : รวมกันเราอยู่ แยกหมู่เราตาย”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ระบบหมู่ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเรียนลูกเสือ จะต้องเรียนรู้ในเรื่องระบบหมู่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในกิจกรรมลูกเสือ
เรียนรู้ถึงประโยชน์ของระบบหมู่ และการปฏิบัติตนในระบบหมู่ กิจกรรมทุกอย่างจะสำเร็จได้ด้วย
ใบงานที่
ดีต้องมีระบบหมู่ เพื่อให้กิจกรรมลูกเสือประสบผลสำเร็จและมีประสิทธิภาพ
เรื่อง
69

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกและปฏิบัติงานระบบหมู่ของกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้ และ บอกประโยชน์
ของระบบหมู่ได้
1. ปฏิบัติงานในหน้าที่การเก็บรักษาอุปกรณ์การฝึ กได้
2. บอกชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
3. ปฏิบัติการประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้
3. สาระการเรียนรู้
1. ประโยชน์ของระบบหมู่
2. หน้าที่รับผิดชอบในหมู่
3. ชื่อหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
4. การประชุมคณะกรรมการลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ่
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ครอบครัวสัตว์”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม
70

4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การจัดที่ประชุม
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การประชุมภายในหมู่และภาย
ในกอง
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ที่ 2.4 เรื่อง ประชุมคณะกรรมการกอง
ลูกเสือ
5. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “ครอบครัวสัตว์”
2. ใบความรู้ เรื่อง การจัดที่ประชุม
3. ใบความรู้ เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม
4. ใบความรู้ เรื่อง การประชุมภายในหมู่และภายในกอง
5. ใบความรู้ เรื่อง ประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”
71
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
72
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
73
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
74
เกม “ครอบครัวสัตว์”

วิธีเล่น
1. ทำฉลากเป็นครอบครัวสัตว์ต่าง ๆ แต่ละครอบครัวมี พ่อ แม่ ลูก หลาน ให้
ทุกคนจับฉลาก เมื่อได้ฉลากให้นึกเสียงสัตว์ไว้
2. เมื่อเริ่มสัญญาณให้คนร้องตามเสียงสัตว์นั้น แล้ววิ่งเข้ากลุ่มกัน
3. กลุ่มใดเข้ากลุ่มได้เร็วกว่า กลุ่มนั้นชนะ
75

ใบความรู้
เรื่อง การประชุมนายหมู่ลูกเสือ

การจัดที่ประชุม
1. ห้องประชุม ในห้องประชุมจัดให้มีโต๊ะบูชา ธงชาติ และพระบรมสาทิศลักษณ์
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน พระบรมรูปของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย และรูปของ ลอร์ดเบเดน
พาเวลล์
2. โต๊ะประชุม จัดเก้าอี้ประชุมตามจำนวนของนายหมู่และจัดที่นั่งเป็นพิเศษสำหรับ
ผู้บังคับบัญชา หรือรอง ผู้บังคับบัญชาที่จะเข้าประชุมด้วยในฐานะที่ปรึกษา โดยจัดให้อยู่ทางซ้าย
ของประธาน
3. การจัดที่นั่ง จะต้องกำหนดไว้ให้ทราบ โดยมีการเขียนป้ ายหรือเครื่องหมายแสดงไว้
ที่ ณ ที่นั้น ๆ เช่น ประธาน เลขานุการ หมู่อู่ทอง หมู่นเรศวรและ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ

( รูปแสดงการจัดห้องประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ )
76
ผู้เข้าร่วมประชุม
1. นายหมู่ทุกคน ถ้านายหมู่ไม่อยู่ ให้รองนายหมู่เข้าประชุมแทน
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ถ้า ผู้บังคับบัญชาไม่อยู่ ให้รอง ผู้บังคับบัญชาเข้าประชุม
แทน
3. ผู้ทรงคุณวุฒิที่กองลูกเสือเชิญมาเพื่อแนะนำวิชาการเป็นครั้งคราว
การเลือกประธานและเลขานุการ ที่ประชุมทำได้ 2 วิธี
1. ที่ประชุมเลือกประธาน และเลขานุการ ให้ดำรงตำแหน่งตามเวลา ที่กำหนด
ไว้ 3 เดือน หรือ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดแล้ว ควรมีการเลือกใหม่
2. ให้นายหมู่หมุนเวียนกันเป็นประธาน เลขานุการ ของที่ประชุมคนละ 1 เดือน
การเข้าห้องประชุม
เลขานุการจะเป็นผู้เชิญโดยให้นายหมู่ต่าง ๆ เข้าก่อน แล้วจึงเชิญประธานที่ปรึกษา
เข้าเป็นคนสุดท้าย ผู้ที่เข้าประชุม ก่อนที่จะนั่งต้องไหว้พระ แสดงความเคารพต่อธงชาติ
พระบรมสาทิศลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตามลำดับเสียก่อน โดยคำนับ
แล้วจึงไปนั่งยังที่ของตน (ยกเว้นประธาน ต้องจุดธูป เทียน และกราบที่หน้าพระ )
การเปิ ดประชุม
เป็นหน้าที่ของประธานในการที่จะกล่าวเปิ ด โดยลุกขึ้นยืนหันหน้าเข้าสู่ที่ประชุม
ยื่นมือขวาออกไปข้างหน้าทำมุม 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลูกเสือแล้วกล่าว
ว่า “บัดนี้สมาชิกของที่ประชุมได้มาครบองค์ประชุมแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิ ดการประชุม
ขอให้สมาชิกทั้งหลายได้ใช้สิทธิและเสรีภาพของท่านโดยเสรี ในการประชุมและขอ
ให้ถือว่า การประชุมนี้เป็นความลับไม่เปิ ดเผย” เมื่อประธานกล่าวจบสมาชิกที่จะเข้า
ประชุมยืนขึ้นพร้อมกัน พร้อมกับยกมือขวาขึ้นแสดงรหัสลูกเสือแบบให้คำปฏิญาณของลูก
เสือแล้วกล่าวพร้อมกันว่า “ ข้าพเจ้าจะถือว่า การประชุมนี้เป็นความลับเว้นแต่ที่ จะได้รับ
ความเห็นชอบจากที่ประชุม” เสร็จแล้วประธานนั่งลง สมาชิกนั่งลงพร้อมกัน จาก
นั้นจึงให้ดำเนินการประชุมตามวาระต่อไป
การพูดในที่ประชุม
77
ก่อนพูดต้องยกมือขออนุญาต เมื่อประธานอนุญาตจึงจะพูดได้ (และจะต้องพูด
กับประธานทุกครั้ง) เมื่อเวลาพูดให้นั่ง ไม่ต้องยืน

การนัดหมายเรียกประชุม
เป็นหน้าที่ของเลขานุการที่จะแจ้งนัดหมายไป
78
ใบความรู้
เรื่อง การจัดระเบียบวาระการประชุม

การจัดระเบียบวาระการประชุม เป็นหน้าที่ของเลขานุการ โดยประสานงานกับ


ประธาน เรื่องที่จะจัดระเบียบวาระการประชุม ควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับหน้าที่ความรับ
ผิดชอบในกองลูกเสือของตน จัดทำกำหนดการฝึกอบรม การอยู่ค่ายพักแรม การเงิน
การลงโทษ การให้รางวัลและการแก้ปัญหาต่าง ๆ
เอกสารในการประชุมคณะกรรมการกอง
1. ระเบียบการวาระการประชุม 3. บันทึกรายงานการประชุม
2. บัญชีลงชื่อผู้เข้าประชุม
การจดรายงานการประชุม
เป็นหน้าที่เลขานุการ จะต้องเป็นผู้จด และจัดทำรายงานการประชุม บันทึกลง
ในสมุดและนำสำเนาแจ้งที่ประชุมทราบ จะถือเป็นความลับไม่ควรเปิ ดเผยเว้นแต่จะได้รับ
ความเห็นชอบจากที่ประชุม
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ที่เข้าร่วมประชุม ไม่มีสิทธิ์ ออกเสียงในที่ประชุม แต่มีสิทธิ์ ยับยั้งการกระทำใด ๆ
ที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเห็นว่า ถ้าจะปล่อยให้ทำไปตามข้อตกลงของที่ประชุมแล้วอาจก่อ
ให้เกิดความเสียหายขึ้นได้
การปิ ดประชุม
ประธานจะลุกขึ้นยืนหันหน้าเข้าสู่ที่ประชุม ยื่นมือขวาออกไปข้างหน้าทำมุม
ประมาณ 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลูกเสือแล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าขอปิ ด
การประชุมเมื่อกล่าวจบ ให้นายหมู่ทำวันทยหัตถ์แก่ประธาน (ประธานทำวันทยหัตถ์ตอบ )
การออกจากที่ประชุม
ออกตามลำดับดังนี้ คือ ที่ปรึกษา ประธานและนายหมู่ต่าง ๆ ( โดยปฏิบัติพิธีการ
เช่นเดียวกับการเข้าห้องประชุม )
หมายเหตุ กรณีที่นายหมู่คนหนึ่งคนใดไม่มาที่กองในวันประชุมให้รองนายหมู่ เข้าประชุม
แทน รองนายหมู่มีสิทธิ์ แสดงความคิดเห็นและออกเสียงลงคะแนนและลงมติได้เช่นเดียว
กับนายหมู่
กำหนดการประชุม
ควรประชุมเป็นประจำอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
79
ใบความรู้
เรื่อง การประชุมภายในหมู่
ควรจะมีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ควรจะประชุมก่อนที่จะมีการประชุมคณะ
กรรมการลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เพื่อให้ลูกเสือ หรือสมาชิกภายในหมู่ มีโอกาสแสดงความคิด
เห็น หรือให้ข้อเสนอแนะตามแนวความคิดเห็นเหล่านั้น ไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ต่อไป
การประชุมเช่นนี้ควรกระทำอย่างไม่เป็นทางการ เช่น ในระหว่างการเดินทางไกล
การปฏิบัติกิจกรรม เพื่อที่จะได้อภิปรายถึงงานและหน้าที่ในขณะนั้น

การประชุมภายในกอง
ถ้าเป็นกองลูกเสือขนาดเล็ก อาจทำการประชุมในสถานที่ประชุมนายหมู่ ลูกเสือทุก
คนมีสิทธิ์ เสนอความคิดเห็น และควรได้รับคำเชิญชวนขึ้นมาพูดเสนอแนะ และให้ข้อวิพากษ์
วิจารณ์ต่าง ๆ เท่าที่จะเป็นได้
การประชุมทั้งหมดนี้ จะเป็นรากฐานแห่งความไว้วางใจและสร้างค่านิยมให้แก่
สมาชิกในกองลูกเสือทุกคน และในการประชุมแต่ครั้ง ควรมีการบันทึกข้อตกลงไว้ด้วย
ระบบหมู่ลูกเสือ จึงมีความสำคัญเช่นเดียวกับกลุ่มเฉพาะกิจ โดยมีนายหมู่เป็นผู้นำจึง
ได้กำหนดหน้าที่ของนายหมู่ไว้ดังนี้
1. เป็นสมาชิกที่ประชุมนายหมู่ เพื่อร่วมกันประชุมพิจารณาการดำเนินงานกอง
ลูกเสือ
2. ในการประชุมประจำสัปดาห์ นายหมู่จะต้องเรียนรู้ทราบเค้าโครงของการกำหนด
ส่วนรับผิดชอบด้วย รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อสมาชิกในหมู่ของตนด้วย
3. การบริหารงานหมู่ การใช้การประชุมภายในหมู่เป็นอุปกรณ์ในการบริหาร
ของหมู่
80
ใบความรู้
เรื่อง ที่ประชุมคณะกรรมการลูกเสือ
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การจัดดำเนินงานโดยทั่วไป เกี่ยวกับการบริหาร
ภายในกองลูกเสือสามัญทั้งหมด รวมไปถึงการใช้จ่ายเกี่ยวกับการเงินของกองลูกเสือด้วย
ผู้บังคับบัญชาลูกเสืออยู่เบื้องหลัง คอยให้คำแนะนำและเสนอแนะ เมื่อเห็นนายหมู่
กำลังหลงทางหรือปฏิบัติในเรื่องไม่ถูกต้อง

หน้าที่ของที่ประชุมคณะกรรมการกองลูกเสือ มีดังต่อไปนี้
1.รักษาเกียรติของลูกเสือ วินัยของลูกเสือ มิได้เกิดขึ้นจากการฝึ กอบรมของ ผู้
บังคับบัญชาลูกเสือเพียงฝ่ ายเดียวที่ประชุม นายหมู่จะต้องเป็นหูเป็นตาของกองลูกเสือคอยดูแล
ว่า ลูกเสือในกองได้ปฏิบัติตนในฐานะเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ตลอดเวลาหรือไม่
2.จัดและวางแผนเกี่ยวกับกิจกรรมของกอง จัดให้มีกำหนดการฝึ กอบรมขั้นพื้นฐานเป็น
รายสัปดาห์ จัดให้มีโครงการเดินทางไปสำรวจภาคฤดูร้อน หรือในระยะเวลาอื่นใดตามความเหมาะ
สม การจัดหรือดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องนี้ทั้งหมดเป็นหน้าที่ของที่ประชุมนายหมู่
3.พิจารณาความก้าวหน้าของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่แต่ละคน ที่ประชุมคณะ
กรรมการกอง ต้องสำนึกถึงความรับผิดชอบที่มี ต่อความก้าวหน้าของสมาชิกของเขา วัสดุ
อุปกรณ์ที่นำมาใช้ตามตารางการฝึกอบรมและกำหนดในกิจกรรม
81

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระจาบแตกฝูง”
มีนกกระจาบฝูงใหญ่อาศัยอยู่ในราวป่ า หลงเข้าไปติดอยู่ในบ่วงตาข่ายที่พรานล่านก
ขึงจับ มันจึงพร้อมใจกับบินพาเอาตาข่ายนั้นขึ้นไปบนอากาศ แล้วลอดใต้ตาข่ายออกมาได้
ทั้งหมด บินกลับเข้าป่ าที่อยู่ของมัน
เมื่อพากันมาถึงรัง ก็ถกเถียงอวดเก่งกันใหญ่ จนกระทั่งวันหนึ่ง ก็มีเหตุบังเอิญเข้าไป
ติดตาข่ายของพรานนกเข้าอีกจนได้ คราวนี้ก็หมดความพร้อมใจเหมือนครั้งแรกเสียแล้ว มีแต่
ต่างตัวจะดูกำลังกัน ว่านกกระจาบตัวไหนแน่ที่จะมีแรงพายกเอาตาข่ายนี้หลุดขึ้นไปบนอากาศ
จึงถ่วงเวลาให้นายพรานมาถึงตาข่ายก่อนที่ฝูงนกจะพาเอาตาข่ายบินขึ้นไปได้ นายพรานจึงรวบ
ตาข่ายเอานกกระจาบฝูงนั้นไปเป็นเหยื่ออย่างง่ายดาย

คติสอนใจ : อวดดีจนดีแตกตาย
82
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ระบบ
กฎหมายที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง หลักการและบทบาทของพรรคการเมืองของไทย มีความสำคัญที่
ลูกเสือจะต้องเรียนรู้เป็นอย่างยิ่ง เพราะจะต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย และกฎหมายที่เกี่ยวกับการ
เลือกตั้ง หลักการ และบทบาทของพรรคการเมืองไทยในฐานะสมาชิกของกองลูกเสือสามัญรุ่น
ใหญ่ได้ และลูกเสือบอกเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยได้
1. ลูกเสือบอกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งได้
2. ลูกเสือบอกหลักการและบทบาทของพรรคการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยได้
3. ลูกเสือประพฤติตามระเบียบการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยได้

สาระการเรียนรู้
1. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย
2. กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งของไทย
3. หลักการและบทบาทของพรรคการเมืองของไทย
83
กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “แม่มด”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
6. ลูกเสือปฏิบัติฐานละ 5 นาที มีใบความรู้ประกอบฐานดังนี้

– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง หน้าที่ , การใช้อำนาจอธิปไตย


– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง การเลือกตั้งกำนัน , ผู้ใหญ่บ้าน
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
– ฐานที่ 4 ใบความรู้ เรื่อง พรรคการเมือง
7. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
8. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวง”
10. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
11. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “แม่มด”
3. ใบความรู้ เรื่อง หน้าที่ , การใช้อำนาจอธิปไตย
4. ใบความรู้ เรื่อง การเลือกตั้งกำนัน , ผู้ใหญ่บ้าน
5. ใบความรู้ เรื่อง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
6. ใบความรู้ เรื่อง พรรคการเมือง
7. เรื่องสั้น เรื่อง “ทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวง”
84
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. ให้ลูกเสือจัดทำแผนภูมิแสดงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย
บนป้ ายนิเทศ
2. ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ค้นคว้า ชื่อพรรคการเมืองสมาชิกพรรคการเมืองและ
นโยบายของพรรคการเมืองนั้น มาจัดป้ ายนิเทศ
85
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
. .............../................/...............
86
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
87

เกม “แม่มด”

เกมนี้สามารถเล่นได้ทั้งสนามและบริเวณเนื้อที่จำกัด เริ่มเล่นโดยให้คน
หนึ่งเป็นแม่มด แม่มดวิ่งไล่จับคนใด ๆ ก็ได้ ถ้าใครถูกจับต้องเป็นพวกเดียวกับแม่มด
โดยจับมือแม่มดแล้วไล่แตะคนอื่นต่อไป ใครถูกแตะต้องมาเป็นพวกเดียวกันกับแม่มด
หมด จนเหลือคนสุดท้ายเป็นผู้ชนะ
88

ใบความรู้
เรื่อง หน้าที่ , การใช้อำนาจอธิปไตย

ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
อำนาจอธิปไตย คือ อำนาจสูงสุดมาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจทางฝ่ ายนิติบัญญัติ ( รัฐสภา ) ทางฝ่ ายบริหาร ( คณะรัฐมนตรี ) และฝ่ าย
ตุลาการ ( ศาล )
อำนาจทั้ง 3 ฝ่ ายนี้ มิได้แยกจากกันโดยเด็ดขาดแต่มีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน
การทำงานหรือการใช้อำนาจของทั้งสามฝ่ ายดังกล่าว จึงเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดไว้
การดำรงตำแหน่งในฐานะประมุขของรัฐ จะต้องเป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งเป็น
กฎหมายสูงสุด
เสรีภาพ ได้กำหนดไว้ มี
– เสรีภาพในทางกฎหมาย
– เสรีภาพในการพูด การเขียน การพิมพ์ และการโฆษณา
– เสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหกรณ์ หรือหมู่คณะภายใต้บท
บัญญัติแห่งกฎหมาย
ฯลฯ
แต่สิทธิและเสรีภาพนี้ ย่อมมีขอบเขตตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ว่าด้วยการนั้น ๆ
หน้าที่ของชนชาวไทย
– รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เอกราช และการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
– มีหน้าที่ป้ องกันประเทศ
– มีหน้าที่รับราชการทหาร
– มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
– มีหน้าที่ช่วยเหลือราชการ
89
การจัดระเบียบบริหารราชการ
การจัดระเบียบการปกครองภายในของรัฐ ได้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
– ระเบียบราชการบริหารส่วนกลาง
– ระเบียบราชการบริหารส่วนภูมิภาค
– ระเบียบราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นพิเศษ คือ
กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา
ระเบียบการบริหารราชการทั้ง 3 ส่วนดังกล่าว ยังได้แบ่งส่วนราชการย่อยออก
ไปอีก เช่น การแบ่งส่วนราชการส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็นจังหวัด อำเภอ และยังมี
ส่วนย่อยลงไปอีก คือ หมู่บ้าน(หมู่บ้านคือหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุดมีผู้ใหญ่บ้านเป็น
หัวหน้า) และนอกจากนี้ยังมีตำบล (กำนันเป็นหัวหน้า) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาล สุขาภิบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล

ใบความรู้
เรื่อง การเลือกตั้งกำนัน , ผู้ใหญ่บ้าน

หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่เล็กที่สุด คือ หมู่บ้านซึ่งในแต่ละหมู่บ้านมีหัวหน้า


หมู่บ้านเรียกว่า “ผู้ใหญ่บ้าน”
90
ในพื้นที่หนึ่ง ๆ เมื่อราษฏรผู้มีสัญชาติไทยเป็นผู้บรรลุนิติภาวะไปสร้างบ้านเรือน
และไปทำมาหากินเป็นเวลานาน เมื่อกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรยกฐานะให้เป็น
หมู่บ้านได้ ก็จะมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะตามพระราชบัญญัติให้เป็นหมู่บ้านต่อไป
หลังจากนั้นก็จะมีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านตามกฎหมาย สำหรับกำนันเป็นหัวหน้าหน่วย
ปกครองตามพระราชบัญญัติส่วนตำบล และบุคคลในตำแหน่งทั้งสองจะเข้ามาปกครอง
ดูแลทุกข์สุขนั้น ต้องเข้ามาโดยการเลือกตั้ง

การแต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน
– ให้ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอชื่อผู้ที่เห็นสมควรเป็นผู้ใหญ่บ้านโดยมีผู้รับรอง
อย่างน้อย 3 คน จึงจะรับชื่อนั้นเข้าบัญชีคัดเลือก
– ชื่อที่จะเสนอ จะเสนอกี่ชื่อก็ได้ตามแต่ราษฎรผู้เลือกตั้งจะเห็นสมควร
– นายอำเภอหรือผู้รักษาราชการแทนตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ
– การลงคะแนนเสียง จะทำโดยวิธีลับหรือเปิ ดเผยก็ได้ โดยอยู่ในดุลยพินิจของ
นายอำเภอ (หากใช้วิธีลับต้องมีพยานรู้เห็นอย่างน้อย 3 คน)
– วิธีลงคะแนนจะให้ราษฎรลงคะแนนลับ หรือเขียนชื่อในบัตรก็ได้ เสร็จแล้ว
ต้อง
เก็บหลักฐานไว้ที่อำเภอ
– รายงานขอแต่งตั้งไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่ผู้รับเลือกมีคะแนนเสียง
เท่ากัน ให้ใช้วิธีจับฉลาก
91
การเลือกตั้งกำนัน
กำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านทั้งหมดในตำบลนั้นเลือกผู้ใหญ่บ้านคนหนึ่งเป็นกำนัน โดย
ให้นายอำเภอเป็นคนเลือกตั้ง และรายงานผลไปยังจังหวัด เพื่อจังหวัดออกหมายตั้งเป็น
กำนันโดยสมบูรณ์ต่อไป
การเลือกตั้งกำนันได้เปลี่ยนแปลงวิธีเรื่อยมาเพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัย และ
ความเจริญก้าวหน้าทางการศึกษา จึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัติในการเลือกกำนัน
ผู้ใหญ่บ้านที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ กำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง
และผู้มีสิทธิรับเลือกตั้ง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้ให้สิทธิแก่ประชาชนในการเลือกตั้ง และ
สมัครเลือกตั้งโดยกว้างขวาง

ใบความรู้
เรื่อง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

การเลือกตั้ง เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทำให้คนส่วนใหญ่มีบทบาทในการปกครอง
ประเทศตามสิทธิการเลือกตั้งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
2. สิทธิในการสมัครรับเลือกตั้ง
92
สิทธินี้จะได้กับผู้มีสัญชาติไทยที่บรรลุนิติภาวะ คือ อายุ 18 ปี (การนับอายุให้ถืออายุ
ไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคม ของปี ที่มีการเลือกตั้ง) แต่สำหรับผู้ที่ได้
สัญชาติไทย โดยการแปลงสัญชาติต้องมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรนับแต่ได้มาซึ่ง
สัญชาติไทยไม่ต่ำกว่า 12 ปี และมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
1. จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 หรือชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 หรือเทียบเท่า
2. รับหรือเคยรับราชการทหาร
3. เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีตำแหน่งเงินเดือน
ประจำมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
4. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ
สุขาภิบาล กรรมการตำบล กำนันหรือผู้ใหญ่บ้าน
สิทธิในการรับสมัครเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิรับการเลือกตั้งมีข้อกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมไปกว่าผู้มีสิทธิ์ ลงคะแนนเสียง
อายุของผู้สมัครกำหนดไว้สูงกว่าผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียง (รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ
กำหนดอายุผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งไว้ไม่เหมือนกัน ต้องหมั่นติดตามศึกษาว่า
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดหลักเกณฑ์ไว้อย่างไร )

คุณสมบัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
2. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี บริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองหนึ่งเพียงพรรคเดียว
4. มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย
5. ต้องไม่เป็นบุคคลที่ต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิ
6. จบการศึกษาอย่างน้อยปริญญาตรี
93
94
ใบความรู้
เรื่อง พรรคการเมือง
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยพรรคการเมืองเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายว่า
ด้วยคุณสมบัติของการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร จึงได้ตราพระราชบัญญัติพรรค–การเมือง พ.ศ.
2511 ขึ้น
ในการจัดตั้งพรรคการเมือง ผู้ขอต้องทำหนังสือถึงนายทะเบียน (นายทะเบียน คือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) เพื่อขอจัดตั้งพรรคตามกฎหมาย และพรรคการเมืองเมื่อ
กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อาจถูกศาลสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนพรรคการเมืองได้
พรรคการเมืองของไทย ที่ขอจดทะเบียนตั้งพรรคการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมาย
และเป็นพรรคใหญ่ที่มีบทบาทต่อการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น พรรคประชาธิปัตย์ พรรค
ไทยรักไทย และพรรคชาติไทย เป็นต้น

นโยบายพรรคการเมือง
ตามมาตรา 18 ในการจัดตั้งพรรคการเมือง ต้องมีการแสดงรายการตามแนว
นโยบาย พรรคการเมืองของแต่ละพรรคไว้ด้วย ทั้งนี้ นอกจากจะเป็นไปตาม พ.ร.บ.
พรรคการเมืองแล้วยังเป็นการเชิญชวนให้ผู้ที่สนับสนุนได้ทราบแนวทางของพรรค เพื่อเป็นเครื่อง
ตัดสินใจไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

เรื่องสั้น
เรื่อง “ทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวง”

สวนสัตว์แห่งหนึ่งได้เสือโคร่งมาใหม่หนึ่งตัว มีงบประมาณอาหาร 1 บาทต่อวัน


ตามค่าเงินสมัยนั้น คนเลี้ยงเสือได้ยักยอกเงินค่าอาหารเสือไป 1 สลึง ต่อมา ผู้ตรวจการไป
ตรวจ จึงขอเงินค่าปิ ดปากอีก 1 สลึง ต่อมา ส่งผู้ตรวจการระดับสูงไปตรวจ จึงขอเงินค่า
ปิ ดปากอีก 1 สลึง คน 3 คนยักยอกไป 3 สลึง เสือเหลือค่าอาหารเพียง 1 สลึง จึงผอมเหลือ
95
แต่หนังหุ้มกระดูก ผู้อำนวยการสวนสัตว์จึงส่งผู้ตรวจการระดับสูงไปตรวจเหตุการณ์ ผู้ตรวจคน
นี้ไปตรวจได้ 3 วัน เสือตาย เพราะเขาไปขอแบ่งสลึงสุดท้ายเป็นค่าปิ ดปาก ดังโคลงโลกนิติที่
ว่า
เบิกทรัพย์วันละบาทซื้อ ซื้อมังสา
นายหนึ่งเลี้ยงพยัคฆา ไปอ้วน
สองสามสี่นายมา กำกับ กันแฮ
บังทรัพย์สี่ล้วนถ้วน บาทสิ้นเสือตาย
96

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง นโยบายของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับต่างประเทศ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
ความสัมพันธ์ นโยบายของรัฐบาลไทยและองค์การต่าง ๆ เกี่ยวกับการต่างประเทศ เป็น
เรื่องที่ลูกเสือควรจะรู้ เพื่อเป็นแนวทางในแนวความคิดและแนวปฏิบัติได้พอสังเขป ความ
เคลื่อนไหวของกิจการลูกเสือในต่างประเทศจะได้ทราบเหตุการณ์ทันโลก

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกนโยบายของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับต่างประเทศได้
2. บอกจุดมุ่งหมายของการมีความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศได้
3. บอกหลักการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับต่างประเทศของไทยได้
4. บอกผลงานของสหประชาชาติและองค์การต่าง ๆ ได้

สาระการเรียนรู้
1. จุดมุ่งหมายของการมีความสัมพันธ์กับนานาชาติของประเทศไทย
2. นโยบายของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับต่างประเทศและประเทศไทย
3. หลักการดำเนินงานขององค์การชำนัญพิเศษ
4. องค์การกรรมกรระหว่างประเทศ (ILO)
5. องค์การอนามัยโลก (WHO)

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ย่องจับหมี”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
97
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หลักการและวัตถุประสงค์ของ
องค์การ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง องค์การกรรมกรระหว่างประเทศ ,
องค์การอนามัยโลก
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง นโยบายของรัฐบาลไทย เกี่ยวกับ
ต่างประเทศ
6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “อยู่กับก๋งที่โรงงานน้ำปลา”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ข้างอาคาร 4
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
13. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เกม “ย่องจับหมี”
3. ใบความรู้ เรื่อง หลักการและวัตถุประสงค์ขององค์การ
4. ใบความรู้ เรื่อง องค์การกรรมกรระหว่างประเทศ , องค์การอนามัยโลก
5. ใบความรู้ เรื่อง นโยบายของรัฐบาลไทย เกี่ยวกับต่างประเทศ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “อยู่กับก๋งที่โรงงานน้ำปลา”
98
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
99
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
100
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
101

เกม “ย่องจับหมี”

เกมนี้ให้ผู้เล่นทั้งหมดเป็นหมาป่ าตามจับหมี สมมติให้ใครคนหนึ่งเป็นหมี


ให้หมีเดินนำหน้า ถ้าหมีเดินกลับหลังมามองเมื่อไร ให้ผู้เล่นเป็นหมาป่ านั่งลง ถ้าใคร
นั่งข้างต้องออกจากการเล่น การเล่นดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ จนเหลือคนสุดท้ายเป็นผู้ชนะ

ใบความรู้
เรื่อง หลักการและวัตถุประสงค์ขององค์การ
องค์การสหประชาชาติเป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่ตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ปัจจุบันองค์การนี้ได้เป็นที่ประชุมกันแต่แห่งเดียวในโลก ซึ่งผู้แทนเกือบทุกประเทศก็สามารถ
แสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรีในปัญหาต่าง ๆ แต่องค์การนี้จะมั่นคงแข็งแรง ก็ขึ้นอยู่กับเจตน์
จำนงร่วมกันของประชาชน และรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ให้ความร่วมมือสนับสนุน
102

หลักการและวัตถุประสงค์ขององค์การ
– สมาชิกทั้งปวงธำรงไว้ซึ่งอำนาจอธิปไตยและสิทธิเสมอภาคโดยเท่าเทียมกัน
– สมาชิกทั้งปวงจะปฏิบัติตามข้อผูกพันตามกฎบัตรโดยสุจริตใจ
– สมาชิกทั้งปวงจะระวังกรณีพิพาทระหว่างกันโดยสันติวิธี
– สมาชิกทั้งปวงจะละเว้นการคุกคามหรือการใช้กำลังบังคับ
– สมาชิกทั้งปวงจะให้ความช่วยเหลือทุกประการแก่สหประชาชาติ
– องค์การจะให้ความแน่นอนใจว่า รัฐที่มิได้เป็นสมาชิก จะต้องปฏิบัติการให้
สอดคล้องกับกฎบัตรขององค์การ
– องค์การจะไม่เข้าไปแทรกแซงในกิจกรรมภายในของประเทศใด
กฎบัตรสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ขององค์การนี้
– เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
– เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวง
– เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและมนุษยธรรม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน
การเคารพในสิทธิของมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักฐานสำหรับทุก ๆ คน
– เพื่อเป็นศูนย์กลาง สำหรับประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวง
ในอันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางร่วมกันอย่างกลมกลืน
103

องค์การชำนัญพิเศษ
องค์การสำคัญของสหประชาชาติที่เป็นหน่วยปฏิบัติงานที่สำคัญ มี
– สมัชชา
– คณะมนตรีความมั่นคง
– คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
– คณะมนตรี
– ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
– สำนักเลขาธิการ
ในองค์การเหล่านี้ได้กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบได้ เพื่อเป็นแนวทาง
พิจารณาหารือปัญหา จัดทำข้อเสนอแนะสำหรับสำนักเลขาธิการเป็นองค์การที่ให้บริการ
แก่องค์การอื่น ๆ รวมทั้งดำเนินการตามโครงการ และแนวนโยบายที่องค์การต่าง ๆ
กำหนดขึ้น เช่น องค์การกรรมกร–ระหว่างประเทศ องค์การอาหารและเกษตร
แห่งสหประชาชาติ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ และ
องค์การอนามัยโลก เป็นต้น
104
ใบความรู้
เรื่อง องค์การกรรมกรระหว่างประเทศ (ILO)
องค์การอนามัยโลก (WHO)

องค์การกรรมกรระหว่างประเทศ (ILO)
เป็นทบวงการชำนัญพิเศษที่เก่าแก่มากที่สุด มีหน้าที่ช่วยปรับปรุงภาวะการทำงานต่าง
ๆ โดยอาศัยสัญญาระหว่างประเทศดำเนินการในทุกวิถีทาง เพื่อให้การใช้แรงงานได้ผลมากยิ่ง
ขึ้นและเพื่อหาทางสร้างเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ILOได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวโดย
หารือ ทำความตกลงกันระหว่างผู้แทนฝ่ ายรัฐบาล ผู้แทนฝ่ ายกรรมกร และผู้แทนฝ่ ายนายจ้าง
สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
องค์การอนามัยโลก (WHO)
เป็นองค์การจัดที่ตั้งขึ้น เพื่อการร่วมมือกันระหว่างชาติ ในการปรับปรุงสุขภาพทาง
กายและทางใจของชาวโลก องค์การนี้ช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ ทำการณรงค์ปราบโรคร้ายหลาย
ชนิดที่ล้างผลาญชีวิตคนเป็นจำนวนมาก เช่น โรคมาลาเรีย ฯลฯ เป็นต้น ช่วยประสานความ
พยายามทุกทางที่มุ่งป้ องกันการระบาดของโรค ฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับชั้น
และช่วยส่งเสริมการวิจัยทางการแพทย์ ระหว่างชาติสำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงเจนี
วา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์
105

ใบความรู้
เรื่อง นโยบายของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับการต่างประเทศ

ประเทศไทยเราเป็นประเทศเล็ก ๆ ย่อมจะหลีกเลี่ยงสิ่งดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ แม้ว่า


ประเทศไทยจะพยายามที่จะมีมิตรประเทศ โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างในทางลัทธิการ–เมืองกับ
ทั้งในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และได้มีมติยืนยันปฏิบัติโดยเคร่งครัด โดยไม่คุกคาม
หรือใช้กำลังทั้งในด้านการทำลายบูรณภาพทางดินแดน หรือเอกราชทางการเมืองของรัฐใด ๆ
แต่กระนั้นก็ตาม ประเทศชาติอันเป็นที่รักยิ่งของเรากำลังถูกรุกรานทั้งโดยเปิ ดเผยและไม่เปิ ดเผย
นโยบายของรัฐบาลไทยที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ พอจะนำมากล่าวเป็นแนวทางได้ ดังนี้
– จะรักษาไว้ซึ่งลัทธิ และการปฏิบัติตามพันธะที่มีตามสนธิสัญญากับ
ประเทศทั้งหลาย
– จะยึดมั่นในหลัก และเจตนารมณ์แห่งกฎบัตรสหประชาชาติ และใน
อุดมการณ์ร่วมกัน
– จะส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ ตามหลักสันติซึ่งรั้งอยู่บน
มูลฐานแห่งความยุติธรรม ความเป็นจริง อิสรเสรีของชาติไทยความผาสุกของประชาชนและ
ความมั่นคงของประชาชน
– ยึดถือความเข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยใกล้ชิดกับประเทศต่าง ๆ
ที่เป็นมิตร
– จะคงและรักษาไว้ซึ่งสันติสุข และความเจริญก้าวหน้าในภาคพื้นส่วนของ
โลก ฯลฯ
หมายเหตุ
1. องค์การชำนัญพิเศษบางองค์การที่ได้ยกเลิกไปแล้ว จึงใคร่ขอให้ผู้สอน
ได้ติดตามความเคลื่อนไหว การดำเนินงานขององค์การนี้อย่างใกล้ชิด
2. นโยบายของรัฐบาลไทยกับต่างประเทศ จะมีการเปลี่ยนแปลงตาม
พรรคการเมืองที่นำในทางการบริหาร และเพื่อความเหมาะสมกับ
เหตุการณ์ที่เกิดในทุกภูมิภาค
106
เรื่องสั้น
เรื่อง “อยู่กับก๋งที่โรงน้ำปลา”

สันติเป็นชาวเลจังหวัดระยอง มีอาชีพทำปลาและน้ำปลาขายใกล้ทะเล ปลาหาง่าย ก๋ง


มักสอนเสมอว่า ชีวิตถ้าผิดพลาดเพราะค้าขาย ก๋งยอมได้ แต่ถ้าผิดพลาดเพราะการพนันก๋ง
ยอมไม่ได้หรือกินเหล้าเคล้านารี มีคดีความ จะมีแต่ความล่มจม นอกจากนี้ก๋งยังเป็นที่พึ่งใน
ความยุติธรรมให้กับทุกคนระแวกนั้น สันติต้องเรียนหนังสือและช่วยก๋งทำงาน อยากได้อะไร
ทำงานหาเงินซื้อเอง เป็นการสอนให้รู้จักความประหยัดและรู้ถึงคุณค่าของเงิน สันติมีความคิดที่
จะใส่ขวดขาย ใช้ตราชั่งเป็นเครื่องหมายการค้าเพราะชอบในความซื่อตรง เที่ยงธรรมของก๋ง
เมื่อสันติเรียนจบ ม. 6 ช่วยก๋งทำน้ำปลาที่โรงงาน จนเป็นที่นิยมของคนทั่ว ๆไป ต่อมาการทำ
น้ำปลาไม่พอเพียงกับตลาด ต่อมาสันติคิดทำกะปิ ขาย การทำกะปิ ก๋งได้สอนว่าหากตากุ้งมีมาก
กะปิ จะดำ สันติทำกะปิ โดยเลือกกุ้งจากระยองเท่านั้น สีกะปิ ออกมาสวย ทำให้น้ำปลาและ
กะปิ ขายดีมาก โดยที่โรงงานของก๋งจะเน้นเรื่องความสะอาด และความปลอดภัยของคนงานเป็น
สำคัญ จนสันติเป็นนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ประสบความสำเร็จในการ
ประกอบอาชีพนี้ ก็เนื่องด้วยคำสอนของก๋ง

คติสอนใจ : หากขยันหากประหยัด และอดทนก็จะประสบผลสำเร็จในชีวิต


เช่นเดียวกับสันติ
107
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรามีมากมายมีทั้งที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น หากใช้สิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมจะเกิดปัญหา
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษได้การอนุรักษ์จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ลูกเสือจะต้องรู้วิธีการที่ถูกต้อง เพื่อป้ องกัน
ผลเสียหายต่อมนุษย์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกสาเหตุ ที่ทำให้เกิดปัญหากับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้อง
ถิ่น และรู้บทบาทในการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นได้
1. บอกความหมายของทรัพยากรธรรมชาติได้
2. บอกความหมายของสิ่งแวดล้อมได้
3. บอกสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้
4. บอกบทบาทในการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
5. บอกประโยชน์และการรักษา ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น
6. บอกชื่อหน่วยงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

สาระการเรียนรู้
1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
3. การอนุรักษ์สภาพธรรมชาติ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ป่ าดงพงพี”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
108
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง บทบาทของลูกเสือในการอนุรักษ์
สภาพธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นกพิราบกับผึ้ง”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ป่ าดงพงพี”
3. ใบความรู้ เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
4. ใบความรู้ เรื่อง บทบาทของลูกเสือในการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติ
และสิ่ง แวดล้อมในท้องถิ่น
5. ใบงาน เรื่อง การศึกษาดูงานหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
6. เรื่องสั้น เรื่อง “นกพิราบกับผึ้ง”
109
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
110
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
111
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ป่ าดงพงพี”

ป่ าดงพงพีของไทยเรานี้มีเกินพอ อย่ามัวรีรอ ขอเชิญช่วยกันขมันขมี


ถิ่นไทยนี้แดนสุขสันต์ หลากพันธ์ไม้งามสดสี ตื่นเถิดเรายามเช้ามุ่งงานทันที
จอบและเสียมของเราก็มีสินทรัพย์ ทวีด้วยการกสิกรรม ๆ (ซ้ำ)
112
ป่ าดงพงพีของไทยเรานี้อุดมครัน อยู่ในไพรวัลย์รักษ์ดินถิ่นไทยใจหรรษา
แหล่งธารน้ำซ่านหลั่งไหล หว่างไพรนี้งามหนักหนา ถิ่นแดนทองเรานี้ควรปอง
คุณค่า หมั่นขยันทุกวันเวลา สินทรัพย์ได้มาด้วยกสิกรรม ๆ (ซ้ำ)

ใบความรู้
เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

ทรัพยากรธรรมชาติ
หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมนุษย์สามารถนำมาใช้หรือปรุงแต่งให้เกิด
ประโยชน์ได้ ทรัพยากรธรรมชาติสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ได้โดยไม่รู้จักหมดสิ้น
2. ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
3. ทรัพยากรที่สามารถเพิ่มจำนวนขึ้นทดแทนใหม่ได้
สิ่งแวดล้อม
หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
ทั้งที่เป็นสิ่งที่มองเห็นได้ทั่วไป และสิ่งที่มองไม่เห็นก็ตาม สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา
แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
113
1. สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น

ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่สำคัญ และควรได้รับกา
แก้ไขอย่างเร่งด่วน ได้แก่
1. ปัญหาดินเสื่อมคุณภาพ หรือดินพังทลาย
2. ปัญหาน้ำเสีย
3. ปัญหาอากาศเสีย
4. ปัญหาเสียงเป็นพิษ

สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. เกิดจากความเห็นแก่ตัวของคน
2. เกิดจากความมักง่ายของคน
3. เกิดจากการขาดวัฒนธรรมและไม่เคารพระเบียบวินัย
114
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงมีส่วน
สำคัญในการส่งเสริมการศึกษาของประชาชนในชนบท เกี่ยวกับการศึกษาด้านอาชีพ และทรงเป็น
ผู้นำในการส่งเสริม ให้ประชาชนเห็นประโยชน์ของการอนุรักษ์ป่ า สัตว์ป่ า และแหล่งต้นน้ำ
ลำธารและนอกจากนี้ยังทรงส่งเสริม ด้านการสาธารณสุขและกรมอนามัยของประชาชนเพราะทรง
เห็นว่า ทรัพยากรมนุษย์นับว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุด
115
ใบความรู้
เรื่อง บทบาทของลูกเสือในการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
บทบาทของลูกเสือที่พึงปฏิบัติ ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น มีข้อปฏิบัติดังนี้

1.ต้องระมัดระวังไม่ให้กิจกรรมของลูกเสือ เป็นต้นเหตุแห่งการทำลายสิ่งแวดล้อม
และสภาพธรรมชาติในท้องถิ่น ที่ลูกเสือเข้าไปใช้สถานที่นั้นกล่าวคือ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของลูก
เสือ เช่น การร้องรำทำเพลงการเดินทางไกล การอยู่ค่ายพักแรม เป็นต้น จะต้องพยายามมิให้
ไปก่อความรำคาญให้กับชาวบ้าน ไม่ไปทำความ–สกปรกเลอะเทอะ ให้กับสถานที่ทั่วไป และ
ไม่ไปทำลายสภาพความสวยงามของสถานที่ ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา

2.ช่วยเหลือราชการในการควบคุมดูแลสภาพสิ่งแวดล้อมตามโอกาสอันควร เช่น
ช่วยเจ้าหน้าที่ของราชการ ในการชี้แจงกับประชาชนทั่วไป ให้ทราบถึงโทษของการทำลาย
สภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเป็นภาระให้แก่เจ้าหน้าที่ของราชการ ในการอนุรักษ์
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

3.หาโอกาสเข้าร่วมงานพัฒนาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม


ทำความสะอาดที่สาธารณะ อันได้แก่ วัด โรงเรียน เป็นต้น กิจกรรมกำจัดวัชพืชน้ำ ขยะและ
สิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ออกจากห้วย หนอง คลอง บึง เป็นต้น
116
ใบงาน
การศึกษาดูงานหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

หน่วยงาน หน้าที่รับผิดชอบ ปัญหา / และ ผลที่ได้รับ


เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม วิธีแก้ปัญหา

ลงชื่อ………………….…ผู้รายงาน ลงชื่อ…………………….ผู้ประเมิน
(……………………….) (……………………….)
หมายเหตุ : คำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ

เรื่องสั้น
เรื่อง “นกพิราบกับผึ้ง”

วันหนึ่ง นกพิราบตัวหนึ่งกำลังกินน้ำอยู่ริมลำธาร มันเห็นผึ้งตัวหนึ่ง


ตกลงไปในน้ำ สำหรับผึ้งแล้ว การตกลงไปในลำธารเล็กๆ แห่งนั้น เป็นเรื่องร้ายแรง
เหมือนคนเรือแตกกลางมหาสมุทรทีเดียว
117
นกพิราบเห็นเข้า เกิดความสงสาร มันจึงเอาจะงอยปาก คาบหญ้าแห้งต้น
หนึ่ง โยนลงไปให้ผึ้ง
หญ้าแห้งต้นนั้น มีค่ามากสำหรับเจ้าผึ้ง เหมือนคนเรือแตกที่โชคดีได้พบ
เกาะทีเดียว
สักครู่หนึ่งต่อมามีนายพรานผู้หนึ่ง ถือปื นยาว เที่ยวด้อม ๆ มอง ๆ และ
เมื่อเห็นนกพิราบเข้า ก็ยกปื นขึ้นเล็ง จะยิงเสียให้ตายเพื่อเอาไปทำเป็นอาหาร
ยังไม่ทันที่จะได้เหนี่ยวไก ผึ้งตัวนั้น ก็กัดนายพรานเข้าให้ที่เท้า นก
พิราบเห็นดังนี้ ก็เข้าใจและรีบบินหนีไปให้ไกล

คติสอนใจ : บุญคุณต้องทดแทน
118
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การที่จะให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมิ ต้องมี
หน่วยงานที่รับผิดชอบกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีหน้าที่
ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ในการช่วยกันปรับปรุงแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น ลูกเสือควรทราบถึงหน่วยงาน และพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลูกเสือบอกหน่วยงานที่รับผิดชอบ พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้และบอกชื่อ และผลงานของหน่วยงาน ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยว
กับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
2. บอกชื่อ และสาระสำคัญของพระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้

สาระการเรียนรู้

1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “อุโมงค์ไฟฟ้ าหรืออุโมงค์มฤตยู”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ
119
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวข้องกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

6. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้รอบคอบ”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ านิเทศห้องลูกเสือ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ าหรืออุโมงค์มฤตยู”
2. ใบความรู้ เรื่อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
3. ใบความรู้ เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. ใบงาน เรื่อง การเขียนโครงการ และแบบรายงานโครงการ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ผู้รอบคอบ”
120
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
121
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
122
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ าหรืออุโมงค์มฤตยู”

เป็นเกมแข่งขันระหว่างหมู่ (สามัญ)

ใบงานที่
เรื่อง
123
วิธีเล่น
1. เข้าแถวหมู่ตอนลึก ระยะห่างกัน 1 ก้าว ระยะข้างเคียงห่างกันพอ สมควร ทุกคน
ยืนขาถ่าง
2. เมื่อสัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้นายหมู่ก้มคลานมุดหว่างขาลูกเสือคนอื่น ๆ
ในหมู่ของตนไปอยู่หลังแถว แล้วยืนขึ้นห่างคนหน้า 1 ก้าว เอามือ เตะหลังคนหน้า โดยแตะ
ต่อ ๆ กันจนถึงหัวแถว
3. เมื่อคนหัวแถวได้รับสัญญาณแตะหลัง ก็ให้ก้มตังลงคลานมุดหว่างขา
ไปอยู่หลังแถว ทำเช่นนี้จนกว่าจะหมดหมู่ (นายหมู่จะต้องกลับมาอยู่หน้า) ให้นั่งลง หมู่ใดเสร็จ
ก่อนถือว่าชนะ
124
ใบความรู้
เรื่อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ คือ


1. สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
2. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
3. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
3.1 งานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3.2 งานด้านอาชีวอนามัย
3.3 งานด้านการประปาในชนบท 3.4 งานด้านการสุขาภิบาล
4. กองอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร
5. กองสิ่งแวดล้อมโรงงาน
6. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
7. นิเวศวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
7.1 ศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับระบบนิเวศวิทยา การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
7.2 ส่งเสริมให้การศึกษาและข้อคิดเห็นแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชน
7.3 เปลี่ยนข้อมูลและความช่วยเหลือทางด้านวิชาการระหว่างประเทศ
8. กองวิจัยวัตถุมีพิษ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
9. กรมป่ าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
8. กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่ าไม้
10. ศูนย์เพาะชำกล้าไม้ กองบำรุงกรมป่ าไม้
11. กรมศิลปกร กระทรวงศึกษาธิการ
12. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
13. กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
14. กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม
15. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
16. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
125

ใบความรู้
เรื่อง พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางอากาศประเภทยานยนต์ในปัจจุบัน
( พ.ศ. 2514 )
2. พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484
3. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ
บ้านเมือง พ.ศ.2503
4. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2503
5. พระราชบัญญัติป่ าไม้ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2518
6. พระราชบัญญัติป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
7. พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
8. พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติ พ.ศ. 2504

ใบงาน
โครงการ

ชื่อโครงการ……………………………………..ของหมู่ที่………กองที่………
126
คณะทำงาน
1………………………………………………… ประธาน
2………………………………………………… รองประธาน
3…………………………………………………
4…………………………………………………
5…………………………………………………
6…………………………………………………
7………………………………………………… เลขานุการ
8………………………………………………… ผู้ช่วยเลขานุการ
วัตถุประสงค์
1……………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………..
วิธีดำเนินการ
1……………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………..
งบประมาณ …………………………………………………………………...
สถานที่ ……………………………………………………………………
ระยะเวลา …………………………………………………………………..
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….

ใบงาน
แบบรายงานโครงการ
ชื่อโครงการ………………………………………..ของหมู่ที่……..กองที่………

ผลการปฏิบัติงาน
1……………………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………………..
127
4……………………………………………………………………………………..
อุปสรรคปัญหา
1……………………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………………..
4……………………………………………………………………………………..
การปรับปรุงแก้ไข
1……………………………………………………………………………………..
2…………………………………………………………..…………………………
3……………………………………………………………………………………..
ข้อเสนอแนะ
1……………………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………………..

……………………………………ผู้รายงาน
(…………………………………..)

เรื่องสั้น
เรื่อง “ผู้รอบคอบ”

คนตกปลาคนหนึ่ง ตกปลาอยู่นานจึงได้ปลาน้อยตัวหนึ่ง เจ้าปลาน้อยร้องขอชีวิต


โดยกล่าวว่า “ตัวเรานิดเดียวท่านกินไม่อิ่มหรอก ถ้าท่านปล่อยเราไป เราจะไปหลอก
ปลาตัวใหญ่มากินเบ็ดท่าน”
คนตกปลาตอบ “ปลาเล็กแต่ได้แน่นอน ดีกว่าปลาตัวใหญ่ ๆ ที่อยู่ในน้ำ”
พูดจบก็ปลดปลาน้อยใส่ตะกร้า

คติสอนใจ : สิบเบี้ยใกล้มือ
128

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญ ที่จะเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อคนเรา
และสภาพแวดล้อมในธรรมชาติเป็นระยะเวลานานหรือตลอดไป จะต้องก่อให้เกิดการ–สูญเสีย
ทรัพยากรธรรมชาติโดยเปล่าประโยชน์น้อยที่สุด และยังจะต้องไม่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น
พิษอีกด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์และสถานที่สำคัญ
ทางประวัติศาสตร์ได้ และ บอกถึงการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้
1. บอกถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้
2. บอกถึงการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์ได้
3. บอกถึงการอนุรักษ์สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้
4. บอกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้

สาระการเรียนรู้
1. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
129
2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3. วิธีการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์
4. วิธีการอนุรักษ์สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
5. หน่วยงานการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ป่ าลั่น” ตามแถบบันทึกเสียง
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์ดิน
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์น้ำ
5. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “มดกับนกเขา”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ป่ าลั่น”
2. ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
3. ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์ดิน
4. ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์น้ำ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “มดกับนกเขา”
130
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
131
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
132
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ป่ าลั่น”

(คอรัส) เมื่ออาทิตย์อุทัย ส่องทั่วท้องถิ่นไพร โลกแจ่มใสอีกครั้ง


เหม่อมองนกโผบิน ใบงานที่
แว่วธารรินไหลหลั่ง ป่ าลั่นดังสะท้านใจ
เรื่อง
133
* แดดส่องฟ้ า เป็นสัญญาวันใหม่ พวกเราแจ่มใสเหมือนนก
ที่ออกจากรัง ต่างคนรักป่ า ป่ าคือความหวัง เลี้ยงชีพเรายังฝัง
วิญญาณนานไป
* ตื่นเถิดหนาอายนกกามันบ้าง แผ่นดินกว้างขวางถางคนละมือ
ละไม้ รอยยิ้มของเมียชโลมฤทัย ซับเหงื่อผัวได้ ให้เราจงทำดี
* เสื้อผ้าขี้ริ้วปลิว เพราะแรงลมเป่ า กลิ่นไอพวกเราเขาคงจะเดิน
เมินหนี คราบไคลไหนเล่าเท่าคราบโลกีย์ เคล้าอเวจี หามีใครเมินมัน
* โลกจะหมองครองน้ำตายามเศร้า แบ่งกันว่าเขา แล้วเรา
เศร้าจริงใจฉัน ป่ ามีน้ำใจใสแจ่มทุกวัน รักป่ าไหมนั่น เมื่อป่ าลั่นความจริง
(ซ้ำ * อีก 1 เที่ยว)

ใบความรู้
เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

การอนุรักษ์ทรัพยากร
หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างฉลาดให้เอื้ออำนวยประโยชน์สูงสุด ทั้งต่อคน–เรา
และสภาพสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติด้วยกันเอง และสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรได้เป็ น
ระยะเวลานานหรือตลอดไป
ดังนั้น ความหมายที่แท้จริงของคำว่า “การอนุรักษ์” จึงไม่ได้หมายความว่าเป็นการ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติไว้เฉย ๆ โดยเปล่าประโยชน์ แต่หากเป็นการนำทรัพยากรธรรมชาติมา
ใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและเหมาะสมนั่นเอง
134

แนวทางการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์
การนำเอาทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ ควรดำเนินการดังนี้
1. ศึกษาทรัพยากรที่มีอยู่
2. การนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์โดย
1) การถนอม
2) การบูรณะ
3) การปรับปรุงของเดิมให้มีประสิทธิภาพ
4) นำของที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก
5) การนำวัตถุอื่นมาใช้ทดแทนกัน
6) ปรับปรุงสิ่งประดิษฐ์เก่าให้ดีขึ้น
7) การประดิษฐ์ของเทียมขึ้นใช้
8) การใช้ประโยชน์จากสิ่งของได้เปล่า
แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ควบคุมจำนวนประชากร 2. การใช้มาตรการทางกฎหมาย
3. การส่งเสริมคุณภาพของประชากร 4. การใช้วัสดุอื่นแทนวัสดุที่มีอยู่
5. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
135
ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์ ดิน

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชนิดต่าง ๆ
สิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งที่มีคุณประโยชน์ ถ้ามนุษย์ไม่รู้จักปรับปรุงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่มี
อยู่รอบตัวเราให้อยู่ในสภาพที่ดี จะเป็นผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติได้

การอนุรักษ์ดิน
ดิน เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เนื่องจากเป็นทรัพยากรพื้นฐานที่เอื้ออำนวยประโยชน์ต่อ
มนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งมวลแต่โดยส่วนใหญ่แล้ว การที่มนุษย์ใช้ประโยชน์จากดิน มักจะใช้กันอย่าง
ไม่ถูกต้อง ขาดความเหมาะสม

วิธีการอนุรักษ์ดิน
การอนุรักษ์ดินเพื่อให้สภาพดินคงความอุดมสมบูรณ์ตลอดไปมีข้อปฏิบัติ ดังนี้
1. ไม่ควรปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำที่เดิมทุกปี
2. ไม่ควรปล่อยที่ดินให้ร้างว่างเปล่าโดยไม่มีการปลูกพืชชนิดต่าง ๆ ไว้เลย
3. ควรใส่ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก หรือปุ๋ ยเคมีบำรุงดินตามความเหมาะสม
4. ควรปลูกพืชหมุนเวียนตลอดทั้งปี หรือปลูกพืชสลับเป็นแปลง ๆ
5. ปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน
6. ลดการทำลายหญ้าและไม่ตัดต้นไม้ที่ปกคลุมดิน ด้วยวิธีการต่าง ๆ
7. ควรปลูกต้นไม้ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ปกคลุมดิน
8. ระงับการระบายน้ำออกและลดการใช้น้ำที่ดูดซึมจากดิน
9. ให้การศึกษาแก่ประชาชนโดยบอกให้ทราบถึงประโยชน์ของดิน

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์น้ำ
น้ำ เป็นสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต เพราะสามารถนำน้ำมาใช้ในการ
อุปโภค และบริโภคในชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆได้อีกด้วย
136

วิธีการอนุรักษ์น้ำ
การอนุรักษ์น้ำ เพื่อให้มีน้ำที่มีคุณภาพดี และสามารถใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป มี
วิธีการปฏิบัติ ดังนี้
ให้การศึกษาแก่ประชาชนให้เข้าใจถึงประโยชน์ในการช่วยป้ องกันรักษาแหล่งน้ำให้
สะอาดและโทษที่เกิดจากแหล่งน้ำเสีย
การก่อสร้าง อาคารที่พักอาศัยควรจัดระบบการระบายน้ำให้ถูกหลักสุขาภิบาลไม่
ปล่อยให้มีน้ำขังเน่า
1. ควบคุมและดำเนินการ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484
อย่างจริงจัง ห้ามประชาชนทำส้วมและถ่ายหรือทิ้งขยะมูลฝอยลงในแม่น้ำ
ลำคลอง
2. โรงงานอุตสาหกรรมและชุมชน จะต้องไม่ทิ้งเศษขยะและสิ่งปฏิกูล หรือระบาย
น้ำเสียลงในแม่น้ำลำคลอง
3. สนับสนุนให้มีการค้นคว้าวิจัย หาวิธีการใหม่ ๆ ที่มีความเหมาะสมในการค้นหา
สารที่จะมาทดแทนสารพิษอันตรายต่าง ๆ เช่น ดี.ดี.ที หรือยาฆ่าแมลงอื่น ๆ
4. จัดระบบการกำจัดน้ำโสโครกจากครัวเรือน และโรงงานอุตสาหกรรม ให้มี
ประสิทธิภาพและมีจำนวนมากพอ แล้วจึงปล่อยลงสู่แม่น้ำ

เรื่องสั้น
เรื่อง “มดกับนกเขา”
ณ ป่ าใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่อาศัยของสรรพสัตว์ทั้งหลาย เช้าตรู่ของวันหนึ่ง
นกเขาได้เริ่มออกหาอาหารแต่เช้า พอตกสายด้วยความเหนื่อยล้าจากการหาอาหาร มันจึงรู้สึก
กระหายน้ำ จึงบินตรงไปที่ลำธารเพื่อดื่มน้ำ ขณะที่มันกำลังดื่มน้ำอยู่นั้นสายตาของมันก็เหลือบไป
เห็นมดน้อยตัวหนึ่งกำลังตะเกียกตะกายจะจมย้ำ ด้วยความที่นกเขาตัวนั้นมีจิตใจเมตตา มันจึงบิน
ไปคาบใบหญ้ามาทิ้งลงในลำธารให้มดน้อยตัวนั้นเกาะ มดจึงสามารถรอดชีวิตมาได้
หลายวันต่อมา ขณะที่มดกำลังเดินหาอาหารอยู่ในป่ านั้น มันก็เห็นนายพรานคนหนึ่ง
กำลังยกปื นเล็งไปที่นกเขา หมายที่จะยิงไปเป็นอาหาร ด้วยความกตัญญูรู้คุณ มดน้อยตัวนั้นจึง
กัดลงบนเท้าของนายพราน นายพรานหยุดวางปื นลงแล้วเกาเท้า ทำให้นกรู้ตัวแล้วบินไปจนรอด
จากความตายได้
137
138
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญ ที่จะเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อคนเรา
และสภาพแวดล้อมในธรรมชาติเป็นระยะเวลานานหรือตลอดไป จะต้องก่อให้เกิดการ–สูญเสีย
ทรัพยากรธรรมชาติโดยเปล่าประโยชน์น้อยที่สุด และยังจะต้องไม่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น
พิษอีกด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสืออธิบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์และสถานที่สำคัญ
ทางประวัติศาสตร์ได้ และ บอกถึงการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้
1. บอกถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้
2. บอกถึงการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์ได้
3. บอกถึงการอนุรักษ์สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้
4. บอกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้

สาระการเรียนรู้
1. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3. วิธีการอนุรักษ์ดิน น้ำ พืชพันธุ์ไม้หรือสัตว์
4. วิธีการอนุรักษ์สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
5. หน่วยงานการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “ฟ้ าร้อง ฝนตก ฟ้ าแลบ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5.แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ใบงานที่
ๆ 3 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ
เรื่อง
139
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์ป่ า
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์พืชพันธุ์
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง สถานที่สำคัญทางประวัติ
ศาสตร์
6. ลูกเสือทำใบงานที่ 7.1 เรื่อง โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
7. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
8. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “คำกล่าวของ บี.พี.”
10 ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
11. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ านิเทศห้องลูกเสือ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “ฟ้ าร้อง ฝนตก ฟ้ าแลบ”
2. ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์ป่ า
3. ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์พืชพันธุ์
4. ใบความรู้ เรื่อง สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
5. ใบงาน เรื่อง โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน
6 .เรื่องสั้น เรื่อง “คำกล่าวของ บี.พี.”
140
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
141
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
142
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ฝนตก ฟ้ าร้อง ฟ้ าแลบ”

เมื่อลูกเสือได้ยินคำว่า “ฟ้ าร้อง” ให้ทุกคนกระทืบเท้าลงบนพื้น


เมื่อได้ยินคำว่า “ฝนตก” ให้ก้มตัวใช้มือทั้งสองตบเข่าซ้ายขวา
ถ้าได้ยินคำสั่ง “ฟ้ าแลบ” ให้ยืนตรงใช้มือทั้งสองตบข้างขา
การเล่นเกมนี้เพื่อความสนุกเท่านั้น
143
144

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์ป่ า

สัตว์ป่ า
หมายถึง สัตว์ที่คนเราไม่ได้เป็นเจ้าของหรือไม่ได้เลี้ยงดูแลให้อาหาร รวมสัตว์บก
สัตว์น้ำและสัตว์ที่บินอยู่ในอากาศด้วย สัตว์ป่ าจะมีลักษณะผิดไปจากสัตว์บ้าน คือ ไม่เชื่อง
ไม่คุ้นเคยกับคน
ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2503 ได้ให้ทำนิยามศัพท์ที่ลูก
เสือควรทราบ คือ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2503 ฉบับนี้มีสาระสำคัญ ที่น่าสนใจ
ดังต่อไปนี้
1. กำหนดประเภทของสัตว์ป่ าสงวนและสัตว์ป่ าคุ้มครอง
2. กำหนดให้มี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า เพื่อให้สัตว์ป่ าอยู่อย่างปลอดภัย
3. กำหนดบทลงโทษแก่ผู้ฝ่ าฝืนพระราชบัญญัติ ซึ่งมีทั้งโทษปรับและ
โทษจำคุก
สัตว์ป่ าสงวน สัตว์ป่ าคุ้มครอง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า
สัตว์ป่ าสงวน หมายถึง สัตว์ป่ าที่หายากทุกชนิด เนื่องจากใกล้สูญพันธุ์ หรือบางชนิดก็สูญ
พันธุ์ไปแล้ว สัตว์ป่ าสงวนของไทยมี 9 ชนิด ได้แก่
1. แรด
2. กระซู่
3. กูปรีหรือโคไพร
4. ควายป่ า
5. ละองหรือละมั่ง
6. สมันหรือเน้อสมัน
7. เนื้อทรายหรือตามะแน
8. เลียงผาหรือเยืองหรือกูรำ
9. กวางผาหรือกวางภูเขา

วิธีการอนุรักษ์สัตว์ป่ า
1. นอกจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเจ้าพนักงานอื่นใด ซึ่งต้องเข้าไปปฏิบัติการตาม
หน้าที่ ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า เว้นแต่จะได้รับการอนุญาตจากพนักงานเจ้า
หน้าที่
145
2. ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ าห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปครอบครองยึดถือที่ดิน หรือตัดโค่น
แผ้วถาง เผา ทำลายต้นไม้ หรือพืชพันธุ์ทุกชนิด หรือขุดแร่ ดิน หิน สัตว์ หรือทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางน้ำ หรือทำให้น้ำในลำน้ำ ลำห้วย หนอง บึง ท่วมท้นหรือเหือดแห้ง หรือ
กระทำการที่ทำให้เป็นพิษต่อสัตว์ป่ า
3. ห้ามมิให้ผู้ใดล่าสัตว์ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่ าสงวน หรือสัตว์ป่ าคุ้มครอง หรือสัตว์
ประเภทอื่น ๆ หรือห้ามเก็บและห้ามทำลายไข่ในรังของสัตว์ป่ า
4. สัตว์ป่ าหรือเนื้อของสัตว์ป่ า อันได้มาจากการกระทำความผิด หากผู้ใดซ่อนเร้น
ช่วยจำหน่าย ช่วยพาเอาไป ซื้อรับจำนำหรือรับไว้ด้วยประการใดก็ตาม จะมีความผิดตามพระราช
บัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
146

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์พืชพันธุ์

พืช
หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่กินอาหารได้ สามารถเจริญเติบโตได้ และขยายพันธ์ต่อไปได้
พืชพันธุ์ เป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในทางตรง คือ ได้ประโยชน์โดย
การนำมาเป็นปัจจัยพื้นฐานเพื่อการดำรงชีวิต

วิธีการอนุรักษ์พืชพันธุ์
1. ป้ องกันและหยุดยั้งการบุกรุกทำลายป่ าให้ได้โดยเด็ดขาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะ
ต้องยับยั้งการโค่นถางป่ าบริเวณแหล่งต้นน้ำลำธาร เพื่อทำไร่เลื่อนลอย
2. ปรับปรุงวิธีการตัดต้นไม้ให้ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ป่ าไม้
3. ทำการปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในพื้นที่ถูกทำลายหรือพื้นที่เสื่อมโทรม โดยเฉพาะ
บริเวณที่เป็นภูเขาหัวโล้น และบริเวณที่เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร
4. ควบคุมการนำสัตว์เลี้ยงไปปล่อยในทุ่งหญ้าธรรมชาติ หรือในบริเวณป่ าให้เหมาะ
สมและถูกต้องตามฤดูกาล โดยจำกัดจำนวนสัตว์เลี้ยงไม่ให้มีมากเกินไป เพราะสัตว์เลี้ยงอาจแทะ
เล็มหญ้า และพืชพันธุ์ต่าง ๆ จนทำให้เกิดความเสียหายได้
5. ป้ องกันและกำจัดเชื้อโรคและแมลงต่าง ๆ ที่จะทำให้ต้นไม้เป็นโรค
6. ป้ องกันไม่ให้เกิดไฟไหม้ป่ าเนื่องจากไฟป่ าได้สร้างความเสียหายแก่พืชพันธุ์เกือบ
ทุกชนิด โดยอาจจะทำให้ต้นพืชบางชนิดสูญพันธุ์ได้ พวกเราทุกคนควรช่วยกันป้ องกันไฟป่ า
ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และโดยเฉพาะไฟป่ าที่เกิดขึ้นจากฝี มือมนุษย์
7. ควรใช้ไม้ให้มีประโยชน์มากขึ้น โดยใช้อย่างประหยัด และใช้ให้ได้รับ
ประโยชน์อย่างคุ้มค่าที่สุด
8. หาวัสดุอื่นมาใช้ทดแทนไม้ เช่น การใช้ปูนซีเมนต์ในการก่อสร้างสิ่งต่าง ๆ เพื่อ
ทดแทนการใช้ไม้ เป็นต้น
9. ห้ามละเมิดกฎหมาย โดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติยกเลิกสัมปทานไม้ทั่วทั้ง
ประเทศ พ.ศ. 2532 ที่จะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
147
โบราณสถาน หมายถึง สิ่งของโบราณที่เคลื่อนที่ไม่ได้ มีลักษณะเป็นสิ่งก่อสร้างที่
เกิดจากฝี มือมนุษย์ ที่มีอายุเก่ากว่า 100 ปี ขึ้นไป
โบราณวัตถุ หมายถึง สิ่งของโบราณที่เคลื่อนที่ได้ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น
หรืออาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติก็ตาม
ศิลปวัตถุ หมายถึง สิ่งที่ผลิตหรือสร้างขึ้นด้วยฝี มือมนุษย์ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในทางศิลปะ
วิธีการอนุรักษ์สิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์
1. ไม่ขุดทำลายโบราณสถานที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งอาจเป็นการกระทำโดยเจตนา
หรือเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตามที
2. ควรศึกษาถึงความเป็นมาของโบราณสถานในท้องถิ่น ว่ามีความเป็นมาและมี
ความสำคัญอย่างไร
3. ควรหาโอกาสบำเพ็ญประโยชน์ ด้วยการร่วมกันทำความสะอาดดายหญ้า
กำจัดวัชพืชที่ทำความสกปรกรุงรังให้แก่โบราณสถานนั้น
4. ไม่ปลูกบ้านเรือน หรือปลูกพืชในบริเวณที่มีโบราณสถานตั้งอยู่
5. ให้ความร่วมมือแก่ทางราชการในการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
6. ไม่ขีดเขียน สลักข้อความ รูป หรืออื่น ๆ ลงบนโบราณสถาน
7. ไม่ทำการค้า หรือจัดงานแสดงโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ
8. ไม่ลักลอบนำโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุออกนอกประเทศ
9. ไม่ลักลอบขโมยโบราณวัตถุ ซึ่งเป็นสมบัติทางราชการหรือสมบัติของสาธารณะ
10. ช่วยเป็นหูเป็นตาให้แก่ทางราชการ โดยแจ้งให้เจ้าหน้าที่ของทางราชการ
ทราบ
11. ห้ามละเมิดกฎหมายที่ว่าด้วยเรื่อง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ
148
ใบงาน
โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน

กิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เครื่องหมายลูกเสือหลวง
กลุ่มที่…………กองที่………..หมู่……………………………………………….

1. ชื่อโครงการ……………………………………………………………………
2. จุดประสงค์
2.1…………………………………………………………………………….
2.2…………………………………………………………………………….
2.3…………………………………………………………………………….
3. เป้ าหมาย
3.1……………………………………………………………………………
3.2……………………………………………………………………………
3.3……………………………………………………………………………
4. วิธีดำเนินการ
4.1……………………………………………………………………………
4.2……………………………………………………………………………
4.3……………………………………………………………………………
4.4……………………………………………………………………………
4.5……………………………………………………………………………
5. ระยะเวลา……………………………………………………………………
6. งบประมาณ…………………………………………………………………
7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ………………………………………………………....
…………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………

แบบรายงานการปฏิบัติโครงการ

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………………..
ชื่อหมู่ลูกเสือ…………………………………………....กลุ่มที่………กองที่……..
149
รายชื่อสมาชิกในหมู่
1………………………………………………………………….นายหมู่
2………………………………………………………………….
3………………………………………………………………….
4………………………………………………………………….
5………………………………………………………………….
6………………………………………………………………….
7………………………………………………………………….
8………………………………………………………………….รองนายหมู่

วัน เดือน ปี กิจกรรมที่ปฏิบัติ ผลการปฏิบัติ หมายเหตุ

ลงชื่อ..……………………………………ผู้รายงาน
(……………………………………..)
รับทราบ
150
เรื่องสั้น
เรื่อง “คำกล่าวของ บี.พี.”

การอยู่ค่ายพักแรม เป็นเรื่องใหญ่ในการเป็นลูกเสือ ซึ่งเด็กชอบและเป็น


โอกาสสำหรับฝึกอบรมให้มีความเชื่อมั่นในการคิดหาหนทางที่ต้องเดินให้พบ กับทั้ง
เป็นการส่งเสริมสุขภาพของเด็กอีกด้วย
บิดา มารดาของเด็กบางคนซึ่งไม่เคยมีประสบการณ์ในการอยู่ค่ายพักแรม มองดู
การอยู่ค่ายพักแรมด้วยความวิตกกังวล เพราะเกรงว่าบางทีจะเป็นการลำบากและเสี่ยงภัยเกิน
ไปสำหรับเด็ก แต่เมื่อได้เห็นบุตรของตนกลับมาเปี่ ยมด้วยสุขภาพ และความสุขภายนอก
ทั้งในด้านจิตใจก็ดีขึ้น ในเรื่องความเป็นลูกผู้ชายและการคบเพื่อน บิดามารดา ก็ย่อมมอง
เห็นแต่ส่วนดี ซึ่งได้มาจากการท่องเที่ยวเช่นนี้
ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงหวังด้วยความจริงใจว่า คงไม่มีอุปสรรคอันใดที่จะทำให้เด็กไม่
อาจพักผ่อนตามแนวที่ได้แนะนำไว้

คติสอนใจ : “อย่าติเรือทั้งโกลน”
151
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การเดินทางสำรวจ (1 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางสำรวจที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ ในการเดินทางไกลอยู่
ค่ายพักแรม ทุกคนจะต้องจดบันทึกหรือมีการรายงานตลอดเส้นทาง ความปลอดภัยความสำเร็จ
จะเกิดขึ้นกับตัวลูกเสือและกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยการเดินเท้า รถจักรยาน ทางเรือได้อย่างปลอดภัย
ตลอดจนบอกหลักการทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
1. บอกประโยชน์ของการเดินทางสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
2. บอกการจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทางได้ (พุทธพิสัย)
3. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าได้
4. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานได้
5. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยทางเรือได้
6. ลูกเสือปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยความพร้อมเพรียง สนุกสนาน
7. ลูกเสือไม่ทำงานสิ่งแวดล้อมในขณะปฏิบัติการเดินทางสำรวจ
3. สาระการเรียนรู้
1. หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ
3. การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
4. การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
5. การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
6. การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ชาวดง”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
152
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หลักทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจ


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจ
โดยการเดินเท้า

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ห่านกับนกกระสา”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ชาวดง”
2. ใบความรู้ เรื่อง หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
3. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจ โดยการเดินเท้า
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ห่านกับนกกระสา”
153
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
154
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
155
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ชาวดง”

(สร้อย)…กลางดงพงป่ าเขาลำเนาไพรไกลสังคม เป็นแดนรื่นรมย์แสนชื่นชมมีเสรี


ไร้ทุกข์สนุกสนานสำราญกันได้เต็มที่ พวกเราชาวถิ่นนี้ล้วนมีไมตรีต่อกัน
ใบงานที่
อาชีพป่ าดงพงไพร เลี้ยงโคทำไร่หากินเป็นพราน
เรื่อง
156
หน้าแล้งเราพากันเผาถ่าน หาฟื นกลับบ้านเป็นทุน
เงินทองหามาได้เก็บออมเอาไว้พออุ่น
เจ็บไข้ได้เกื้อหนุนเจือจุนการุณผูกพัน
(สร้อย)…กลางดง……….
เย็นย่ำตะวันรอน ๆ เราได้พักผ่อนสำราญกายา
ค่ำลงเราพบพร้อมหน้าแล้วมาสนุกด้วยกัน
ยามงานนั้นเราทำตรากตรำเพียงไหนไม่หวั่น
เสร็จงานเราสุขสันต์ร้องเพลงบรรเลงกล่อมไพร
(สร้อย)…กลางดง……….
จนยากก็ยังภูมิใจ หากินกลางไพรแม้ไม่รุ่งเรือง
ไม่คิดจะเฟ้ อจะฟุ้ งเฟื่ อง ถึงเมืองแดนศิวิไล
กลางคืนเราชื่นบานเรื่องงานเอาไว้วันใหม่
ป่ าดงดำรงไว้ทรัพย์ในดินไทยมากมี
(สร้อย)…กลางดง……….
157
ใบความรู้
เรื่อง หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ

ในการเดินทางสำรวจนั้นควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ
1. ควรพักแรมอย่างน้อย 1 คืน ไม่ควรไปหรือกลับในวันเดียวกัน
2. ควรเลือกเส้นทางที่ผ่านภูมิประเทศที่แปลก ๆ เร้าความสนใจ
3. ถ้าไม่จำเป็น ควรหลีกเลี่ยงการสำรวจ ด้วยการเดินไปตามถนนในเมือง5.
6. ควรจัดกิจกรรมการเดินทางสำรวจและพักแรมอย่างน้อยปี ละ 1 หรือ 2 ครั้ง
ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ การเดินทางสำรวจมีประโยชน์ ดังนี้
1. เป็นการฝึ กความอดทน ความรอบคอบและความไม่ประมาทของลูกเสือ
2. ทำให้ลูกเสือรู้จักการเตรียมการและสิ่งของที่จำเป็นสำหรับการเดินทางสำรวจ
3. ทำให้ลูกเสือเป็นคนช่างสังเกต
4. ทำให้ลูกเสือเกิดความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกิจกรรมของส่วนรวม
5. ทำให้ลูกเสือได้ฝึ กใช้ชีวิตแบบชาวป่ า
6. ทำให้ลูกเสือรู้จักตนเอง เช่น รู้จักการประกอบอาหาร ทำที่พักด้วยตนเอง
7. ทำให้ลูกเสือรู้จักซึ่งกันและกัน เช่น ช่วยดูแลทรัพย์สินของผู้อื่น ช่วยระวังภัย
การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
การเดินทางสำรวจ นอกจากจะกำหนดแผนการไว้ล่วงหน้าแล้ว ลูกเสือจะต้อง
เตรียมสิ่งของเครื่องใช้ให้พร้อมก่อนออกเดินทางด้วย สิ่งที่จะต้องจัดเตรียมไปเพื่อการ
เดินทางสำรวจ มีดังนี้
1. อาหาร การจัดเตรียมอาหาร เป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. อุปกรณ์ต่าง ๆ จำเป็นจะต้องจัดเตรียมไป การบรรจุอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงใน
เครื่องหลังนั้นให้จัดสิ่งของที่จะใช้ทีหลังลงไปก่อนส่วนสิ่งของที่จะใช้ก่อน ให้
จัด ลงทีหลังเพื่อที่จะได้ง่ายต่อการหยิบ
3. เวชภัณฑ์ ได้แก่ ยาประจำตัวและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล
158
ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าลูกเสือควรปฏิบัติ ดังนี้
1. กำหนดเส้นทางเดินให้แน่นอนโดยพยายามหลีกเลี่ยงการเดินตามถนนใหญ่
2. เมื่อต้องเดินบนถนนหลวง ลูกเสือทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
3. เมื่อลูกเสือจำเป็นต้องเดินทางสำรวจในเวลากลางคืนเดือนมืดให้ลูกเสือใช้ผ้าสีขาว
พันขา หรือติดสีสะท้อนแสง
4. การเดินทางแต่ละครั้ง ไม่ควรเดินบนทางรถไฟ
5. ขณะเดินทางลูกเสือไม่ควรทำความเดือดร้อนให้กับชาวบ้านด้วยประการต่าง ๆ
6. เมื่อเดินเข้าสู่หมู่บ้านผ่านฝูงชน ลูกเสือควรรักษาระเบียบวินัยให้ดี เดินอย่างองอาจ
7. ลูกเสือทุกคนควรรักษาสุขภาพของตนเอง โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัว
8. รองเท้าที่ลูกเสือสวมใส่เพื่อเดินทางสำรวจนั้น ควรเป็นรองเท้าเก่าใส่สบาย
9. ขณะเดินทางสำรวจ เมื่อลูกเสือจะออกจากแถว ควรบอกผู้บังคับบัญชาโดยแจ้งเหตุผล
10. ในการเดินทางแต่ละครั้ง ลูกเสือต้องรักษาระยะเวลาในการเดินทาง
ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้านั้น ลูกเสือพึงเอาใจใส่เรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักการเลือกเส้นทาง และหลีกเลี่ยงการเดินทางไปตามถนนใหญ่ที่มีการจราจร
คับคั่ง ถ้ามีความจำเป็นลูกเสือจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ และปฏิบัติตามกฎจราจร
อย่างเคร่งครัดเพื่อป้ องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุ
2. สิ่งของที่บรรจุในเครื่องหลัง ควรมีน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม การบรรจุของใช้
ต้อง
ถูกหลักวิธีและอย่าให้เครื่องหลังรัดตัว หรือหย่อนยานจนเกินไป เพราะจะทำให้การ
เดินทางไม่คล่องตัว
3. รองเท้าที่สวมเดินต้องพิจารณาเป็นพิเศษ อย่าให้คับหรือหลวมจนเกินไป
4. อุปกรณ์เครื่องครัวต้องแบ่งกันไป อย่าให้คนใดคนหนึ่งรับภาระเพียงคนเดียว
5. วิธีการของระบบหมู่ เป็นเรื่องสำคัญ คือ ต้องเชื่อฟังคำสั่งของนายหมู่ ตลอดเวลา
ในการเดินทาง

เรื่องสั้น
เรื่อง “ห่านกับนกกระสา”
ณ ริมหนองใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่อาศัยขิงห่านและนกกระสา ซึ่งทั้งสองเป็นเพื่อน
สนิทกัน และมักจะออกหาอาหารด้วยกันเสมอ และในวันหนึ่ง มีนกกระยางตัวหนึ่งบินผ่านมาบ
159
อกห่านและนกกระสาว่า “นี่แน่ะ นี่แน่ะ พวกเรารู้ไหมว่ามีหนองน้ำที่ใหญ่และมีอาหารที่อุดม
สมบูรณ์ มีทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา”
ห่านกับนกกระยางก็บินไปยังหนองน้ำแห่งนั้น ก็เป็นจริงดังที่นกกระยาง บอกห่าน
กับนกกระยางกินกันอย่างเอร็ดอร่อย ห่านกินจนพุงกาง แต่นกกระสา กลับกินแต่พออิ่ม ห่านจึง
พูดว่า นาน ๆ เราจะเจอแหล่งอุดมสมบูรณ์อย่างนี้ ทำไมจึงกินนิดเดียว
นกกระสาจึงบอกว่า “ข้ากลัวบินกลับไม่ไหว” แล้วห่านก็ก้มลงกินต่อไป และทันใด
นั้นเองก็มีนายพรานคนหนึ่งซึ่งเดินผ่านมา เห็นสัตว์ทั้งสองตัวจึงยกธนูเล็งมาทางสัตว์ทั้งสอง
พอดีกับนกกระสาเหลือบมาเห็นนายพรานจึงตะโกน บอกเพื่อนของมันว่า “รีบหนีกันเร็ว”
นกกระสาจึงบินไปก่อน ส่วนเจ้าห่านซึ่งบินไม่ไหวเพราะกินอาหารมากไป ห่านจึงตก
เป็นเหยื่อของนายพราน

คติสอนใจ : กินไม่รู้กำลังตัว
160
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การเดินทางสำรวจ (2 ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางสำรวจที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ ในการเดินทางไกลอยู่
ค่ายพักแรม ทุกคนจะต้องจดบันทึกหรือมีการรายงานตลอดเส้นทาง ความปลอดภัยความสำเร็จ
จะเกิดขึ้นกับตัวลูกเสือและกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยการเดินเท้า รถจักรยาน ทางเรือได้อย่างปลอดภัย
ตลอดจนบอกหลักการทั่วไปสำหรับการเดินสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
1. บอกประโยชน์ของการเดินทางสำรวจได้ (พุทธพิสัย)
2. บอกการจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทางได้ (พุทธพิสัย)
3. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้าได้
4. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานได้
5. บอกและปฏิบัติการเดินทางสำรวจโดยทางเรือได้
6. ลูกเสือปฏิบัติการเดินทางสำรวจด้วยความพร้อมเพรียง สนุกสนาน
7. ลูกเสือไม่ทำงานสิ่งแวดล้อมในขณะปฏิบัติการเดินทางสำรวจ
3. สาระการเรียนรู้
1. หลักการทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจ
2. ประโยชน์ของการเดินทางสำรวจ
3. การจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพื่อการเดินทาง
4. การเดินทางสำรวจโดยการเดินเท้า
5. การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
6. การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ล้อรถ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
161
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้3 เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถ


จักรยาน
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “สาวชาวนา”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “ล้อรถ”
2. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถ จักรยาน
3. ใบความรู้ เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ
4. ใบงาน เรื่อง แบบแสดงรายงานการเดินทางสำรวจ
5. เรื่องสั้น เรื่อง “สาวชาวนา”
162
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
163
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
164
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “ล้อรถ”

ให้ลูกเสือยืนแยกเท้า มือซ้ายวางบนพื้น ห่างจากเท้าซ้าย 1 ฟุต เข่าซ้ายงอ เท้า


ขวาเหยียดออกมือขวายกเตรียมไว้ เมื่อ ผู้บังคับบัญชาให้คำสั่ง ให้วางมือขวาห่างจากมือซ้าย 1
ช่วงบ่าของตน ทิ้งน้ำหนักบนมือซ้ายใบงานที่
ถีบเท้าขึ้นจากพื้นเล็กน้อย เท้าขวาลงสู่พื้นก่อน ตอนนี้
เรื่อง
165
ศีรษะจะหันไปข้างหลัง เมื่อเท้าซ้ายลงถึงฟื้ นแล้ว ศีรษะจะกลับมาทางด้านหน้าเช่นเดิม พร้อม
กับเหยียดตัวยืนขึ้น ต่อไปก็ให้เหวี่ยงตัวเร็วขึ้น การแข่งขันให้แข่งขันเป็นหมู่ และทำระยะ
ให้การวิ่งล้อรถไปประมาณ 10 – 15 เมตร แถวใดหรือหมู่ใดหมดก่อนหมู่นั้นชนะ
166

ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน

การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน มีระยะทางมากกว่า คือ ตั้งแต่ 150 – 200


กิโลเมตร และใช้เวลาไม่น้อยกว่า 2 วัน

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
เพื่อให้ลูกเสือขี่รถจักรยานไปถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างปลอดภัยควรปฏิบัติดังนี้
1. ลูกเสือต้องขี่รถจักรยานเป็นจนเกิดความมั่นใจในตนเอง ว่ามีความชำนาญแล้ว
2. ลูกเสือที่จะเดินทางควรมีความรู้เรื่องกฎจราจร เครื่องหมายจราจร และ
สัญญาณต่าง ๆ
3. มีความสามารถอ่านแผนที่แสดงเส้นทางได้
4. มีความรู้เรื่องเครื่องมือและอุปกรณ์ในการซ่อมรถจักรยาน เช่น สูบ เหล็ก
งัดยาง ปะแจเลื่อน กาวยางน้ำและสามารถนำเครื่องมือและอุปกรณ์ดังกล่าว
มาซ่อมรถจักรยานได้
5. สิ่งของที่บรรทุกไม่ควรหนักเกินไปเพราะอาจทำให้รถเสียการทรงตัวได้
6. ขี่รถจักรยานด้วยความสุขุมรอบคอบไม่ประมาท
7. รู้จักเส้นทางที่ปลอดภัย
8. ถ้าเส้นทางเป็นเส้นทางลูกรังควรระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุเป็นพิเศษ

ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน
การเดินทางสำรวจโดยรถจักรยานนั้น ลูกเสือควรเอาใจใส่ในเรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักเลือกเส้นทางและหลีกเลี่ยงการจราจรที่คับแคบ ควรหลีกเลี่ยงเส้นทางที่
ไม่ค่อยมีรถผ่าน เช่น ทางลูกรัง ทางเกวียน เป็นต้น
2. ต้องตรวจตรารถจักรยานให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยก่อนออกเดินทางทุกครั้ง
3. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ซ่อมจักรยาน ควรเตรียมให้พร้อมก่อนออกเดินทาง
ทุกครั้ง
167
ใบความรู้
เรื่อง การเดินทางสำรวจโดยทางเรือ

การเดินทางสำรวจโดยทางเรือจัดเป็นกิจกรรมการเดินทางไกลอีกแบบหนึ่ง ที่ลูกเสือใน
ระดับขั้นลูกเสือหลวงปฏิบัติได้ โดยการพายเรือไปในท้องถิ่นที่ไม่คุ้นเคย ระยะทาง 50 – 70
กิโลเมตร

หลักทั่วไปสำหรับการเดินทางสำรวจโดยเรือ
เพื่อให้ลูกเสือเดินทางสำรวจโดยเรือได้อย่างปลอดภัย ควรปฏิบัติดังนี้
1. ลูกเสือต้องมีความชำนาญในเรื่องการแจวเรือหรือพายเรือ
2. ลูกเสือควรหัดว่ายน้ำให้เป็นก่อนเดินทางไปสำรวจโดยทางเรือ
3. มีความรู้ในเรื่องการใช้ชูชีพเพื่อช่วยตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นได้
4. ก่อนใช้เรือทุกครั้งควรตรวจสอบสภาพเรือให้แน่ใจเสียก่อนว่า เรืออยู่ในสภาพ
พร้อมที่จะใช้งานได้ดี
5. มีความรู้เรื่องสัตว์ร้ายที่อยู่ในน้ำและอันตรายต่อการเดินทาง
6. รู้จักเลือกสถานที่สำหรับสร้างที่พักริมฝั่ง
7. สิ่งของที่บรรทุกลงในเรือไม่ควรจะมากเกินไปและไม่ควรวางเกะกะ เพราะจะ
ทำให้พายเรือไม่สะดวก
8. ขณะพายเรือไม่ควรประมาทไม่หยอกล้อกันเล่น เพราะอาจทำให้เรือล่มได้

ข้อควรระวังในการเดินทางสำรวจโดยเรือ
การเดินทางสำรวจโดยเรือนั้น ลูกเสือพึงเอาใจใส่ในเรื่องต่อไปนี้
1. ควรรู้จักเลือกเส้นทางที่มีน้ำไหลไม่แรงเพราะอาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้
2. ลูกเสือควรหัดว่ายน้ำให้เป็น และมีความรู้เรื่องการใช้ชูชีพ ตลอดจนการช่วย–
เหลือคนตกน้ำ เพราะหากมีเหตุการณ์เรือล่ม จะได้ให้ความช่วยเหลือได้ทันที
3. ลูกเสือควรจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไม้พาย เครื่องชูชีพ และสิ่งอื่น ๆ
ให้พร้อม ก่อนออกเดินทางทุกครั้งเสมอ
168

ใบงาน
เรื่อง แบบแสดงรายงานการเดินทางสำรวจ

วัน เดือน ปี เวลา รายการ ระยะทาง

หมู่ที่…………….กองที่……………
……………………………………..ผู้ประเมินผล

ใบงาน
เรื่อง การเดินทางสำรวจด้วยเท้า

ให้ลูกเสือเดินทางสำรวจ บันทึกสิ่งต่าง ๆ ลงในแบบการรายงานและเขียนแผนที่


เส้นทางเดินทางพอสังเขปตามเส้นทางต่อไปนี้
169

จุดเริ่มต้น ………………………………………….
จุดที่ 2 …………………………………………..
จุดที่ 3 …………………………………………...
จุดที่ 4 ……………………………………………
จุดที่ 5 ……………………………………………
จุดเสร็จสิ้นการเดินทาง …………………………………………….

หมายเหตุ ให้ ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้กำหนดทิศทางในการเดินทางสำรวจ

เรื่องสั้น
เรื่อง “สาวชาวนา”

สาวชาวนาผู้หนึ่ง กำลังจะเอาน้ำนมไปขายที่ตลาด น้ำนมนั้นใส่อยู่ในเหยือกดินเผา


เทินอยู่บนศีรษะของหล่อน ขณะเดินไปหล่อนก็เพ้อฝันไปว่า น้ำนมในเหยือกนี้ เมื่อเอาไปขาย
หล่อนคงจะได้เงินมากพอดูทีเดียวแล้วหล่อนจะเอาเงินที่ได้มาจากการขายน้ำนมนั้น ซื้อลูกไก่
สัก 300 ตัว ไม่นานนัก ไก่ 300 ตัว ก็จะโตเมื่อเอาไปขายแล้ว หล่อนก็จะได้เงินมากพอที่จะ
ซื้อลูกหมูตัวหนึ่ง ลูกหมูกินรำ กินปลายข้าว สองสามเดือนก็จะอ้วนจ้ำม่ำ หล่อนจะขายหมู
แล้วทีนี้ก็จะซื้อแม่วัวตัวหนึ่งโชคอาจเข้าข้างเพราะแม่วัวนั้น ไม่นานนักก็ตกลูกออกมาตัวหนึ่ง
ในความคิดฝัน หล่อนมองเห็นแม่วัวและลูกวัวกำลังเล็มหญ้าอยู่ในทุ่งนาใกล้ ๆ บ้านของ
หล่อน ตอนนั้นเองหล่อนก็เดินสะดุดหิน ล้มคะมำ เหยือกนมพลัดตกแตก น้ำนมสีขาวไหล
ซึมซาบหายลงไปในพื้นดิน แต่มิใช่เพียงน้ำนมเท่านั้นหรอกที่ซึมหายไป แต่ลูกไก่ 300 ตัว
170
หมูตัวหนึ่ง แม่วัวตัวหนึ่ง และลูกวัวอักหลาย ๆ ตัวก็ซึมหายไปด้วย สาวชาวนาเจ้าของสัตว์ใน
ฝันเลยต้องร้องให้กลับบ้านไป

คติสอนใจ : อย่าหวังน้ำบ่อหน้าจะพาจน
171

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับงานศิลปะ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจัดแสดงผลงานทางศิลปะเกี่ยวกับงานศิลปะในแต่ละประเภท ทั้งสามารถนำ
ผลงานสู่สาธารณชน รู้ถึงคุณค่างานศิลปะ ประเภทของงานศิลปะ ทั้งสมารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานทางศิลปะแต่ละประเภท และสามารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะแสดงในที่สาธารณะได้
1. ลูกเสือบอกคุณค่างานศิลปะได้ (จิตพิสัย)
2. ลูกเสือบอกประเภทของศิลปะได้ (พุทธพิสัย)
3. ลูกเสือปฏิบัติผลงานทางศิลปะได้ (ทักษะพิสัย)
4. ลูกเสือแสดงงานศิลปะในที่สาธารณะได้ (ทักษะพิสัย , จิตพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. คุณค่างานศิลปะ
2. ประเภทศิลปะ
3. การผลิตผลงานทางศิลปะ
4. การจัดงานแสดงศิลปะในที่สาธารณะ

กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ดาวพระศุกร์
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
172
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง คุณค่าของงานศิลปะ


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การละคร
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลาสองตัว”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ดาวพระศุกร์”
2. ใบความรู้ เรื่อง คุณค่าของงานศิลปะ
3. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ
4. ใบความรู้ เรื่อง การละคร
5. ใบความรู้ เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน
6. เรื่องสั้น เรื่อง “ลาสองตัว”
173
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
174
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
175
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ดาวพระศุกร์”

มา มา รำวง เพลงรำนำร่ายรำเฮฮา
พวกเราอบรม ใบงานที่
สนุกนักหนา ทุกคนเริงร่าอารมณ์
เรื่อง
176
พริ้งเพราพวกเราสนุก สมนามสมสุขสนุกภิรมณ์
เราต่างบ้านหมั่นร่วมรัก ทุกคนสมัครฝากไมตรี
รำวงวันนี้สุขขีรื่นรมณ์
เท่งป๊ ะ เท่งป๊ ะ เท่าป๊ ะ
มะมาสุขสมใจฤทัยรื่นรมณ์ รักชิดชมอารมณ์สุขเอย

ใบความรู้
เรื่อง คุณค่างานศิลปะ

ศิลปะ เป็นสิ่งที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตของคนเราเป็นอย่างมาก คุณค่าของงานศิลปะ


แต่ละประเภท แบ่งคุณค่าของงานศิลปะได้เป็น 6 ประการดังนี้
1. คุณค่าทางด้านความงาม ศิลปะมีส่วนช่วยโน้มน้าวให้จิตใจมนุษย์
มีความรักในความงามของธรรมชาติ และเป็นสิ่งจรรโลงใจให้มนุษย์มีจิตใจสูงขึ้น ทำให้
สามารถเข้าใจจิตใจของผู้อื่นได้ดี และมีส่วนช่วยให้การดำเนินชีวิตประสบแต่ความสุข
ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
2. คุณค่าทางด้านบันเทิง ศิลปะในแต่ละกลุ่ม จะให้ความเพลิดเพลิน
บันเทิงใจ และช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทำให้จิตใจแจ่มใส ร่าเริงยิ่งขึ้น
177
3. คุณค่าทางด้านประโยชน์ใช้สอย งานศิลปะที่ประดิษฐ์ขึ้นมา
บางประเภท สามารถที่จะนำมาใช้สอยในชีวิตประจำวันได้ เช่น เครื่องเคลือบดินเผา
งานจักสาน งานทอ ฯลฯ ยังสามารถนำเอาวิชาศิลปะไปประยุกต์ใช้กับงานในสาขาอื่น ๆ
ได้อีกด้วย เช่น ด้านสื่อสารมวลชน อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม สถาปัตยกรรม
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
4. คุณค่าทางด้านเอกลักษณ์ประจำชาติ ศิลปะของแต่ละชาติย่อมมี
เอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และยังสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
อันดีงามของชาตินั้น ๆ เช่น พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก เป็นต้น
5. คุณค่าทางด้านจรรยา ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำงานทางศิลปะ
จะช่วยให้ลูกเสือรู้จักการวางแผนในการทำงาน และมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน เช่น
ความรอบคอบ ความประณีต ความประหยัด ตลอดจนมีความสามัคคีในการช่วยกัน
ทำงาน เป็นต้น
6. คุณค่าทางด้านแง่คิดและคติในการดำรงชีวิต อาจได้จากบทละคร
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตจริงในแง่มุมต่าง ๆ กัน และจะช่วยให้เราเกิดแง่คิด
ในการแก้ไขปัญหาให้คลี่คลายลงได้ ซึ่งจะทำให้การดำรงชีวิตเกิดความศานติสุข
178

ใบความรู้
เรื่อง ประเภทของงานศิลปะ

ศิลปะ เป็นพื้นฐานของความสวยงามต่าง ๆ ที่เราพบเห็นกันอยู่ทั่วไป ซึ่งเรา


สามารถแบ่งศิลปะออกเป็นประเภทใหญ่ ได้ 2 ประเภทคือ
1. วิจิตรศิลป์ ได้แก่ ศิลปะแขนงจิตรกรรม ประติมากรรม
2. สถาปัตยกรรม วรรณกรรม รวมทั้งดนตรี ละคร และนาฏศิลป์
3. ศิลปประยุกต์ ได้แก่ ศิลปะในแขนงพาณิชศิลป์ อุตสาหกรรม
หัตถกรรม หรือการช่าง และมัณฑนศิลป์ เป็นต้น
ในการประชุมกองครั้งนี้ จะให้ลูกเสือได้ศึกษาศิลปะเพียง 5 แขนง คือ
1. ศิลปะทางการแสดง
2. ทัศนศิลป์
3. การช่าง
4. ศิลปะทางอักษรศาสตร์
5. ศิลปะการวิจารณ์
ศิลปะทางการแสดง
หมายถึง ศิลปะที่เราสามารถมองเห็นความงาม รูปลักษณะ การเคลื่อนไหว
พร้อมกับการได้ยินเสียงจังหวะ ทำนอง ซึ่งสามารถสื่อความหมายให้เข้าใจร่วมกันได้
ศิลปะแขนงนี้ประกอบด้วย วรรณกรรม ดนตรี ละคร และนาฏศิลป์ ในระดับลูกเสือหลวง
นี้ จะกล่าวถึง การละคร และการพูดอภิปราย
179

ใบความรู้
เรื่อง การละคร
หมายถึง การแสดงที่เป็นเรื่องราวติดต่อกัน และเป็นที่รวมของศิลปะหลายประเภท
เช่น วรรณศิลป์ ดุริยางคศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรมและยังประกอบด้วยท่ารำ เพลงร้อง ดนตรี
ตลอดจนมีการจัดฉากให้สอดคล้องกับบทละครอีกด้วย ละครมีอยู่หลายประเภท แต่จะกล่าวถึง
เฉพาะละครพูดเท่านั้น
ละครพูด เป็นละครสมัยใหม่ ที่ใช้การพูดดำเนินเรื่อง ละครประเภทนี้จะไม่มีท่ารำ
แต่จะมีการเปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่อง เพื่อให้เกิดความสมจริงมากขึ้น
ขั้นตอนการแสดงละคร
1. เตรียมการอย่างรอบคอบด้วยการเลือก และวางแนวของเรื่องไว้ล่วงหน้า
ซึ่งเนื้อเรื่องที่จะใช้แสดง ควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความกล้า
หาญ เสียสละ อดทนหรือจากกฎและคำปฏิญาณของลูกเสือ
2. เลือกสรรตัวผู้แสดงให้เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของตัวละครที่จะแสดง
3. สรุปสถานการณ์ของเรื่องให้ผู้แสดงทุกคน เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อนที่จะเริ่มแสดง
4. การเตรียมความพร้อมต่าง ๆ ก่อนการแสดง เช่น การจัดฉาก จัดห้องเครื่อง
แต่งตัว และเตรียมตัวผู้ที่ไม่ได้แสดงให้เป็นผู้สังเกต เป็นต้น
5. ในขณะแสดงละคร ผู้แสดงทุกคนจะต้องแสดงตามบทบาทของตัวละครนั้น ๆ
ให้สมจริง
6.ทุกครั้งเมื่อการแสดงจบแล้ว เราควรจะมีการอภิปรายถึงผลของการแสดงด้วย
โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ได้จากการแสดงละคร
180
ใบความรู้
เรื่อง การอภิปรายในที่ชุมชน
การอภิปราย
หมายถึง บุคคลกลุ่มหนึ่งมาร่วมกันพูดจาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติหรือเพื่อ
พิจารณาปัญหาใดปัญหาหนึ่งแล้วหาข้อยุติโดยเฉพาะในที่ชุมชนนั้นจะต้องประกอบด้วย ประธาน
หรือผู้ดำเนินการอภิปราย ผู้อภิปราย ผู้ฟัง รวมทั้งเรื่องที่จะอภิปรายด้วย

การเตรียมการอภิปรายในที่ชุมชน
1. การเลือกเรื่องหรือปัญหาที่จะพูด
2. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ฟัง
3. การเตรียมเนื้อหาในการอภิปราย
4. การซ้อมพูดอภิปราย
5. การเตรียมสถานที่
การดำเนินการอภิปราย
ผู้ดำเนินการอภิปรายกับผู้ร่วมอภิปราย จะมีหน้าที่และวิธีแตกต่างกัน ดังนี้
1. ผู้ดำเนินการอภิปราย โดยทั่วไปมีหน้าที่และวิธีดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1.1 เป็นพิธีกร กล่าวคำทักทายผู้ฟังและชี้แจงจุดประสงค์ของการ
อภิปราย
1.2 กล่าวแนะนำคณะผู้ร่วมอภิปราย
1.3 เชิญให้ผู้อภิปรายพูดแสดงความคิดเห็น และสรุปคำพูดของผู้
อภิปราย
แต่ละคน
1.4 ควบคุมเวลา และแนวทางการอภิปรายให้เป็นไปตามกำหนด
1.5 สร้างบรรยากาศของการอภิปรายให้ดำเนินไปได้ด้วยดี เป็นกันเองมี
การซักถาม
1.6 สรุปผลของการอภิปรายทั้งหมด หลังจากการอภิปรายยุติลง โดย
อาจ
ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมก็ได้
181
2. ผู้ร่วมอภิปราย จะมีหน้าที่ ดังนี้
2.1 พูดเมื่อได้รับเชิญและต้องรักษาเวลาอย่างเคร่งครัด
2.2 พูดให้ตรงประเด็น ซึ่งจะต้องเข้าใจเนื้อเรื่องที่จะพูดได้ดี
2.3 ควรรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.4 ในกรณีที่ต้องการซักถามหรือเพิ่มเติมข้อคิดเห็น จะต้องขออนุญาต
ผู้ดำเนินการ
2.5 ต้องใช้คำหรือภาษาที่สุภาพ และเป็นกันเองกับผู้ฟัง
182
เรื่องสั้น
เรื่อง “ลาสองตัว”

ชายผู้หนึ่ง มีลาสองตัว กำลังไล่ต้อนลาทั้งสองตัวออกเดินทาง ลาตัวหนึ่งบรรทุก


ฟองน้ำ อีกตัวหนึ่งบรรทุกเกลือ ลาที่บรรทุกน้ำนั้นเดินสบาย เพราะสิ่งที่มันบรรทุกนั้นมีน้ำ
หนักเบา แต่ตัวที่บรรทุกเกลือนั้น เดินไม่สบาย เพราะสิ่งที่มันบรรทุกนั้นหนักมาก ลาทั้งสอง
เดินไปตามถนน ต่อจากนั้น ก็ไต่ขึ้นเนินเขา และจากนั้นเส้นทางก็แปรสภาพเป็นทางแคบ ๆ
จนกระทั่งถึงแม่น้ำสายหนึ่ง ชายผู้เป็นเจ้าของขี่ลาตัวที่บรรทุกฟองน้ำ เขาส่งเสียงบอกให้ลาตัว
ที่บรรทุกเกลือเดินลงแม่น้ำไปก่อน ลาตัวที่บรรทุกเกลือรีบเดินลงไปในน้ำทันที เพราะมันรู้ดีว่า
เกลือที่มันบรรทุกมานั้น ถ้าหากเปี ยกน้ำจะละลาย และมันจะได้รู้สึกเบาขึ้น มันจึงแกล้งเดินตก
หล่ม ถุงบรรทุกเกลือจมน้ำ ทำให้เกลือละลายหมด มันรีบลุกขึ้นเดินต่อไป รู้สึกว่าตัวเบาหวิว เจ้า
ลาตัวที่บรรทุกฟองน้ำเห็นเข้า จึงทำตามบ้าง มันแกล้งเดินตกหล่มบ้างเหมือนกัน แต่ฟองน้ำนั้น
เมื่อเปี ยกน้ำก็จะอุ้มน้ำไว้ ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล มันพยายามทรงตัวลุกขึ้นยืน แต่ไม่
สำเร็จ เกือบจะต้องจมน้ำตาย เผอิญมีคนช่วยเอาไว้เสียก่อน

คติสอนใจ : หลงผิดทำให้ตัวตาย

ใบงานที่
เรื่อง
183
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ลูกเสือกับงานศิลปะ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือจัดแสดงผลงานทางศิลปะเกี่ยวกับงานศิลปะในแต่ละประเภท ทั้งสามารถนำ
ผลงานสู่สาธารณชน รู้ถึงคุณค่างานศิลปะ ประเภทของงานศิลปะ ทั้งสมารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานทางศิลปะแต่ละประเภท และสามารถผลิตผลงานทาง
ศิลปะแสดงในที่สาธารณะได้
1. ลูกเสือบอกคุณค่างานศิลปะได้ (จิตพิสัย)
2. ลูกเสือบอกประเภทของศิลปะได้ (พุทธพิสัย)
3. ลูกเสือปฏิบัติผลงานทางศิลปะได้ (ทักษะพิสัย)
4. ลูกเสือแสดงงานศิลปะในที่สาธารณะได้ (ทักษะพิสัย , จิตพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. คุณค่างานศิลปะ
2. ประเภทศิลปะ
3. การผลิตผลงานทางศิลปะ
4. การจัดงานแสดงศิลปะในที่สาธารณะ

กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “รถโรมัน”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
184
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การวาดภาพลายเส้น


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้
เศษวัสดุเหลือใช้และงานช่าง
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง งานจักสาน

6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ านิเทศห้องลูกเสือ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียนส่งผู้บังคับบัญชา
13. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ส่งผู้บังคับบัญชา
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “รถโรมัน”
2. ใบความรู้ เรื่อง การวาดภาพลายเส้น
3. ใบความรู้ เรื่อง ประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้เศษวัสดุเหลือใช้และงานช่าง
4. ใบความรู้ เรื่อง งานจักสาน
5. ใบงาน เรื่อง แบบรายงานการเลือกการแสดงออกทางศิลปะ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”
185
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
186
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
187
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “รถโรมัน”

ใบงานที่ คนด้านข้างสองคนริมเป็นรถ
ให้ลูกเสือสามคนยืนเรียงกัน คนกลางเป็นม้า
เรื่อง
188
ให้คนข้างทั้งสอง จับเอวคนกลางไว้ เพื่อมิให้แยกออกจากันขณะวิ่ง คนข้างทั้งสอง
ประสานมือกันไว้ข้างหลัง คนขับยืนบนมือของคนข้างทั้งสอง และใช้มือเกาะบ่าไว้ให้
แน่น แล้วเดินหรือวิ่งไปตามที่ที่กำหนดให้ ใครถึงที่หมายก่อนเป็นฝ่ ายชนะ
189
ใบความรู้
เรื่อง การวาดภาพลายเส้น

การวาดภาพลายเส้น เป็นศิลปะประเภทหนึ่งในแขนงจิตรกรรม ซึ่งหมายถึง


การเขียนภาพโดยใช้สีสีเดียว ใช้เส้นและการแรเงาเป็นสำคัญ เราสามารถวาดหรือเขียนได้หลาย
แบบด้วยกัน เช่น
1. การเขียนลวดลายเส้นด้วยเส้นอิสระ เป็นการเขียนโดยใช้เส้นในลักษณะ
ต่าง ๆ ตามความพึงพอใจของผู้เขียน
ภาพประกอบ วาดเป็นเส้นสลับกันแล้วแรเงาตามช่องว่างโดยการสลับช่อง

2. การวาดเส้นร่าง เป็นการเขียนภาพด้วยการร่างเส้นอย่างคร่าว ๆ
หรือเพียงเส้นโครงนอก
ภาพประกอบ การวาดเส้นร่าง

การที่เราจะวาดภาพลายเส้นให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้นั้น เราจะต้องมีการฝึ กหัดการ


เขียนเส้นในลักษณะต่าง ๆ ให้เกิดความชำนาญเสียก่อน ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1. ให้เขียนเส้นต่าง ๆ ซ้ำ ๆ กันหลายครั้ง หลาย ๆ ลักษณะ
2. ฝึ กการใช้ประสาทสัมผัสระหว่างมือกับสายตาให้สัมพันธ์กัน
190

ใบความรู้
เรื่อง การประดิษฐ์รูปภาพปะติดโดยใช้เศษวัสดุ และงานช่าง

ภาพปะติด
หมายถึง การทำงานศิลปะที่เป็นงานเขียนภาพนั่นเอง แต่แทนที่จะระบายสีกลับ
ใช้วัสดุที่มีสีสันต่าง ๆปะติดลงไปในภาพแทนวัสดุที่นำมาใช้ได้แก่ เศษผ้า เศษกระดาษสีต่าง ๆ
ริบบิ้น กระดุม พลาสติก เป็นต้น
กรรมวิธีการปะติดภาพนั้น เริ่มแรกเราควรจัดเตรียมวัสดุ ที่เตรียมไว้เป็นภาพตาม
ความคิดของเราเสียก่อน เมื่อจัดได้ตามความต้องการแล้ว จึงนำกาวหรือแป้ งเปี ยกผนึกลงไปใน
ตำแหน่งเดิมที่เรียงไว้ ติดกาวจนครบทุกชิ้นเราจะได้ภาพปะติดที่สวยงาม
การประดิษฐ์ภาพปะติดนี้ เราอาจจะแสดงภาพให้เป็นเรื่องราวต่าง ๆ ก็ได้ เช่น เรื่องราวใน
นิทานวรรณคดีหรือนวนิยายเป็นต้น โดยก่อนที่จะนำวัสดุมาปะติดนั้น เราอาจนำกระดาษมาพับ
เป็นรูปต่าง ๆ ก่อนก็ได้ ซึ่งเป็นเทคนิคการทำวิธีหนึ่ง ทำให้ภาพมีลักษณะสามมิติได้ นอกจากนี้
เรายังสามารถนำลักษณะของภาพปะติดมาใช้ในงานประกาศโฆษณาแทนภาพเขียนก็ได้
การช่าง
เป็นงานศิลปะที่ผลิตขึ้นมาโดยใช้ฝี มือเป็นหลัก ซึ่งเป็นงานรักษาเอกลักษณ์ของแต่ละ
ชาติแต่ละถิ่นเอาไว้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตงาน จะมีลักษณะที่ง่ายและสะดวกต่อการ
ใช้สอย ตามลักษณะงานช่างแต่ละชนิด ศิลปะแขนงนี้จะมุ่งความงามความประณีต และ
ประโยชน์ในการใช้สอยเป็นสำคัญ เช่น การพิมพ์ภาพด้วยวิธีสกรีน เครื่องปั้นดินเผา การ
จักสาน การเข้าเล่มหนังสือเป็นต้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะงานจักสาน
191

ใบความรู้
เรื่อง งานจักสาน

งานจักสาน
เป็นงานศิลปะพื้นบ้านประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นงานประดิษฐ์ที่ต้องใช้ฝี มือและความ
รอบคอบในการประดิษฐ์ผลงานออกมา เพื่อทำให้ผลงานนั้น ๆ มีความงดงามตามต้องการ
วัสดุที่นำมาใช้ในงานจักสานนั้น จะนิยมใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน เช่น
หวาย กก ย่านลิเภา กระจูด ฟาง เป็นต้น ในชั้นนี้ต้องการให้ลูกเสือเอาลายชั้นต้นมาผสมผสาน
กับความคิดสร้างสรรค์ แล้วประดิษฐ์ผลงานขึ้นมา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

การประดิษฐ์ฝาชี วัสดุอุปกรณ์มีดังนี้
1. ใบลาน หรือใบตาล
2. ไม้ไผ่เส้นบาง ๆ กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตรยาว 24 นิ้วจำนวน 2 เส้น
3. กรรไกร มีด เข็ม ด้าย หวาย

ขั้นตอนในการประดิษฐ์
1. ออกแบบฝาชีให้มีรูปทรง 2. เจียดใบลาน ให้มีความกว้าง
ตามแบบโดยมีฐานเป็นรูปวงกลม ประมาณ 0.8 ซม. ยาว 50 ซม.
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 ซม. จำนวน 50 – 60 เส้น

3. สานใบลานเป็นลายขัด 4. จับเส้นที่อยู่กึ่งกลางของแนวตั้ง คือ


โดยให้เส้นตั้ง 8 เส้นและ เส้นที่ 4 และ 5 โดยนำเส้นที่ 5 ขัดไป
เส้นขนาน 5 เส้น ทางซ้าย ทำมุม 90 องศา และเส้นที่ 4
ขัดไปทางขวา ทำมุม 90 องศาเช่นเดียว
กันจะได้ใบลานข้างละ 9 เส้น
192

5. ค่อยเพิ่มใบลานจนกระทั่งหมดความยาวของใบลาน

6. นำไม้ไผ่ ที่ทำเป็นวงกลม 7. ตัดใบลานที่เลยออกมานอก


วงที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 ซม. ขอบให้เรียบร้อย
วงที่ 2 เล็กกว่าวงที่ 1 เล็กน้อย
นำมาเป็นขอบด้านนอก และ
ด้านในของฝาชี แล้วใช้เชือก
ผูกรัดเป็นระยะ ๆห่างกันโดยรอบ
193
ใบงาน
แบบรายงานการเลือกแสดงออกทางศิลปะ

สมาชิกภายในกลุ่ม
1………………………………………………………….. ประธาน
2………………………………………………………….. รองประธาน
3…………………………………………………………..
4………………………………………………………….. เลขานุการ
ฯลฯ
1. เรื่องที่แสดงคือ……………………………………………………………….
2. เวลาที่ใช้ในการแสดง………………………………………………………..
3. วัน เวลา ที่แสดง……………………………………………………………
4. สถานที่แสดง………………………………………………………………….
5. วัสดุอุปกรณ์
5.1………………………………………………………………………………
5.2………………………………………………………………………………
5.3………………………………………………………………………………
5.4………………………………………………………………………………
ฯลฯ
6. ขั้นตอนการแสดง
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
7. เพลง / เนื้อเรื่องแสดง
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
แบบประเมินการแสดง

ที่ การแต่งกาย
กลุ่มกิจกรรม ความเป็น เหมาะสม เนื้อหา ความ รวม
การแสดง ผู้นำผู้ตาม กับกิจกรรม สำเร็จ หมายเหตุ
ศิลปะ ที่แสดง
194
5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 (20)
คะแนน

เรื่องสั้น
เรื่อง “พกหินดีกว่าพกนุ่น”

หินนั้นมีน้ำหนัก มีความแข็งแรง ก็เปรียบเสมือนคนหนักแน่น อารมณ์มั่นคง


มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นย่อมแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบ ซึ่งผิดกับนุ่นเพราะนุ่นมีน้ำหนักเบาก็
เหมือนกับคนใจเบาไม่มั่นคง มีเหตุอะไรขึ้นก็โวยวาย ทำให้เรื่องเล็กน้อย กลายเป็นเรื่องใหญ่ ซึ่ง
ไม่ทำให้เกิดผลดีเลย

คติสอนใจ : หัวใจเหมือนหิน ดีกว่าใจเบาเหมือนนุ่น


195

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กีฬาประเภทบุคคล เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ
กีฬาประเภทบุคคลเป็นกีฬาที่เล่นหรือแข่งขันเป็นรายบุคคล เป็นการออกกำลังกายที่ดี
มีประโยชน์ที่ลูกเสือจะต้องนำไปใช้อยู่ตลอดเวลา เมื่อมีเวลาว่างหรือเป็นกิจกรรมในวิชาพิเศษลูก
เสือควรรู้ความหมายของกีฬาประเภทบุคคล และรู้ถึงประเภทกีฬาบุคคล

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือเล่นกีฬาประเภทบุคคลที่กำหนดให้ได้ ตลอดจนบอกความหมายของกีฬา
ประเภทบุคคลได้
1. บอกประเภทของกีฬาประเภทบุคคลได้
2. เล่นกีฬาประเภทบุคคลที่กำหนดให้ได้
196
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของกีฬาประเภทบุคคล
2. กีฬาประเภทบุคคล

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ออกกำลังกายสุขใจ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้กีฬาประเภทบุคคล
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน แต่ละฐานมีใบความรู้ประกอบ
197

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิ่ง 100 เมตร


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิ่งกระโดดไกล
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ทุ่มน้ำหนัก

2.4 เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา


ขั้นที่ ๓
3.1 รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานแต่ละฐาน
3.2 ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผึ้งหลงฝูง”
3.3 ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
3.4 ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
3.5 ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
3.6 ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียนส่งผู้บังคับบัญชา
3.7 ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ส่งผู้บังคับบัญชา
3.8 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ออกกำลังกายสุขใจ”
3. ใบความรู้ เรื่อง วิ่ง 100 เมตร
4. ใบความรู้ เรื่อง วิ่งกระโดดไกล
5. ใบความรู้ เรื่อง ทุ่มน้ำหนัก
6. ลูกทุ่มน้ำหนัก
7. ใบงาน เรื่อง กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ
8. เรื่องสั้น เรื่อง “ผึ้งหลงฝูง”
198
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
199
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
200
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
201

เพลง “ออกกำลังกายสุขใจ”

เอ้าเฮฮาเฮ เย้โย้โยกไป
ออกกำลังกาย ทำให้ใจของเราสุขสันต์
มาซิ มาซิ เร็วเข้าซิ มาเต้นให้มัน
ยิ้มแย้มให้กัน ชีวิตสุสันต์ดั่งขึ้นวิมาน

ใบงานที่
เรื่อง
202
ใบความรู้
เรื่อง วิ่ง 100 เมตร
กีฬาประเภทบุคคล
หมายถึง กีฬาที่เล่น หรือแข่งเป็นรายบุคคล ส่วนใหญ่จะเป็นกรีฑาชนิดต่าง ๆ เช่น
การวิ่ง การกระโดดไกล การทุ่มน้ำหนัก การพุ่งแหลน หรืออาจเป็นกีฬาอื่น ๆ เช่น ยิงปื น
แบดมินตัน เทนนิส ว่ายน้ำ เป็นต้น ซึ่งกีฬาเหล่านี้สามารถเล่นได้เป็นรายบุคคล หรือเป็นทีม
ก็ได้
การวิ่ง 100 เมตร
การวิ่ง 100 เมตร เป็นการวิ่งที่ต้องอาศัยความเร็วเป็นปัจจัยสำคัญ

ทักษะและเทคนิคในการวิ่ง 100 เมตร มีขั้นตอนดังต่อไปนี้


1. ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่ง
2. ท่าเริ่มออกวิ่ง
3. ท่าทางในการวิ่ง

1. ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่ง
ท่าตั้งต้นที่ดี คือ ท่าตั้งต้นที่สามารถออกวิ่งได้เร็วที่สุด เสียเวลาน้อยที่สุด ท่าตั้งต้น
ก่อนออกวิ่ง ที่นิยมใช้มี 3 แบบ
1) แบบบันช์สตาร์ท
2) แบบมีเดียมสตาร์ท
3) แบบอีลองเกตสตาร์ท
2. ท่าเริ่มออกวิ่ง
ให้ถีบเท้าทั้งสองไปข้างหลังอย่างแรงโดยเริ่มจาก เท้าข้างที่ถนัด เพื่อให้เกิดแรงส่ง
ไปข้างหน้า
3. ท่าทางในการวิ่ง
การเริ่มออกวิ่งก้าวแรกไม่ควรก้าวยาวเกินไป เพราะจะทำให้ตัวตั้งสู่มุม วิ่งปกติเร็ว
เกินไป ซึ่งทำให้เป็นอุปสรรคในการเร่งฝี เท้าในระยะแรก
203
ใบความรู้
เรื่อง การวิ่งกระโดดไกล
การวิ่งกระโดดไกลเป็ นกรีฑาประเภทลานประเภทหนึ่ง
ผู้ที่วิ่งกระโดดไกลได้ดีนั้น ควรมีคุณสมบัติดังนี้
1. วิ่งได้เร็ว
2. สปริงข้อเท้าดี
3. น้ำหนักตัวน้อย
4. การทำงานของกล้ามเนื้อและประสาทมีความสัมพันธ์กันดี

การวิ่งกระโดดไกลแบบงอตัว
การวิ่งกระโดดไกลมีหลายแบบ เช่น การวิ่งกระโดดไกลแบบงอตัว แบบก้าวขาใน
อากาศหรือแบบแอ่นตัว เป็นต้น
สำหรับการวิ่งกระโดดไกลแบบงอตัว นับว่าเป็นท่าพื้นฐานเบื้องต้น เพราะเป็น
แบบที่ลอยตัวง่าย ๆ เหมาะกับเด็ก หรือผู้ที่ฝึ กหัดใหม่ซึ่งมีทักษะโดยทั่วไป ดังนี้
1. การวิ่งก่อนการกระโดด
2. การกระโดดขึ้นจากพื้น
3. การลอยตัวในอากาศ
4. การลงสู่พื้น
204
ใบความรู้
เรื่อง การทุ่มลูกน้ำหนัก

การทุ่มลูกน้ำหนัก จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. รูปร่างสูงใหญ่ น้ำหนักตัวมาก (แต่ไม่อ้วน)
2. มีกำลังแขนและขาแข็งแรง

ทักษะเบื้องต้นของการทุ่มลูกน้ำหนัก

1. การถือลูกน้ำหนัก มี 3 วิธี
วิธีที่ 1 ถือลูกน้ำหนักโดยใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางอยู่ด้านหลังของลูกน้ำหนัก
นิ้วทั้งสามแยกห่างออกจากกันพอสมควร นิ้วหัวแม่มือและนิ้วก้อย
ช่วยประคองลูกอยู่ด้านข้างนิ้วก้อยงอเล็กน้อย ลูกน้ำหนักอยู่ที่โคน
นิ้วที่กางออก
วิธีที่ 2 ถือเหมือนวิธีที่ 1 แต่ลูกน้ำหนักอยู่ที่โคนนิ้วทุกนิ้ว
วิธีที่ 3 ถือลูกน้ำหนักโดยใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วก้อย อยู่ด้านหลัง
ของลูกน้ำหนัก นิ้วหัวแม่มือช่วยประคองลูกไว้ ลูกน้ำหนักจะอยู่ต่ำลง
มาทางฝ่ ามือมากกว่าวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2
ภาพประกอบการถือลูกน้ำหนัก
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3
205
2. การยืนเตรียมทุ่ม
ภาพประกอบ ตำแหน่งของลูกน้ำหนัก ภาพประกอบ ลักษณะท่าทางการยืนเตรียมมุม

3. การเคลื่อนไหวก่อนทุ่ม
เมื่อยืนเตรียมพร้อมแล้วให้โน้มตัว ภาพประกอบ การเคลื่อนไหวก่อนทุ่ม
ไปหาเท้าข้างขวา ย่อเข่าขวา งอแขนซ้าย
มาด้านหน้า น้ำหนักตัวอยู่บนเท้าขวา
ยกส้นเท้าขึ้นเล็กน้อย พร้อมกับบิดไหล่
เอวข้างขวาต่ำลง ให้ลูกน้ำหนักเข่า และ
ปลายเท้าขวาอยู่บนเส้นดิ่งเดียวกัน
4. การทุ่ม ภาพประกอบ ท่าทางการทุ่ม

5. การทรงตัวหลังการทุ่ม ภาพประกอบ การทรงตัวหลังการทุ่ม


ขณะที่ดันลูกน้ำหนักออกจากซอกคอ
และถีบส่งตัวขึ้นด้วยเท้าขวา พร้อมกับเหวี่ยง
มือซ้ายกลับหลัง แล้วกระโดดสกัดเท้าขวา
ไปข้างหน้าด้วยปลายเท้า งอเข่าขวาเล็กน้อย
ในจังหวะเดียวกัน ชักเท้าซ้ายเหวี่ยงกลับหลัง
กางแขนซ้ายและยกเท้าซ้ายขึ้นเพื่อการทรงตัว
ตามองลูกน้ำหนักที่ทุ่มออกไป
ใบงาน
แบบเลือกกิจกรรมและทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อ………………………………………………. หมู่………. กอง……..

กิจกรรมที่เลือก การทดสอบครั้งแรก การทดสอบครั้งสุดท้าย


206
……. 1. วิ่งระยะสั้น …………………… วินาที …………………. วินาที
……. 2. ทุ่มน้ำหนัก …………………… เมตร …………………. เมตร
……. 3. กระโดดไกล …………………… เมตร …………………. เมตร

วัน เวลาที่ทดสอบ วัน เวลาที่ทดสอบ


…………………………… …………………………..
.
ผู้ทดสอบ
ผู้ทดสอบ ………………………….
…………………………… (…………………………)
(…………………………..)

หมายเหตุ 1. การทดสอบครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ควรใช้ระยะเวลาห่างกัน


อย่างน้อย 2 – 3 เดือน เพื่อให้โอกาสได้ฝึ กซ้อมและจะได้ทราบ
ความก้าวหน้าทางสมรรถภาพทางกายของลูกเสือ
2. ให้ลูกเสือเลือก แล้ว ผู้บังคับบัญชาเก็บรักษาไว้

เรื่องสั้น
เรื่อง “ผึ้งหลงฝูง”

ณ วัดเจดีย์หลวง มีผึ้งทำรังอยู่มากมาย ในรังผึ้งแต่ละรังจะมีลูกผึ้งอยู่มากมาย มี


ลูกผึ้งตัวหนึ่งมีนิสัยขี้เกียจและชอบหลงฝูงเสมอ เพราะเมื่อเวลามันพบฝูงแมลงวันมันก็จะ
บินตามฝูงแมลงวันไปเที่ยวเกาะเศษอาหารที่เน่าเหม็น ตอตกเย็นลูกผึ้งจึงกลับรัง พอถึงรัง
ผึ้งทั้งหลายต่างได้กลิ่นเหม็นที่ติดแข้งขาลูกผึ้งมา ต่างพากันรังเกียจและขับไล่ให้ออกไป
จากรัง แต่ลูกผึ้งไม่ยอมออกจึงถูกพวกผึ้งรุมต่อยจนตกลงสู่พื้นดิน ฝ่ ายแมลงสาปซึ่งหา
อาหารกินอยู่ในบริเวณนั้นได้เห็นเข้าจึงเข้ามาถามลูกผึ้งว่า ลูกผึ้งเป็นอะไรไป ลูกผึ้งจึงเล่า
เรื่องทั้งหมดให้ฟัง ฝ่ ายแมลงสาปเห็นเป็นโอกาสดี จึงบอกกับลูกผึ้งว่า ตนจะเป็นพี่เลี้ยง
ให้ลูกผึ้งเอง แต่มีข้อแม่ว่า ลูกผึ้งจะต้องขึ้นไปที่รังผึ้งและดูดเอาน้ำหวานมาให้ตนทุกวัน
ลูกผึ้งจึงตอบตกลง ครั้นลูกผึ้งนั้นบินกลับเข้าไปที่รังอีก เพื่อจะไปดูดน้ำผึ้งและนำไปฝาก
207
เจ้าแมลงสาป พอพวกผึ้งรู้จึงโกรธ และยิ่งรู้ว่าลูกผึ้งมาขโมยน้ำหวานไปให้เจ้าแมลงสาปก็
ยิ่งโกรธมาก ในที่สุดก็พากันรุมต่อยจนกระทั่งไม่ยอมให้อภัยอีกเลย

คติสอนใจ : คบคนพาล พาลพาไปหาผิด

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กีฬาประเภททีม (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
กีฬาประเภททีม เป็นกีฬาที่ใช้ผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป รวมเล่นเป็นทีม มีจำนวนผู้
เล่นตามประเภทกีฬาแต่ละชนิดที่ได้กำหนดไว้ ทำให้ลูกเสือมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์
และเป็นการฝึ กระบบหมู่ลูกเสือด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือเล่นกีฬาประเภททีมแต่ละชนิด ที่กำหนดให้ได้ถูกต้องตามกติกา และบอก
ประโยชน์ของการเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ ได้ ตลอดจนบอกความหมายของ “กีฬาประเภททีม”
(พุทธพิสัย)
1. บอกประเภทของกีฬาประเภททีมได้ (พุทธพิสัย)
2. ลูกเสือเล่นกีฬาประเภททีมได้ (ทักษะพิสัย)
3. ลูกเสือบอกกติกาแข่งขันได้ (พุทธพิสัย)
208
4. ลูกเสือบอกประโยชน์ที่ได้จากการเล่นกีฬาได้ (พุทธพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของ “กีฬาประเภททีม”
2. กีฬาประเภททีม ได้แก่ เซปักตะกร้อ การวิ่งผลัด
3. กติกาการแข่งขันเซปักตะกร้อ และการวิ่งผลัด
4. ประโยชน์การเล่นกีฬาเซปักตะกร้อ และการวิ่งผลัด

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “อับราฮิม” เรียกลูกเสือรวมกอง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามกีฬาที่กำหนด “ตะกร้อ”
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็นทีม
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ เรื่อง ตะกร้อ
6. ลูกเสือสรุปใบความรู้ เรื่อง ตะกร้อ
7. ลูกเสือแต่ละหมู่คัดตัวแทนเป็นนักกีฬาตะกร้อ 3 คน เป็นทีม 1 ทีม
8. แข่งขันโดยจับฉลากแบบแพ้คัดออก ส่วนที่เหลือให้ไปทำการแข่งขันนอกเวลา
9. รวมกองลูกเสือเมื่อทำการแข่งขันเสร็จสิ้นแล้ว
10. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของกีฬา , ผลการแข่งขันตะกร้อ
11. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “จุดจบของตาชม”
12. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
13 ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
14. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
15. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “อับราฮิม”
2. ใบความรู้ เรื่อง ตะกร้อ
3. สนามตะกร้อ , ลูกตะกร้อ
4. เรื่องสั้น เรื่อง “จุดจบของตาชม”
209
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
210
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
211
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “อับราฮิม”

อับราฮิม มีบุตรเจ็ดคน บุตรเจ็ดคนมีบิดาชื่อ อับราฮิม


ใบงานที่ ไม่มีใครแข็งแรงสักคน
คนหนึงตัวเล็ก คนหนึ่งตัวใหญ่
เรื่อง
212

(ยกมือซ้าย…….ยกมือขวา……ยกขาซ้าย…..ยกขาขวา…..ผงกศีรษะ..…หมุนไปรอบ)
213
ใบความรู้
เรื่อง ตะกร้อ

กีฬาประเภททีม
กีฬาประเภททีม หมายถึง กีฬาที่ใช้ผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมเล่นเป็นทีม
กีฬาบางชนิด อาจเล่นเป็นรายบุคคล หรือเป็นทีมก็ได้
เซปัคตะกร้อ
เซปัคตะกร้อ เป็นการเล่นตะกร้ออีกประเภทหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมการออกกำลังกาย ที่
ดี เป็นกีฬาที่ฝึ กหัดได้ไม่ยากนัก เล่นได้ทั้งที่ร่มและกลางแจ้ง อุปกรณ์ที่ใช้เล่นราคา ก็ไม่แพง
สนามที่ใช้เล่น ไม่จำเป็นต้องกว้างขวางนักสิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเซปัคตะกร้อ มีสิ่งที่ควรทราบดัง
ต่อไปนี้ คือ
1. วิธีเล่นและผู้เล่น
แบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม ทีมละ 3 คน ผู้เล่นคนหนึ่งอยู่ในวงกลมเสิร์ฟ ลูกด้านหลัง
ส่วนผู้เล่นที่เหลืออีก 2 คน ให้ยืนใกล้ๆ กับเส้นแบ่งสนาม ผู้เล่นที่ยืนอยู่ด้านซ้ายเรียกว่า “หน้า
ซ้าย” และอีกคนหนึ่งซึ่งยืนอยู่ในด้านขวาเรียกว่า “หน้าขวา”
2. การเสี่ยงแดน
เมื่อจะเริ่มต้นแข่งขัน ให้ทีมทั้งสองทำการเสี่ยงแดน โดยถือปฏิบัติดังนี้
1. ฝ่ ายที่ชนะในการเสี่ยงมีโอกาสเลือกแดนหรือจะเลือกเสิร์ฟก่อนก็ได้
2.โอกาสในการเลือกแดนหรือเลือกเสิร์ฟ จะทำเฉพาะในเกมแรกเท่านั้น
3. กรรมการผู้ตัดสิน และกรรมการกำกับเส้น
1. กรรมการผู้ตัดสินนั่งอยู่บนเก้าอี้ผู้ตัดสิน ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากเส้นข้าไป แต่อยู่ตรง
ปลายเส้นแบ่งกึ่งกลางสนาม ตรงกันข้ามกับเสาตาข่าย
2.กรรมการกำกับเส้น ทุกมุมสนาม จะต้องมีกรรมการกำกับเส้นมุมละ 1 คน ซึ่งจะ
ต้องนั่งตรงแนวเหนือเส้นข้าง
3.กรรมการกำกับเส้นที่เส้นแบ่งสนาม จะต้องอยู่ตรงข้ามกับกรรมการผู้ตัดสินเหนือ
เส้นแบ่งสนามแต่ใกล้เสาตาข่ายอีกด้านหนึ่ง
214
4. การเสิร์ฟ
มีวิธีปฏิบัติดังนี้
1. ฝ่ ายที่เลือกเสิร์ฟก่อนเป็นผู้เริ่มการเล่น
2. ฝ่ ายที่ชนะในเกมใด จะได้เป็นผู้เสิร์ฟเพื่อเริ่มเล่นในเกมต่อไป
3. ผู้เล่นที่อยู่ในวงกลมสำหรับเสิร์ฟ เมื่อทำการเสิร์ฟจะต้องให้เท้าใด เท้าหนึ่งอยู่ใน
วงกลม
4. ผู้เล่นหน้าขวาหรือหน้าซ้ายของชุดใดชุดหนึ่ง จะทำการส่งลูกเสิร์ฟให้ยืนที่ครึ่ง
วงกลมในแดนของตน
5. ผู้เล่นหน้าขวาหรือซ้าย จะโยนลูกตะกร้อไปให้ผู้เล่นที่วงกลมเสิร์ฟได้
ต้องหลังจากที่ผู้ตัดสินได้ประกาศคะแนนแล้ว ส่วนฝ่ ายตรงข้ามจะยืนรับลูกตรงจุดหนึ่งจุดใดก็ได้
ภายในแดนของตน

ภาพประกอบ การเสิร์ฟ
215
การนับคะแนน
การนับคะแนนมีวิธีปฏิบัติดังนี้
1. ถ้าฝ่ ายรับลูกเสิร์ฟละเมิดกติกาในข้อใดข้อหนึ่ง ฝ่ ายที่กำลังทำการส่งลูกเสิร์ฟจะได้
คะแนนทันที
2. ในแต่ละเกมมี 15 คะแนน
3. ถ้าเกมใดต่างก็ได้ 13 คะแนน หรือ 14 คะแนนเท่ากัน ให้เกมนั้นมีการดิวส์
(Duece) ถ้าได้ 13 คะแนนเท่ากัน ดิวส์ 5 ได้ 14 เท่ากัน ดิวส์ 3 โดยเล่นต่อไปอีก 5 หรือ 3
คะแนนตามลำดับ
4. ถ้าได้ 13 คะแนน หรือ 14 คะแนนเท่ากัน ฝ่ ายที่ทำได้ 13 คะแนน หรือ14
คะแนนก่อนมีสิทธิ์ จะเลือกเอา “ดิวส์” หรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่เอาดิวส์ ให้เล่นต่อไปจนได้ 15
คะแนน (ในกรณีนี้ผู้ตัดสินจะถามความสมัครใจ)
5. ถ้าทั้งสองฝ่ ายต่างชนะฝ่ ายละเกม ให้มีการแข่งขันอีกเกมหนึ่งเป็นเกมสุดท้าย
6. ก่อนที่จะทำการแข่งขันในเกมสุดท้าย ให้หยุดพักได้ไม่เกิน 5 นาที
(เกมแรกแข่งติดต่อกัน)
7. ก่อนที่จะทำการแข่งขันในเกมที่ 2 ให้ทั้งฝ่ ายเปลี่ยนข้าง (แดน) กัน ถ้าต้องมี
แข่งขันในเกมที่ 3 ให้ทั้งชุดเปลี่ยนข้าง (แดน) กันอีกครั้ง ในเมื่อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งทำคะแนนได้
8 คะแนนก่อน
8. ฝ่ ายที่จะชนะการแข่งขัน จะต้องชนะสองเกมติดต่อกัน ถ้าแต่ละฝ่ ายต่างชนะกัน
ฝ่ ายละเกมให้ดำเนินการแข่งขันในเกมที่ 3 ซึ่งเป็นเกมสุดท้าย และฝ่ ายที่ชนะในเกมสุดท้ายนี้
ให้ถือเป็นผู้ที่ชนะการแข่งขันในครั้งนั้น
216
เรื่องสั้น
เรื่อง “จุดจบของตาชม”
ตาชมบ้านอยู่ท้ายซอย มีอาชีพขับรุรับจ้าง แกเป็นคนที่เกลียดสุนัขยิ่งกว่าอะไร
ทั้งหมด วันหนึ่งอีปุยสุนัขเพศเมียสีดำ ได้ออกลูกมา 5 ตัว ลูก ๆ ของมันพากันเดินเข้าไปใน
บ้านของตาชม ขณะที่กำลังนอนหลับอยู่ใต้ต้นไม้ พวกมันก็เดินเข้าไปเลียหน้าแก แกตกใจตื่นพอ
มองเห็นเป็นสุนัข แกก็จับขาของพวกมันแล้วเหวี่ยงลำตัวไปฟาดกับต้นไม้ จนตายคามือทีละตัว
อีปุยเมื่อได้ยินเสียงลูกร้อง ก็วิ่งเข้ามาดูเห็นลูก 4 ตัว นอนตาย อยู่ใต้ต้นไม้ ส่วนอีกตัวกำลังถูก
ฟาดอยู่ มันจึงกระโดดกัดมือตาชมจนตาชมต้องปล่อยมือจากลูกของมัน อีปุยรีบเข้าไปดูลูกโดย
ไม่ได้สนใจตาชมที่เดินมาพร้อมกับมีด แกเงื้อมีดฟันลงที่หัวของอีปุยอย่างแรง ทำให้มันลงไป
นอนดิ้นด้วยความเจ็บปวด ไม่นานมันก็ตายพร้อมกับลูกตัวสุดท้ายของมัน
หลังจากนั้นไม่นาน ตาชมก็ขับรถไปชนต้นไม้ ทำให้ตัวกระเด็นไปฟาดกับต้นไม้
จนกระดูกแหลกไปทั้งตัว และหัวก็แบะ ซึ่งการตายของตาชมครั้งนี้ ก็ได้เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์
ของชาวบ้านละแวกนั้น ต่างก็พูดเสียงเดียวกันว่า เป็นกรรมที่แกกระทำไว้ ดังสุภาษิตที่ว่า

ทำบุญบุญแต่งให้ เป็นผล
คือดั่งเงาตามตน ติดแท้
ผู้ทำสิ่งอกุศล กรรมติด ตามนา
ดุจจักรเกวียนเวียนแล้ ไล่ต้อนตีนโค

คติสอนใจ : ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว


217
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง กีฬาประเภททีม (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
กีฬาประเภททีม เป็นกีฬาที่ใช้ผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป รวมเล่นเป็นทีม มีจำนวนผู้
เล่นตามประเภทกีฬาแต่ละชนิดที่ได้กำหนดไว้ ทำให้ลูกเสือมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์
และเป็นการฝึ กระบบหมู่ลูกเสือด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือเล่นกีฬาประเภททีมแต่ละชนิด ที่กำหนดให้ได้ถูกต้องตามกติกา และบอก
ประโยชน์ของการเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ ได้ ตลอดจนบอกความหมายของ “กีฬาประเภททีม”
(พุทธพิสัย)
1. บอกประเภทของกีฬาประเภททีมได้ (พุทธพิสัย)
2. ลูกเสือเล่นกีฬาประเภททีมได้ (ทักษะพิสัย)
3. ลูกเสือบอกกติกาแข่งขันได้ (พุทธพิสัย)
4. ลูกเสือบอกประโยชน์ที่ได้จากการเล่นกีฬาได้ (พุทธพิสัย)

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของ “กีฬาประเภททีม”
2. กีฬาประเภททีม ได้แก่ เซปักตะกร้อ การวิ่งผลัด
3. กติกาการแข่งขันเซปักตะกร้อ และการวิ่งผลัด
4. ประโยชน์การเล่นกีฬาเซปักตะกร้อ และการวิ่งผลัด

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “สุนัขแย่งหาง”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามกีฬาที่กำหนด “วิ่ง–ผลัด”
ใบงานที่
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็นกลุ่ม
เรื่อง
218
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิ่งผลัด 4 x 100 เมตร
6. ลูกเสือสรุปใบความรู้ เรื่อง วิ่งผลัด 4 x 100 เมตร
7. ลูกเสือแต่ละหมู่คัดตัวแทนเป็นนักกีฬาทีมละ 4 คน เป็น 1 ทีม
8. ให้แข่งขัน 6 ทีม พร้อมจับฉลากหาทีมชนะเลิศ
9. รวมกองลูกเสือ สรุปผลการแข่งขันวิ่งผลัด 4 x 100 เมตร
10. ลูกเสือร่วมกันสรุปความสำคัญของกีฬาประเภททีม
11. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
12. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่ง ผู้บังคับบัญชา
13. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ในโรงเรียน
14 ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
15. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “สุนัขแย่งหาง”
2. ใบความรู้ เรื่อง วิ่งผลัด 4 x 100 เมตร
3. สนามลู่วิ่งกรีฑา
4.เรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
219
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
220
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ....................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
221
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “สุนัขแย่งหาง”

ใบงานที่
เรื่อง
222
ให้ผู้เล่นแบ่งเป็นหมู่ ๆ แล้วใช้มือกอดสะเอวคนข้างหน้า แต่ละแถวควรมีจำนวนผู้
เล่นเท่า ๆ กัน ให้คนข้างหน้าเป็นหัวสุนัข และคนสุดท้ายเป็นหาง วิธีเล่น คนหัวพยายามไปแตะ
คนหางของแต่ละแถว ถ้าใครถูกแตะแถวนั้นก็แพ้

ข้อควรจำ
แต่ละแถวอย่าให้มีผู้เล่นมากเกินไป อย่าเล่นในที่มีสิ่งกีดขวางจะเกิดอันตราย
223

ใบความรู้
เรื่อง วิ่งผลัด 4 x 100 เมตร

การวิ่งผลัด
หมายถึง การวิ่งแข่งขันตามระยะทางที่กำหนดให้ เป็นช่วง ๆ โดยมีผู้แข่งขันเป็นชุด
ๆ แต่ละชุดมีจำนวนผู้แข่งขันเท่า ๆ กัน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป การวิ่งแต่ละช่วงจะมีการรับส่ง
สิ่งของ หรือคทาต่อเนื่องกันไป จนหมดระยะทางที่กำหนดไว้ คือ 4 x 100 เมตร

ทักษะเบื้องต้นในการวิ่งผลัด
1. วิธีถือคทาตั้งต้นออกวิ่ง
การถือคทาตั้งต้นในการออกวิ่งคนแรกนั้นท่าตั้งต้นและการวิ่ง ปฏิบัติเช่นเดียว
กับท่าตั้งต้นวิ่งระยะสั้นทุกประการแต่เพิ่มขึ้นมาก็คือ ต้องถือคทาไว้ด้วย การถือคทา
มีหลายแบบ สุดแต่จะเลือกตามความถนัดของผู้เข้าแข่งขัน แต่มีหลักควรพิจารณาอยู่ว่า
คนที่ออกวิ่งด้วยเท้าขวา มักจะถือคทาด้วยมือซ้าย หรือมือที่เหวี่ยงไปข้างหน้าในขณะที่
เริ่มวิ่งก้าวแรก การที่ไม่ควรถือคทาด้วยมือที่เหวี่ยงไปข้างในก้าวแรก เพราะคทาอาจ
จะหลุดจากมือได้ง่าย เนื่องจากมือที่เหวี่ยงไปข้างหลัง มีความแรงมากกว่าหรือคทาอาจ
จะเหวี่ยง ไปถูกสะโพกทำให้คทาหลุดจากมือได้เช่นกัน ดังนั้น การถือคทาด้วยมือซ้าย
หรือมือที่เหวี่ยงไปข้างหน้า เมื่อใช้เท้ายันพื้นข้างหลัง จึงได้เปรียบด้วยประการทั้งปวง
แต่ในการแข่งขันทั่วไประดับชาติและนานาชาติ ผู้ตั้งต้นในการออกวิ่งคนแรกจะถือคทา
ด้วยมือขวา
2. การออกวิ่ง
ท่าตั้งต้น และการออกวิ่งของคนถือคทาตั้งต้นออกวิ่งคนแรก ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับท่า
ตั้งต้นวิ่งและการออกวิ่งระยะสั้นทั่วไป เพียงแต่เพิ่มการถือคทาและระวังไม่ให้คทาที่อยู่หลุดจาก
มือเท่านั้น
224

ภาพประกอบ การออกวิ่ง

3. วิธีถือคทาในขณะวิ่งและการเปลี่ยนมือ
ขณะที่วิ่งและมือถือคทาอยู่นั้น การแกว่งแขนก็เหมือนกับการแกว่งแขน
วิ่งเร็วระยะสั้นทั่วไป พยายามให้ปลายเท้า ชี้ตรงไปข้างหน้าตามทางวิ่ง เพื่อป้ องกันไม่ให้
คทาถูกร่างกายและหลุดจากมือ
ภาพประกอบ การถือคทาในขณะวิ่งและการเปลี่ยนมือ

สำหรับการเปลี่ยนมือถือคทาขณะวิ่งนั้นโดยปกติแล้ว ผู้ส่งคทาจะส่งคทาด้วยมือ
ซ้าย และผู้รับจะรับคทาด้วยมือขวา เพราะถ้าคนส่งคทาด้วยมือขวาและคนรับ ๆ คทา ด้วยมือขวา
เช่นกัน นอกจากทำให้การรับส่งไม่ถนัดแล้ว อาจจะทำให้ผู้รับและผู้ส่งชนกันเองอีกด้วย การวิ่ง
ผลัดจึงนิยมส่งคทาด้วยมือซ้ายรับด้วยมือขวา หรือส่งคทาด้วยมือขวารับด้วยมือซ้าย ด้วยเหตุนี้จึง
ต้องมีการเปลี่ยนมือถือคทาในขณะวิ่ง การเปลี่ยนมือถือนี้จะทำในช่วงที่แกว่งแขนสลับกันพอดี
อนึ่ง การส่ง และการรับคทาสำหรับการวิ่งระยะสั้น ผู้รับอาจไม่ต้องเปลี่ยนมือ
หลังจากรับแล้วก็ได้ แต่พึงเข้าใจว่า ความถนัดของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงต้อง
ฝึ กซ้อมและเลือกแบบที่ถนัดที่สุดและมีความสัมพันธ์กันอย่างดี
225
4. วิธีส่งและรับคทา
วิธีส่งและรับคทา โดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ
1. แบบงอแขน
2. แบบเหยียดแขน
วิธีรับทั้งแบบงอแขนและเหยียดแขน ผู้รับอาจจะหงายมือ หรือคว่ำมือรับคทา
อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ สำหรับการเรียนกรีฑาในบทนี้ จะกล่าวถึงวิธีรับคทาแบบงอแขนหงายมือ
ซึ่งมีวิธีส่งและรับคทา ดังนี้

วิธีส่งและรับคทาแบบงอแขนหงายมือ
ผู้รับ
เท้า ผู้รับยืนชิดขอบซ้ายของลู่วิ่งเท้าซ้ายอยู่ ภาพประกอบ การยื่นรับคทา
หน้าเท้าขวา ปลายเท้าทั้งสองชี้ตรง แบบงอแขน
เฉียงไปทางขวาเล็กน้อย งอเข่าโน้มตัว
ไปข้างหน้าเล็กน้อย
มือและแขนแขนซ้ายยกขึ้นข้างหน้า ประมาณ
ระดับหน้าผาก งอศอกเล็กน้อย
มือขวาซึ่งใช้รับคทาหงายฝ่ ามือขึ้น
แขนหงายมือ นิ้วทั้ง 5 ชิดกันปลายนิ้วเตะเอวด้านขวา ภาพประกอบ การส่ง
คทา
กางข้อศอกออกให้มากที่สุดแบะข้อศอก
ออกไปข้างหน้าเล็กน้อย
สายตา ก้มศีรษะลงเล็กน้อยสายตามองลอดช่อง
แขนขวา สายตามองข้ามไหล่ขวา
ไปข้างหลัง เพื่อมองดูผู้ส่งคทาที่กำลัง
วิ่งมา
ผู้รับคทา ใช้สายตามองจับอยู่ที่ ๆ หมาย ซึ่งได้ทำเครื่องหมายไว้เมื่อเท้าของผู้ส่งคทา
วิ่งมาเหยียบที่หมาย ผู้รับจะหันหน้าตรงออกวิ่งอย่างเร็ว โดยไม่มองผู้ส่งอีก ขณะวิแขนซ้ายจะ
แกว่งไปมาตามปกติ มือขวาไม่แกว่งไปมาเพราะจะทำให้ผู้ส่ง ๆ คทาได้ยาก
226
ผู้ส่ง
ผู้ส่ง เมื่อวิ่งมาถึงระยะที่จะส่งคทาได้

ภาพประกอบ การส่งและรับคทาแบบ
ให้เหยียดแขนที่ถือคทา ซึ่งเป็น งอแขนหงาย
จังหวะที่แกว่งแขน ไปข้างหน้า
แล้วตีคทา ลงบนฝ่ ามือของผู้รับ
แล้ววิ่งต่อไป โดยชะลอฝี เท้า
ลงเรื่อย ๆ เมื่อผู้ส่งตีคทาลงบน
ฝ่ ามือแล้วผู้รับรีบกำคทาวิ่งต่อไป

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นตะกร้อและการวิ่งผลัด
1. ประโยชน์ทางร่างกาย มีดังนี้
1.1 ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
1.2 ทำให้ระบบการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น
1.3 ทำให้เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายเจริญเติบโตและแข็งแรง
1.4 ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้ดีขึ้น
1.5 ช่วยฝึ กความสัมพันธ์ของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายให้ดีขึ้น
2. ประโยชน์ทางด้านอารมณ์ มีดังนี้
2.1 ทำให้มีอารมณ์สดชื่นแจ่มใส
2.2 เป็นการฝึ กควบคุมอารมณ์ในขณะที่ฝึ กซ้อม และขณะทำการแข่งขัน
2.3 ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทางอารมณ์ ภายหลังจากที่ได้เรียน
3. ประโยชน์ทางด้านสังคม มีดังนี้
3.1 ให้รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3.2 ช่วยให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
3.3 ฝึ กฝนให้รู้จักเสียสละ
3.4 เป็นการพบปะสังสรรค์ในหมู่เพื่อนฝูง และบุคคลอื่น ๆ
4. ประโยชน์ทางด้านจิตใจ มีดังนี้
4.1 ทำให้เกิดความพึงพอใจในความสามารถของตนเอง
4.2 ส่งเสริมให้รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4.3 ทำให้มีปฏิภาณและไหวพริบดี
4.4 ช่วยก่อให้เกิดความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้เล่นอื่น ๆ
5. ประโยชน์ทางด้านเจตคติ มีดังนี้
5.1 ส่งเสริมให้รู้จักสิทธิ์ ของผู้อื่น
5.2 ส่งเสริมให้รู้จักเคารพ กฎ กติกาและการเล่นต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เล่นรู้จัก
ความยุติธรรม
227
5.3 ทักษะที่ได้รับจากการฝึ กซ้อม ย่อมช่วยให้ผู้เล่นสามารถนำไปใช้ ให้เป็น
ประโยชน์ในทางนันทนาการได้
5.4 ช่วยทำให้ปัญหาทางสังคมลดน้อยลง เพราะมีโอกาสได้แสดงในทางกีฬา
228
เรื่องสั้น
เรื่อง “ความสามัคคี”
วันหนึ่ง นกกระจอกอ้วนกับนกกระจอกผอมเกิดทะเลาะกันด้วยเหตุผลว่า ใครที่มี
ความสามารถมากกว่ากัน จึงทำให้ทั้งสองและพวกผิดใจกัน ครั้นเวลาไปหาอาหาร นก
กระจอกผอมจะไปหากินก่อน แล้วหลังจากนั้นนกกระจอกอ้วนก็จะไปหากิน
เช้าวันหนึ่ง นกกระจอกผอมไปหากิน ส่วนนายพรานก็มาจับนกกระจอก
พอนายพรานเหวี่ยงแหไปนกกระจอกผอมพยายามจะบินยกแห แต่ก็ไม่สามารถยกแหได้ นก
กระจอกจึงถูกนายพรานจับไปส่วนหนึ่ง เวลาต่อมา นกกระจอกอ้วนก็มาหาอาหาร นาย
พรานก็มาจับนกอีก นกกระจอกอ้วนพยายามบินยกแหออก แต่ก็ไม่สามารถทำได้ จึงถูกนาย
พรานจับไปส่วนหนึ่งเช่นกัน
ข่าวนี้ได้ทราบถึงพญานกกระจอก ๆ จึงได้สอนนกกระจอกทั้งหลายว่า ถ้าเจ้า
สามัคคีดังเช่นเมื่อก่อน เจ้าก็จะไม่ถูกนายพรานจับไป ตั้งแต่นั้นมานกกระจอกอ้วนและนก
กระจอกผอมก็สามัคคีกันเรื่อยมา และอยู่กันอย่างมีความสุข

คติสอนใจ : สามัคคีคือพลังที่ยิ่งใหญ่
229
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ระเบียบแถวและสัญญาณมือ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึ กระเบียบแถวเป็นการฝึ กให้ลูกเสือมีระเบียบ มีวินัย มีความอดทน และยัง
ทำให้ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำสั่ง และสัญญาณต่าง ๆ ทำให้เกิดความรับผิดชอบ
และความสามัคคีในหมู่คณะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณคำสั่งของผู้กำกับลูกเสือ จัดรูปแถวเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
2. ลูกเสือจัดแถวรูปแบบต่าง ๆ ได้
3. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณ คำสั่งของผู้กำกับได้
4. ลูกเสือเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้
3. สาระการเรียนรู้
1. สัญญาณมือและคำสั่ง
2. แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
3. แถวตอน
4. แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
5. แถวรูปครึ่งวงกลม
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สัญญาณนกหวีด
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปศึกษาจากใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ และฝึ กปฏิบัติ
โดยผู้กำกับลูกเสือ เป็นผู้ให้สัญญาณในการเปลี่ยนฐาน
– ฐานที่รวม เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
– ฐานที่ 4 ใบความรู้ เรื่อง แถวครึ่งวงกลม
6. ผู้กำกับกล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
230
7. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1.เอกสารสำหรับรองผู้กำกับลูกเสือ
2. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
3. ใบความรู้ เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
4. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
5. ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน 2
6. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
7. ใบความรู้ เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
8. นกหวีด
9. รูปภาพแสดงการใช้สัญญาณมือ
10. เรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
231
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูก
เสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1.ให้ลูกเสือศึกษารายละเอียดในหนังสือแบบเรียนวิชากิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
จากห้องสมุด
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้องเตรียมรายละเอียดในการสอนก่อนการสอนทุกครั้ง
3. ลูกเสือทุกหมู่ฝึ กปฏิบัติระเบียบแถวและสัญญาณมือเพื่อการประกวดในโอกาส
เหมาะสม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมอบเกียรติบัตรให้แก่หมู่ลูกเสือที่ชนะเลิศการแข่งขัน
232
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
233
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./……

เพลง “สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดออกไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันข้าแถวทันใด
234
เป่ ายาวนั้นไซร้ เราต้องรีบไป เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นสามยาวหนึ่ง
ลูกเสือเราพึงจดจำ คำนึง นี่คือสัญญาณ

ใบความรู้
เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
ระเบียบแถว
การฝึ กระเบียบแถวลูกเสือ มีความมุ่งหมายโดยทั่วไปเพื่อฝึ กให้ลูกเสือเป็นระเบียบ
วินัยอันดีงาม รู้จักฟังคำบอก คำสั่ง และปฏิบัติตามได้โดยถูกต้องมุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะ
อดทน
235

สัญญาณมือ
1. เตรียม คอยฟังคำสั่งหรือหยุด เหยียดแขนขวาขึ้นตรงเหนือศีรษะ มือแบห้านิ้วชิด
กันหันฝ่ ามือไปข้างหน้า ลูกเสือหยุดการเคลื่อนไหวหรือการกระทำใด ๆ ทั้งสิ้น ถ้าลูกเสือใน
แถวจะยืนอยู่ท่าตรง
2. รวมหรือกลับมา เหยียดแขนขวามือขึ้นตรงเหนือศีรษะมือแบ หมุนเป็น
วงกลมเหมือนการหมุนของนาฬิกา
3. จัดแถวหน้ากระดาน เหยียดแขนทั้งสองไปด้านข้างลำตัวเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ
แบไปข้างหน้า จัดแถวหน้ากระดานให้กลางแถวหันหน้าตรงหน้าผู้เรียก ห่าง 6 ก้าว
4. จัดแถวตอน เหยียดแขนทั้งสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกัน
ฝ่ ามือแบเข้าหากัน
5. เคลื่อนไปข้างหน้า ทางขวา (ซ้าย) กึ่งขวา กึ่งซ้ายหรือไปทางหลังผู้ให้สัญญาณ
หันหน้าไปยังทิศทางที่ต้องการ ชูแขนขึ้นเหนือศีรษะ ฝ่ ามือแบไปข้างหน้าแล้วลดแขนลงข้างหน้า
สมอแนวบ่า
6. หมอบลงหรือเข้าที่กำบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ แบ
คว่ำลดแขนลงข้างหน้าแล้วกลับที่เดิมหลาย ๆ ครั้ง
7. เร่งจังหวะหรือเร็วขึ้น แขนขวางอมือกำเสมอบ่าชูขึ้นตรงเหนือศีรษะแล้วลดลง
หลายครั้ง

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปทางข้างเสมอไหล่ มือแบ นิ้วทั้งห้าชิดกันหัน


ฝ่ ามือไปด้านหน้า
การเข้าแถว ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก กึ่งกลางของแถวอยู่ห่างผู้เรียกประมาณ
6 ก้าว หันหน้าเข้าหาผู้เรียก

การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ให้ฝ่ ามือพักอยู่บนสะโพกนิ้วมือ


เหยียดชิดปลายนิ้วชี้ลงพื้น ข้อศอกเสมอลำตัว ไม่เว้นระยะเคียงระหว่างหมู่
236

ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงสะบัดหน้ากลับและนิ่งอยู่ในท่า


ตรง (ยกเว้นนายหมู่คนแรกไม่ต้องสะบัดหน้า รองนายหมู่คนสุดท้ายไม่ต้องยกศอกขึ้น)

รูปภาพ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ใบความรู้
เรื่อง แถวตอน

ผู้เรียก ยกแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าเสมอไหล่ หันฝ่ ามือเข้าหากัน นิ้วเรียง ชิดติดกัน


การเข้าแถว ให้นายหมู่วิ่งมาเข้าแถวหันหน้าเข้าหาผู้เรียกลูกหมู่ยืนต่อด้านหลังไปตามลำดับหมู่ที่
ตรงกลางให้อยู่ตรงหน้าผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว จัดระยะต่อระหว่างหมู่ 1 ช่วงศอก ระหว่างบุคคล 1 ช่วงแขน
ผู้เรียกแถว ผู้เรียกเห็นว่าเรียบร้อยแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือลดมือลงพร้อมสะบัดหน้ากลับในท่า
ตรงและนิ่ง

รูปภาพ แถวตอน
237

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

ผู้เรียก กำมือทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอข้อศอกขึ้น


เป็นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ในหมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียก ให้กึ่งกลางของหมู่
ตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไป ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดานด้านหลังหมู่ 1
ตามลำดับ ระยะระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าตะโพก สะบัดหน้าไป
ทางขวา
ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงพร้อมกับสะบัด
หน้ามาอยู่ในท่าตรง

รูปภาพ การเข้าแถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ


238
239

ใบความรู้
เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม

ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้าง เหยียดตรงลงข่างล่าง คว่ำฝ่ ามือเข้าหาลำตัว โบก


มือผ่านลำตัวประสานกับด้านหน้าช้า ๆ เป็นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ 1 อยู่ซ้ายมือผู้เรียก โดยนายหมู่อยู่แถวเดียวกับผู้เรียก
หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับ จนรอง
นายหมู่สุดท้ายของหมู่สุดท้ายอยู่แนวเดียวกับผู้เรียก โดยผู้เรียกเป็น
จุดศูนย์กลาง
การจัดแถว ระยะต่อระหว่างบุคคล และระหว่างหมู่ห่างกัน 1 ช่วงศอก
ผู้เรียกแถว สั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทำท่าตรงพร้อม ๆ กัน

รูปภาพ การข้าแถวรูปครึ่งวงกลม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความสามัคคี”

ในสมัยก่อนพุทะกาล ในป่ าแห่งหนึ่ง มีฝูงนกกระจอกฝูงหนึ่ง ฝูงนี้มีจ่าฝูงเป็นพญา


นกกระจอก ทุกวันนกกระจอกฝูงนี้จะไปหาอาหารกินที่ต้นโพธิ์ มีนายพรานผู้หนึ่งจะนำแหมาหวี่
240
ยงให้คลุมต้นโพธิ์ แต่นกกระจอกก็สามารถบินยกแหออกไปได้ วันหนึ่ง นกกระจอกอ้วนกับ
นกกระจอกผอม เกิดทะเลาะกันด้วยเหตุผลว่า ใครที่มีความสามารถมากกว่ากันจึงทำให้ทั้งสอง
และพวกผิดใจกัน ครั้นเวลาไปหาอาหาร นกกระจอกผอมจะไปหากินก่อนแล้วหลังจากนั้นนก
กระจอกอ้วนก็จะไปหากิน
เช้าวันหนึ่ง นกกระจอกผอมไปหากิน ส่วนนายพรานก็มาจับนกกระจอก พอ
นายพรานเหวี่ยงแหไป นกกระจอกผอมพยายามจะบินยกแห แต่ก็ไม่สามารถยกแหได้ นก
กระจอกจึงถูกนายพรานจับไปส่วนหนึ่ง เวลาต่อมา นกกระจอกอ้วนก็มาหาอาหาร นาย
พรานก็มาจับนกอีก นกกระจอกอ้วนพยายามบินยกแหออกแต่ก็ไม่สามารถทำได้ จึงถูกนายพราน
จับไปส่วนหนึ่งเช่นกัน
ข่าวนี้ได้ทราบถึงพญานกกระจอก พญานกกระจอกจึงได้สอนนกกระจอกทั้งหลาย
ว่า ถ้าเจ้าสามัคคีกันดังเช่นเมื่อก่อน เจ้าก็จะไม่ถูกนายพรานจับไป ตั้งแต่นั้นมานกกระจอกอ้วน
และนกกระจอกผอมก็สามัคคีกันเรื่อยมา และอยู่กันอย่างมีความสุข

(จากเรื่องนี้จะเห็นได้ชัดในเรื่องของความสามัคคีก่อให้เกิดพลังหมู่ใดคณะใดหากแตก
ความสามัคคีกันแล้ว ก็ไม่อาจทำให้งานที่กระทำนั้นเสร็จลุล่วงไปได้)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ระเบียบแถวและสัญญาณมือ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การฝึ กระเบียบแถวเป็นการฝึ กให้ลูกเสือมีระเบียบ มีวินัย มีความอดทน และยัง
ทำให้ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักฟังคำสั่ง และสัญญาณต่าง ๆ ทำให้เกิดความรับผิดชอบ
และความสามัคคีในหมู่คณะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
241
1. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณคำสั่งของผู้กำกับลูกเสือ จัดรูปแถวเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
2. ลูกเสือจัดแถวรูปแบบต่าง ๆ ได้
3. ลูกเสือปฏิบัติตามสัญญาณ คำสั่งของผู้กำกับได้
4. ลูกเสือเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้
3. สาระการเรียนรู้
1. สัญญาณมือและคำสั่ง
2. แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
3. แถวตอน
4. แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ
5. แถวรูปครึ่งวงกลม
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “สัญญาณนกหวีด
3. เรียกลูกเสือรวมกอง ทบทวนกิจกรรมในชั่วโมงที่ผ่านมา
4. แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม ฝึ กปฏิบัติต่อจากชั่วโมงที่แล้วจนเกิดความชำนาญ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มแยกไปศึกษาจากใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ
โดยผู้กำกับลูกเสือ เป็นผู้ให้สัญญาณในการเปลี่ยนฐาน
– ฐานที่รวม เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
– ฐานที่ 4 ใบความรู้ เรื่อง แถวครึ่งวงกลม
6. เรียกลูกเสือรวมกองและร่วมกันสรุปความสำคัญของฐานต่าง ๆ
7. ผู้กำกับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
8. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่งผู้กำกับ
9. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ห้องเรียนของตนเอง
10. ผู้กำกับกล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1.เอกสารสำหรับรองผู้กำกับลูกเสือ
2. เพลง “สัญญาณนกหวีด”
3. ใบความรู้ เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง
4. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
5. ใบความรู้ เรื่อง แถวตอน 2
6. ใบความรู้ เรื่อง แถวหน้ากระดานปิ ดระยะ
242
7. ใบความรู้ เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม
8. นกหวีด
9. รูปภาพแสดงการใช้สัญญาณมือ
10. เรื่องสั้น เรื่อง “ความสามัคคี”
243
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูก
เสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1.ให้ลูกเสือศึกษารายละเอียดในหนังสือแบบเรียนวิชากิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
จากห้องสมุด
2. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้องเตรียมรายละเอียดในการสอนก่อนการสอนทุกครั้ง
3. ลูกเสือทุกหมู่ฝึ กปฏิบัติระเบียบแถวและสัญญาณมือเพื่อการประกวดในโอกาส
เหมาะสม
4. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมอบเกียรติบัตรให้แก่หมู่ลูกเสือที่ชนะเลิศการแข่งขัน
244
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
245
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./……

เพลง “สัญญาณนกหวีด”

ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดออกไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันข้าแถวทันใด
246
เป่ ายาวนั้นไซร้ เราต้องรีบไป เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นสามยาวหนึ่ง
ลูกเสือเราพึงจดจำ คำนึง นี่คือสัญญาณ

ใบความรู้
เรื่อง สัญญาณมือและคำสั่ง

ระเบียบแถว
การฝึ กระเบียบแถวลูกเสือ มีความมุ่งหมายโดยทั่วไปเพื่อฝึ กให้ลูกเสือเป็นระเบียบ
วินัยอันดีงาม รู้จักฟังคำบอก คำสั่ง และปฏิบัติตามได้โดยถูกต้องมุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะ
อดทน
247

สัญญาณมือ
1. เตรียม คอยฟังคำสั่งหรือหยุด เหยียดแขนขวาขึ้นตรงเหนือศีรษะ มือแบห้านิ้วชิด
กันหันฝ่ ามือไปข้างหน้า ลูกเสือหยุดการเคลื่อนไหวหรือการกระทำใด ๆ ทั้งสิ้น ถ้าลูกเสือใน
แถวจะยืนอยู่ท่าตรง
2. รวมหรือกลับมา เหยียดแขนขวามือขึ้นตรงเหนือศีรษะมือแบ หมุนเป็น
วงกลมเหมือนการหมุนของนาฬิกา
3. จัดแถวหน้ากระดาน เหยียดแขนทั้งสองไปด้านข้างลำตัวเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ
แบไปข้างหน้า จัดแถวหน้ากระดานให้กลางแถวหันหน้าตรงหน้าผู้เรียก ห่าง 6 ก้าว
4. จัดแถวตอน เหยียดแขนทั้งสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกัน
ฝ่ ามือแบเข้าหากัน
5. เคลื่อนไปข้างหน้า ทางขวา (ซ้าย) กึ่งขวา กึ่งซ้ายหรือไปทางหลังผู้ให้สัญญาณ
หันหน้าไปยังทิศทางที่ต้องการ ชูแขนขึ้นเหนือศีรษะ ฝ่ ามือแบไปข้างหน้าแล้วลดแขนลงข้างหน้า
สมอแนวบ่า
6. หมอบลงหรือเข้าที่กำบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ ฝ่ ามือ แบ
คว่ำลดแขนลงข้างหน้าแล้วกลับที่เดิมหลาย ๆ ครั้ง
7. เร่งจังหวะหรือเร็วขึ้น แขนขวางอมือกำเสมอบ่าชูขึ้นตรงเหนือศีรษะแล้วลดลง
หลายครั้ง

ใบงาน
เรื่อง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ผู้เรียก เหยียดแขนทั้งสองออกไปทางข้างเสมอไหล่ มือแบ นิ้วทั้งห้าชิดกันหัน


ฝ่ ามือไปด้านหน้า
การเข้าแถว ให้มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก กึ่งกลางของแถวอยู่ห่างผู้เรียกประมาณ
6 ก้าว หันหน้าเข้าหาผู้เรียก

การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก ให้ฝ่ ามือพักอยู่บนสะโพกนิ้วมือ


เหยียดชิดปลายนิ้วชี้ลงพื้น ข้อศอกเสมอลำตัว ไม่เว้นระยะเคียงระหว่างหมู่
248

ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงสะบัดหน้ากลับและนิ่งอยู่ในท่า


ตรง (ยกเว้นนายหมู่คนแรกไม่ต้องสะบัดหน้า รองนายหมู่คนสุดท้ายไม่ต้องยกศอกขึ้น)

รูปภาพ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

ใบความรู้
เรื่อง แถวตอน

ผู้เรียก ยกแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้าเสมอไหล่ หันฝ่ ามือเข้าหากัน นิ้วเรียง ชิดติดกัน


การเข้าแถว ให้นายหมู่วิ่งมาเข้าแถวหันหน้าเข้าหาผู้เรียกลูกหมู่ยืนต่อด้านหลังไปตามลำดับหมู่ที่
ตรงกลางให้อยู่ตรงหน้าผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว
การจัดแถว จัดระยะต่อระหว่างหมู่ 1 ช่วงศอก ระหว่างบุคคล 1 ช่วงแขน
ผู้เรียกแถว ผู้เรียกเห็นว่าเรียบร้อยแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือลดมือลงพร้อมสะบัดหน้ากลับในท่า
ตรงและนิ่ง

รูปภาพ แถวตอน
249

ใบความรู้
เรื่อง แถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ

ผู้เรียก กำมือทั้งสองข้าง เหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพื้น งอข้อศอกขึ้น


เป็นมุมฉากหันหน้ามือเข้าหากัน
การเข้าแถว ในหมู่ที่ 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานหน้าผู้เรียก ให้กึ่งกลางของหมู่
ตรงหน้าผู้เรียก ห่างประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไป ไปเข้าแถวหมู่หน้ากระดานด้านหลังหมู่ 1
ตามลำดับ ระยะระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน
การจัดแถว ระยะเคียงระหว่างบุคคลในหมู่ยกมือซ้ายขึ้นเท้าตะโพก สะบัดหน้าไป
ทางขวา
ผู้เรียกแถว จัดการตรวจแถว แล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดมือลงพร้อมกับสะบัด
หน้ามาอยู่ในท่าตรง

รูปภาพ การเข้าแถวหน้ากระดานหมู่ปิ ดระยะ


250
251

ใบความรู้
เรื่อง แถวรูปครึ่งวงกลม

ผู้เรียก มือแบทั้งสองข้าง เหยียดตรงลงข่างล่าง คว่ำฝ่ ามือเข้าหาลำตัว โบก


มือผ่านลำตัวประสานกับด้านหน้าช้า ๆ เป็นรูปครึ่งวงกลม
การเข้าแถว ให้หมู่ 1 อยู่ซ้ายมือผู้เรียก โดยนายหมู่อยู่แถวเดียวกับผู้เรียก
หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป ไปอยู่ทางซ้ายของหมู่ที่ 1 ตามลำดับ จนรอง
นายหมู่สุดท้ายของหมู่สุดท้ายอยู่แนวเดียวกับผู้เรียก โดยผู้เรียกเป็น
จุดศูนย์กลาง
การจัดแถว ระยะต่อระหว่างบุคคล และระหว่างหมู่ห่างกัน 1 ช่วงศอก
ผู้เรียกแถว สั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทำท่าตรงพร้อม ๆ กัน

รูปภาพ การข้าแถวรูปครึ่งวงกลม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความสามัคคี”

ในสมัยก่อนพุทะกาล ในป่ าแห่งหนึ่ง มีฝูงนกกระจอกฝูงหนึ่ง ฝูงนี้มีจ่าฝูงเป็นพญา


นกกระจอก ทุกวันนกกระจอกฝูงนี้จะไปหาอาหารกินที่ต้นโพธิ์ มีนายพรานผู้หนึ่งจะนำแหมาหวี่
252
ยงให้คลุมต้นโพธิ์ แต่นกกระจอกก็สามารถบินยกแหออกไปได้ วันหนึ่ง นกกระจอกอ้วนกับ
นกกระจอกผอม เกิดทะเลาะกันด้วยเหตุผลว่า ใครที่มีความสามารถมากกว่ากันจึงทำให้ทั้งสอง
และพวกผิดใจกัน ครั้นเวลาไปหาอาหาร นกกระจอกผอมจะไปหากินก่อนแล้วหลังจากนั้นนก
กระจอกอ้วนก็จะไปหากิน
เช้าวันหนึ่ง นกกระจอกผอมไปหากิน ส่วนนายพรานก็มาจับนกกระจอก พอ
นายพรานเหวี่ยงแหไป นกกระจอกผอมพยายามจะบินยกแห แต่ก็ไม่สามารถยกแหได้ นก
กระจอกจึงถูกนายพรานจับไปส่วนหนึ่ง เวลาต่อมา นกกระจอกอ้วนก็มาหาอาหาร นาย
พรานก็มาจับนกอีก นกกระจอกอ้วนพยายามบินยกแหออกแต่ก็ไม่สามารถทำได้ จึงถูกนายพราน
จับไปส่วนหนึ่งเช่นกัน
ข่าวนี้ได้ทราบถึงพญานกกระจอก พญานกกระจอกจึงได้สอนนกกระจอกทั้งหลาย
ว่า ถ้าเจ้าสามัคคีกันดังเช่นเมื่อก่อน เจ้าก็จะไม่ถูกนายพรานจับไป ตั้งแต่นั้นมานกกระจอกอ้วน
และนกกระจอกผอมก็สามัคคีกันเรื่อยมา และอยู่กันอย่างมีความสุข

(จากเรื่องนี้จะเห็นได้ชัดในเรื่องของความสามัคคีก่อให้เกิดพลังหมู่ใดคณะใดหากแตก
ความสามัคคีกันแล้ว ก็ไม่อาจทำให้งานที่กระทำนั้นเสร็จลุล่วงไปได้)
253
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง หลักธรรมชาติทางศาสนากับการแก้ปัญหาทางสังคม เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ศาสนาเป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เกิดจากการที่
บุคคลไม่ปฏิบัติตามหลักคำสอนในศาสนา ลูกเสือควรเรียนรู้หลักธรรมทางศาสนา เพื่อนำ
หลักธรรมในศาสนาไปใช้แก้ปัญหาที่เกิดกับตนเองและสังคมได้

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ลูกเสือบอกหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ นำไปแก้ปัญหาให้กับตนเองและสังคม
ได้ ตลอดจนบอกหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือได้
1. บอกปัญหาในสังคมที่เกิดขึ้นว่าขัดต่อหลักธรรมศาสนาแต่ละศาสนาได้
2. บอกวิธีการนำหลักธรรมในศาสนาแก้ปัญหาที่เกิดกับตนเองและสังคมได้

3. สาระการเรียนรู้
1. หลักธรรมของศาสนา
2. ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมในปัจจุบัน
3. วิธีการนำหลักธรรมแก้ปัญหาต่าง ๆ

4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้อง เพลง “วชิราวุธ” เรียกลูกเสือรวมกอง
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
4. ลูกเสือทุกคนร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง หลักธรรมทางศาสนา
กับการแก้ปัญหาสังคมและนำไปใช้ประกอบในการปฏิบัติกิจกรรมตามฐาน
254
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน เพื่อปฏิบัติกิจกรรมทั้ง 3 ฐาน
7. ลูกเสือปฏิบัติฐานละ 6 นาที
– ฐานที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงาน
เรื่อง การอภิปรายปัญหา (อภิปรายสภาพปัญหาต่าง ๆ และ
วิธีการแก้ไขปัญหาในสังคมโดยใช้คำปฏิญาณ–กฎของลูกเสือ)
– ฐานที่ 2 ใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงาน
เรื่อง ข้อเปรียบเทียบคำปฏิญาณของลูกเสือที่สอดคล้องกับ
หลักธรรม (รวบรวม ข้อเปรียบเทียบคำปฏิญาณของลูกเสือ
ที่สอดคล้องกับหลักธรรม)
– ฐานที่ 3 ใบความรู้ เรื่อง ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมใบงาน
เรื่อง ข้อเปรียบเทียบกฎของลูกเสือที่สอดคล้องกับหลักธรรม

8. รวมกองลูกเสือและสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้น เรื่อง “ความซื่อสัตย์”
10. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
11. ผู้บังคับบัญชาสรุปคติสอนใจและให้ข้อคิด
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
13. พิธีปิ ดประชุมกอง
255
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เอกสารเพลง “ลูกเสือธีรราช”
3. ใบความรู้ เรื่อง หลักธรรมทางศาสนากับการแก้ปัญหาสังคม
4. ใบงาน เรื่อง การอภิปรายปัญหา
5. ใบงาน เรื่อง ข้อเปรียบเทียบคำปฏิญาณของลูกเสือที่สอดคล้องกับหลักธรรม
6. ใบงาน เรื่อง ข้อเปรียบเทียบกฎของลูกเสือที่สอดคล้องกับหลักธรรม
7. เรื่องสั้น เรื่อง “ความซื่อสัตย์”
256
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
257
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
258
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “วชิราวุธ”

วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าประชา ก่อกำเนิดลูกเสือมาข้าเลื่อมใส
259
พวกเราลูกเสือเชื้อชาติไทย เทอดเกียรติพระองค์ไว้ด้วยภักดี
ลูกเสือรำลึกนึกพระคุณเทิดบูชา ปฏิญาณรักกษัตริย์ ชาติ ศาสน์ศรี
มาเถิดลูกเสือสร้างความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทยดังใจปอง
260

ใบความรู้
เรื่อง หลักธรรมทางศาสนากับการแก้ปัญหาสังคม

โดยปกติคนส่วนใหญ่ก็ได้ปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาอยู่แล้ว เช่น ลูกเสือหรือ


นักเรียนที่ตื่นแต่เช้าตรู่ทุกวัน เพื่อช่วยพ่อแม่เท่าที่พอจะช่วยได้ เพื่อแบ่งเบาภาระ ของท่าน
เช่น ช่วยปัดกวาดเช็ดถูบ้าน หุงข้าวและเตรียมตัวไปโรงเรียนอย่างนี้ถือว่า เป็นผู้ที่มีความขยัน
หมั่นเพียรซึ่งตรงกับหลักธรรมทางศาสนาว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ หลักการสร้างฐานะของ
ตนเองข้อที่ 1 คือ อัฏฐานสัมปทา การถึงพร้อมด้วยความขยัน หมั่นเพียร และการดำรงตนอยู่
ใน อัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาทในชีวิต มีสติเตือนตนอยู่เสมอ
การปฏิบัติในสิ่งที่ถูกที่ควร แต่ไม่รู้ว่าเป็นหลักธรรมข้อใด ย่อมจะดีกว่าผู้ที่รู้แล้ว
ยังฝ่ าฝื น หรือไม่นำพาต่อคำสอนหรือต่อระเบียบข้อบังคับ
กฎของลูกเสือทั้ง 10 ข้อ นั้นจะเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี และเป็น
หลักสากลที่เข้ากันได้กับหลักธรรมของทุก ๆ ศาสนา ซึ่งถ้าหากลูกเสือได้ปฏิบัติตามกฎของลูก
เสือครบถ้วนแล้วนอกจากจะได้รับการยกย่องว่าเป็นลูกเสือที่ดี และเป็นลูกเสือด้วยวิญญาณ คือ
เข้าถึงอุดมการณ์ของลูกเสือแล้วยังได้ชื่อว่า เป็นพลเมืองดีและเป็นศาสนิกชนที่ดีอีกด้วย

สภาพปัญหาสังคมในปัจจุบัน
– เกิดการฆ่ากันตายตามข่าวหนังสือพิมพ์ทุกวันก็เพราะคนไม่ปฏิบัติตามศีลข้อที่ 1
– การขโมย การปล้นจี้ วิ่งราวทรัพย์กันเป็นประจำก็เพราะไม่ปฏิบัติตามศีลข้อที่ 2
– ผู้ที่ชอบประพฤติผิดลูกผิดเมียของผู้อื่นก็เพราะไม่ประพฤติตามศีล ข้อที่ 3
– การโกหกหลอกลวง ต้มตุ๋นคนงานไปทำงานต่างประเทศ ต้องสูญเสียเงิน
เป็นจำนวนมาก ก็เพราะไม่ปฏิบัติตามศีลข้อที่ 4
– การเสพของมึนเมาต่าง ๆ ก็ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาททำให้บาดเจ็บล้มตาย
หรือสูญเสียทรัพย์สิน ก็เพราะไม่ปฏิบัติตามศีลข้อที่ 5
จากที่กล่าวมานั้น พอจะเป็นตัวอย่างที่ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจน อันเนื่องมาจาก
ไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาแก่ตัวเอง และส่งผลกระทบถึงสังคม
ส่วนรวมอีกด้วย

จากหลักการทางศาสนาทุกศาสนาในโลกนี้ สอนให้คนทำแต่ความดี มีเมตตา


กรุณาและเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่แก่เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ละเว้นจากความชั่ว ไม่เบียดเบียน
ซึ่งกันและกันทำจิตให้ผ่องใส ซึ่งถ้าหากทุกคนสามารถปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนา
ได้เป็นอย่างดีแล้วปัญหาต่าง ๆ ในสังคมก็คงจะไม่เกิดขึ้น หรือถ้าเกิดขึ้นก็คงจะมีน้อย
261

ใบงาน
เรื่อง อภิปรายสภาพปัญหาต่าง ๆ ในสังคมและวิธีแก้ไข

ให้ลูกเสืออภิปรายสภาพปัญหาต่าง ๆ ในสังคมและหาวิธีแก้ไข โดยใช้


คำปฏิญาณ –กฎของลูกเสือ

ผลการอภิปราย

1……………………………………………………………………………………….
2……………………………………………………………………………………….
262
3……………………………………………………………………………………….
4……………………………………………………………………………………….
5……………………………………………………………………………………….
6……………………………………………………………………………………….
7……………………………………………………………………………………….
8……………………………………………………………………………………….
9……………………………………………………………………………………….
10……………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………นายหมู่
(…………………………………..)
ชื่อหมู่………………………………หมู่ที่…….

ใบงาน
เรื่อง เปรียบเทียบคำปฏิญาณ ของลูกเสือให้สอดคล้องกับหลักธรรม

ให้ลูกเสือรวบรวมข้อเปรียบเทียบคำปฏิญาณ ของลูกเสือที่สอดคล้องกับหลักธรรม

ผลการอภิปราย

1……………………………………………………………………………………….
2……………………………………………………………………………………….
3……………………………………………………………………………………….
4……………………………………………………………………………………….
5……………………………………………………………………………………….
6……………………………………………………………………………………….
7……………………………………………………………………………………….
263
8……………………………………………………………………………………….
9……………………………………………………………………………………….
10……………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………นายหมู่
(…………………………………..)
ชื่อหมู่………………………………หมู่ที่…….

ใบงาน
เรื่อง เปรียบเทียบกฎของลูกเสือให้สอดคล้องกับหลักธรรม

ให้ลูกเสือเปรียบเทียบกฎของลูกเสือให้สอดคล้องกับหลักธรรม

ผลการอภิปราย

1……………………………………………………………………………………….
2……………………………………………………………………………………….
3……………………………………………………………………………………….
4……………………………………………………………………………………….
5……………………………………………………………………………………….
6……………………………………………………………………………………….
7……………………………………………………………………………………….
8……………………………………………………………………………………….
9……………………………………………………………………………………….
10……………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ………………………………นายหมู่
264
(…………………………………..)
ชื่อหมู่………………………………หมู่ที่…….

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความซื่อสัตย์”

มั่น เป็นชื่อของชายหนุ่มคนหนึ่ง มั่นได้ไปเรียนวิชาจากอาจารย์คนหนึ่ง วันที่ มั่น


เรียนจบ อาจารย์ได้บอกว่า เจ้าจงจำไว้ว่า ความซื่อสัตย์จะทำให้เจ้าพบความสำเร็จ นายมั่นจึง
ได้เดินทางไปหางานทำ ระหกว่างทางมั่นได้พบชายชรา ซึ่งชายชราได้สะพายย่ามมาด้วย 1 ใบ
นายมั่นถามชายคนนั้นว่าจะไปไหน ชายชราบอกว่าจะนำย่ามใบนี้ไปให้ชายชื่อ คง ที่หัวเมือง
นายมั่นอาสาจะนำย่ามไปให้นายคงแทนชายชรา ชายชราสั่งว่าระหว่างทางห้ามเปิ ดย่ามใบนี้ดู
นายมั่นก็รับปากว่าจะไม่ดู ระหว่างทางที่จะไปหัวเมือง นายมั่นพบชายคนหนึ่ง เขามาขอซื้อย่าม
ใบนี้ด้วยเงินมหาศาล นายมั่นก็บอกว่าไม่ขาย เพราะมีชายชราคนหนึ่งให้เขานำไปให้นายคงที่หัว
เมือง แล้วนายมั่นก็เดินทางต่อ นายมั่นก็ได้พบชายอีกคนหนึ่งมาขอซื้อย่าม โดยเสนอให้ว่าจะ
ซื้อโดยนำทองมาใส่ย่ามจนเต็ม นายมั่นก็ไม่ขาย โดยให้เหตุผลเหมือนชายคนแรก นายมั่นคิด
ว่าในย่ามใบนี้มีอะไรหนอทำไมจึงมีค่ามากกมายนัก นายมั่นคิดจะเปิ ดดู แต่นึกได้ว่ารับปากกับ
ชายชราไว้ว่าจะไม่เปิ ดย่ามดู นายมั่นเดินทางไปจนถึงหัวเมือง ที่นั่นนายมั่นได้พบกับอาจารย์
ของเขา นายมั่นก็เข้าไปถามหาชายชื่อ คง กับอาจารย์ของเขา อาจารย์บอกว่าข้านี่แหละชื่อ คง
ต้องการเห็นความซื่อสัตย์ของเจ้า จึงออกอุบายเช่นนี้ และอาจารย์ก็ให้นายมั่นเปิ ดย่ามดู มั่นก็
พบรายละเอียด

คติสอนใจ : “ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน”


265

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง หลักธรรมทางศาสนากับคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือพึงศึกษาให้รู้หลักธรรมคำสอนศาสนาที่ตนนับถือ และรู้ถึงความสอดคล้องของ
หลักธรรมคำสอนของศาสนากับคำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ เพื่อใช้ประกอบในชีวิตประจำวัน
ได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่มี ความสอดคล้องกับคำปฏิญาณและกฎ
ของลูกเสือได้ ตลอดจนบอกหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือได้
1. บอกคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือได้
2. บอกความสอดคล้องของคำปฏิญาณกับหลักธรรมทางศาสนาได้
3. บอกความสอดคล้องของกฎของลูกเสือกับหลักธรรมทางศาสนาได้
4. ลูกเสือปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนากับคำปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสือได้

สาระการเรียนรู้
1. หลักธรรมทางศาสนา
2. คำปฏิญาณ
3. กฎของลูกเสือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “เกียรติศักดิ์ลูกเสือไทย” ตามเอกสารเพลง
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
266
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง หลักธรรมทางศาสนา – ศีล 5
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง อกุศลมูล 3 – อคติ 4
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง อิทธิบาท 4 – พรหมวิหาร 4
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง สัปปุริสธรรม 7 – สังคหวัตถุ 4

7. รวมลูกเสือและให้สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้น เรื่อง “การรักษาเพื่อน”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชาสรุปคติสอนใจไปติดตามต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารเพลง “เกียรติศักดิ์ศรีลูกเสือ”
2. ใบความรู้ เรื่อง หลักธรรมทางศาสนา – ศีล 5
3. ใบความรู้ เรื่อง อกุศลมูล 3 – อคติ 4
4. ใบความรู้ เรื่อง อิทธิบาท 4 – พรหมวิหาร 4
5. ใบความรู้ เรื่อง สัปปุริสธรรม 7 – สังคหวัตถุ 4
6. เอกสารเรื่องสั้น “การรักษาเพื่อน”

การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
267
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
268
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
269
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “เกียรติศักดิ์ศรีลูกเสือ”

ลูกเสือ ลูกเสือไว้ศักดิ์ลูกผู้ชาย
ลูกเสือลูกเสือไว้ลายซิลูกเสือไทย
รักเกียรติรักวินัยแข็งแรงและอดทน
270
เราจะบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น
แม้ลำบากตรากตรำก็ต้องทำให้สำเร็จ
ทำทำทำข้าสัญญาว่าจะทำ
เสียชีพอย่าเสียสัตย์รักชาติให้มั่นไว้
ดังนามอันเกดรียงไกรพระมงกุฎทรงประทาน
271

ใบความรู้
เรื่อง หลักธรรมทางศาสนา – ศีล 5
อุดมคติของลูกเสือ มุ่งเน้นให้ลูกเสือได้ค้นพบว่า การปฏิบัติตน ตามกฎและคำ
ปฏิญาณของลูกเสือนั้น ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และสังคมส่วนรวมประกอบกับ
การประพฤติปฏิบัตินั้น จะต้องสอดคล้องกับประเพณีที่ดีทางสังคมและศีลธรรมอันดีงาม
หลักธรรมทางศาสนา หมายถึง คำสอนของแต่ละศาสนาที่ศาสดาของศาสนาได้
วางไว้เป็นหลักปฏิบัติ เพื่อให้เกิดสันติสุขในสังคม ศาสนาทุกศาสนาต่างก็มีจุดมุ่งหมาย ที่
สอนให้ทุกคนทำความดีละเว้นความชั่ว และทำจิตใจให้บริสุทธิ์ ผ่องใสตามหลักธรรมทาง
พุทธศาสนา ที่ทุกคนควรนำมาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันและเป็นสิ่งที่ลูกเสือควรรู้
ศีล 5 ศีล 5 ประกอบด้วย สิ่งที่ควรงดเว้น 5 ประการ คือ
1. ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
หมายถึง การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
2. อทินนาทานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
หมายถึง การงดเว้นจากการลักทรัพย์ของผู้อื่น
3. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
หมายถึง การงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
4. มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
หมายถึง การงดเว้นจากการพูดปด พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และพูดเพ้อเจ้อ
5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฎฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
หมายถึง การงดเว้นจากการดื่มน้ำเมา

ใบความรู้
เรื่อง อกุศลมูล 3 – อคติ 4

อกุศลมูล 3 (รากเหง้าแห่งความชั่ว)
อกุศลมูล แปลว่า รากเหง้าของความชั่วหรือต้นเหตุของความชั่วมี 3 ประการ คือ
272
1. โลภะ หมายถึง ความอยากได้ของผู้อื่นมาเป็นของตนด้วยการไม่ชอบธรรม
2. โทสะ หมายถึง การคิดประทุษร้ายผู้อื่นด้วยความขาดเมตตากรุณา
3. โมหะ หมายถึง ความหลง ไม่รู้จริงว่าอะไรถูกอะไรผิด
4. อคติ 4 อคติ 4 หมายถึง ความลำเอียง เพราะเหตุ 4 ประการ
4.1 ฉันทาคติ ลำเอียงเพราะรัก
4.2 โทสาคติ ลำเอียง4.3 เพราะชัง4.4
4.3 ภยาคติ ลำเอียง4.6 เพราะกลัว
4.4 โมหาคติ ลำเอียง4.8 เพราะเขลา

ใบความรู้
เรื่อง อิทธิบาท 4 – พรหมวิหาร 4
อิทธิบาท 4
อิทธิบาท 4 คือ สิ่งที่นำไปสู่ความสำเร็จตามประสงค์ 4 อย่าง หรือทางให้ถึง
ความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม 4 อย่าง คือ
1. ฉันทะ ความรักใคร่พอใจในสิ่ง
2. วิริยะ ความเพียรพยายามกระทำสิ่งนั้น ด้วยความมานะอดทน
3. จิตตะ เอาใจใส่ในสิ่งนั้นด้วยความคิด สติปัญญา จนกว่างานนั้นจะสำเร็จ
4. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาหาเหตุผลในสิ่งนั้น
พรหมวิหาร 4
พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมเครื่องอยู่ของพรหม เป็นธรรมประจำใจอันประเสริฐ
สำหรับผู้ใหญ่ที่ประเสริฐ 4 ประการ คือ
273
1. เมตตา คือ มีความปรารถนาดีที่จะช่วยเหลือให้ทุกคนประสบแต่ความสุข
2. กรุณา คือ อยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ และคิดหาทางช่วยเหลือ
3. มุทิตา คือ ความพลอยยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดี ไม่อิจฉาริษยา
4. อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอียงด้วยชอบหรือชัง
274

ใบความรู้
เรื่อง สัปปุริสธรรม 7 – สังคหวัตถุ 4

สัปปุริสธรรม 7
สัปปุริสธรรม 7 เป็นธรรมของสัตบุรุษ คือ ธรรมของคนดี มี 7 ประการ คือ
1. ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ คือ รู้หลักการที่จะทำให้เกิดผลดีผลเสีย
2. อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล คือ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำ
3. อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน คือ รู้จักฐานะความเป็นอยู่ของตน
4. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ คือ รู้จักประมาณตนในการเลี้ยงชีพ
5. กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาล คือ รู้จักเวลาอันควร
6. ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน คือ ชุมชนที่อยู่ร่วมกันและการกระทำ
ที่จะต้องประพฤติ ปฏิบัติต่อกันในชุมชนนั้น ๆ
7. บุคลปโรปรัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล คือ การรู้จักเลือกคบกับคนดี

สังคหวัตถุ 4
สังคหวัตถุ 4 คือเรื่องของการสงเคราะห์ช่วยเหลือกันในทางที่ถูกต้องเป็นคุณธรรม
ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ สร้างความสามัคคี มีไมตรีต่อกัน มี 4 ประการ คือ
1. ทาน การให้ คือ ความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่เกื้อกูลด้วยวัตถุสิ่งของ
2. ปิ ยวาจา การพูดจาไพเราะอ่อนหวาน ไม่พูดหยาบคายหรือพูดเสียดสีผู้อื่น
3. อัตถจริยา การบำเพ็ญประโยชน์ต่อกัน คือ การประพฤติที่เป็นประโยชน์
แก่กันและกัน ช่วยเหลือกันด้วยกำลังกาย กำลังความคิดและกำลังทรัพย์
4. สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือความเป็นผู้วางตัวเหมาะสมทำตัวให้เข้ากันได้
275
เรื่องสั้น
เรื่อง “การรักษาเพื่อน”

ทุกคนคงยอมรับกันแล้วว่า คนเราจะอยู่คนเดียวในโลกนี้ไม่ได้ จำเป็นต้องมีเพื่อน


และเมื่อเรามีเพื่อแล้ว เราควรจะรู้จักรักษาเพื่อน เพื่อที่จะได้มีสายสัมพันธ์กันได้ยาวนาน
และคอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การที่จะรักษาเพื่อนนั้น ควรยึดหลักสังควัตถุ 4
ประการ คือ
1. ทาน คือ การให้ เราจะต้องเป็นผู้ที่รู้จักให้ ในที่นี้อาจจะไม่หมายถึงการให้
ข้าวของ แต่อาจหมายถึงการให้น้ำใจ การให้อภัยการให้ความรักก็ได้ เมื่อเรา
ให้ด้วยใจผู้รับก็รับด้วยใจเช่นกัน
2. ปิ ยวาจา หมายถึง การกล่าวดี พูดจาไพเราะอ่อนหวาน น่าฟัง พูดแต่ในสิ่งที่ดี
ๆ หากเกิดเหตุการณ์ไม่ดีระหว่างคนสองคน ถ้าเรารู้ใช้ปิ ยวาจาก็จะทำให้ทั้ง
สองคนนั้นเข้าใจกันได้คนที่โกรธกัน หากมีปิ ยวาจาก็หายโกรธกันได้ ฉะนั้น
คำพูดจึงเป็นสิ่งสำคัญ ทุกคนก็อยากฟังแต่สิ่งดี ๆ งาม ๆ
3. อัตถจริยา คือ การทำให้ตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นก็คงจะตรงกับคำปฏิญาณ
ข้อ 2 และกฎลูกเสือข้อ 3 หากเราไปไหนหรืออยู่ที่ใดถ้าเราเป็นคนไม่นิ่งดูดาย
มีอะไรก็หยิบก็ทำ ก็ได้ชื่อว่าเราทำตนให้เป็นประโยชน์ มีอะไรก็ช่วยเหลือกัน
ไป ดังคำกล่าวที่ว่า รกคนดีกว่ารกหญ้า เพราะว่าหญ้านั้นไม่ได้ทำ
ประโยชน์ให้แก่เราเลย
4. สมานัตตา คือ การทำตนเสมอต้นเสมอปลาย ก็หมายถึงการวางตัวไม่สูงไม่
ต่ำจนเกินไป ไม่ว่าต่อหน้าหรือลับหลัง หรือแม้แต่เวลาที่ล่วงผ่านไปก็ตาม
หรือแม้ฐานะในสังคมของเราจะดีขึ้น แต่ทว่าเราก็ทำตนเหมือนเช่นเคยทำ
เคยทักทายสนทนาหรือปฏิบัติตัวกันเช่นไร ก็ยังคงเป็นเช่นนั้น
สังควัตถุทั้ง 4 นี้ หากมนุษย์เราสามารถปฏิบัติได้ ก็จะทำให้เราอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข เป็นที่รักใคร่ในหมู่เพื่อนฝูง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
276
เรื่อง หลักธรรมทางศาสนากับคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ลูกเสือพึงศึกษาให้รู้หลักธรรมคำสอนศาสนาที่ตนนับถือ และรู้ถึงความสอดคล้องของ
หลักธรรมคำสอนของศาสนากับคำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ เพื่อใช้ประกอบในชีวิตประจำวัน
ได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่มี ความสอดคล้องกับคำปฏิญาณและกฎ
ของลูกเสือได้ ตลอดจนบอกหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือได้
1. บอกคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือได้
2. บอกความสอดคล้องของคำปฏิญาณกับหลักธรรมทางศาสนาได้
3. บอกความสอดคล้องของกฎของลูกเสือกับหลักธรรมทางศาสนาได้
4. ลูกเสือปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนากับคำปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสือได้

สาระการเรียนรู้
1. หลักธรรมทางศาสนา
2. คำปฏิญาณ
3. กฎของลูกเสือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “กฎลูกเสือ” ตามเอกสารเพลง
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบรู้ตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง คำปฏิญาณ 3 ข้อ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 1 – 3
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 4 – 6
277
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 7 – 10
7. รวมกองลูกเสือและสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้น เรื่อง “ความกตัญญู”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชาเขียนคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
12 พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารเพลง “กฎลูกเสือ”
2. ใบความรู้ เรื่อง คำปฏิญาณ 3 ข้อ
3. ใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 1 – 3
4. ใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 4 – 6
5. ใบความรู้ เรื่อง กฎข้อ 7 – 10
6. เอกสารเรื่องสั้น “ความกตัญญู”
278
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
279
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
280
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “กฎของลูกเสือ”

กฎที่ 1 พึงจำให้ดี ลูกเสือต้องมีเกียรติเชื่อถือได้


กฎที่ 2 นั้นรองลงไป ต้องภักดีในผู้มีพระคุณ
281
กฎที่ 3 นั้นบำเพ็ญ ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นเรื่อยไป นะเธออย่าลืม ๆ (ซ้ำ)
กฎที่ 4 นี้น่าคิด จงเป็นมิตรกับคนทั่วไป
กฎที่ 5 ท่านจำเอาไว้ มารยาทนั้นไซร้ กราบไหว้งาม ๆ
กฎที่ 6 นรกไม่ตาม เพราะน้ำใจงาม กรุณาสัตว์นั้น นะเธออย่าลืม ๆ (ซ้ำ)
กฎที่ 7 จงเชื่อฟังในคำสั่งโดยดุษฎี
กฎที่ 8 ยิ้ม ยิ้ม ไว้ซิลูกเสือไม่หนีความยากลำบาก
กฎที่ 9 ออมไว้ยามยาก จะไม่ลำบากเงินทองมากมี
กฎที่10 ประพฤติความดี ทั้งกายวจี มโน พร้อมกัน นะเธออย่าลืม ๆ (ซ้ำ)

ใบความรู้
เรื่อง คำปฏิญาณ 3 ข้อ
โดยทั่วไปคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นหลักการที่เป็นสากล คือทั่วโลกยอมรับ
และไม่ขัดกับหลักศาสนาใด ๆ ยิ่งกว่านั้น ยังสอดคล้องกับหลักศาสนาทุกศาสนา ดังนี้
คำปฏิญาณ มี 3 ข้อ ดังนี้
ข้อ 1 ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
เป็นการให้คำมั่นสัญญาหรือให้สัตย์ปฏิญาณว่าจะซื่อสัตย์ รัก และเทิดทูน
สถาบันทั้ง 3 โดยปราศจากเงื่อนไข และสามารถสละได้แม้กระทั่งชีวิตของตน
เพื่อรักษาสิ่งเหล่านี้ไว้
ข้อ 2 ข้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมื่อ
282
เป็นการให้คำมั่นสัญญา โดยถือเป็นภาระหน้าที่ที่จะต้องให้การช่วยเหลือ
ผู้อื่นโดยไม่เลือกเพศ วัย หรือชาติชั้นวรรณะ มุ่งขจัดความเห็นแก่ตัว ซึ่งท่าน
ผู้ให้กำเนิดลูกเสือโลกเห็นว่า เป็นความชั่วที่ครองโลกมาตลอด
ข้อ 3 ข้าจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ
เป็นการกล่าวยืนยันในเจตนารมณ์ ที่จะช่วยในกระบวนการลูกเสือ โดยยึด
เอากฎของลูกเสือทั้ง 10 ข้อ เป็นหลักในการดำเนินชีวิตกฎของลูกเสือไม่ใช่ข้อห้าม
หรือข้อบังคับ แต่เป็นหลักปฏิบัติที่ลูกเสือจะต้อง ทำด้วยความสมัครใจด้วย
วิญญาณของลูกเสือ

ใบความรู้
เรื่อง กฎข้อ 1 – 3
กฎของลูกเสือ มี 10 ข้อ ซึ่งสอดคล้องกับหลักธรรมทางศาสนา ดังนี้
ข้อ 1 ลูกเสือมีเกียรติเชื่อถือได้
การที่คนเราจะได้รับเกียรติ หรือได้รับการยกย่องนับถือว่าเป็นผู้มีเกียรตินั้นจะต้อง
เป็นผู้ที่พูดจริงทำจริงไม่โกหกหลอกลวงไม่ประพฤติเหลวไหลให้คนอื่นขาดความเชื่อถือ
สจฺเจน กิตฺติ!ปปฺโปนฺติ : คนจะถึงความเป็นผู้มีเกียรติได้เพราะสัจจะ
ข้อ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซื่อตรงต่อ
ผู้มีพระคุณ
โดยเหตุที่ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันหลักเป็นที่รักหวงแหนและ
เทิดทูนสักการะสูงสุด เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทั้งมวล อันก่อให้เกิดความ
สมานสามัคคีระหว่างคนในชาติ ซึ่งจะนำมาซึ่งความมั่นคง จะสงบสุขในชาติบ้านเมือง
ส่วนความซื่อสัตย์กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ โดยนัยพุทธภาษิตที่ว่า
นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตญฺญูกตเวทิตา : ความกตัญญูเป็นเครื่องหมายคนดี
ข้อ 3 ลูกเสือมีหน้าที่กระทำตนเป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น
การที่คนเราจะอุทิศตนเองเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม หรือช่วยเหลือคนอื่นได้
283
จะต้องเป็นผู้มีจิตใจสูง ไม่โลภหรือเห็นแก่ตัว มีจิตใจกอรปด้วยความเมตตา คือ รัก
ใคร่
ปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นเป็นสุข กรุณา คือ ความสงสารคิดจะช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ยิ่งกว่านั้น
ตนเองจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ที่ได้ผ่านการฝึ กอบรมมาแล้วเป็นอย่างดี
ซึ่งตรงกับคำว่า “ลูกเสือย่อมสละความสุขส่วนตนเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก”
กรุณา : ความสงสารคิดจะช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
ทาน : การเสียสละ การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้อื่นด้วยสิ่งของเงินทอง รวมถึง
การสละแรงกายเข้าช่วยเหลือ
284
ใบความรู้
เรื่อง กฎข้อ 4 – 6

กฎของลูกเสือ
ข้อ 4 ลูกเสือเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่น้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก
การที่คนเราจะเป็นมิตรกับใครได้นั้น จิตใจของเราจะต้องประกอบไปด้วย
ความเมตตากรุณา ไม่อิจฉาริษยาไม่พยาบาทปองร้ายใคร รวมทั้งความไม่เห็นแก่ตัว
เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นกับลูกเสืออื่น ก็จะต้องรักใคร่ให้เกียรติเสมือนเป็นญาติมิตรสนิท
ของตน ทั้งนี้ จะต้องปฏิบัติตามหลักสังคหวัตถุ 4 คือ
จาคะ : เสียสละแบ่งสิ่งของและความสุขส่วนตัวเพื่อผู้อื่น
ปิ ยวาจา : พูดจาไพเราะอ่อนหวานไม่เสียดสีเหน็บแนมเยาะเย้ยผู้อื่น
อัตถนัตตตา : ประพฤติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
สมานัตตตา : วางตัวให้เสมอต้นเสมอปลายนอบน้อมถ่อมตน และการสร้าง
ความรู้สึกเป็นพี่น้องกับลูกเสืออื่นทั่วโลก ซึ่งตรงกับพุทธภาษิต
ที่ว่า วิสาสา ปรมา ญาติ ความคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง
ข้อ 5 ลูกเสือเป็ นผู้สุภาพเรียบร้อย
กฎข้อนี้ ตรงกับ
ศีล : การสำรวม กาย วาจา
คารโว จ นิวาโต จ : ความเป็นผู้มีสัมมาคารวะ ความไม่เย่อหยิ่งจองหองเป็น
มงคลสูงสุด (หลักการดำรงชีวิตมงคล 38 ประการ)
ตรงกับหลักธรรมอันทำให้งาม 2 ประการ คือ
ขันติ : ความอดทน
โสรัจจะ : ความสงบเสงี่ยม
ข้อ 6 ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ตรงกับหลักเบญจศีล ข้อที่ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากการฆ่าสัตว์ รวมทั้ง
การทรมานหรือรังแก ให้ได้รับความทุกข์ทรมาน
ตรงกับหลักเบญจธรรมข้อที่ 1 เมตตากรุณาต่อสัตว์
285

ใบความรู้
เรื่อง กฎข้อ 7 – 10

กฎของลูกเสือ
ข้อ 7 ลูกเสือเชื่อฟังคำสั่ง ของบิดามารดาและผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ
การเคารพเชื่อฟังแสดงความมีระเบียบวินัยตรงกับหลักธรรมในมงคลสูตรที่ว่า
วินโย จ สุสิกฺขิโต : วินัยที่ศึกษาดีแล้ว เป็นมงคลอันสูงสุด และตรงกับหลัก
ความกตัญญู
ข้อ 8 ลูกเสือมีใจร่าเริงและไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก
ตรงกับพุทธภาษิตที่ว่า
ทันโต เสฎโธ มนฺสเสสุ : คนที่ฝึ กตนดีแล้วเป็นผู้ประเสริฐในหมู่มนุษย์
วิริเยน ทุกขมจฺ เจติ : คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
ข้อ 9 ลูกเสือเป็ นผู้มัธยัสถ์
ตรงกับพุทธภาษิตที่ว่า
มัชฌิมาปาฎิปทา : การดำเนินตามทางสายกลาง ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว หรือ
ไม่สุรุ่ยสุร่ายจนเกินไป
ข้อ10 ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
กฎข้อนี้ตรงกับหลักกุศลกรรมบถ (การดำเนินชีวิตที่ดี) ด้วย กายกรรม มโนกรรม
และ วจีกรรม

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความกตัญญู”

อดีตการครั้งหนึ่ง ในแคว้นพาราณสี มีนายพรานผู้หนึ่งขณะออกล่าสัตว์ถูกเสือ


ไล่กัด นายพรานวิ่งหนีอย่างไม่คิดถึงชีวิตจนหลงเข้าไปในป่ าหิมพานต์ ซึ่งขณะนั้นพระ
โพธิสัตว์จุติลงมาเกิดเป็นพระยาวานร ได้เห็นว่า ถ้าหากไม่ช่วยนายพรานผู้นี้คงหลบหนีภัย
286
ครั้งนี้ไม่รอด เท้าจับคาคบไม้ห้อยโหน เอื้อมมือลงไปจับเอาตัวนายพรานขึ้นไปไว้บนต้นไม้
จนเสือหมดโอกาสที่จะกิน มันคอยอยู่สักครู่เมื่อเห็นว่าคงไม่มีทางได้กินแน่นอนแล้วมันจึงไป
หากินทางอื่น พระยาวานรจึงได้พานายพรานลงมาจากต้นไม้ และเดินทางเพื่อพาไปส่งบ้าน
ตลอดระยะเวลาที่เดิน นายพรานผู้ที่มีจิตไร้สำนึก จึงคิดว่ามาเที่ยวล่าสัตว์ในป่ าทั้งทีไม่ได้เนื้อ
กลับไปฝากลูกเมียหรือขายเลี้ยงชีพ จึงคิดใช้วิธีการล่อลวง จนกระทั่งเดินทางใกล้จะถึงบ้าน
นายพรานออกอุบายแล้วรีบเดินนำหน้าพระยาวานรไปไกล นายพรานจึงแอบลงข้างทาง นาย
พรานจึงยกธนูขึ้นเล็งแล้วปล่อยลูกธนูถูกพระยาวานรล้มลงขาดใจตาย แล้วนายพรานจึงใช้
เถาวัลย์ผูกมัดมือเท้าของพระยาวานร และใช้คันธนูเป็นคานสอดยกขึ้นบ่าเดินทางกลับบ้าน
ขณะที่เดินทางนั้นได้เกิดมหัศจรรย์แผ่นดินแยกพาร่างของนายพรานนี้จมลงไป ก่อนที่นาย
พรานจะสิ้นใจตายจึงเกิดสำนึกและมองเห็นพระโพธิสัตว์ แม้พยายามดิ้นรนสักเท่าไร แต่ฟ้ าดินไม่
อาจบันดาลให้นายพรานผู้นี้รอดชีวิตไปได้ เพราะผลแห่งกรรมที่ไม่ได้มีความกตเวทีต่อผู้มี
พระคุณ ร่างของนายพรานก็จมหายไปในแผ่นดิน ณ ที่นั้น

คติสอนใจ : “การกระทำของนายพรานผู้นี้จัดได้ว่า เป็นคนอกตัญญูต่อผู้มี


พระคุณ นายพรานจึงต้องได้รับผลตอบแทนเช่นนี้”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การโต้วาที (ทฤษฎี) (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การโต้วาทีเป็นศิลปะการพูดอย่างหนึ่ง ที่ลูกเสือควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ
เพราะการโต้วาทีนั้นจะเกิดประโยชน์ทั้งในด้านเนื้อหาสาระที่เป็นวิชาการและวาทศิลป์ ลูกเสือ
ควรมีการฝึ กการโต้วาที เพื่อพัฒนาความสามารถส่วนบุคคลในการอภิปราย แสดงความคิดเห็น
และหาเหตุผล
287

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการ – หลักการพูดโต้วาทีได้
1. บอกหลักเกณฑ์การโต้วาทีได้
2. บอกวิธีการโต้วาทีได้
3. บอกประโยชน์ของการพูดโต้วาทีได้
4. บอกวิธีการจัดโต้วาทีได้
5. บอกการดำเนินการโต้วาทีได้
3. เนื้อหาสาระ
1. หลักเกณฑ์และวิธีการโต้วาที
2. ประโยชน์ของการโต้วาที

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “จำสิ่งของ”

3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 4 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การโต้วาที
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง องค์ประกอบของการโต้วาที
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ผู้โต้วาที – คณะกรรมการ
ตัดสิน
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิธีการจัดโต้วาที
7. รวมลูกเสือและให้สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้น เรื่อง “ลาโง่กับจิ้งหรีด”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดต้นไม้ในโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติงานของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เกม “จำสิ่งของ”
288
2. ใบความรู้ เรื่อง การโต้วาที
3. ใบความรู้ เรื่อง องค์ประกอบของการโต้วาที
4. ใบความรู้ เรื่อง ผู้โต้วาที – คณะกรรมการตัดสิน
5. ใบความรู้ เรื่อง วิธีการจัดโต้วาที
6. เรื่องสั้น เรื่อง “ลาโง่กับจิ้งหรีด”
289
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
290
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
291
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

ใบงานที่
เรื่อง
292
เกม “จำสิ่งของ”

วิธีเล่น
ให้แต่ละหมู่มายืนรวมกันหน้าถาด ซึ่งมีผ้าปิ ดอยู่ เปิ ดผ้าออกทิ้งไว้ประมาณ 1 นาที
ในถาดนั้นมีของเล็ก ๆ 15 สิ่ง เช่น กระดุม มีดพับ คลิป ลูกนัท เงินเหรียญ ดินสอ
เครื่องหมายลูกเสือ เชือก เป็นต้น แล้วให้แยกกันออกไปเขียนรายชื่อสิ่งของต่าง ๆ เท่าที่จำได้
ให้คะแนน 1 คะแนน สำหรับสิ่งองแต่ละสิ่งที่มีอยู่ในถาด แต่ถ้าเขียนสิ่งของที่ไม่มีในถาด
จะถูกติดลบ 2 คะแนน

ใบความรู้
เรื่อง โต้วาที
การโต้วาที จัดว่าเป็นการแสดงศิลปะการพูดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของการใช้คารม
คมคายและเหตุผล ประกอบกับพยายามโน้มน้าวจิตใจของผู้ฟังให้มีความเห็นคล้อยตามการโต้วาที
จะเกิดประโยชน์ทั้งในด้านเนื้อหาสาระที่เป็นวิชาการ และวาทศิลป์ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนร่วมในการ
โต้วาที ก็จะได้รับประโยชน์จากการโต้วาทีด้วยเช่นกัน ดังนั้น ในระดับลูกเสือหลวง จึงควรที่จะ
ให้ความสนใจ และศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการโต้วาที เพื่อให้ลูกเสือได้มีการพัฒนาความสามารถส่วน
293
บุคคลในการอภิปราย แสดงความคิดเห็น และหาเหตุผลมาพูดโต้วาทีได้ซึ่งจะเป็นการเตรียมตัวให้
เป็นเยาวชนที่ดีต่อไปในวันข้างหน้า
การโต้วาที หมายถึง การอภิปรายรูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ปฏิญาณไหวพริบและวาทศิลป์
เพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของฝ่ ายตน และพยายามที่จะหักล้างความคิดเห็น อีกฝ่ ายหนึ่งซึ่งการโต้
แย้งกันนี้เป็นเพียงความประสงค์ที่จะเอาชนะกันในแต่ละคราวเท่านั้น
จุดประสงค์ของการโต้วาที
จุดประสงค์ของการโต้วาทีก็คือ การมุ่งใช้วาทศิลป์ เป็นสำคัญ เพื่อที่จะเอาชนะกัน
ด้วยเหตุผลของแต่ละคณะหรือแต่ละฝ่ าย
294
ใบความรู้
เรื่อง องค์ประกอบของการโต้วาที

การโต้วาที จะต้องประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้


1. ญัตติในการโต้วาที ญัตติ คือ หัวข้อเรื่อง หรือ ปัญหาที่กำหนดขึ้น เพื่อนำ
มาใช้ในการโต้วาที การเลือกญัตตินั้น ควรจะต้องยึดหลักสำคัญ ๆ ดังต่อไปนี้
– ต้องเป็นญัตติที่คนทั่วไปสนใจ เช่น ญัตติที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์
ของผู้ฟังในด้านการครองชีพ รายได้ หรือข้อคิดอื่น ๆ เป็นต้น
– ต้องเป็นญัตติที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ฟังและผู้โต้วาทีเองคือ สร้างเสริมและเพิ่มพูน
สติปัญญา เช่น เรื่อง “เป็นพ่อค้าดีกว่าเป็นข้าราชการ” “มีทรัพย์ดีกว่ามีปัญญา” “มีปริญญาดีกว่า
ไม่มี” เป็นต้น
– ต้องเป็นญัตติที่ผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่ าย สามารถหาเหตุผลมาโต้กันได้
นอกจากนี้ คำที่ใช้ในการตั้งญัตติควรเป็นคำเข้าใจง่าย กะทัดรัด
มีความหมายสมบูรณ์และชัดเจน ไม่ควรตั้งเป็นคำถาม โดยมากมัก
เป็นวลีมากกว่าประโยค
3. คณะบุคคลที่ดำเนินการโต้วาที คณะบุคคลดังกล่าวนี้ประกอบด้วย ประธาน
การโต้วาทีหรือพิธีกรอาจเป็นคนเดียวกันก็ได้และผู้โต้วาที ซึ่งมีหน้าที่ และ คุณสมบัติ ดังนี
ประธานการโต้วาที มีหน้าที่และคุณสมบัติดังนี้
– กล่าวเปิ ดการโต้วาที พร้อมกับแจ้งญัตติที่จะโต้วาทีให้ผู้ฟังได้ทราบ
– กล่าวแนะนำผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่ าย โดยเริ่มแนะนำจากหัวหน้าฝ่ ายเสนอว่าเป็นใคร
มีความสามารถอย่างไรแล้ว จึงแนะนำผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอ คนที่ 1, 2, 3 ตามลำดับเมื่อแนะนำฝ่ าย
เสนอเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต่อไป ก็แนะนำฝ่ ายค้านโดยทำเช่นเดียวกันและแนะนำกรรมการผู้ตัดสิน
ด้วย
– ชี้แจงเกี่ยวกับญัตติที่จะโต้วาที โดยกล่าวนำให้ทราบเพียงคร่าว ๆ พร้อมทั้ง
กำหนดเวลาพูดของผู้โต้วาทีแต่ละคนด้วย
295

– เชิญผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่ ายมาพูดโดยมีลำดับดังนี้

ลำดับที่ ผู้พูด ลำดับที่ ผู้พูด


1 หัวหน้าฝ่ ายเสนอ 2 หัวหน้าฝ่ ายค้าน
3 ผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอคนที่ 1 4 ผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านคนที่ 1
5 ผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอคนที่ 2 6 ผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านคนที่ 2
7 ผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอคนที่ 3 8 ผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านคนที่ 3
9 ผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอคนที่ 4 10 ผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านคนที่ 4
11 หัวหน้าฝ่ ายเสนอ (สรุป) 12 หัวหน้าฝ่ ายค้าน (สรุป)

– เมื่อหัวหน้าทั้งสองฝ่ ายลุกขึ้นมากล่าวสรุปแล้ว ประธานจะเป็นผู้ประกาศผลของ


การโต้วาที โดยฟังความคิดเห็นของคณะกรรมการ และแจ้งให้ผู้โต้วาทีและผู้ฟังทราบด้วย แล้ว
กล่าวขอบคุณผู้ร่วมโต้วาทีทุกคน
296
ใบความรู้
เรื่อง ผู้โต้วาที – คณะกรรมการตัดสิน
ผู้โต้วาที คือ ผู้ที่ทำการโต้วาที แบ่งออกเป็น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายเสนอและฝ่ ายค้าน
1. ฝ่ ายเสนอ จะมีประมาณ 3 – 5 คน จะมีหัวหน้าฝ่ ายเสนอ 1 คน ที่เหลือจะเป็น
ผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอ
2. ฝ่ ายค้าน จะมีประมาณ 3 – 5 คน เท่ากับฝ่ ายเสนอจะมีหัวหน้าฝ่ ายค้าน 1 คน
ที่เหลือจะเป็นผู้สนับสนุนฝ่ ายค้าน
ผู้โต้วาทีทุกคนจะต้องมีหน้าที่และคุณสมบัติ ดังนี้
1 ) ผู้โต้วาที จะต้องเป็นผู้มีความรู้กว้างขวาง และหมั่นหาความรู้ให้กับตนเอง
อยู่เสมอ
2 ) เป็นผู้ที่มีศิลปะในการใช้คำพูด พูดได้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย
3 ) เป็นผู้ที่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ดี มีความเยือกเย็นสุขุมรอบคอบ
4 ) ผู้โต้วาทีจะต้องรักษาเวลาในการพูดอย่างเคร่งครัด เมื่อได้ยินเสียงกริ่งเตือน

คณะกรรมการตัดสินการโต้วาที ควรมีจำนวนเป็นเลขที่ 3 หรือ 5 คน ผู้ที่จะเป็น


กรรมการควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1 ) จะต้องมีความรู้ในญัตติที่จะโต้วาทีพอสมควร
2 ) จะต้องมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการพูดหรือการโต้วาที
3 ) จะต้องมีความเป็นธรรมในการตัดสิน ไม่มีอคติต่อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
297
ใบความรู้
เรื่อง วิธีการจัดโต้วาที

การจัดสถานที่
เป็นการจัดที่นั่งในการโต้วาที โดยให้ประธานนั่งตรงกลาง ฝ่ ายเสนอนั่งทางขวาของ
ประธานและเรียงลำดับกันไปดังนี้ คือ คนแรกเป็นหัวหน้าฝ่ ายเสนอ ต่อจากนั้นก็เป็นผู้สนับสนุน
ฝ่ ายเสนอคนที่ 1, 2, 3 และ 4 ส่วนฝ่ ายค้านนั่งทางซ้ายมือของประธาน โดยคนแรกเป็นหัวหน้า
ฝ่ ายค้าน ต่อจากนั้นก็เป็นผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านคนที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับเช่นเดียวกัน
สำหรับคณะกรรมการผู้ตัดสินให้นั่งแถวหน้าของกลุ่มผู้ฟัง นอกจากนี้ จะต้องมีที่สำหรับยืนพูด
ด้วย อาจจัดให้อยู่หน้าประธาน
ภาพประกอบ การจัดสถานที่

ในกรณีที่สถานที่ไม่อำนวยให้ จะแยกโต๊ะประธานออกไปตั้งที่มุมใดมุมหนึ่งของ
เวทีก็ได้ แต่ให้จัดที่นั่งสำหรับฝ่ ายเสนอและฝ่ ายค้าน ดังที่กล่าวมาข้างต้น

การกำหนดเวลาในการพูดโต้วาที ในการพูดของแต่ละคนนั้นไม่มีการกำหนดเวลาเป็น
กฎเกณฑ์แน่นอน ส่วนมากมักตกลงกันเองระหว่างประธานและผู้โต้วาที โดยหลักแล้ว หัวหน้า
ของทั้งสองฝ่ าย ซึ่งเป็นผู้พูดคนแรกในแต่ละฝ่ าย จะใช้เวลาในการพูดมากที่สุด อาจจะเป็นคนละ
8 – 10 นาที ส่วนผู้สนับสนุนของแต่ละฝ่ ายอาจใช้เวลาพูดคนละ 5 นาที และเมื่อหัวหน้าทั้งสอง
ฝ่ ายกล่าวสรุปในตอนท้าย ก็อาจจะใช้เวลาในการพูดคนละ 5 นาทีเช่นเดียวกันแต่ทั้งนี้ทั้งนั้น การ
กำหนดเวลาจะขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างประธานและผู้โต้วาที เพื่อกำหนดให้พอดีกับเวลาการ
โต้วาทีที่มีอยู่

เรื่องสั้น
เรื่อง “ลาโง่กับจิ้งหรีด”

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ณ ทุ่งหญ้าอันแสนกว้างใหญ่ ยังมีลาตัวหนึ่งอาศัยอยู่


298
ซึ่งวันนี้อากาศสดในมาก มันออกแระเล็มหญ้า ณ ทุ่งแห่งนี้ มันแระเล็มหญ้าอย่างเพลิด–เพลินจน
กระทั่งมันได้ยินเสียงหนึ่งดังมาแต่ไกลเป็นเสียงไพเราะจับใจของมันมาก มันจึงได้ตามหาเจ้าของ
เสียงนั้น ก็คือเจ้าจิ้งหรีดนั่นเอง มันมีเสียงที่ไพเราะมาก เจ้าลานั้นอยากจะมีเสียงที่ไพเราะ
อย่างจิ้งหรีดบ้าง จึงถามจิ้งหรีดว่า ท่านจิ้งหรีด ท่านกินอะไรหรือเสียงถึงได้เพราะอย่างนี้จิ้งหรีด
ตอบว่า ก็ข้ากินแต่น้ำค้างนะซิถึงได้มีเสียงไพเราะเช่นนี้ พอลาได้ยินดังนั้นเข้า ก็ได้กลับไป
ตั้งหน้าตั้งตารอน้ำค้างยามเช้ากินอยู่ทุกวัน มันกินแต่น้ำค้างโดยไม่แตะต้องหญ้าที่เคยเป็นอาหาร
ของมันเลย จนกระทั่งมันผอมลงมาก ไม่มีเรี่ยวแรงจนมันถึงแก่ความตาย

คติสอนใจ : “จงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การโต้วาที (ทฤษฎี) (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การโต้วาทีเป็นศิลปะการพูดอย่างหนึ่ง ที่ลูกเสือควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ
299
เพราะการโต้วาทีนั้นจะเกิดประโยชน์ทั้งในด้านเนื้อหาสาระที่เป็นวิชาการและวาทศิลป์ ลูกเสือ
ควรมีการฝึ กการโต้วาที เพื่อพัฒนาความสามารถส่วนบุคคลในการอภิปราย แสดงความคิดเห็น
และหาเหตุผล

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการ – หลักการพูดโต้วาทีได้
1. บอกหลักเกณฑ์การโต้วาทีได้
2. บอกวิธีการโต้วาทีได้
3. บอกประโยชน์ของการพูดโต้วาทีได้
4. บอกวิธีการจัดโต้วาทีได้
5. บอกการดำเนินการโต้วาทีได้
3. เนื้อหาสาระ
1. หลักเกณฑ์และวิธีการโต้วาที
2. ประโยชน์ของการโต้วาที

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ความซื่อสัตย์”
3. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
4. เรียกลูกเสือรวมกอง
5. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
6. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 3 กลุ่ม
7. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน

– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การดำเนินงานโต้วาที


– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การตัดสินการโต้วาที
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์จากการโต้วาที

8. รวมลูกเสือและให้สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ไม่ดูตาม้าตาเรือ”
10. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
11. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติงานของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
13. ลูกเสือทำแบบประเมินผลหลังเรียนส่งผู้บังคับบัญชา
14. ลูกเสือทำแบบทดสอบจุดประสงค์ส่งผู้บังคับบัญชา
15. มอบหมายลูกเสือปฏิบัติตามใบภาระงาน
300
16. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เพลง “ความซื่อสัตย์”
2. ใบความรู้ เรื่อง การดำเนินงานโต้วาที
3. ใบความรู้ เรื่อง การตัดสินการโต้วาที
4. ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์จากการโต้วาที
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ไม่ดูตาม้าตาเรือ”
301
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
302
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
303
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ความซื่อสัตย์”

ความซื่อสัตย์เป็นสมบัติของคนดี
หากว่าใครไม่มี ชาตินี้เอาดีไม่ได้
ใบงานที่ เอาตัวไม่รอดถมไป
มีความรู้ท่วมหัว
เรื่อง
304
คดโกงแล้วใครจะรับไว้ให้ร่วมการงาน
305
ใบความรู้
เรื่อง การดำเนินการโต้วาที

การดำเนินการโต้วาที มีขั้นตอนในการปฏิบัติดังต่อไปนี้
1. ประธานกล่าวทักทายผู้ฟัง และกล่าวนำการโต้วาทีโดยลุกขึ้นมายืน ณ
ที่พูดในการกล่าวนั้น ประธานจะต้องใช้คำพูด ที่เร้าความรู้สึกของผู้ฟังให้เกิดความสนุกสนาน
และสนใจอยากจะฟังการโต้วาทีต่อไป
2. ประธานกล่าวชี้แจงญัตติที่จะใช้โต้วาทีให้ผู้ฟังทราบ โดยจะต้องชี้ความหมายของ
ญัตติในการโต้วาทีให้ชัดเจน เพื่อมิให้ผู้โต้วาทีพูดนอกประเด็น นอกจากนี้ประธานจะต้อง
กำหนดเวลาในการพูดของแต่ละคน และอธิบายกติกาหรือกฎเกณฑ์การตัดสินการ–โต้วาทีด้วย
เพื่อให้ทั้งสองฝ่ ายรับไปปฏิบัติ
3. ประธานแนะนำผู้โต้วาทีแต่ละคนให้ผู้ฟังรู้จัก ซึ่งในการแนะนำนั้นเนื่องจาก
หัวหน้าฝ่ ายเสนอจะเป็นคนพูดก่อน เมื่อเสนอสิ่งใดแล้ว หัวหน้าฝ่ ายค้านจึงมาโต้ตอบอีกทีหนึ่ง
ด้วยเหตุนี้จึงเริ่มแนะนำจากหัวหน้าฝ่ ายเสนอ และเรียงลำดับไปถึงผู้สนับสนุนฝ่ ายเสนอทุกคน
จากนั้นจึงแนะนำหัวหน้าฝ่ ายค้าน และผู้สนับสนุนฝ่ ายค้านทุกคนเรียงตามลำดับไป
4. ประธานกล่าวเชิญผู้โต้วาทีแต่ละคนขึ้นพูด ณ ที่พูด โดยเริ่มจากหัวหน้าฝ่ ายเสนอ
ก่อน เมื่อหัวหน้าฝ่ ายเสนอพูดจบให้ประธานกล่าวสรุปประเด็นที่สำคัญพร้อมกับยั่วยุฝ่ ายค้านเล็ก
น้อย แล้วเชิญหัวหน้าฝ่ ายค้านขึ้นพูดบ้าง เมื่อฝ่ ายค้านพูดจบลงแล้วประธานจะกล่าวสรุป
พร้อมกับยั่วยุฝ่ ายเสนอเช่นเดียวกัน จากนั้นเชิญผู้สนับสนุนทั้งสองฝ่ ายขึ้นพูดสลับกันไปจนครบ
แล้วประธานก็เชิญหัวหน้าฝ่ ายค้านขึ้นพูดสรุปก่อนต่อจากนั้นจึงเชิญหัวหน้าฝ่ ายเสนอพูดสรุปเป็น
คนสุดท้าย ในขณะที่ผู้โต้วาทีแต่ละคนพูดนั้น ประธานจะต้องคอยจับเวลาการพูดของ
แต่ละคน พร้อมทั้งกดกริ่งสัญญาณหมดเวลาการพูดตามที่ได้กำหนดไว้
5. เมื่อผู้โต้วาทีทุกคนพูดจบลงแล้ว ประธานจะต้องลุกขึ้นมาพูด ณ ที่พูด กล่าว
สรุป
อีกเล็กน้อย แล้วขอคะแนนจากคณะกรรมการตัดสิน จากนั้นแจ้งผลการตัดสินจาก
คะแนนที่กรรมการรวมไว้
306
ใบความรู้
เรื่อง การตัดสินการโต้วาที
การตัดสิน จะอาศัยเสียงข้างมากของคณะกรรมการ โดยพิจารณาจากน้ำหนัก
ของเหตุผลของแต่ละฝ่ าย ว่ามีเหตุผลเพียงพอหรือไม่ ในกรณีที่เป็นการโต้วาทีเพื่อความ–
สนุกสนานแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีคณะกรรมการตัดสิน ประธานการโต้วาที มักจะเป็นผู้ตัดสิน
เองโดยพิจารณาว่า ถ้าเหตุผลของทั้งสองฝ่ ายไม่แตกต่างกันมากนัก การตัดสินจะออกมาในรูป
เสมอกัน แต่ถ้าเห็นว่ามีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก ประธานอาจขอความเห็นจากผู้ฟังโดยขอ
ปรบมือเป็นการตัดสินก็ได้
หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพึงยึดถือในการตัดสินการโต้วาทีนั้น มีดังต่อไปนี้
1. วิธีการพูดโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังหรือไม่เพียงใด
2. เหตุผลข้อเท็จจริงรวมทั้งหลักฐานข้ออ้างอิงต่าง ๆ มีความเหมาะสม
3. พูดตรงประเด็นหรือไม่
4. การหักล้างประเด็นของฝ่ ายตรงข้ามได้ผลดีหรือไม่เพียงใด
5. รักษามารยาทในการโต้วาทีได้ดีหรือไม่
นอกจากนี้ คณะกรรมการควรมีแบบฟอร์มสำหรับกรอกคะแนนตามหัวข้อต่าง ๆ
ดังกล่าวข้างต้นเป็นรายบุคคลไป จากนั้นประธานคณะกรรมการ เป็นผู้รวมคะแนนเพื่อ
ตัดสินชี้ขาดในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง
307
ใบความรู้
เรื่อง ประโยชน์จากการโต้วาที

ทุกคนมีส่วนร่วมในการโต้วาที ทั้งผู้โต้วาทีและผู้ฟังด้วยจะได้รับประโยชน์ดังนี้
1. ได้รับความรู้ เพราะผู้โต้วาทีจะต้องพยายามศึกษาค้นคว้าหาหลักฐานเพิ่มเติม
และเหตุผลที่ดีมาอ้างอิง และขณะเดียวกันผู้ฟังการโต้วาทีก็จะพลอยได้รับความรู้ไปด้วย
2. ทำให้เป็นคนกล้าแสดงความคิดเห็น โต้แย้งอย่างมีเหตุผลและมีความมั่นใจใน
ตนเองมากขึ้น
3. ฝึ กให้รู้จักคิด รู้จักพูด ฟังอย่างมีวิจารญาณ
4. ทำให้เป็นคนรอบคอบ เฉียบแหลมและมีปฏิภาณว่องไวสามารถแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าได้ดี

ข้อแนะนำในการโต้วาที
การปฏิบัติตนในการโต้วาทีให้เหมาะสม และทำให้การโต้วาทีออกรสชาติมากขึ้น
ผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่ ายควรปฏิบัติดังนี้
หัวหน้าฝ่ ายเสนอ
1. ก่อนที่จะเริ่มพูดนั้นให้คำนับท่านประธานและผู้ฟัง แล้วจึงกล่าวคำทักทายตาม
ลำดับอย่างเหมาะสม
2. พูดเสนอญัตติ โดยพูดความหมาย หรือย้ำความหมายของญัตติตามที่ประธาน
กล่าวมาแล้วอีกครั้งหนึ่ง โดยกล่าวให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
3. ในการพูดนั้น จะต้องแสดงความคิดเห็นสนับสนุนญัตตินั้น ๆ เป็นเรื่อง ๆ โดย
ยกตัวอย่าง อุทาหรณ์ คำคม โวหาร พร้อมทั้งมีเหตุและผลข้อเท็จจริง
มาสนับสนุนด้วย
4. พยายามพูดให้อีกฝ่ ายโต้แย้งได้ยาก หรือตกหลุมพรางที่เราวางไว้ โดยจะ
ต้องตกลงกับผู้สนับสนุนของตนก่อนว่าจะทำอย่างไร
5. สรุปจบโดยเน้นประเด็นสำคัญ ๆ ที่พูดมาแล้วนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
308
หัวหน้าฝ่ ายค้าน
1. ก่อนที่จะเริ่มพูดให้ทำเช่นเดียวกับฝ่ ายเสนอ
2. เมื่อจะคัดค้านหรือแสดงความคิดเห็นของตนออกมา ควรมีเหตุผลพอที่จะทำ
ให้ผู้ฟังเห็นว่าเป็นเช่นนั้นจริง ๆ
3. หักล้างประเด็นต่าง ๆ ของหัวหน้าฝ่ ายเสนอที่เสนอมานั้น ควรพูดเป็นเรื่อง ๆ
พร้อมทั้งยกเหตุผล ข้อเท็จจริง อุทาหรณ์ ภาษิตอื่น ๆ มาประกอบทำเช่นเดียว
กับหัวหน้าฝ่ ายเสนอ เมื่อหักล้างประเด็นเรียบร้อยแล้ว ควรเสนอข้อคิดเห็น
เป็นประเด็นใหม่เพื่อสนับสนุนญัตติทางฝ่ ายตน พร้อมทั้งยกเหตุและผล
มาประกอบเช่นเดียวกัน
4. พยายามทำให้อีกฝ่ ายหนึ่งตกหลุมพรางที่เราวางไว้
5. สรุปจบโดยเน้นประเด็นสำคัญ ๆ ที่พูดมาแล้วนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ผู้สนับสนุนทั้งสองฝ่ าย
ผู้สนับสนุนทุกคนควรปฏิบัติตามที่แนะนำไว้แล้ว คือ ต้องหาเหตุผลมาหักล้าง
ประเด็นของอีกฝ่ ายหนึ่งให้ตกไป และเสนอประเด็นใหม่ขึ้นมาให้อีกฝ่ ายหนึ่งแก้นั่นเอง
309
ใบงาน
เรื่อง การโต้วาที

แผนการจัดกิจกรรม
1. ให้ลูกเสือมีทักษะในการพูด
2. ลูกเสือศึกษาตัวอย่างการโต้วาทีจากใบความรู้ที่ 3.2 เรื่อง โต้วาที
3. ลูกเสือเตรียมการโต้วาทีในญัตติ “อยู่ค่ายดีกว่าอยู่บ้าน”
4. ลูกเสือเรียบเรียงรายละเอียดของหัวข้อที่จะโต้วาที
5. ให้ลูกเสือนำผลงานที่เขียนเสร็จแล้วส่งผู้บังคับบัญชาตรวจ
6. ผู้บังคับบัญชาตรวจผลงานและเสนอแนะปรับปรุงแก้ไข
7. ลูกเสือนำผลงานที่ผู้บังคับบัญชาตรวจแล้วมาปรับปรุงแก้ไข เตรียมตัวโต้วาที
8. ลูกเสือดำเนินการโต้วาทีตามกำหนด
9. ผู้บังคับบัญชาและกรรมการประเมินผลการโต้วาที
จุดมุ่งหมาย
1. ลูกเสือเขียนโครงร่างเรื่องเกี่ยวกับการโต้วาที
2. ลูกเสือโต้วาทีในญัตติ “อยู่ค่ายดีกว่าอยู่บ้าน” ได้
กิจกรรม
1. ลูกเสือเตรียมการโต้วาที
2. ลูกเสือเขียนเรียบเรียงรายละเอียดของการโต้วาทีได้ถูกต้อง
เป้ าหมาย
ลูกเสือสามารถโต้วาทีได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์

เสียงเรื่องสั้น
เรื่อง “ไม่ดูตาม้าตาเรือ”

นกเขาตัวหนึ่งกระหายน้ำมาก เมื่อมองเห็นหนองน้ำในรูปภาพก็เข้าใจว่า
เป็นของจริงจึงบินหวือเข้าไปทันที ผลคือ มันชนเข้ากับรูปภาพอย่างจังและ
ตกลงมาปี กหักได้รับบาดเจ็บ พอมีคนมาพบเข้าจึงจับมันไป
310

คติสอนใจ : “ความประมาทเป็นบ่อเกิดแห่งความตาย”
311
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การโต้วาที (ปฏิบัติ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การแสดงออกในการพูดโต้วาทีเป็นเรื่องสำคัญที่ลูกเสือจะต้องกล้าแสดงออก
ต่อชุมชน ด้วยเหตุด้วยผล มีวาทศิลป์ ที่ประณีตงดงาม และสร้างสรรค์ให้ผู้ฟังเกิด
ความสนใจสนุกสนานไปด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือปฏิบัติการจัดและดำเนินการโต้วาทีได้
1. ปฏิบัติการจัดสถานที่ได้
2. ปฏิบัติการดำเนินการตามขั้นตอนโต้วาทีได้

เนื้อหาสาระ
1. การดำเนินการตามขั้นตอนโต้วาที
2. การจัดที่นั่งในการโต้วาที

กิจกรรมการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “มาสนุกกันหนา” ตามเอกสาร
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็น 2 กลุ่ม
5. ลูกเสือจัดตัวแทนกลุ่ม ๆ ละ 3 คน ขึ้นพูดโต้วาที
6. ลูกเสือปฏิบัติตามใบภาระงานที่ได้รับมอบหมาย
312

7. ลูกเสือและผู้บังคับบัญชาเป็นกรรมการในการตัดสินผลการโต้วาที
8. ลูกเสือปฏิบัติ 21 นาที
9. รวมลูกเสือให้สรุปผลจากการฟังโต้วาที บันทึกเป็นหมู่นำส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “คิดก่อนทำ”
11. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นส่งผู้บังคับบัญชา
12. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยการปฏิบัติของลูกเสือเพื่อเป็นกำลังใจ
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เอกสารเพลง “มาสนุกกันหนา”
3. เอกสารเรื่องสั้น เรื่อง “คิดก่อนทำ”
313
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
314
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
315
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

แบบประเมินผลการโต้วาที (สำหรับผู้บังคับบัญชา)
ฝ่ าย………….
หมู่ที่…….
การใช้ภาษา เนื้อหา ตรงประเด็น บุคลิกภาพ เวลา
ลำดับที่ ถูกต้อง ความถูกต้อง รวม
316
10 10 10 10 10
1
2
3
4
5

……………………………..ผู้ประเมิน
317

เพลง “มาสนุกกันหนา”

มาสนุกกันหนา มาสัญญาร่วมผูกพันธ์ ตะระแร้ก แทรก แทรก


มาสนุกกับฉัน เราลูกเสือเชื้อชาติเผ่าไทย ตะระแร้ก แทรก แทรก
แผ่นดินถิ่นนี้ ทั้งกลาง เหนือ ใต้ อีสาน
สามัคคีเราอยู่ร่วมกันไม่มีเสื่อมคลาย ตะระแร้ก แทรก แทรก

เรื่องสั้น
เรื่อง “คิดก่อนทำ”
318
หมาจิ้งจอกตัวหนึ่งตกลงไปในถังน้ำใบใหญ่ ไม่สามารถปี นขึ้นมาได้ เมื่อแพะซึ่ง
กระหายน้ำจัดเดินผ่านมา และเห็นหมาจิ้งจอกจึงถามว่า น้ำในถังเย็นชื่นใจดีไหม
หมาจิ้งจอกเห็นเป็นโอกาสจึงตอบว่า น้ำเย็นดีมาก สามารถดับกระหายได้ดีนัก มัน
กล่าวหว่านล้อมให้แพะลงไปในถัง
แพะกระหายน้ำจัดเสียจนไม่ทันหยุดคิด กระโจนลงไปดื่มกินน้ำในถังจนเต็มพุง
และแล้วมันก็เริ่มคิดว่ามันจะหาทางขึ้นจากถังได้อย่างไร
“ข้าคิดออกแล้วละ” หมาจิ้งจอกพูดขึ้น
“ถ้าเจ้าเต็มใจจะช่วยให้เราทั้งสองขึ้นไปได้ละก็….จงเอาเท้าหน้าเกาะผนังไว้และ
ชูเขาของเจ้าให้ตั้งตรง ข้าจะเหยียบเจ้าขึ้นไปก่อน และจะดึงตัวเจ้าขึ้นไปไงล่ะ”
แพะตกลงทำตามที่มันแนะนำ หมาจิ้งจอกเหยียบไปตามสะโพก ไหล่ จนถึงเขา
ของแพะ ในที่สุดก็ขึ้นจากถังได้แล้วเดินจากไป
แพะตัดพ้อต่อว่าที่ไม่ทำตามสัญญา แต่หมาจิ้งจอกก็เพียงแต่ย้อนกลับมาพูดว่า
“ถ้าเจ้ามีสมองมากเท่ากับเคราที่คางละก็…..คงไม่ลงไปในถังโดยไม่ดูตาม้าตาเรือเสียก่อน
เป็นแน่”

คติสอนใจ : “ถ้าคนซื่อคบคนโกง เมื่อถึงคราวประสบเหตุการณ์ฉุกเฉิน คนโกง


จะเอาตัวรอดโดยใช้คนซื่อเป็นเครื่องมือ”

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่นไม่ใช่หน้าที่ของใครผู้หนึ่งผู้ใด ลูกเสือมีส่วนช่วยในการ
319
ดูแล
ช่วยป้ องกันการทำลายและการใช้ประโยชน์ของพืชและสัตว์ประเภทต่าง ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น
2. ลูกเสืออธิบายความหมายการอนุรักษ์สัตย์และพืชในท้องถิ่นได้
3. ลูกเสือจำแนกประเภทของสัตว์สงวนได้ถูกต้อง
4. ลูกเสืออธิบายสาเหตุที่สัตว์ป่ าถูกทำลายได้
5. ลูกเสือบอกประโยชน์ของพืชและสัตว์ได้
3. สาระการเรียนรู้
1. การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น
2. ประเภทของสัตว์ป่ า
3. สาเหตุของสัตว์ป่ าถูกทำลาย
4. ประโยชน์ที่ได้รับจากพืชและสัตว์
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ป่ าดงพงพี”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน โดยการเวียนหมุนวิชาให้ครบ
– ฐานที่ 1 เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์และพืช
– ฐานที่ 2 เรื่อง ประเภทของสัตว์ป่ า
– ฐานที่ 3 เรื่อง สาเหตุของสัตว์ป่ าที่ถูกทำลาย
– ฐานที่ 4 เรื่อง ประโยชน์ที่ได้รับจากพืชและสัตว์
5. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้กำกับ
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
7. ผู้กำกับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “มดกับนกเขา”
8. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรองผู้กำกับลูกเสือ
2 เพลง “ป่ าดงพงพี”
3 ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์และพืช
4 ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของสัตว์ป่ า
5 ใบความรู้ เรื่อง สาเหตุของสัตว์ป่ าที่ถูกทำลาย
6. ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์ที่ได้รับจากพืช และสัตว์
320
321
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูก
เสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
322
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ........................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
323
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ป่ าดงพงพี”

ป่ าดงพงพีของไทยเรานี้มีเกินพอ อย่ามัวรีรอ
ขอเชิญช่วยกันขมันขมี ถิ่นไทยนี้แดนสุขสันต์
324
หลากพันธ์ไม้งามสดสี ตื่นเถิดเรายามเช้ามุ่งงานทันที
จอบและเสียมของเราก็มีสินทรัพย์ ทวีด้วยกสิกรรม ๆ (ซ้ำ)
ป่ าดงพงพีของไทยเรานี้อุดมครัน อยู่ในไพรวัลย์รักดินถิ่นไทยใจหรรษา
แหล่งธารน้ำซ่านหลั่งไหล หว่างไพรนี้งามหนักหนา
ถิ่นแดนรทองเรานี้ควรปองคุณค่า หมั่นขยันทุกวันเวลา
สินทรัพย์ได้มาด้วยการกสิกรรม ๆ (ซ้ำ)

ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์และพืช

สัตว์ป่ า
หมายถึง สัตว์ที่มนุษย์ไม่ได้เลี้ยงดูให้อาหาร หรือไม่ได้เป็นเจ้าของ ไม่ว่าจะเป็น
สัตว์บก สัตว์น้ำ และสัตว์ที่บินอยู่ในอากาศก็ตาม สัตว์ป่ ามีลักษณะผิดกับสัตว์บ้าน คือ
ไม่เชื่อง ไม่คุ้นกับคน สัตว์ป่ านั้นเราสามารถพบเห็นได้ในสภาพตามท้องถิ่นต่าง ๆ
พืช
หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถกันอาหารได้ เจริญเติบโตได้ และขยายพันธ์ต่อไป
ได้ องค์ประกอบของพืชส่วนใหญ่ จะประกอบไปด้วยราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และ
325
เมล็ด ยกเว้นพืชบางชนิดอาจประกอบด้วยส่วนอื่น ๆ ซึ่งทำหน้าที่ทดแทนส่วนต่าง ๆ ดัง
กล่าวข้างต้น เช่น เห็ด รา เป็นต้น
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ. 2503 ได้แบ่งสัตว์ป่ าออกเป็น 2
จำพวก คือ
1. สัตว์ป่ าสงวน หมายถึง สัตว์ป่ าที่หายากทุกชนิด เนื่องจากใกล้จะสูญพันธุ์
หรือบางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว ได้แก่ แรด, กระซู่, เสือไฟ, ละองหรือละมั่ง
2. สัตว์ป่ าคุ้มครอง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ก. สัตว์ป่ าคุ้มครองประเภทที่ 1 ห้ามล่าและซื้อขายหรือกินเนื้อ
ข. สัตว์ป่ าคุ้มครองประเภทที่ 2

ใบความรู้
เรื่อง ประเภทของพืชและสัตว์ป่ า

ประเภทของพืช
1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว คือ พืชที่มีใบเลี้ยง 1 ใบ ลักษณะเส้นในขนานตามความ
ยาวของใบ ได้แก่ พืชตระกูลหญ้า พืชตระกูลปาล์ม และพืชตระกูลกก เช่น ข้าว
ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง หญ้า กก ตาล มะพร้าว เป็นต้น ซึ่งพืชเหล่านี้มีความสำคัญต่อ
ชีวิตประจำวันของคนทั่วไปในท้องถิ่นโดยนำมาทำเป็นอาหารสำหรับรับประทาน และใช้
เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ นอกจากนั้นพืชประเภทนี้ยังให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยนำไป
จำหน่ายหรือนำไปถักทอเป็นสิ่งของเครื่องใช้ได้อีกด้วย
2. พืชใบเลี้ยงคู่ คือ พืชที่มีใบเลี้ยง 1 คู่ ลักษณะเส้นใบเป็นร่างแห ได้แก่ พืช
ตระกูลถั่วและพืชอื่น ๆ ที่มีลักษณะดังกล่าว เช่น ถั่วฝักยาว ถั่วเขียว แค นุ่น มะม่วง
ขนุน พุทรา ชบา มะลิ ตำลึง ฟักทอง เป็นต้น ซึ่งมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและต่อ
ชีวิตประจำวันของคนเรารองลงมาจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ประเภทของสัตว์ป่ า
326
โดยทั่วไปแล้วเราแบ่งสัตว์ป่ าออกเป็น 2 ประเภท
1. สัตว์บก หมายถึง สัตว์ที่อยู่บนบก ซึ่งได้แก่ สัตว์สี่เท้า ควายป่ า เสือ แรด
กวาง เป็นต้น
2. สัตว์น้ำ หมายถึง สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ และไม่สามารถขึ้นมาอยู่บนบกเป็น
เวลานานได้ เพราะจะทำให้ตาย เช่น กุ้ง กั้ง ปู ปลา เป็นต้น

ใบความรู้
เรื่อง สาเหตุของสัตว์ป่ าที่ถูกทำลาย

สัตว์ป่ าในท้องถิ่นมีจำนวนลดลง เนื่องจากถูกคุกคามจากภัยต่าง ๆ ซึ่งเราสามารถ


จำแนกตัวการสำคัญที่ทำให้สัตว์ป่ าถูกทำลายออกเป็น 2 สาเหตุ ดังนี้
ธรรมชาติเป็ นต้นเหตุที่ทำลาย
1. สัตว์ทำลายกันเอง
2. โรคระบาดในท้องถิ่น
3. อุบัติเหตุ พลัดตกเหว ภูเขา
4. สารเคมีที่เกษตรกรใช้ สัตว์รับหรือกินเข้าไป
5. ภัยธรรมชาติ
มนุษย์เป็ นต้นเหตุที่ทำลาย
1. มนุษย์เป็นผู้ทำลายดักจับนำไปเป็นอาหาร หรือล่าโดยไม่ขออนุญาต
2. ล่าเป็นเกมกีฬา
3. ซื้อขายเป็นสินค้า
4. ทำลายโดยตั้งใจเมื่อสัตว์มาทำลายพืชไร่ของตน
5. การรุกที่ทำกินแผ้วถางไร่ ป่ าสงวน เป็นการรุกที่อยู่ของสัตว์
6. ขับรถเหยียบ ชน
327

ใบความรู้
เรื่อง ประโยชน์ที่ได้รับจากพืชและสัตว์

ประโยชน์จากพืช
1. ใช้เป็นอาหาร ซึ่งได้จาก ใบ ลำต้น ผล เมล็ด ราก หน่อ
2. นำไปใช้ก่อสร้างที่อยู่อาศัย และใช้ทำเครื่องเรือน
3. ใช้เป็นยารักษาโรค ได้แก่ สมุนไพรที่ได้จากพืชหลายชนิด โดยใช้ส่วน
ประกอบต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ใบ ลำต้น ดอก ผล เป็นต้น โดยนำมา
ใช้ได้โดยตรง หรือนำไปสกัดเป็นยาสำเร็จรูปก็ได้
4. ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม โดยทำจากเส้นใยของพืชชนิดต่าง ๆ
5. นำไปทำเชื้อเพลิงในการหุงต้ม ได้แก่ ฟื นและถ่าน
6. ใช้เป็นอาหารของสัตว์ เช่น หญ้า ฟางข้าว ใบไม้ ผลไม้ เปลือกไม้
เมล็ดต่าง ๆ
7. ใช้ประโยชน์ทางการค้า โดยนำไปจำหน่ายเพื่อเป็นวัตถุดิบให้กับโรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด ยางพารา เป็นต้น
ประโยชน์จากสัตว์
1. เนื้อสัตว์ มนุษย์เราได้เนื้อสัตว์เป็นอาหาร
2. ขนและหนังใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม
3. กระดูก งา และเขา ใช้ทำเป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับต่าง ๆ
4. สามารถนำสัตว์ป่ ามีชีวิตและสัตว์ป่ าผนึกแห้งไปจำหน่ายได้
5. ใช้แรงงาน
6. มีประโยชน์ทางด้านวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย และค้นคว้าทดลองในด้าน
ต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ การแพทย์ จิตวิทยา เป็นต้น
7. ช่วยให้ความเพลิดเพลิน สัตว์ป่ าจะทำให้คนที่พบเห็นมีความสุขทางด้านจิตใจ
และถือเป็นการผ่อนคลายอารมณ์ที่ตึงเครียดจากการทำงาน เช่น การไปเที่ยวชม
สวนสัตว์ เป็นต้น
328

เรื่องสั้น
เรื่อง “มดกับนกเขา”

ณ ป่ าใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นอาศัยของสรรพสัตว์ทั้งหลาย เช้าตรู่ของวัน


หนึ่ง นกเขาได้เริ่มออกหาอาหารแต่เช้า พอตกสายด้วยความเหนื่อยล้าจากการหา
อาหาร มันจึงรู้สึกกระหายน้ำ จึงบินตรงไปที่ลำธารเพื่อดื่มน้ำ ขณะที่มันกำลังดื่มน้ำอยู่นั้น
สายตาของมันก็เหลือบไปเห็นมดน้อยตัวหนึ่ง กำลังตะเกียก–ตะกายจะจมน้ำ ด้วยความ
ที่นกเขาตัวนั้นมีจิตใจเมตตา มันจึงบินไปคาบใบหญ้ามาทิ้งลงในลำธารให้มดน้อยตัวนั้น
เกาะ มดจึงสามารถรอดชีวิตมาได้ หลายวันต่อมา ขณะที่มดกำลังเดินหาอาหารอยู่ใน
ป่ านั้น มันก็เห็นนายพรานคนหนึ่งกำลังยกปื นขึ้นเล็งไปที่นกเขา หมายที่จะยิงไปเป็นอาหาร
ด้วยความกตัญญูรู้คุณ มดน้อยตัวนั้นจึงกัดลงบนเท้าของนายพราน นายพรานหยุดวางปื น
ลงแล้วเกาเท้า ทำให้นกรู้ตัวแล้วบินหนีไปจนรอดจากความตายได้

คติ การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นสิ่งที่ดีมีคุณอนันต์


329
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่นไม่ใช่หน้าที่ของใครผู้หนึ่งผู้ใด ลูกเสือมีส่วนช่วย
ในการดูแลช่วยป้ องกันการทำลายและการใช้ประโยชน์ของพืชและสัตว์ประเภทต่าง ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น
2. ลูกเสืออธิบายความหมายการอนุรักษ์สัตย์และพืชในท้องถิ่นได้
3. ลูกเสือจำแนกประเภทของสัตว์สงวนได้ถูกต้อง
4. ลูกเสืออธิบายสาเหตุที่สัตว์ป่ าถูกทำลายได้
5. ลูกเสือบอกประโยชน์ของพืชและสัตว์ได้
3. สาระการเรียนรู้
1. การอนุรักษ์สัตว์และพืชในท้องถิ่น
2. ประเภทของสัตว์ป่ า
3. สาเหตุของสัตว์ป่ าถูกทำลาย
4. ประโยชน์ที่ได้รับจากพืชและสัตว์
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ดอกลั่นทม”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้กำกับสนทนาและบอกวิธีการเรียนตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 วาดภาพสัตว์ป่ า
– ฐานที่ 2 วาดภาพพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือใบเลี้ยงคู่
– ฐานที่ 3 บอกชื่อสัตว์และเลียนเสียงสัตว์
– ฐานที่ 4 บอกชื่อพืชที่เป็นประโยชน์
6. เมื่อลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ผู้กำกับ
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐาน
8. ผู้กำกับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “กระต่ายตื่นตูม”
9. ผู้กำกับกล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
330
10. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เพลง “ดอกลั่นทม”
2. ใบงานที่ 1 วาดภาพสัตว์ป่ าที่รู้จัก
3. ใบงานที่ 2 วาดภาพพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือคู่
4. ใบงานที่ 3 บอกชื่อสัตว์และเลียนเสียงสัตว์
5. ใบงานที่ 4 บอกชื่อพืชที่เป็นประโยชน์
6. เรื่องสั้น เรื่อง “กระต่ายตื่นตูม”
331
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้กำกับประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้กำกับและเพื่อน
ลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้กำกับและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
332
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
333
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “ดอกลั่นทม”

โอ้แม่ดอกลั่นทม
334
พี่เคยเด็ดดม พี่เคยเด็ดเล่น
เด็ดเช้า เด็ดเย็น พี่เคยเด็ดเล่น
เด็ดดม เด็ดดม

ใบงาน
เรื่อง สัตว์ป่ าที่รู้จัก

ให้ลูกเสือวาดภาพสัตว์ป่ าร่วมกัน 1–2 ชนิด ในหนึ่งภาพและบอกชื่อประโยชน์พร้อม


ทั้งบอกแหล่งที่อยู่ด้วย ในเวลาที่กำหนดให้
335

ใบงานรู้
เรื่อง วาดภาพพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือคู่

ให้ลูกเสือวาดภาพพืชที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ อย่างใดอย่างหนึ่ง
จำนวนไม่น้อยกว่า 4 ใบ บอกประโยชน์ของพืชชนิดนั้นด้วย มีคุณและโทษอย่างไรให้ถูกต้อง
ให้ลูกเสือจับเป็นคู่แล้วช่วยกันวาดคู่ละ 1–2 ชนิด
336

ใบงานรู้
เรื่อง บอกชื่อสัตว์เลี้ยงและเลียนเสียงสัตว์

ให้ลูกเสือบอกชื่อสัตว์ที่สามารถนำมาเลี้ยงได้โดยไม่ผิดกฎหมาย 3 ชนิด พร้อมให้เลียนเสียง


ด้วยและบอกชื่อสัตว์ที่ห้ามนำมาครอบครอง อีก 3 ชนิด
สัตว์เลี้ยงได้
1. ..............................................................................................................................
2. ..............................................................................................................................
3. ..............................................................................................................................
สัตว์ห้ามเลี้ยง
4. ..............................................................................................................................
5. ..............................................................................................................................
6. ..............................................................................................................................
337

ใบงานรู้
เรื่อง บอกชื่อพืชที่เป็ นประโยชน์

1.1 ให้ลูกเสือบอกชื่อพืชที่เป็น
ประโยชน์..............................................................................................................................
1.2 ..............................................................................................................................
1.3 ..............................................................................................................................
1.4 ..............................................................................................................................
1.5 ..............................................................................................................................
1.6 ..............................................................................................................................
ใช้เพื่อการนุ่งห่ม ได้ 3 ชนิด
2.1 ..............................................................................................................................
2.2 ..............................................................................................................................
2.3 ..............................................................................................................................
2.4 ..............................................................................................................................
338

เรื่องสั้น
เรื่อง “กระต่ายตื่นตูม”

ในป่ าใหญ่แห่งหนึ่ง มีสัตว์น้อยใหญ่ ออกหาอาหารกิน จนสายเมื่ออิ่มแล้ว มีเจ้ากระต่าย


น้อยง่วงนอนและหลับอยู่ใต้ต้นตาล จู่ ๆ เกิดมีลมแรงพัดมาวูบหนึ่งผลของตาลร่วงมาเสียง
ดังตุ้บ กระต่ายตื่นตกใจ นึกว่าฟ้ าผ่า ไม่สังเกตหรือดูอะไรทั้งสิ้น เจ้ากระต่ายวิ่งไม่คิดชีวิต
สัตว์อื่นที่เห็น พากันหัวเราะกันเป็นที่ครื้นเครง

คติ อย่าด่วนสรุปว่าสิ่งนั้น ๆ จะเป็นจริงไปทั้งหมด


339
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนักผจญภัย (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ให้มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะและโครงสร้างของต้นไม้ ชนิดของต้นไม้ การเจริญเติบโต
การขยายพันธ์ และการบำรุงรักษาต้นไม้ให้อยู่ในสภาพที่ดีได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกชื่อและลักษณะของต้นไม้ชนิดต่าง ๆ ตลอดจนการบำรุงรักษาต้นไม้ได้ตลอดจน
บอกวิธีการเจริญเติบโตของต้นไม้ได้
1. บอกชื่อต้นไม้ ประเภทต้นไม้ และประโยชน์ของต้นไม้ได้
2. บอกวิธีการขยายพันธ์ของต้นไม้ได้
3. บอกวิธีการบำรุงรักษาต้นไม้ ให้อยู่ในสภาพดี

สาระการเรียนรู้
1. การเจริญเติบโตของต้นไม้ โครงสร้างของต้นไม้
2. ประโยชน์ของต้นไม้ และป่ าไม้
3. การทำแปลงเพาะชำ การย้ายปลูกและการบำรุงรักษาต้นไม้

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “พรวนดินกันเสียให้หมด”
3. ลูกเสือทำแบบประเมินก่อนเรียน
4. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
5. เรียกลูกเสือรวมกอง
340
6. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
7. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
8. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง โครงสร้างและ
การเจริญเติบโตของต้นไม้
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทและประโยชน์
ของต้นไม้

9. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
10. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ผู้รอบคอบ”
11. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
12. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
13. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
14. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “สัตว์พันเท้า”
2. ใบความรู้ เรื่อง การขยายพันธ์การทำแปลงเพาะชำ
3. ใบความรู้ เรื่อง การบำรุงรักษาต้นไม้
4. เรื่องสั้น เรื่อง “สอนลูกให้เป็นโจร”
341
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
342
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
343
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
344
เพลง “พรวนดินกันเสียให้หมด”

พรวนดินกันเสียให้หมด จะปลูกข้าวโพดสาลี (ซ้ำ)


โอ้เจ้าดวงดารา เจ้าไม่เมตตาตัวพี่
ข้าวโพดสาลี ข้าวโพดสาลี ป่ านฉะนี้จะโรยรา (ซ้ำ)
345

ใบความรู้
เรื่อง โครงสร้างและการเจริญเติบโตของต้นไม้

การเจริญเติบโตของต้นไม้ ส่วนใหญ่ต้นไม้เป็นพืชที่สามารถสร้างอาหารได้เอง
(Autotrophic plant) โดยอาศัยแสงแดดและคลอโรฟิ ลที่ทำการสังเคราะห์
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้ำ (H2O) ก่อให้เกิดเป็นน้ำตาลกลูโคสหรือแป้ งกับออกซิเจน
ฉะนั้น พืชจึงเป็นเสมือนโรงงานใหญ่ที่ช่วยเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำในธรรมชาติ
ให้กลับมาเป็นอาหารของมนุษย์ และช่วยให้ก๊าซออกซิเจนเพื่อการหายใจของมนุษย์และสัตว์
ฉะนั้น อาหารของต้นไม้จึงได้แก่
1. น้ำ พืชจะดูดน้ำขึ้นจากรากไปสู่ใบ
2. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จะเข้าไปทางรูใบ (Stomata) ซึ่งจะมีอยู่มากมาย
ตามผิวใบ
นอกจากนี้ อาหารของต้นไม้ก็ได้แก่ เกลือบางชนิด เช่น ไนเตรด ฟอสเฟต
และโปรเตสเซียม เป็นต้น
การสังเคราะห์แสงของต้นไม้ อาจเขียนเป็นสมการได้คือ
แสงแดด
(CO2) + (H2O) คลอโรฟิ ล C6H2O6 + O2
(น้ำตาลกลูโคส)

การเจริญเติบโตของพืชเกิดขึ้นได้เนื่องจากการแบ่งเซล หรือการเพิ่มจำนวน Cell


ภายในลำต้น เนื้อเยื่อต้นไม้ที่ทำหน้าที่แบ่งตัว ทำให้เกิด Cell ใหม่นี้เรียกว่า “เนื้อเยื่อ
เจริญ” (Meri – Stematic tessue) ได้แก่ บริเวณปลายยอดและปลายราก หรือระหว่างข้อ
ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว นอกจากนี้ด้านข้างลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ก็มีเนื้อเยื่อเจริญ
(Cambium) ที่ช่วยสร้างมัดท่ออาหาร (Phloem) ออกมาด้านเปลือก และสร้างมัดท่อน้ำ
(Xylem) เข้าด้านในกลายเป็นเนื้อไม้ ส่วนมากเป็น Cell แข็ง ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำจาก
รากลงไปสู่ใบ และมีท่ออาหาร (phloem) ซึ่งอยู่ด้านนอกหรือด้านเปลือกมีหน้าที่ลำเลียง
อาหารและจ่ายไปยังส่วนต่าง ๆ ของเนื้อเยื่อที่อยู่กลางระหว่างมัดท่อน้ำและมัดท่ออาหาร
เรียกว่า เยื่อเจริญ

ใบความรู้
เรื่อง ประเภท และประโยชน์ของต้นไม้
ป่ าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ลดน้อยลงทุกวันเนื่องจากมนุษย์มีความจำเป็นต้องใช้ไม้
ในการสร้างที่อยู่อาศัย และใช้ในงานสร้างอื่น ๆ มากขึ้น ป่ าไม้ยังเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ถ้าป่ า
ไม้ถูกทำลายหมด ประเทศก็จะเกิดวิกฤตการณ์หลายอย่าง เป็นต้นว่า เกิดน้ำท่วมฉับพลัน
346
ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินได้มากมาย ทั้งนี้เพราะไม่มีรากของต้นไม้ช่วยดูดซับ
และชะลอการไหลของน้ำฝนที่ตกลงมาไม่ให้เกิดน้ำท่วม ต้นไม้ทำให้เกิดความชุ่มชื้น และช่วย
ทำให้ฝนตก เราจึงต้องคงสภาพป่ าไว้ให้มากที่สุด
ต้นไม้อาจแบ่งตามลักษณะของลำต้นได้ 3 พวก คือ
1. ต้นไม้ใหญ่ 3. ต้นไม้พุ่ม
2. ต้นไม้ล้มลุก
บางทีก็จำแนกลำต้นออกเป็น 2 พวก คือ
1. ไม้เนื้อแข็ง ได้แก่ ต้นไม้ใหญ่และพุ่มไม้
2. ไม้เนื้ออ่อน ได้แก่ ไม้ล้มลุก
ต้นไม้นั้นนับว่ามีคุณประโยชน์แก่มนุษย์อย่างมาก ประโยชน์โดยตรงที่ได้ เช่น ใช้ไม้
มาทำบ้านเรือนที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ เป็นยาและอาหาร นอกจากนี้ยังช่วยป้ องกันอุทกภัยช่วยยึดผิว
ดินไม่ให้เกิดการพังทลาย ช่วยเก็บความชุ่มชื้น และยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ า ช่วยทำให้
ภูมิประเทศสวยงาม
ประโยชน์จากการใช้ไม้นั้น ขึ้นอยู่ที่ชนิดของเนื้อไม้นั้น ๆ เช่น
1. ไม้แปรรูป เช่น ไม้กระดาน , ไม้พื้น , ฝา , เพดาน ฯลฯ ไม้ต่าง ๆ ที่ใช้ก็ได้
แก่ ไม้สัก , ไม้เต็ง , ไม้รัง , ไม้แดง , ไม้ประดู่ ฯลฯ
2. ไม้ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง หรือไม้พื้น ได้แก่ ไม้ที่ใช้ในการประกอบอาหารตาม
บ้านเรือน เช่น ไม้โกงกาง , ไม้ประสัก เป็นต้น
3. ไม้หมอนรถไฟ , เสาและเสาเข็ม ได้แก่ ไม้รัง , ไม้แดง , ไม้ตะเคียน ฯลฯ
4. ไม้ที่ส่งไปขายต่างประเทศ ได้แก่ ไม้มะเกลือ , ไม้ประดู่ , ไม้สัก ฯลฯ
นอกจากนี้ ยังมีของป่ าหรือไม้บางชนิดที่ใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น หวาย
ใช้ทำเก้าอี้ ไม้สนใช้ทำกระดาษ น้ำมันยางและชันใช้ทาไม้
347
เรื่องสั้น
เรื่อง “ผู้รอบคอบ”
คนตกปลาคนหนึ่งตกปลาอยู่นานจึงได้ปลาน้อยตัวหนึ่ง เจ้าปลาน้อยร้องขอชีวิตโดย
กล่าวว่า
“เราตัวนิดเดียวท่านกินไม่อิ่มหรอกถ้าท่านปล่อยเราไป เราจะไปหลอกปลาตัวใหญ่มา
กินเบ็ดท่าน”
คนตกปลาตอบ
“ปลาเล็กแต่ได้แน่นอน ดีกว่าปลาตัวใหญ่ ๆ ที่อยู่ในน้ำ”
พูดจบก็ปลดปลาน้อยใส่ตะกร้า

คติสอนใจ : “จงอย่าหวังน้ำบ่อหน้า”
348

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนักผจญภัย (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ให้มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะและโครงสร้างของต้นไม้ ชนิดของต้นไม้ การเจริญเติบโต
การขยายพันธ์ และการบำรุงรักษาต้นไม้ให้อยู่ในสภาพที่ดีได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกชื่อและลักษณะของต้นไม้ชนิดต่าง ๆ ตลอดจนการบำรุงรักษาต้นไม้ได้ตลอดจน
บอกวิธีการเจริญเติบโตของต้นไม้ได้
1. บอกชื่อต้นไม้ ประเภทต้นไม้ และประโยชน์ของต้นไม้ได้
2. บอกวิธีการขยายพันธ์ของต้นไม้ได้
3. บอกวิธีการบำรุงรักษาต้นไม้ ให้อยู่ในสภาพดี

สาระการเรียนรู้
1. การเจริญเติบโตของต้นไม้ โครงสร้างของต้นไม้
2. ประโยชน์ของต้นไม้ และป่ าไม้
3. การทำแปลงเพาะชำ การย้ายปลูกและการบำรุงรักษาต้นไม้

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “สัตว์พันเท้า”
4. เรียกลูกเสือรวมกอง
5. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
349
6. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
7. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การขยายพันธ์การทำ
แปลงเพาะชำ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบำรุงรักษาต้นไม้
8. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
9. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “สอนลูกให้เป็นโจร”
10. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้นที่ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
11. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศหน้าห้องกิจกรรมลูกเสือ
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
13. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เกม “สัตว์พันเท้า”
2. ใบความรู้ เรื่อง การขยายพันธ์การทำแปลงเพาะชำ
3. ใบความรู้ เรื่อง การบำรุงรักษาต้นไม้
4. เรื่องสั้น เรื่อง “สอนลูกให้เป็นโจร”
350
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
351
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
352
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
353
เกม “สัตว์พันเท้า”

วิธีเล่น
1. ให้แต่ละหมู่เข้าแถวกระดาน เอามือทั้ง 2 กอดเอวคนข้างเคียงให้แน่น
2. เมื่อสัญญาเริ่ม ให้ทุกหมู่วิ่งไปยังเส้นที่ ผู้บังคับบัญชากำหนดไว้ เมื่อหมู่ใดมา
ถึงเส้นก็วิ่งกลับที่เดิม หมู่ใดมาถึงก่อนโดยมือไม่หลุดออกจากกัน หมู่นั้นชนะ

ใบความรู้
รื่อง การขยายพันธ์ไม้และทำแปลงเพาะชำ

การสืบพันธ์ของไม้ในป่ าอาจเกิดได้ 2 วิธี คือ


1. การสืบพันธ์โดยธรรมชาติ อาจแพร่พันธ์โดยเมล็ด โดยหน่อหรือตา หรือจากราก
2. การสืบพันธ์โดยการปลูกป่ าขึ้นมาใหม่ คือ การหว่านจากเมล็ดหรือการปลูกกล้าไม้
โดยมนุษย์
354
การปลูกจากกล้า ก็จำเป็นจะต้องเตรียมแปลงเพาะ การเตรียมเมล็ดและการปฏิบัติ
อื่น ๆ การเตรียมแปลงเพาะชำ
ชุดตกเผา ไถ คราด ตบแต่งดินให้เรียบ ถ้าดินขาดปุ๋ ย ก็เพิ่มลงไป แล้วทำแปลง
ขนาดกว้าง 4 ฟุต จัดให้ทางเดินผ่านหลาย ๆ ทาง ขอบร่องควรใช้ไม้ขนาด 2 – 6 นิ้ว
กั้นกันดินพัง หรือจัดแปลงให้เสมอดิน แล้วขุดรางน้ำลึก 1 – 2 นิ้ว เพื่อเป็นทางน้ำไหลเข้า
ไม่ต้องคอบรดน้ำ การหว่านเมล็ดปกติใช้มือหรือเครื่อง ถ้าเมล็ดเล็กมากควรคลุกสีให้เห็นง่าย
เมื่อหว่านแล้วควรใช้ลูกกลิ้งทับให้เมล็ดฝังดิน แล้วคลุมด้วยหญ้าแห้งหรือฟางแล้วหมั่นรดน้ำ เช้า
– เย็น
355

ใบความรู้
เรื่อง การบำรุงรักษาต้นไม้

การย้ายที่ปลูก
เมื่อกล้าไม้ขึ้นได้ขนาดอันสมควรแล้ว ก็ย้ายไปปลุกในที่ถาวรในการย้ายปลูกนี้ต้อง
คำนึงถึง
1. ฤดูที่ปลูก
2. การจัดวางระยะระหว่างแถวและแนว
3. การเอาใจใส่ดูแลกล้าไม้ก่อนปลูก
4. วิธีการปลูก
วิธีปลูก
อาจมีวิธีการปลูกหลายวิธีแต่ที่สำคัญควรให้รากอยู่ในหลุมลึกเท่ากัน เมื่อราก อยู่ใน
ปลูกเพาะ

การบำรุงรักษา
1. การทำความสะอาดสวน
2. การตัดไม้เพื่อช่วยไม้ที่ถูกเบียดบัง
3. การตัดล้างขยายระยะ
4. การตัดไม้เพื่อบำรุงป่ า
5. ดารตัดไม้เพื่อการกู้ป่ า
6. การลิดกิ่งไม้
7. การใช้ยาหรือสารเคมีเพื่อป้ องกันและฆ่าเชื้อโรค

เรื่องสั้น
เรื่อง “สอนลูกให้เป็ นโจร”
เรื่องราวมีอยู่ว่า พ่อแม่คู่หนึ่งมีลูกชายเพียงคนเดียว หวังเอาไว้สืบสกุลจึงเลี้ยงดู
อย่างทะนุถนอม หลายครั้งที่ลูกกระทำความผิด ก็ไม่เคยว่ากล่าวตักเตือนหรือเฆี่ยนตี เพราะกลัว
ลูกรักจะได้รับความทุกข์ทรมาน
356
ความรักที่มีมากเกินไปได้ทำให้ลูกไม่รู้จักชั่วดี หลายครั้งลูกไปลักขโมยข้าวของผู้อื่นมา
ไว้ที่บ้าน แม่ซึ่งรู้เห็นโดยตลอดแทนที่จะว่ากล่าวตักเตือน กลับชื่นชมว่าลูกเป็นคนเก่ง ตัวเล็ก
แค่นี้สามารถหาทรัพย์สินเข้าบ้านได้แล้ว
ลูกเมื่อได้รับคำชมก็ยิ่งเหลิงใจ จนกระทั่งเติบใหญ่ก็พาพวกบุกเข้าไปในบ้านของ
คหบดี เพื่อปล้นทรัพย์สินแล้วฆ่าเจ้าของทรัพย์ตาย
พอลูกถูกเจ้าหน้าที่ไล่จับกุม พ่อแม่ก็หาช่องทางให้ลูกหนี ท้ายสุดหนีไปไม่รอด
จึงต่อสู้และถูกเจ้าหน้าที่ยิงล้มลง พ่อแม่ได้รุดมาที่เกิดเหตุเห็นลูกนอนดิ้นก็ยังไม่ได้คิด จึง
ด่าทอเจ้าหน้าที่ทำเกินกว่าเหตุ
ในทางตรงกันข้าม ฝ่ ายลูกเมื่อใกล้ตายกลับคิดได้ จึงบอกพ่อแม่ไปว่า ถ้าพ่อแม่
สอนให้ลูกรู้ชั่วดี ลูกคงไม่มาประสบเคราะห์กรรมเช่นนี้ ครั้งพูดจบก็สิ้นลม การสอนลูกให้เป็น
โจรไม่ใช่เรื่องที่ถูกต้องเลย
เรื่องนี้เข้าลักษณะเรื่อง พ่อแม่รังแกฉัน พ่อแม่ย่อมรักลูกเป็นธรรมดา แต่ถ้ารักลูก
และส่งเสริมลูกในทางที่ผิด ก็เท่ากับว่าฆ่าลูกทางอ้อม เช่นกับเรื่องนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง ผู้พิทักษ์ป่ า เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุของการเกิดไฟป่ า อันตรายและผลกระทบของไฟป่ า ตลอดจน
มีความรู้ความเข้าใจในการป้ องกันมิให้เกิดไฟป่ า

จุดประสงค์การเรียนรู้
357
บอกถึงภัยอันตราย สาเหตุที่เกิดไฟป่ าตลอดจนการป้ องกันไฟป่ าได้ ตลอดจน
บอกสาเหตุที่ทำให้เกิดไฟป่ าได้
1. บอกประเภทของไฟป่ าได้
2. อธิบายวิธีการป้ องกันไฟป่ าได้

สาระการเรียนรู้
1. สาเหตุและอันตรายของการเกิดไฟป่ า
2. ประเภทของไฟป่ า
3. วิธีดำเนินการป้ องกันไม่ให้เกิดไฟป่ า

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “ชาวดง”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
358
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง สาเหตุและอันตรายจากการเกิด
ไฟป่ า
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประเภทของไฟป่ า
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิธีป้ องกันไฟป่ า
7. เรียกลูกเสือรวมกองร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “รางวัลแก่ผู้ทรยศ”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ต้นไม้ภายในบริเวณโรงเรียน
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. เพลง “ชาวดง”
3. ใบความรู้ เรื่อง สาเหตุและอันตรายจากการเกิดไฟป่ า
4. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของไฟป่ า
5. ใบความรู้ เรื่อง วิธีป้ องกันไฟ
6. เรื่องสั้น เรื่อง “รางวัลแก่ผู้ทรยศ”
359
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
360
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
361
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
362
เพลง “ชาวดง”

(สร้อย) กลางดงพงป่ าเขาลำเนาไพรไกลสังคม


มีแดนรื่นรมย์แสนชื่นชมมีเสรี
ไร้ทุกข์สนุกสนาน สำราญกันให้เต็มที่
พวกเราชาวถิ่นนี้ล้วนมีไมตรีต่อกัน
อาชีพป่ าดงพงไพร เลี้ยงโคทำไร่ไถนาเป็นพราน
หน้าแล้งเราพากันเผาถ่าน หาฟื นกลับบ้านเจือจุน
เงินทองหามาได้เก็บออมเอาไว้เป็นทุน
เจ็บไข้ได้อุดหนุน เกื้อกูลการุณผูกพัน (สร้อย)
เย็นย่ำตะวันรอน ๆ เราได้พักผ่อนสำราญอุรา
ค่ำลงเราพบกันพร้อมหน้า เรามาสนุกด้วยกัน
ยามงานนั้นเราทำ ตรากตรำเพียงไหนไม่หวั่น
เสร็จงานเราสุขสันต์ ร้องเพลงบรรเลงกล่อมใจ (สร้อย)
363
ใบความรู้
เรื่อง สาเหตุและอันตรายของการเกิดไฟป่ า

ภัยอันตรายและสาเหตุที่เกิดไฟป่ า มีหลายอย่างด้วยกัน คือ


1. เกิดจากธรรมชาติในป่ าบางแห่ง เช่น เกิดจากพายุจัด ฟ้ าคะนอง เกิดฟ้ าผ่าถูก
ต้นไม้ที่แห้งตาย
2. ภัยอันตรายที่เกิดจากการเผาป่ าโดยความตั้งใจ หรือโดยความเผลอเรอ เช่น
– คนเที่ยวป่ าจุดไฟเผาป่ าล่าสัตว์ให้สัตว์ตื่นตกใจ
– คนเลี้ยงสัตว์จุดไฟเผาป่ า , หญ้า เพื่อให้มีหญ้าอ่อนสำหรับสัตว์
– นักท่องเที่ยวทิ้งก้นบุหรี่และก้านไม้ขีดไว้ตามป่ า
– กสิกรทำการเผาป่ าข้างทุ่งนาเพื่อไล่สัตว์

ผลเสียของการที่เกิดไฟป่ า
1. ทำความเสียหายให้แก่ไม้ ซึ่งมนุษย์ต้องนำมาใช้ประโยชน์
2. ทำลายเมล็ดพันธ์ไม้และกล้าไม้อ่อน
3. ทำลานสัตว์ป่ าและที่อยู่ของสัตว์ป่ า
4. ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์ป่ า
ฯลฯ

ใบความรู้
เรื่อง ประเภทของไฟป่ า
ไฟป่ าสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1. ไฟไหม้ใต้ดิน เกิดจากใบไม้กิ่งไม้ร่วงหล่น ทับถมจนดินเป็นชั้นแล้วเกิดไฟ
ไหม้คุไปตามดิน
364
2. ไฟไหม้บนดิน เกิดจากใบไม้กิ่งไม้แห้งและหญ้าในพงในป่ า ทำให้ต้นขนาด
เล็กตายเป็นจำนวนมาก ต้นไม้ขนาดใหญ่แม้จะไม่ตาย ก็ทำให้ความเจริญ
เติบโตชะงัก
3. ไฟไหม้ยอดไม้ เกิดจากไฟไหม้ป่ าสนเขาที่มีน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงติดเร็วเมื่อไฟไหม้
ขึ้นบนต้นสน ลมพัดจัด ลุกลามไหม้ยอดไม้ต้นอื่นต่อไป เป็นไฟไหม้ที่ร้าย
แรง กว่าไฟชนิดอื่น
365

ใบความรู้
เรื่อง วิธีการป้ องกันไฟป่ า

1. ส่งเสริม การศึกษาให้ประชาชน ได้ตระหนักในความสำคัญของป่ าไม้


และอันตรายที่จะพึงบังเกิดแก่ป่ าไม้
2. สร้างแนวป้ องกันไฟป่ า
3. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จะแจ้งเหตุ หรือเครื่องมือที่จะใช้ดับไฟไว้ในพื้นที่ที่เหมาะสม
เพื่อรีบตัดต้นไม้เสียก่อน
4. ช่วยรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับนักท่องเที่ยว หรือผู้ที่จะเข้าไปดับหญ้า
5. แก้ไขกฎหมายป่ าไม้ให้รัดกุมยิ่งขึ้น

เรื่องสั้น
เรื่อง “รางวัลแก่ผู้ทรยศ”

ครั้งหนึ่งฝูงหมาป่ ากล่าวกับฝูงหมาบ้านว่า “พวกท่านก็มีหน้าตาเหมือน ๆ กับพวกข้า


เหตุใดจึงไม่มาอยู่ร่วมฝูงกันล่ะ พวกเราทั้งสองไม่มีอะไรแตกต่างกันเลยนี่นา ยกเว้นแนวคิด
366
เท่านั้น พวกเราอยู่อย่างอิสระ แต่พวกท่านยอมรับใช้มนุษย์เยี่ยงทาส ปล่อยให้พวกเขาทุบตี
และเอาปลอกคอมาใส่ นอกจากนั้น ก็ยังใช้ให้เฝ้ าฝูงสัตว์อีกด้วย เมื่อพวกเขากินอาหารกัน
พวกท่านก็ได้กินแค่เศษกระดูกที่เขาโยนมาให้ จงเชื่อพวกเราเถอะ ส่งฝูงแกะมาให้พวกเราซะ
ดีกว่า แล้วเราจะแบ่งกันกินอย่างไรล่ะ”
หมาบ้านตกลงตามข้อเสนอดังกล่าว แต่ทันทีที่ฝูงหมาป่ าเข้ามาในคอกแกะได้ มัน
ก็เริ่มด้วยการฆ่าหมาบ้านทั้งหมดเสียก่อน นี่คือรางวัลของผู้ที่ทรยศต่อบ้านเมืองของตนเอง

คติสอนใจ : อย่าเชื่อในสิ่งที่คนอื่นพูด จงใคร่ครวญให้รอบคอบก่อนตัดสินใจ


367

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ (ผู้จัดการค่ายพักแรม ) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม การกางเต็นท์เป็ นสิ่งจำเป็ นอย่างยิ่งของลูกเสือ ในการสร้าง
ระบบหมู่ ระเบียบ วินัย ความอดทนและแก้ไขปัญหาได้อย่างดียิ่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของเต็นท์และกางเต็นท์ได้
1. บอกส่วนประกอบของเต็นท์ได้
2.ปฏิบัติการกางเต็นท์ได้
3.ปฏิบัติการป้ องกันไฟไหม้ในขณะพักแรมได้

เนื้อหาสาระ
1. เต็นท์ลูกเสือ
2. การระวังป้ องกันไฟป่ า

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “พาไปเที่ยว”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม แยกไปศึกษาตามฐาน 2 ฐาน โดยแต่ละฐานมีรอง
ผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิตความรู้ของ แต่ละฐานก่อน แล้งจึงให้ลูกเสือปฏิบัติ
5. ลูกเสือแต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ดังนี้
(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)
ฐานที่ 1 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิตการกางเต็นท์
ฐานที่ 2 เรื่อง อธิบายประกอบการสาธิต การระวังป้ องกัน
ไฟไหม้ ระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
6. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
7. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
8. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
9. ผู้บังคับบัญชาเปิ ดแถบบันทึกเสียงเรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
10. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
368
เสือเลือกคติสอนใจที่ดีไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
11. ลูกเสือหมู่ที่ 3 รับใบภาระงานที่ 14.1
12. ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
13. มอบใบความรู้ เรื่อง การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่
บ้านแล้วนำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
14. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เต็นท์และอุปกรณ์เต็นท์
2. แผนผังการกางเต็นท์
3. รูปภาพของการรักษาขยะ
4. รูปภาพของอาหาร 5 หมู่ และการเก็บรักษา
5. เพลง “พาไปเที่ยว”
6. ใบความรู้ เรื่อง “การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ”
7. แถบบันทึกเสียง เรื่องสั้น เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”
369
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1. เพื่อให้ลูกเสือได้ปฏิบัติจริงผู้บังคับบัญชาเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เพียงพอ
2. ให้ลูกเสือศึกษาหนังสือบุกเบิกเพิ่มเติม จากห้องกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน
370
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................ )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
371
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
372

เพลง “พาไปเที่ยว”

พวกเราจะไป รถไฟ – พวกเราจะไปรถยนต์


พวกเราจะไปไอพ่น – พวกเราทุกคนจะไปไอพ่น
จะไปรถยนต์ จะไปรถไฟ – ฉึกฉัก ปิ้น ปิ้น บึ้น บึน บึน บึน

เรื่องสั้น
เรื่อง “ความตายของผู้ทรยศ”

แขกผู้หนึ่ง มาถึงบ้านคนดักนกช้าไปหน่อย เจ้าภาพไม่เหลืออะไรไว้


ต้อนรับเลย จึงฆ่านกกระทาที่เลี้ยงไว้ นกกระทาทวงบุญคุณว่ามันทำประโยชน์
373
โดยเป็ นนกต่อล่อนกตัวอื่น ๆ มาติดตาข่าย ทำให้เขาจับนกได้
คนดักนกก็พูดขึ้นว่า “นั่นเป็ นเหตุผลที่สมควรที่สุด เพราะเจ้าไม่มี
ความเมตตาแม้แต่กับญาติพี่น้องของเจ้าเอง”
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า เพื่อนที่ทรยศไม่เพียงแต่เป็ นที่เกลียดชัง
ของผู้ที่ถูกทรยศเท่านั้น แต่ยังได้รับความเกลียดชัง จากบุคคลที่สั่งให้
เขากระทำการอันนั้นด้วย

ใบงาน
วิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น

คำสั่ง 1. ลูกเสือหมู่ที่ 3 ช่วยกันหาวิธีการเล่านิทานเรื่องสั้น เรื่อง“เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน”


2. หาตัวแทนมาเล่าให้เพื่อนลูกเสือได้ฟังในคาบต่อไป
3. ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที
4. ทุกหมู่ช่วยกันสรุปและเขียนคติสอนใจส่งผู้บังคับบัญชา

เรื่องสั้น เรื่อง “เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน”

นกพิราบตัวหนึ่ง ถูกขังอยู่ในกรง มันพูดโอ้อวดอย่างภาคภูมิใจว่ามี


ครอบครัวที่ใหญ่มาก เมื่อกาได้ยินดังนั้นจึงพูดว่า “หยุดคุยโวเสียเถอะเพื่อน ยิ่งเจ้ามีลูก
มากเท่าไร ก็จะยิ่งนำความเศร้าหมองมาสู่ใจเจ้ามากเท่านั้น”
374
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนที่เป็ นทาสนั้น เมื่อมีลูกหลานเกิดมา
ก็ต้องปวดร้าวใจ เพราะลูกหลานต้องตกอยู่ในสภาพทาสด้วย

ใบความรู้
เรื่อง เต็นท์ลูกเสือ

การกางเต็นท์สำหรับหมู่ลูกเสือ
1. เต็นท์รวมหรือเต็นท์ขนาดใหญ่ แบบเป็ นผ้าเต็นท์สี่เหลี่ยมธรรมดา
ภาพประกอบ การกางเต็นท์รวมหรือเต็นท์ใหญ่

2. เต็นท์หมู่สำเร็จรูป
ภาพประกอบ การกางเต็นท์หมู่สำเร็จรูป
375
376
การพับเต็นท์
การพับเต็นท์หมู่สำเร็จรูป มีลำดับขั้นตอน ดังนี้
1. นำเต็นท์สำเร็จรูป ซึ่งทำความสะอาดใต้พื้นเต็นท์เรียบร้อยแล้ว วางบนพื้นที่
สะอาด แผ่ออกเป็ นรูปสี่เหลี่ยม ตามขนาดของพื้นเต็นท์
2. แบ่งส่วนกว้างของพื้นเต็นท์ออกเป็ น 4 ส่วน แล้วพับส่วนข้างทั้งสองเข้าหากัน
ให้ทับผ้าเต็นท์ ซึ่งเป็ นส่วนของหลังคา ที่กองแนบเรียบติดพื้นล่างของเต็นท์แล้ว
3. โดยพับสองข้างเข้าหากันที่กึ่งกลาง เสร็จแล้วพับตรงแนวกึ่งกลางนั้นอีกครั้ง จะ
เห็นเฉพาะพื้นเต็นท์เป็ นรูปสี่เหลี่ยมยาว
4. เก็บอุปกรณ์เสา คาน และสมอบกรวมกันใส่ถุงเล็ก ๆ เรียบร้อยแล้ว นำมาวางบน
พื้นเต็นท์ที่พับแล้ว โดยวางขวางกับด้านยาวของพื้นเต็นท์ตรงริมใดริมหนึ่ง แล้วม้วนเต็นท์ที่พับ
ทับถุงอุปกรณ์ จนได้เป็ นรูปกลมทรงกระบอก (การม้วนนั้น ควรจะม้วนจากด้านหัวเต็นท์ไปหา
ด้านประตูเต็นท์) ใช้เชือกมัดไว้
5. นำเต็นท์ที่ม้วนแล้วนั้นบรรจุถุงของเต็นท์เพื่อเก็บรักษาต่อไป

การป้ องกันไฟไหม้ระหว่างอยู่ค่ายพักแรม

สาเหตุของไฟไหม้
ไฟไหม้ที่เกิดขึ้นระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม อาจเกิดขึ้นได้จากกรณีต่อไปนี้
1. เกิดจากไฟป่ า
2.เกิดจากไฟที่ชาวบ้านเผาป่ า
3.เกิดจากความสะเพร่าของลูกเสือ
การป้ องกัน
เพื่อป้ องกันข้อบกพร่องดังกล่าว เมื่อลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม ควรเตรียม
การป้ องกันไฟไหม้ไว้ด้วย กล่าวคือ
1. บริเวณที่ตั้งค่ายโดยรอบควรเก็บกวาดและเผาใบไม้แห้งให้สะอาด
2. ถ้าบริเวณโดยรอบที่ตั้งค่ายมีหญ้าแห้ง ควรถากถางให้เป็ นแนว
3. กองไฟที่ใช้ประกอบอาหาร กองไฟที่ใช้ในการชุมนุมรอบกองไฟ เมื่อเลิกใช้แล้ว
ต้องดับให้สนิท
377

4. ไฟที่ลูกเสือใช้เพื่อแสงสว่างในเวลากลางคืน เช่น เทียนไข หรือตะเกียงน้ำมัน


ควรทำที่ตั้ง หรือแขวนให้เหมาะสม
5. ตรวจตราความเรียบร้อยของค่ายพักแรมเป็ นประจำ
378
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การก่อกองไฟ (ผู้จัดการค่ายพักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม เป็ นกิจกรรมที่ใช้ชีวิตกลางแจ้ง เป็ นการส่งเสริมให้ทุกคน
รู้จักช่วยเหลือตนเอง และผู้ร่วมงาน ต้องเรียนรู้การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน ต้องช่วยก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ ใช้ชีวิตอยู่ได้ภาย
ใต้เงื่อนไขที่มีข้อจำกัด

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกลักษณะกองไฟ และ ก่อได้อย่างถูกต้อง
1. ปฏิบัติสร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอนได้
2. ปฏิบัติการก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟได้

เนื้อหาสาระ
1. การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
2. การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “แข่งจระเข้”
3. ผู้บังคับบัญชาสนทนา การก่อกองไฟ การใช้ฟื น–ถ่านหุงต้ม
4. แบ่งลูกเสือออกเป็ น 2 กลุ่ม ไปศึกษาและฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน จุดละ 10 นาที โดยมีรองผู้
บังคับบัญชาเป็ นผู้อธิบายและสาธิต ดังนี้
จุดที่ 1 การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
จุดที่ 2 สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้าและเครื่องนอน
5. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
6. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
8. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
เสือเลือกคติสอนใจไปติดไว้ตามต้นไม้ในโรงเรียน
9. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและกล่าวคำชมเชย
379
10. มอบใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า และเครื่อง
นอน ให้ลูกเสือไปศึกษาต่อที่บ้านแล้ว นำเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงานของลูกเสือแต่ละคน
11. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารสำหรับรองผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. รูปภาพเกี่ยวกับการก่อกองไฟแบบต่าง ๆ ในการอยู่ค่าย
3. เกม “แข่งจระเข้”
4. ใบความรู้ เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้า ตากเสื้อผ้า
และเครื่องนอน
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ทำคุณบูชาโทษ”
380
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................
381
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
382
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เกม “แข่งจระเข้”

วิธีเล่น
ให้แต่ละหมู่เข้าแถวตอน ระยะเคียงห่างกัน 1 เมตร แล้วนั่งลง
บนส้นเท้า คนหลังให้เกาะไหล่คนที่อยู่ข้างหน้าตามลำดับ คนหน้าสุดคือ นายหมู่ให้นั่งกอดอก
ทุก ๆ หมู่ จะต้องเคลื่อนที่ไปยังจุดข้างหน้า ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ
383
10 เมตร ด้วยการกระโดดไปข้างหน้า หรือขยับเท้าก้าวไปข้างหน้าพร้อม ๆ กัน
ในสภาพที่นั่งอยู่ และไม่ให้แถวขาด พร้อมทั้งต้องเกาะไหล่กันอยู่ตลอดไป ใครถึง
เส้นชัยก่อน ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

เรียนระบบอิสระ 2 จุด ดังนี้

จุดที่ 1 การก่อกองไฟ สำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ


การใช้ฟื น – ถ่านหุงต้ม

จุดที่ 2 การสร้างราวตากผ้า การตากเสื้อผ้า


และเครื่องนอน
384
385

เรื่องสั้น
เรื่อง “ทำคุณ บูชาโทษ”

หมาป่ าตัวหนึ่ง ต้องทนทุกข์ทรมาน เพราะก้างปลาติดคอ มัน


พยายามตามหาผู้ที่สามารถจะช่วยให้มันพ้นจากความทรมานนี้ ในที่สุด ก็ได้พบ
นกกระสา จึงเอ่ยปากขอความช่วยเหลือ โดยสัญญาว่าจะจ่ายค่าจ้างให้ นกกระสา
จึงเอาจะงอยปากล้วงเข้าไป คีบก้างปลาออกจากคอหมาป่ า เสร็จแล้วทวงค่าจ้าง
หมาป่ าจึงพูดว่า “เฮอะ เจ้ายังไม่พอใจอีกหรือ ที่สามารถเอาหัวออกปากข้าได้
ยังจะมีหน้ามาเรียกร้องค่าจ้างอีก”

ใบความรู้
เรื่อง การก่อกองไฟ สร้างราวตากผ้าและเครื่องนอน
การก่อกองไฟ
การก่อกองไฟเป็ นกิจกรรมที่ลูกเสือทุกคน จะต้องปฏิบัติได้ ในขณะ
ที่เข้าค่ายพักแรม แต่การก่อกองไฟแต่ละครั้ง จะต้องมีจุดมุ่งหมาย ว่าจะก่อกองไฟ
เพื่ออะไร จะใช้ปรุงอาหาร จะใช้แสงสว่าง เพื่อจะได้เลือกสถานที่ให้เหมาะสม
386

ข้อปฏิบัติในการก่อกองไฟ
1. รู้จุดมุ่งหมายในการก่อกองไฟ
2 . เตรียมอุปกรณ์ในการก่อกองไฟให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. จัดสถานที่ให้เกิดความปลอดภัย เพื่อป้ องกันเศษไฟที่ จะกระเด็นออกไปลุกไหม้
บริเวณข้างเคียงได้
การก่อกองไฟสำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ
การก่อกองไฟ สำหรับการชุมนุมรอบกองไฟ โดยทั่วไปแล้วนิยม
ก่อกองไฟเป็ น 3 แบบ คือ
แบบกระโจม
การก่อกองไฟแบบนี้ จะสิ้นเปลืองฟื นมาก เพราะไฟติดเร็วเหมาะ
สำหรับงานที่ต้องการความร้อน และแสงสว่างมาก ๆ
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบกระโจม

การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
แบบนี้ให้ความร้อนดี แต่แสงสว่างจะไม่มากนัก สิ้นเปลืองฟื นไม่มาก
โดยนำฟื นมาวางเรียงกันเป็ นชั้น ๆ สลับกันไป

ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบเล้าหมูหรือเชิงตะกอน
387

แบบผสม
เป็ นการก่อกองไฟแบบกระโจม และแบบเชิงตะกอนผสมกัน ให้
แสงสว่างมาก เหมาะสำหรับการแสดงรอบกองไฟ ในเวลาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม
โดยวางฟื นดังนี้
ภาพประกอบ การก่อกองไฟแบบผสม

ข้อระวังในการก่อกองไฟ
1. เมื่อเลิก งานแล้วต้องดับไฟให้เรียบร้อย ด้วย น้ำ ทราย หรือดินเปี ยก ๆ
2. ปรับสถานที่ ที่ใช้ก่อกองไฟให้เรียบร้อย โดยการเก็บกวาดเศษไม้ หรือ เถ้าถ่าน
ออกให้หมด จนมีสภาพเหมือนเดิมทุกอย่าง

การตากผ้า และเครื่องนอนที่เปี ยกชื้นให้แห้ง ในระหว่างการอยู่


ค่ายพักแรม ในการไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะมีเสื้อผ้าและเครื่องนอนไปจำนวน
จำกัด ดังนั้น จึงจำเป็ นต้องรักษาให้สะอาดและใช้การได้อยู่เสมอ ในกรณีที่เปี ยกชื้น
จะต้องทำให้แห้งโดยเร็ว และถ้าในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรมมีฝนตก ยิ่งจำเป็ น
ที่จะต้องทำให้เสื้อผ้าแห้งอย่างรวดเร็วเท่าที่จะทำได้
ต่อไปนี้เป็ นข้อเสนอแนะในการตากผ้าให้แห้งเร็วขึ้น
1. ทำไม้แขวนเสื้อ แทนที่จะตากเสื้อผ้าหรือเครื่องนอนกับราวตากผ้า ควรทำไม้
แขวนเสื้อผ้า จากวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น จะช่วยให้น้ำระเหยเร็ว เพราะเสื้อผ้ามีพื้นที่ที่จะรับลม
ได้มากขึ้น
388
2. ในกรณีที่ฝนตก ไม่สามารถตากเสื้อผ้ากลางแจ้งได้ อาจจะแขวนไว้เหนือเตาไฟที่ใช้
ประกอบอาหาร แต่ควรระวังไม่ให้เสื้อผ้าถูกควันไฟ
3. ในกรณีที่มีแดดออก ควรให้เสื้อผ้าได้รับแสงแดดบ้างจะช่วยให้เสื้อผ้า ไม่มีกลิ่นอับ
ชื้น
4. ในกรณีที่จำเป็ น ไม่สามารถจะตากเสื้อผ้าให้แห้งได้อย่างรวดเร็ว ควรแขวน
เสื้อผ้าไว้ในที่ที่มีลมพัดผ่านได้สะดวก เพื่อป้ องกันไม่ให้เสื้อผ้าอับชื้น
5. ถ้าอยู่ค่ายพักแรมเป็ นเวลาหลายวัน ควรนำเครื่องนอนออกผึ่งแดดบ้างเป็ นครั้ง
คราว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง สุขาภิบาล (ผู้จัดการค่ายพักแรม) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การอยู่ค่ายพักแรม การสุขาภิบาลเป็ นสิ่งจำเป็ นอย่างยิ่งของลูกเสือ จะสร้างสุข
อนามัย ความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อมที่ดี ระเบียบ วินัย ความอดทน และแก้ไขปัญหา
ได้อย่างดียิ่ง

จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกการระวัง รักษาอาหาร การกำจัดขยะและสร้างส้วมชั่วคราวได้
1. บอกการระวังรักษาอาหารได้
2. บอกการรักษาน้ำดื่มได้
389
3. ปฏิบัติการหุงต้มอาหารได้
4. ปฏิบัติการกำจัดขยะได้
เนื้อหาสาระ
1. การระวังรักษาอาหารและเครื่องดื่ม
2. การกำจัดขยะ

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. เปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “บอลยิ้ม”
3. สนทนาเกี่ยวกับการระวังรักษา น้ำดื่ม ส้วม การกำจัดขยะ
4. แบ่งกลุ่มลูกเสือเป็ น 5 กลุ่ม ไปตามฐานศึกษา ใบความรู้ที่ 15.1
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม การกำจัดขยะ จากรอง ผู้บังคับบัญชาที่ประจำฐาน
ดังนี้(มีผู้บังคับบัญชาเป็ นผู้ให้สัญญาณเปลี่ยนฐาน)

ฐานที่ 1 เรื่อง การระวังรักษาอาหาร


ฐานที่ 2 เรื่อง การระวังรักษาน้ำดื่ม
ฐานที่ 3 เรื่อง การระวังรักษาที่หุงต้มอาหาร
ฐานที่ 4 เรื่อง การกำจัดขยะ
ฐานที่ 5 เรื่อง การสร้างและระวังรักษาส้วมชั่วคราว
5. ลูกเสือเรียนรู้ครบทุกฐานแล้วให้มารวมกันที่ ผู้บังคับบัญชา
6. ลูกเสือสรุปสาระสำคัญของแต่ละฐานและจดบันทึกลงสมุด
7. ผู้บังคับบัญชาเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่ขาด
8. ตัวแทนลูกเสือหมู่ที่ 3 เล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เกิดมาให้ทุกข์ทรมาน” พร้อมคติสอนใจ
9. ลูกเสือฟังเรื่องสั้นจบแล้วให้ระดมความคิดเขียนคติสอนใจ ส่งผู้บังคับบัญชาลูก
เสือนำคติสอนใจไปติดไว้ที่ป้ ายนิเทศห้องลูกเสือ
10 ผู้บังคับบัญชากล่าวคำชมเชย
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อการเรียนการสอน
1. รูปภาพของการกำจัดขยะ
2. รูปภาพของอาหาร 5 หมู่ และการเก็บรักษา
3. เกม “บอลยิ้ม”
4. ใบความรู้ เรื่อง “การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ”
390
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็ นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดยผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็ นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................
391
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ......................................... )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
392
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็ นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็ นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็ นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................
..............................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
393

เกม “บอลยิ้ม”
วิธีการเล่น
ให้ลูกเสือเข้าแถวเป็ นรูปวงกลม แต่ละคนห่างกันไปประมาณ 1 ก้าว
แล้วให้นับ 2 แบ่งครึ่งวงกลมเป็ นจุดเริ่มต้น เช่น มีลูกเสือ 24 คน จุดแรกให้เริ่ม
คนที่นับ 1 จุดที่ 2 ให้เริ่มคนที่ 14
อุปกรณ์
ลูกฟุตบอล 2 ลูกเมื่อลูกเสือพร้อมแล้ว ผู้ฝึกแจกลูกบอลให้คนที่นับ 1 กับคนที่นับ
14 พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้คนนับ 1 โยนลูกบอลให้คนที่นับ 1 เหมือนกัน
ซึ่งอยู่ถัดไปแต่มีคนนับ 2 คั่นอยู่ (คือ ให้โยนลูกบอลข้ามคนหนึ่งนั่นเอง) และ
ในขณะเดียวกัน คนที่นับ 14 ซึ่งเป็ นคนนับ 2 ก็โยนลูกบอลให้คนที่อยู่ถัดไป
อีกคนหนึ่ง ทั้งผู้โยนและผู้รับต้องร้อง 1 – 2 ตามที่ตัวนับด้วย การโยนลูกบอลให้โยน
ไปทางเดียวกัน ฝ่ ายใดโยนลูกบอลได้เร็ว ลูกบอลก็ไล่ฝ่ ายที่โยนและรับช้าเข้าไป
ทุกที ฝ่ ายใดไล่ทันอีกฝ่ ายหนึ่ง ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การระวังรักษาอาหาร
การระวังรักษาอาหารที่นำไปรับประทานในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม
มีข้อควรระวัง ดังต่อไปนี้
1. การป้ องกันอาหาร ไม่ให้บูดเน่าหรือเสียหาย ทั้งยังรักษาคุณค่าทางอาหารไว้ได้
394
นาน ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในที่มีอากาศร้อนอบอ้าว ถ้าเป็ นอาหารประเภทเนื้อสด ควรทำให้สุก
และใส่น้ำปลาหรือเกลือ เพื่อไม่ให้เน่าเสีย
2 .การป้ องกันอาหารไม่ให้ฝุ่ นละอองปลิวลงควรปกปิ ดอาหารให้มิดชิด
3. การป้ องกันอาหารไม่ให้สัตว์บางชนิดรบกวน ในระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม สัตว์
ที่มักจะเข้ามารบกวน มาลักขโมยอาหารหรือคุ้ยเขี่ยอาหารให้เสียหาย เช่น สุนัข มด นก ลิง
ฯลฯ ในบริเวณที่อยู่ค่ายพักแรม ควรหาวิธีป้ องกันมิให้สัตว์เหล่านั้นมารบกวน เช่น ควรทำที่
เก็บอาหารให้สูง หรือแขวนอาหารไว้กับต้นไม้แล้วใช้น้ำมันพืชทาเชือก หรือใช้เถาวัลย์แขวน
อาหาร หรือหล่อน้ำไว้
ภาพประกอบ ที่เก็บอาหาร
395

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การระวังรักษาน้ำดื่ม

น้ำดื่มเป็ นสิ่งจำเป็ นสำหรับร่างกาย ในวันหนึ่ง ๆ ร่างกายควรได้รับน้ำสะอาดอย่าง


เพียงพอ การไปอยู่ค่ายพักแรมบางแห่ง เราอาจหาน้ำที่สะอาด เหมาะแก่การดื่มได้ยาก ลูก
เสือจึงควรทราบวิธีการที่จะทำให้น้ำสะอาด และเก็บรักษาไว้ดื่มได้ โดยปราศจากอันตราย
ดังนี้
1. การทำน้ำให้สะอาดโดยการใช้ความร้อน
2. การใช้สารเคมีใส่ฆ่าเชื้อ
3. เก็บไว้ในภาชนะที่สะอาดและปิ ดให้มิดชิด

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การระวังรักษาที่หุงต้มอาหาร
396
เตาที่ใช้ในการหุงต้มอาหารระหว่างการอยู่ค่ายพักแรม มีหลายแบบการใช้เตาแบบใด
ย่อมแล้วแต่สภาพของสถานที่ที่ลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรม ไม่ว่าลูกเสือจะใช้เตาประกอบอาหาร
แบบใดก็ตาม ควรรู้จักวิธีการรักษาเตาที่ใช้ประกอบอาหารให้ใช้ได้ผลดีตลอดเวลา ดังนี้
1. ถ้าไปอยู่ค่ายพักแรมในฤดูฝน ควรทำเพิงปิ้งกันไม่ให้เตาเปี ยกฝน
2. หลังจากใช้เตาแต่ละครั้งแล้ว ควรดับไฟและทำความสะอาดเตาให้เรียบร้อย อย่า
ให้มีขี้เถ้าเหลือทิ้งอยู่ในเตา
3. ต้องสร้างเตา ให้มีความแข็งแรงพอ ที่จะใช้ได้ตลอดการอยู่ค่ายพักแรม
4. ลักษณะของเตา ควรให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อฟื นจะได้ลุกไหม้ได้ดี และให้
ความร้อนสูง ไม่เสียเวลาในการปรุงอาหาร
ภาพประกอบ เตาแบบต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบอาหาร

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
กำจัดขยะ
1. หลุมแห้ง สำหรับทิ้งขยะมูลฝอย เศษอาหารแห้ง
ภาพประกอบ หลุมแห้ง
397

2. หลุมเปี ยก สำหรับเทน้ำที่ใช้ล้างแล้วทิ้ง
ภาพประกอบ หลุมเปี ยก

ใบความรู้
เรื่อง การระวังรักษาอาหาร น้ำดื่ม ส้วม และการกำจัดขยะ
การสร้างและระวังรักษาส้วม
1. ขุดดินให้เป็ นหลุมสี่เหลี่ยม แล้วใช้ไม้พาดปากหลุมให้ขนานกัน ห่างกันพอที่ลูกเสือ

จะนั่งถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะได้สะดวก
2. ทำที่กั้นหลุมถ่ายอุจจาระด้วยผ้าใบ ผ้าพลาสติก เสื่อรำแพน หรือวัสดุธรรมชาติที่
หาได้ในท้องถิ่น เช่น หญ้าคา แฝก ทางมะพร้าว เป็ นต้น

ภาพประกอบ ส้วมชั่วคราว
398

ภาพประกอบ ส้วมชั่วคราวแบบไม่มีที่กั้น

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การปฏิบัติตนในการเดินทางไกล เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ

การเดินทางไกลเป็นการฝึ กทักษะ และพัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติ–


ปัญญาเป็นการฝึกให้ลูกเสือได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมตัว ทั้งด้านสิ่งของเครื่องใช้
และเตรียมตัวด้านร่างกาย เป็นการสร้างประสบการณ์ให้ลูกเสือ ได้รู้จักกับสิ่งแวดล้อม และ
ชีวิตประจำวันของสังคม จนสามารถนำไปดัดแปลงใช้กับชีวิตประจำวันของตนเอง
399

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกการปฏิบัติตน การบรรจุสิ่งของในการเดินทางไกลได้ ตลอดจน บอกหลัก
การเดินทางไกลได้
1. บอกชนิดและประโยชน์ของการเดินทางไกลได้
2. บอกการเตรียมและบรรจุอุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ในการเดินทางไกลได้
3. บอกเครื่องใช้สำหรับหมู่ที่ควรมีได้

3. สาระการเรียนรู้
1. หลักการเดินทางไกล
2. ชนิดของการเดินทางไกล
3. ประโยชน์ของการเดินทางไกล
3. การเตรียมและบรรจุอุปกรณ์เดินทางไกล
4. เครื่องใช้ที่จำเป็นในการเดินทางไกล
400
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือร้องเพลง “เดินทางไกล”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 3 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 3 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของ
การเดินทางไกล
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงใน
เครื่องหลัง
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ
7. รวมลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
8. ผู้บังคับเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือนำร้องเพลง “คนรักอยู่ในไห”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
6. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่อง
หลัง
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง
7. รวมกองลูกเสือและร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
401

8. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ไก่ได้พลอย”


9. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
10. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
12. พิธีปิ ดประชุมกอง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. พิธีเปิ ด–ปิ ดประชุมกอง
3. เพลง “เดินทางไกล”
4. ใบความรู้ เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของ
5. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
6. ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ
7. เรื่องสั้น เรื่อง “นกกระสากับเต่า”
1. พิธีเปิ ด–ปิ ดประชุมกอง
2. เพลง “คนรักอยู่ในไห”
3. ใบความรู้ เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่องหลัง
4. ใบความรู้ เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง
5. เรื่องสั้น เรื่อง “ไก่ได้พลอย”
402
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
403
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
404
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………

เพลง “เดินทางไกล”

(สร้อย) เดินทางไกล เดินทางไกล ไปอย่างไรให้ถึงปลายทาง (2 เที่ยว)


เราลูกเสือ ชาติเชื้อวชิรา ต่างตั้งหน้าพากันมุ่งไป
405
สุดทะเล ภูผา ล่องฟ้ าไกล ผจญภัย และพิชิตมัน
แม้ฝนตก หนาวร้อนเพียงใด ลูกเสือไทยไม่เคยไหวหวั่น
วันทั้งวันเรายังเดินทางไกล ร้องเพลง ยามเราเดินทางไกล
406
ใบความรู้
เรื่อง การเดิน–ชนิด–ประโยชน์ของการเดินทางไกล

การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือ ออกจากที่ตั้งไปยังจุดหมายที่กำหนด


ไว้ ตามระยะทางที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือกำหนด จะเป็นการเดินทางไกลด้วยเท้า รถจักรยาน หรือ
พายเรือก็ได้ จะเดินทางด้วยตัวคนเดียวหรือเดินทางไปด้วยกันเป็นหมู่คณะก็ได้ในการเดินทางไกล
จะต้องมีการทำรายงานเดินทางอย่างละเอียด และจดบันทึกสิ่งที่ได้พบเห็น การอยู่ค่ายพักแรม
ต้องมีการจัดเตรียมเกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อมและเรียบร้อย
ชนิดของการเดินทางไกล
1. เดินทางไกลแบบไม่มีการหุงต้ม
2. เดินทางไกลแบบหุงต้ม
การเดินทางไกลได้ให้ประสบการณ์แก่ชีวิต สำหรับลูกเสืออย่างมากมายโดยเฉพาะจะ
ได้เรียนรู้ชีวิตในชนบท ภูมิประเทศ การรักษาสิ่งแวดล้อม การเดินทางอย่างปลอดภัยการศึกษาชีวิต
ของสัตว์ต่างๆ สุดท้ายก็จะเรียนรู้และเกิดความมั่นใจในตนเอง

ประโยชน์ของการเดินทางไกล
1. เป็นการฝึ กหัดลูกเสือ ให้มีความอดทน มีความรอบคอบและไม่ประมาท
2. ทำให้ลูกเสือรู้จักการเตรียมการ การวางแผนในทุก ๆ ด้าน
3. เป็นการศึกษานอกสถานที่ ซึ่งเป็นประสบการณ์ตรงที่ลูกเสือจะได้รับ
4. ฝึ กให้ลูกเสือมีปฏิภาณไหวพริบดี รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
5. ทำให้ลูกเสือช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม
6. ทำให้ลูกเสือรู้จักความสามัคคีในหมู่ลูกเสือด้วยกัน
7. ทำให้ลูกเสือรู้จักรักษาสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดีและไม่ทำลาย
8. ทำให้ลูกเสือมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่อ่อนแอ และเป็นการออกกำลังกาย
9. ทำให้ลูกเสือรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
407

ภาพประกอบ อุปกรณ์ในการเดินทางไกล และอยู่ค่ายพักแรม


408

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาต้องเตรียม คือ เครื่องหลังแบบต่าง ๆ ประกอบการอธิบาย


เนื้อหา
เครื่องหลังจะประกอบด้วย สายรัดไหล่ โครงเหล็ก และสายรัดสะโพก ซึ่งจะช่วย
ให้การแบกเครื่องหลังเป็นไปอย่างเหมาะสม จัดสายรัดให้พอเหมาะ ไม่หลวมหรือคับจนอึดอัด
ถึงแม้ว่าเครื่องหลังของท่านจะใส่สิ่งของได้มากมาย แต่ควรให้น้ำหนักของเครื่องหลังเบาเป็นดี
ที่สุด
เครื่องหลัง มีด้วยกัน 3 แบบ คือ
1. เครื่องหลังแบบนิ่ม ภาพประกอบ
ที่เราเรียกว่าเครื่องสะพายหลังส่วนใหญ่
แบบนี้จะนิ่มและทำจากผ้ามีสายสะพาย
ให้คล้องแขน ไม่มีโครงเหล็กทั้งข้างนอก
และข้างใน

2. เครื่องหลังแบบโครงเหล็กอยู่ภายใน ภาพประกอบ
การผลิตที่เกือบเหมือนกับแบบนิ่ม โครง–
เหล็กจะถูกเย็บตรึงติดกับผ้า ลูกเสือ
จะสามารถยกเครื่องหลังแบบนี้ไว้บนหลัง
ใช้สายรัดที่บริเวณรอบเอว และจัดให้
พอดีกับไหล่
409

3. เครื่องหลังแบบมีโครงเหล็กอยู่ภายนอก ภาพประกอบ
จะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับแบบมีโครง
ภายใน เพียงแต่แบบนี้โครงเหล็กจะอยู่
ภายนอกมองเห็นชัดเจน แต่จะสามารถ
บรรจุของได้มาก

การจะเลือกแบบใด ก็ขอให้คำนึงถึงว่าจะเดินทางไกลแบบไหน ก็จะสามารถเลือก


ใช้ให้ได้เหมาะสมทดลองใส่สิ่งของลงไปในเครื่องหลัง ที่จะซื้อแล้วดูว่าเหมาะสมและเมื่อ
ยกขึ้นหลังแล้วเกิดความสะดวกสบายหรือไม่ และน้ำหนักของสิ่งของตกที่สะโพกหรือ
เปล่าแล้วจึงเลือกซื้อตามต้องการ

เครื่องหลังแบบเดินทางวันเดียว
เป็นเครื่องหลังที่เบาและมีขนาดเล็ก เพื่อที่จะบรรจุอาหารกลางวัน เสื้อผ้า เสื้อ
กันฝน และเครื่องปฐมพยาบาลลงไปได้ บางครั้งก็จะบรรจุเครื่องหลังแบบเล็กนี้ลงใน
เครื่องหลังใหญ่ เพราะเหมาะที่จะใช้ในการเดินทางระยะสั้น ๆ และภายในวันเดียว โดย
ทิ้งเครื่องหลังอันใหญ่เอาไว้ ถือไปแต่เครื่องหลังเล็กนี้ เช่น การเดินทางไปทัศนศึกษา
ภาพประกอบ
410

ใบความรู้
เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับหมู่ลูกเสือ

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
คือ อุปกรณ์ที่กล่าวถึงในบทเรียน เช่น เต็นท์ รองเท้า เครื่องใช้ส่วนตัว เครื่อง
แบบ ยาประจำตัว ไฟฉาย ฯลฯ เพื่อประกอบคำอธิบาย
เนื้อหา
อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล
1. เครื่องแบบ และเครื่องประกอบเครื่องแบบ เช่น เข็มขัด ผ้าผูกคอลูกเสือ
2. เต็นท์ประจำ และถุงนอน
3. ผ้าห่ม หมอน ผ้าปูที่นอน
4. เครื่องใช้ประจำตัว เช่น เป้ สำหรับบรรจุสิ่งของ ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า ยาสีฟัน 5.
ช้อนส้อม แก้วน้ำ กระติกน้ำ จานอาหาร ไฟฉาย
6. สมุดบันทึก ปากกา ดินสอ แผนที่ เข็มทิศ รองเท้าแตะ เสื้อกันฝน
7. ยาสำหรับปฐมพยาบาล และยาประจำตัวให้นำไปด้วย
8. ถุงเท้า รองเท้า
9. เชือกฟางสำหรับมัดของ สก๊อตเทป
10. ไม้ง่าม
เครื่องใช้สำหรับหมู่ ควรมี
1. ตะเกียง
2. เครื่องครัวที่จำเป็น เช่น หม้อข้าว หรือกระป๋ องหุง กระทะแบน
3. อาหารแห้ง
4. ขวานเล็ก มีดโต้ พลั่วสนาม มีดทำครัว
5. กระดาษชำระ
6. กระเป๋ ายาประจำหมู่
7. ถังตักน้ำ ทำด้วยผ้าใบ
411
เรื่องสั้น
เรื่อง “นกกระสากับเต่า”

เต่าตัวหนึ่งเฝ้ าแต่แหงนมองท้องฟ้ าดูฝูงนกกระสาบินผ่านไปมา ในใจคิดอิจฉาอยาก


มีปี กบินได้บ้าง จะได้บินเที่ยวชมธรรมชาติอันสวยงามขณะนั้นเองก็มีนกกระสาผัวเมียคู่
หนึ่งบินลงมาเกาะใกล้ ๆ เต่า แล้วถามว่า “ท่านสบายดีหรือ”
เต่าตอบว่า “ฉันสบายกายแต่ใจไม่สบายเพราะอยากจะบินได้อย่างท่าน”
นกกระสาผัวเมียสงสารจึงเอาไม้มาให้เต่าคาบไว้ แล้วนกกระสาตัวเมียจึงเอาปากคาบไม้
คนละข้างพาบินไปบนท้องฟ้ าเหนือสระน้ำนั้น มีนกเหยี่ยวตัวหนึ่งผ่านมา ก็พูดว่า “เต่าตัว
นี้มีบุญวาสนานักได้ท่องเที่ยวในอากาศด้วย”
เต่าได้ยินก็นึกภูมิใจ และหลงลืมตัวอ้าปากจะพูดกับเหยี่ยวตัวนั้นด้วย จึงตกลง
มายังสระตามเดิม

คติสอนใจ : “จงพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ อย่าลืมตัวเอง”


412
เพลง “คนรักอยู่ในไห”

คนรักฉันอยู่ในไห นานแล้วไม่ได้เปิ ดดู


คนรักฉันอยู่ในรู เปิ ดดูเป็นหน่อไม้ดอง ๆ
413

ใบความรู้
เรื่อง การบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ลงในเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
ได้แก่ เครื่องหลังและอุปกรณ์ที่จะบรรจุในส่วนต่าง ๆ
เนื้อหา
การบรรจุสิ่งของหรือเครื่องใช้ต่าง ๆ มีหลักการดังนี้
เครื่องหลังควรเลือกขนาดที่พอเหมาะ ไม่ควรเลือกที่เล็กหรือใหญ่เกินไป
1. วิธีการบรรจุขั้นแรกจะต้องบรรจุของที่ใช้ภายหลังหรือของหนัก ๆ ลงไปก่อนส่วน
ของที่หยิบใช้บ่อย ควรจัดให้อยู่ด้านบน และจัดเรียงให้เป็นระเบียบและสวยงาม ง่ายต่อการ
ค้นหา
2. บรรจุของแข็งใส่ไว้ด้านใน พยายามเอาของอ่อน ๆ นิ่ม ๆ ไว้ด้านสะพายติดหลัง
เพราะเวลานำเครื่องหลังขึ้นสะพายข้างหลังจะได้ไม่เจ็บ
3. อาหารสด อาหารแห้งที่นำไปด้วยควรมีน้ำหนักเบา กินเนื้อที่น้อย
4. จัดและแยกของเป็นพวก ๆ โดยใส่ถุงพลาสติก หรือถุงใส่ของไว้
5. เตรียมถุงพลาสติกขนาดใหญ่ไว้หลาย ๆ ใบ เพื่อใส่ของหรือเสื้อผ้าที่ใช้แล้ว
การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
ขั้นต่อไปนี้คือการบรรจุสิ่งของเพื่อการเดินทาง ของเล็ก ๆ และใช้บ่อย ๆ ให้จัดใส่
ลงไปในการเป๋ า เช่น มีด เข็มทิศ นกหวีด เชือก ไม้ขีด ผ้าพันแผล ดินสอและกระดาษ
สำหรับของเล็ก ๆ ก็ควรจะอยู่ในส่วนที่หยิบฉวยและเก็บง่าย
ต่อไปจะเป็นของที่ไม่ต้องการใช้ จนกว่าจะถึงค่ายพักแรมแล้วถึงจะนำมาใช้ ควร
ใส่ลงไปใต้สุด ส่วนพวกเสื้อกันฝน อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเสื้อกันหนาว ถุงเท้าสะอาด
และอาหารกลางวันควรจะจัดใส่ตรงข้างล่างฝาเปิ ดปิ ด แล้วบรรจุแผนที่
กระติกน้ำ ยากันแมลง ครีมกันแดด และพวกอาหารว่างไว้ในกระเป๋ าด้านนอก
จัดกระเป๋ าไว้หนึ่งใบสำหรับใส่ขวด หรือกระป๋ องบรรจุเชื้อเพลิงเพื่อป้ องกัน ให้อยู่ห่างจาก
อุปกรณ์ชนิดอื่น ๆ
414

ใบความรู้
เรื่อง น้ำหนักของของการบรรจุเครื่องหลัง

สิ่งที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องเตรียม
ได้แก่ ตาชั่ง เครื่องหลัง ของที่บรรจุในเครื่องหลัง
เนื้อหา
น้ำหนักของของที่บรรจุ
ความหนักของของที่บรรจุขึ้นอยู่กับความยาวนานของการเดินทางที่ได้เตรียม
วางแผนไว้ ปริมาณของอาหารและอุปกรณ์ที่จะต้องแบก รวมทั้งของใช้ส่วนตัวด้วย
การเดินทางเป็นหมู่คณะจำเป็นจะต้องแบกเต็นท์ อาหารกล่อง เครื่องประกอบอาหาร
และอุปกรณ์อื่น ๆ ถ้าลูกเสือสามารถที่จะควบคุมน้ำหนักของที่แบก โดยให้อยู่
ประมาณหนึ่งในห้าของน้ำหนักตัวลูกเสือ ก็จะแบกของได้อย่างสบาย ผู้เดินทาง
ที่มีร่างกายแข็งแรง ก็สามารถที่จะแบกรับน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอีกก็ได้
โดยปกติน้ำหนักที่แบกจะเป็น 1 ใน 5 ของน้ำหนักตัว เช่น ถ้าท่านน้ำหนักตัว
60 กิโลกรัม ของที่แบกควรจะมีน้ำหนักไม่เกิน 12 กิโลกรัม
ภาพประกอบ

การยกเครื่องหลัง
การเหวี่ยงเครื่องหลังไปทางหลังเป็นวิธีการที่ปฏิบัติง่าย กำเข็มขัดหนังรัดไหล่
ยกไหล่ให้สูงขึ้น ยกส่วนใต้ของเครื่องหลังพักไว้บนต้นขา และสอดแขนผ่านเข็มขัดรัดไหล่
การทำอย่างนั้น จะทำให้การเหวี่ยงเครื่องหลังไปยังบนหลังและสอดแขนเข้าในเข็มขัดรัดไหล่เป็น
415
ไปอย่างสะดวกอาจจะขยับตามไปข้างหน้าเล็กน้อย แต่เมื่อเวลายืนตรงน้ำหนักของเครื่องหลังจะ
ตกอยู่บริเวณสะโพก ขยับเครื่องหลังให้ดี และออกเดินได้
ภาพประกอบ

เรื่องสั้น
เรื่อง “ไก่ได้พลอย”
กาลครั้งหนึ่ง…ยังมีพ่อไก่ตัวหนึ่ง คุ้ยเขี่ยหาอาหารกินอยู่ที่ลานบ้านในช่วงตอนเช้าตรู่
วันหนึ่ง ทันใดนั้น มันเห็นของอะไรอย่างหนึ่ง ส่องแสงเป็นประกายเข้ากับแสงแดดยามเช้า
มองดูสวยงามมันจึงรีบวิ่งตรงเข้าไปดู และใช้ปากจิกขึ้นมา ปรากฏว่าสิ่งที่มันได้เห็นนั้น คือ
พลอยน้ำงามเม็ดหนึ่ง ซึ่งเจ้าของของมันเองได้ ทำหายไปเมื่อหลายวันมาแล้ว
“เออ นายของเราหาอยู่หลายวันด้วยความเสียดายก็หาไม่พบ เจ้าอาจจะ
มีค่ามากที่สุดสำหรับมนุษย์ แต่ว่าสำหรับข้าแล้ว เจ้าไม่มีความหมายอะไรเลย
เพราะว่าเจ้าจะเทียบกับข้าวเปลือกสักเมล็ดก็ยังไม่ได้
416

คติสอนใจ : “คนที่รู้ความต้องการของตนจะมีความสุข คนฉลาดชอบสิ่งที่


จำเป็นมากกว่าเครื่องประดับอันระยิบระยับ ซึ่งไม่มีค่าอื่นใด
นอกจากก่อให้เกิดความเย่อหยิ่งและความฟุ้ งเฟ้ อ”
417
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การอภิปรายการเดินทางไกล เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การเดินทางไกลเป็นกิจกรรมที่สำคัญของลูกเสือ จะไปด้วยทางเท้า ด้วยทางเรือ
ด้วยทางจักรยาน บางครั้งอาจมีการพักแรม ลูกเสือจึงควรเตรียมอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัว และ
ของใช้ของหมู่ บรรจุลงในเครื่องหลังให้พร้อมและเหมาะสม และรู้จักการวิเคราะห์เหตุการณ์
สามารถนำผลไปใช้ในการเดินทางไกลได้อย่างสมบูรณ์

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตน – การบรรจุเครื่องหลังในการเดินทางไกล
ได้ ตลอดจนบอกสาเหตุปัญหาของการบรรจุเครื่องหลังได้
1. บอกวิธีการปฏิบัติตนในการเดินทางไกลได้
2. บอกอุปกรณ์ในการเดินทางไกลได้

สาระการเรียนรู้
1. ลักษณะเครื่องหลัง
2. อุปกรณ์เครื่องใช้ในการเดินทางไกล
3. การบรรจุเครื่องหลัง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “แข่งเรือบก”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
418
5. แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 6 หมู่
6. แยกลูกเสือไปตามที่ต่าง ๆ 6 ฐาน
7. ให้แต่ละหมู่ทำใบงาน เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลังตามฐานต่าง ๆ ทุก
ฐานปฏิบัติกิจกรรมเหมือนกัน
8. ให้ส่งตัวแทนหมู่ออกมาแสดงผลงานของหมู่ตนต่อที่ประชุมกอง
9. ลูกเสือนำสรุปผลการอภิปรายแต่ละหมู่ส่งผู้บังคับบัญชา
10. ผู้บังคับบัญชานำผลงานที่ดีติดที่ป้ ายนิเทศ
11. ลูกเสือรวมกองและร่วมกันสรุปผลจากการเรียนตามฐานต่าง ๆ
12. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เตรียมพร้อม”
13. ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
14. ลูกเสือนำคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
15. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
16. ผู้บังคับบัญชามอบใบภาระงานให้กับลูกเสือทุกคน
17. พิธีปิ ดประชุมกอง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารสำหรับรอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
2. พิธีเปิ ด–ปิ ดประชุมกอง
3. เกม “แข่งเรือบก”
4. ใบงาน เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
5. เรื่องสั้น เรื่อง “เตรียมพร้อม”
6. ใบงาน เรื่อง นักเดินทางไกล
419
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
420
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
421
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
422
เกม “แข่งเรือบก”

วิธีเล่น
ให้ลูกเสือแต่ละหมู่เข้าแถวตอน หันหลังให้เส้นเริ่มต้น นายหมู่อยู่หัวแถวหัน
หน้าเข้าหาลูกหมู่เป็นนายท้ายเรือ แล้วเอาไม้พลอง 2 อัน สอดเข้าใต้ระหว่างขาของทุก ๆ
คน ลูกเสือจับไม้พลองเป็นหมู่ ๆ ไป (เปรียบเหมือนเรือ) พอให้สัญญาณเริ่มเล่น ให้
ทุกคนวิ่งถอยหลังไปทั้ง ๆ ที่ไม้พลองสอดอยู่ใต้ขา นอกจากนายหมู่คอยบอกเรือให้แล่น
ให้ตรง ทางขวาหรือซ้าย ไปยังจุดที่อยู่ห่างออกไป 10 เมตร แล้วให้เรือแล่นกลับลำ
กลับมาที่จุดตั้งต้น หมู่ใดถึงก่อนเป็นผู้ชนะ
423
ใบงาน
เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง
ลูกเสือชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 หมู่ที่………. กองที่………..
รายชื่อสมาชิกของหมู่
1. นายหมู่………………………….… 2. รองนายหมู่…………………………..
3. เลขานุการ………………………… 4. สมาชิก………………………………..
5. สมาชิก…………………………….. 6. สมาชิก……………………………….
7. สมาชิก…………………………….. 8. สมาชิก……………………………….

คำสั่ง เมื่อลูกเสือเรียนจบแต่ละฐาน ให้สมาชิกในหมู่ช่วยกันตอบคำถามต่อไปนี้


คำถามประจำฐานที่ 1 เครื่องหลังแบบต่าง ๆ
1. เครื่องหลังจะประกอบด้วย………………………………………………………………….
2. เครื่องหลังมีกี่แบบ และแบบใดบ้าง………………………………………………………..
3. เครื่องหลังแบบใดต้องใช้น้ำหนักที่ไหล่มาก…………………………………………………
4. เครื่องหลังแบบใดใช้สะโพกในการรับภาระและใช้หลังเป็นที่รองรับ จึงสามารถแบบน้ำหนัก
ได้มาก………………………………………………………………………………
5. การเดินทางไปทัศนศึกษา ควรเลือกเครื่องหลังแบบใด……………………………………
คำถามประจำฐานที่ 2 อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในการเดินทางไกล
1. อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเดินทางไกล ได้แก่…………………………………………………
2. รองเท้าที่ใช้ในการเดินทางไกล ควรมีลักษณะอย่างไร…………………………………….
3. อุปกรณ์ประจำหมู่ที่ควรเตรียมในการเดินทางไกลเพื่อค้างแรมได้แก่………………………
4. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเดินทางไกล
ก. อาหาร ข. ไฟฉาย ค. ที่เปิ ดกระป๋ อง ง. ยานอนหลับ
424
คำถามประจำฐานที่ 3 การบรรจุสิ่งของในส่วนต่าง ๆ ของเครื่องหลัง
1. สิ่งของที่ไว้ล่างสุดของเครื่องหลังคือ………………………………………………………..
2. ของหนักจะอยู่ตรงส่วนใดของเครื่องหลัง…………………………………………………..
3. ส่วนที่สะพายติดหลัง ควรบรรจุสิ่งใด……………………………………………………..
4. เมื่อเปิ ดเครื่องหลัง ช่องตอนบน ควรจะบรรจุสิ่งใด………………………………………
5. ขวดหรือกระป๋ องบรรจุเชื้อเพลิง ควรจัดอย่างไร………………………………………….

คำถามประจำฐานที่ 4 น้ำหนักของของที่บรรจุและการยกเครื่องหลัง
1. ความหนักของของที่บรรจุ ขึ้นอยู่กับ……………………………………………………….
2. ลูกเสือควรจะควบคุมของที่ใช้แบก โดยให้อยู่ประมาณ…………………….ของน้ำหนักตัว
3. ถ้าลูกเสือน้ำหนัก 60 กิโลกรัม ของที่แบกควรมีน้ำหนักไม่เกิน…………………. กิโลกรัม
4. การยกเครื่องหลัง ควรยกมาพักไว้ที่…………………………………….ก่อนเหวี่ยงขึ้นหลัง
5. เมื่อยืนตรงน้ำหนักของเครื่องหลังควรจะตกอยู่บริเวณ……………………………………..
เมื่อลูกเสือเรียนครบทั้ง 4 ฐาน ให้ลูกเสือแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ส่งตัวแทนลูกเสือ
กลุ่มละ 1 คน เป็นผู้แบกเครื่องหลัง และให้เพื่อน ๆ ลูกเสือแต่ละกลุ่มช่วยกัน
บรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลังเวลา 1 นาที และเตรียมผู้ออกรายงาน 1 คน ให้เหตุผล
ด้วยว่าทำไมต้องเลือกสิ่งของชิ้นนั้นบรรจุลงในเครื่องหลังสิ่งที่บรรจุลงในเครื่องหลัง
1….…………………………………………..เหตุผล……………………………………
2………………………………………………เหตุผล……………………………………
3….…………………………………………..เหตุผล………………………………………
4………………………………………………เหตุผล……………………………………
5….…………………………………………...เหตุผล…………………………………..…
6……………………………………………….เหตุผล…………………………………..…
7….……………………………………………เหตุผล……………………………………..
8……………………………………………….เหตุผล……………………………………
10….……………………………………..……เหตุผล……………………………………..
11…….………………………………………..เหตุผล……………………………………
12…...…………………………………………เหตุผล……………………………………
13………………………………………………เหตุผล……………………………………
14….…………………………………………..เหตุผล……………………………………
15………………………………………………เหตุผล……………………………………
16….…………………………………………..เหตุผล……………………………………
17………………………………………………เหตุผล……………………………………
18….…………………………………………..เหตุผล………………………………..……
19………………………………………………เหตุผล……………………………….……
20….…………………………………………..เหตุผล……………………………………..
425
426
เฉลยใบงาน
เรื่อง การบรรจุสิ่งของลงในเครื่องหลัง

ตอบคำถามประจำฐานที่ 1
1. สายรัดไหล่ โครงเหล็ก และสายรัดสะโพก
2. มี 3 แบบ เครื่องหลังแบบนิ่ม เครื่องหลังแบบโครงเหล็กภายใน เครื่องหลังแบบโครง
เหล็กภายนอก
3. เครื่องหลังแบบนิ่ม
4. เครื่องหลังแบบโครงเหล็กภายใน และ เครื่องหลังแบบโครงเหล็กภายนอก
5. เครื่องหลังแบบเดินทางวันเดียว
ตอบคำถามประจำฐานที่ 2
1. เครื่องแบบและเครื่องประกอบเครื่องแบบ เต็นท์ เครื่องนอน เครื่องใช้ส่วนตัว ยา ไม้ง่าม
2. รองเท้าที่ใส่ได้สบาย
3. ตะเกียง เครื่องครัว อาหารแห้ง
4. การเดินอาจไม่เจอร้านค้า
5. ตอบ ข้อ ง. ยานอนหลับ
ตอบคำถามประจำฐานที่ 3
1. ของที่ใช้ภายหลัง หรือของหนัก
2. ล่างสุด
3. ของอ่อน ๆ นิ่ม ๆ เช่น เสื้อผ้า มุ้ง
4. ของที่หยิบใช้ง่าย เช่น เต็นท์ ผ้าปูรองพื้นนอน อาหารและเครื่องปรุง
5. จัดกระเป๋ าแยกไว้ใบหนึ่ง
ตอบคำถามประจำฐานที่ 4
1. ความยาวนานของการเดินทาง
2. 1 ใน 5
3. 12 กิโลกรัม
4. บนต้นขา
5. สะโพก

ใบงาน
วิชา นักเดินทางไกล

กิจกรรมนอกเวลาในวันเสาร์ต่อไป
ให้ลูกเสือทุกคนทำรายงานในหัวข้อต่อไปนี้
427
1. ในการไปพักค้างคืนบ้านญาติที่ต่างจังหวัด 1 คืน ลูกเสือคิดว่าควรจะเตรียมอะไร
ไปบ้าง
2. ในการเดินทางไกลเพื่อไปพักแรม 1 คืน ลูกเสือควรเตรียมเสื้อผ้าและอาหาร
ที่คิดว่าจำเป็นอะไรบ้าง

เรื่องสั้น
เรื่อง “เตรียมพร้อม”

หมูป่ าตัวหนึ่ง ยืนลับเขี้ยวกับต้นไม้ใหญ่ หมาจิ้งจอกเดินผ่านมาพบเข้าจึงถามว่า


“เหตุใดหมูป่ าจึงลับเขี้ยว เพราะตนมองดูไม่เห็นว่าจะมีพรานป่ าตามล่าหรือมี
อันตรายใด ๆ คุกคามอยู่เลย”
“ข้ามีเหตุผลสิที่ทำเช่นนี้” หมูป่ าตอบ
“เพราะถ้ามีอะไรปุบปับขึ้นมา ข้าจะไม่มีเวลาพอสำหรับที่จะลับเขี้ยวได้ แต่ข้า
เตรียมพร้อมเสียเนิ่น ๆ ก็จะใช้งานได้ทันทีแล้วข้าก็จะปลอดภัย”

คติสอนใจ : “คนฉลาดสามารถรู้ถึงเหตุล่วงหน้าที่จะเกิดขึ้น แต่คนโง่จะไม่เชื่อ


428
จนกว่าความวิบัติจะเกิดขึ้นจนป้ องกันไม่ได้ หรือ จงเตรียมพร้อม
ตลอดเวลา อย่าตกอยู่ในความประมาท

แผนการจัดการเรียนรู้ 39

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การช่วยเหลือผู้ประสบภัย (1) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต้องมีความรู้ รู้วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ รู้วิธีการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่ วย และมีทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างดีในการปฐมพยาบาล ให้ผู้ป่ วยปลอดภัยได้
อย่างถูกวิธี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการช่วยคนตกน้ำ – เคลื่อนย้ายคนป่ วยได้
1. บอกวิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำได้
2. บอกวิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยขั้นปฐมพยาบาล

สาระการเรียนรู้
429
1. การช่วยเหลือคนตกน้ำ
2. การผายปอด
3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
4. การปฐมพยาบาล

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. เพลง “ลูกเสือร่วมใจ”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 2 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 2
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผายปอด
6. เรียกลูกเสือรวมกอง สรุปผลการเรียนจากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
8. ให้ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
9. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เพลง “ลูกเสือร่วมใจ”
2. ใบความรู้ เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ
3. ใบความรู้ เรื่อง การผายปอด
4. เรื่องสั้น เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
430
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
431
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
432
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
433

เพลง “ ลูกเสือร่วมใจ”

(สร้อย) ร่วมใจเราพร้อมใจ ๆ ๆ งานน้อยใหญ่ร่วมใจกันทำ


พวกเราลูกเสือไทย ต่างพร้อมใจสามัคคี
น้ำใจเรากล้าหาญ บากบั่นอดทน
หมั่นทำความดี ผูกมิตรและมีไมตรี
เหมือนดังน้องพี่รับความชื่นบาน
พวกเราลูกเสือไทย บุกป่ าไปลุยน้ำนอง
แม้เราจะฝ่ าภัยพาล แต่จิตเบิกบานเพราะความปองดอง
ชมฟ้ าและน้ำลำคลอง เสียงคึกคะนอง
ร้องเพลงเพลินใจ (สร้อย)
434

ใบความรู้
เรื่อง การช่วยคนตกน้ำ

วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ
1. โดยวิธีเข้าทางข้างหลัง ให้จับศีรษะ จมูกพ้นน้ำ ว่ายพาเข้าฝั่ง
ภาพประกอบ

2. หรือเข้าทางข้างหลัง เอามือสอดเข้าใต้รักแร้ของคนตกน้ำ จับพยุงเข้าฝั่ง


ภาพประกอบ
435
3. วิธีช่วยคนตกน้ำที่ว่ายน้ำเป็นแล้วแต่ว่ายมานาน ดังรูป
ภาพประกอบ

วิธีป้ องกันขณะไปช่วยคนตกน้ำ
1. เมื่อคนตกน้ำจับมือ ให้ผู้ช่วยเหลือ
ยกข้อศอกขึ้น แล้วบิดข้อมือเข้าหาตัวเอง
436
โดยเร็ว (หงายฝ่ ามือพลิกข้อมือขึ้น)อย่าเข้า–
ใกล้ทางด้านหน้าของคนตกน้ำ พยายามเข้า–
ทางข้างหลัง

2. ถ้าคนตกน้ำกอด ให้ใช้มือขวาหรือ
มือซ้ายกอกเอวคนตกน้ำ แล้วเอาฝ่ ามือ
อีกข้างหนึ่งยันที่ใต้คางโดยแรงถ้ายังไม่ปล่อย
ให้เอามือยันคางบีบจมูก

3. ถ้าคนตกน้ำกอดรัดตัว ให้ผู้ช่วย
ทำเช่นวิธีที่ 2 ถ้ายังไม่หลุด ให้เอามือหนึ่ง
ยันคาง อีกมือหนึ่งยันบ่า แล้วพยายาม
ยกเข่าข้างหนึ่งสอดเข้าไปดันไว้ จนสูงถึงอก
คนตกน้ำแล้วใช้กำลังผลัก และกดเข่า
เล็กน้อย ทำเช่นนี้จนคนตกน้ำปล่อยจากการ
กอดรัด
437

ใบความรู้
เรื่อง การผายปอด

การผายปอดแบบกดหลัง ปฏิบัติดังนี้
1. ให้คนเจ็บนอนคว่ำ หน้าตะแคง งอแขน เอาหลังมือหนุนหน้าไว้
2. ผู้ให้การพยาบาลนั่งคุกเข่าคร่อมสะโพก หรือนั่งคร่อมขาอ่อนขาหนึ่งของคน
เจ็บหันหน้าไปทางศีรษะคนเจ็บ ยืดตัวตรง
3. เอามือวางตรงใต้สะบัก กางนิ้วให้โอบชายโครง โยกตัวไปข้างหน้า กดหลังลง
ไปเป็นการหายใจออก
4. แล้วโยกตัวกลับมานั่งตัวตรง ปล่อยมือห้อยลงข้างตัว ให้หน้าอกคนไข้ขยาย
ตัวเองเป็นการหายใจเข้า
หมายเหตุ
ทำเป็นจังหวะประมาณ 12 – 15 ครั้งต่อนาที จนกว่าคนเจ็บจะหายใจได้เอง

เรื่องสั้น
เรื่อง “ลูกเสือโทฝ้ าย”
438
ลูกเสือโมฝ้ ายแห่งกองลูกเสือมณฑลสุราษฎร์ที่ 1 อายุ 14 ปี ซึ่งได้ช่วยชีวิต ชาย
ชราและเด็กหญิงผ่องใส ให้รอดพ้นจากความตาย เมื่อโดยสารเรือ “บางเบิด” จากกรุงเทพ ฯ จะ
ไปสุราษฎร์ธานี ในตอนต้นเดือนพฤษภาคม 2456 และเรือได้เกิดอับปางลงเมื่อเวลาราว 22.00
น. ในที่ซึ่งไม่ห่างจากเกาะสีชังเท่าไรนัก ลูกเสือโทฝ้ าย ได้พยายามช่วยชีวิตชายชราและเด็กหญิง
ผ่องใส อย่างเต็มความสามารถ บุคคลทั้งสามต้องอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน 8 ชั่วโมง จนกระทั่งรุ่ง
เช้า จึงมีเรือกลไฟชื่อ “ฮอลวาด” ได้แล่นไปพบเข้าและนำตัวไปส่งที่เกาะสีชัง
พิธีพระราชทานเหรียญราชนิยม ให้แก่ลูกเสือโทฝ้ าย ได้กระทำอย่างมโหฬาร เมื่อวัน
ที่ 10 พฤศจิกายน 2457 อันเป็นพระราชพิธีฉัตรมงคล โดยโปรดให้ตั้งพระที่นั่งชุมสายขึ้นที่ศาลา
หน้าพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกขปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
ต่อมาลูกเสือโทฝ้ ายผู้นี้ ได้รับพระราชทานนามสกุลว่า “บุญเลี้ยง” และเมื่อสำเร็จการ
ศึกษาแล้ว ได้เข้ารับราชการเป็นครู ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “ขุนวรศาสตน์ดรุณกิจ”
จากเรื่องลูกเสือโทฝ้ าย บุญเลี่ยง เป็นการกระทำที่เป็นตัวอย่างของบุคคลที่ประกอบ
คุณความดี สมควรที่ลูกเสือจะฟังไว้เป็นตัวอย่าง
439

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


กิจกรรม ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เวลา 40 ชั่วโมง
เรื่อง การช่วยเหลือผู้ประสบภัย (2) เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต้องมีความรู้ รู้วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ รู้วิธีการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่ วย และมีทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างดีในการปฐมพยาบาล ให้ผู้ป่ วยปลอดภัยได้
อย่างถูกวิธี

จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือบอกวิธีการช่วยคนตกน้ำ – เคลื่อนย้ายคนป่ วยได้
1. บอกวิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำได้
2. บอกวิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยขั้นปฐมพยาบาล

สาระการเรียนรู้
1. การช่วยเหลือคนตกน้ำ
2. การผายปอด
3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วย
4. การปฐมพยาบาล

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. พิธีเปิ ดประชุมกอง
2. ลูกเสือเล่นเกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”
3. เรียกลูกเสือรวมกอง แบ่งกลุ่มลูกเสือออกเป็น 4 กลุ่ม
4. ผู้บังคับบัญชาสนทนาและบอกวิธีการเรียนรู้ตามฐานต่าง ๆ
5. แยกลูกเสือไปศึกษาใบความรู้ตามฐานต่าง ๆ 4 ฐาน
– ฐานที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย
440
– ฐานที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ
– ฐานที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การทำเปล
– ฐานที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วย
การนั่งสี่มือประสานกัน
6. รวมกองลูกเสือร่วมกันสรุปผลการเรียนรู้จากฐานต่าง ๆ
7. ผู้บังคับบัญชาเล่าเรื่องสั้น เรื่อง “เป็นมิตรเมื่อกู้เป็นศัตรูเมื่อทวง”
8 ลูกเสือเขียนคติสอนใจจากเรื่องสั้น ที่ได้ฟังส่งผู้บังคับบัญชา
9. ผู้บังคับบัญชานำผลงานคติสอนใจไปติดที่ป้ ายนิเทศ
10. ผู้บังคับบัญชากล่าวชมเชยเพื่อเป็นการเสริมแรง
11. พิธีปิ ดประชุมกอง

5. สื่อการเรียนการสอน
1. เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”
2. ใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย
3. ใบความรู้ เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ
4. ใบความรู้ เรื่อง การทำเปล
5. ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วยการนั่งสี่มือประสานกัน
6. เรื่องสั้น เรื่อง “เป็นมิตรเมื่อกู้เป็นศัตรูเมื่อทวง”
441
การวัดและประเมินผล
ผู้ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาประเมิน
ลูกเสือประเมิน
สิ่งที่ต้องการวัดและวิธีวัด
ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรับผิดชอบ
โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดย ผู้บังคับบัญชาและ
เพื่อนลูกเสือเป็นผู้ประเมิน
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม โดย ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนลูกเสือเป็นผู้
ประเมิน
เครื่องมือวัด
แบบประเมินพฤติกรรม
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการ
ทำงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
ประเมินพฤติกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
สังเกตเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม/การปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80
ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่านร้อยละ 80

กิจกรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสริมประสบการณ์
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................
442
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...............................

ลงชื่อ.............................................ผู้ตรวจสอบ
( ............................................. )
ผู้อำนวยการโรงเรียน
................/................/...............
443
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสือทั้งหมด คน
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
– ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปานกลาง คน คิดเป็นร้อยละ
– ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับปรับปรุง – คน คิดเป็นร้อยละ
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
การปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้สอน
( ........................................ )
ตำแหน่ง.......................................
……../…………./…………
444

เกม “อุโมงค์ไฟฟ้ า”

เป็นเกมระหว่างหมู่ (สามัญ)
วิธีเล่น
1. เข้าแถวหมู่ตอนลึก ระยะห่าง 1 ก้าว ระยะเคียงห่างกันพอสมควรทุกคนยืน
ขาถ่าง
2. เมื่อสัญญาณเริ่มแข่งขัน ให้นายหมู่ก้มคลานมุดหว่างขาลูกเสือคนอื่นๆ ในหมู่
ของตนไปอยู่หลังแถวแล้วยืนห่างคนหน้า 1 ก้าว เอามือแตะหลังคนหน้า โดยแตะต่อ ๆ กันจนถึง
หัวแถว
3. เมื่อคนหัวแถวได้รับสัญญาณแตะหลัง ก็ให้ก้มตัวลงคลานมุดหว่างขาไปอยู่หลัง
แถว ทำเช่นนี้จนกว่าจะหมดหมู่ (นายหมู่จะต้องกลับมาอยู่หน้า) ให้นั่งลง หมู่ใดเสร็จก่อน
ถือว่าชนะ
445

ใบความรู้
เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงาย

การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนหงาย
จัดให้ผู้ป่ วยชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น (รูป ก) ผู้ช่วยเหลือใช้มือทั้งสองจับมือทั้งสองข้าง
ของผู้ป่ วย แล้วออกแรงดึง พยุงให้ผู้ป่ วยพิงผู้ช่วยเหลือ (รูป ข) โดยผู้ช่วยเหลือสอดขา
ข้างหนึ่งเข้าไปในระหว่างขาของผู้ป่ วย พร้อมทั้งจับมือข้างหนึ่งของผู้ป่ วยอ้อมไปทางศีรษะ
(รูป ค) แล้วผู้ช่วยเหลือย่อตัวลงเล็กน้อย ยกตัวผู้ป่ วยพาดบนบ่า ใช้มือรัดขา ผู้ป่ วย
แล้วจับมือข้างหนึ่งของผู้ป่ วยไว้ให้แน่น (รูป ง)
ภาพประกอบ การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนหงาย
446
ใบความรู้
เรื่อง ช่วยผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนคว่ำ

การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนคว่ำ
ให้ผู้ช่วยเหลือคุกเข่าลงเหนือศีรษะผู้ป่ วย สอดแขนทั้งสองข้างใต้รักแร้ทั้งสองข้าง
ของผู้ป่ วย (รูป ก) แล้วออกแรงพยุงให้ผู้ป่ วยยืน (รูป ข) ยกแขนผู้ป่ วยอ้อมไปทางศีรษะ
ของผู้ช่วยเหลือ (รูป ค) และผู้ช่วยเหลือย่อตัวลง สอดมือขวาเข้าใต้เข่าขวาของ ผู้ป่ วย
รวบขาขวาผู้ป่ วย (รูป ง) แล้วดึงมือขวาของผู้ป่ วยให้ตัวผู้ป่ วยพาดลงบนบ่าของ ผู้ช่วย–
เหลือแล้วค่อย ๆ ยืนขึ้น (รูป จ) และเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยไปยังที่ที่ต้องการ
การวางผู้ป่ วยลงนั้น ให้ผู้ช่วยเหลือค่อย ๆ คุกเข่าซ้ายลง ขาขวาตั้งฉากกับพื้น
(รูป ฉ) และวางผู้ป่ วยในลักษณะนอนหงาย (รูป ช)
ภาพประกอบ การเคลื่อนย้ายผู้ป่ วยที่อยู่ในท่านอนคว่ำ
447
ใบความรู้
เรื่อง การทำเปล

การทำเปลด้วยผ้าห่ม

ใช้ไม้พลองเหนียวแข็ง 2 อัน ผ้าห่มนอนหรือเสื่อหรือผ้าแบลงเก็ต โดยปูผ้าลงบน


พื้น เอาไม้พลองอันที่ 1 วางทับขนานส่วนกว้างของผ้าประมาณครึ่งหนึ่ง ตลบผ้าทับไม้พลอง
ไว้แล้วเอาไม้พลองอันที่ 2 ทับบนชายผ้าอีกข้าง ถัดจากชายผ้าสัก 2 ฝ่ ามือ เอาผ้าที่เหลือพับทับ
พลองอันที่ 2 ไว้ ยกคนเจ็บขึ้น สอดเปลเข้าไปใต้คนเจ็บ แล้ววางคนเจ็บลงนอนบนเปล

ภาพประกอบ การทำเปลด้วยผ้าห่ม

การทำเปลโดยใช้เสื้อลูกเสือ
ให้นำเสื้อลูกเสือ 2 ตัวมาติด
กระดุมเสื้อให้หมด เอาชายเสื้อชนกัน
เอาพลอง 2 อัน สอดผ่านแขนเสื้อ
ทั้งสองใช้เป็นเปลได้

ใบความรู้
เรื่อง การเคลื่อนย้ายคนเจ็บ

1. การเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปด้วยการนั่งสี่มือประสานกัน ใช้คน 2 คนที่แข็งแรงทำมือ


ประสานกันให้คนเจ็บนั่ง
448
ภาพประกอบ การทำสี่มือประสานกัน

2. ให้นั่งเก้าอี้มีพนักใช้คนยก 2 คน เคลื่อนไป (เก้าอี้ต้องแข็งแรง)


3. ใช้คน 3 คน ยกคนเจ็บตะแคงแนบอกยกเคลื่อนไปแล้วค่อย ๆ วางลง
4. ใช้คน 4 คน ยกเคลื่อนที่ไป
5. ทำเปลหามไปด้วย ผ้าห่ม ผ้าแบลงเก็ต เข็มขัด หรือเสื้อ 2 ตัว

เรื่องสั้น
เรื่อง “เป็ นมิตรเมื่อกู้เป็ นศัตรูเมื่อทวง”

คนเราเมื่อตอนจะมากู้หนี้เขาย่อมพูดจาอ่อนน้อมเป็นมิตรที่สนิทสนม เพราะ
449
กลัวเราไม่ให้ยืม แต่เมื่อยามที่เราไปทวงเงินคืนความเป็นมิตรต่าง ๆ ก็หายหมดไป เหลือแต่
ความเป็นศัตรู เพราะเขาไม่อยากใช้หนี้สินต่าง ๆ เหล่านั้น ดังนั้น ก่อนจะ ให้ใครยืมเงิน
ทองต้องดูนิสัยใจคอของเขาให้ดีก่อน

คติสอนใจ : “ให้เป็นคนรู้จักบุญคุณคน หรือ “ก่อนจะไว้ใจผู้ใด เราควรระมัด


ระวังพิจารณาให้ถ่องแท้ว่า ผู้นั้นมีนิสัยอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ผู้ที่เคยเป็นคนชั่ว ปลิ้นปล้อน หลอกลวงมาก่อน”
450

ภาคผนวก
เพลงและเกม
451

เพลงวชิราวุธรำลึก
วชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าประชา ก่อกำเนิดลูกเสือมา ข้าฯ เลื่อมใส
พวกเราลูกเสือเชื้อชาติไทย เทิดเกียรติพระคุณไว้ด้วยภักดี
ลูกเสือรำลึกนึกพระคุณเทิดบูชา ปฏิญาณรักกษัตริย์ ชาติ ศาสน์ศรี
มาเถิดลูกเสือ สร้างความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทยดั่งใจปอง

เพลง ลูกเสือธีรราช
เหล่าลูกเสือของธีรราช ทะนงองอาจสืบชาติเชื้อพงศ์พันธ์
สมัครสมานโดยมีสามัคคีมั่น พวกเราจะรักร่วมกัน จะผูกสัมพันธ์ตลอดกาล
มีจรรยา รักษาซื่อ สร้างเกียรติระบือ เลื่องลือต่อไปช้านาน
ร่าเริงแจ่มใส ใฝ่ รักให้ยืนนาน พวกเราล้วนชื่นบาน เพราะกิจการลูกเสือไทย
เพลง ลูกเสือจับมือ
ลูกเสือเขาไม่จับมือขวา
ยื่นซ้ายมาจับมือกันมั่น
มือขวาใช้เคารพกัน (ซ้ำ)
ยื่นซ้ายออกมาพลันจับมือ จับมือ
จับมือนั้นหมายถึงมิตร
เหมือญาติสนิทควรคิดยึดถือ
ยิ้มด้วยเมื่อยามจับมือ (ซ้ำ)
เพราะพวกเราคือลูกเสือด้วยกัน

เพลง B.P. Spirit


I’ve got that B.P. Spirit
Right in my head.
Right in my head.
Right in my head.
452
I’ve got that B.P. Spirit
Right in my head.
Right in my head to stay.
I’ve got that B.P. Spirit
Deep in my heart .....
I’ve got that B.P. Spirit.
All round my Feet ....
I’ve got that B.P. Spirit.
Right in my head .....
เพลง สัญญาณนกหวีด
ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดไป ไป ต่อไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันเข้าแถวทันใด
สั้นยาวนั้นไซร้ ต้องรีบเร็วไว เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นยามยาวหนึ่ง
ลูกเสือควรคำนึง ฟังจำให้ดีนี่คือสัญญาณ
453
เพลง วันนี้ยินดี
วันนี้ยินดีที่เราได้มาพบกัน (ซ้ำ)
ยินดี ยินดี ยินดี
มาเถิดมา เรามาร่วมสนุก
ปลดเปลื้องความทุกข์ให้มันสิ้นไป
มาเถิดมา เรามาร่วมจิต
ช่วยกันคิดทำให้การลูกเสือเจริญ
เพลง ตรงต่อเวลา
ตรงต่อเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
ตรง ตรง ตรงเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
เราเกิดมาเป็นคน ต้องหมั่นฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่า วันเวลาไม่เคยคอยใคร (ซ้ำ)
เพลง ทิศทั้งแปด
ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิม จำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน ตรงข้ามไปคืออาคเนย์
เพลง สัญญาณนกหวีด
ยาวหนึ่งครั้ง เราฟังได้ความว่าหยุด
เป่ ายาวเป็นชุด เราต้องรีบรุดไป ไป ต่อไป
สั้นติดต่อกัน เร็วพลันเข้าแถวทันใด
สั้นยาวนั้นไซร้ ต้องรีบเร็วไว เพราะเกิดเหตุการณ์
นายหมู่มานี่ ฟังซิสั้นยามยาวหนึ่ง
ลูกเสือควรคำนึง ฟังจำให้ดีนี่คือสัญญาณ
454
เพลง กายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุนๆ ชู้มือขึ้นโบกไปมา
กางแขนขึ้นและลง พับแขนมือแตะไหล่
กางแขนขึ้นและลง ชูมือตรงหมุนไปรอบตัว
เพลง รถไฟ
ชั่ก ชึก ชั่ก เสียงตัวจักรของเครื่องรถไฟ
วิ่งตรงมาโดยเร็วไว เสียงรถไฟมันดัง ชึกชั่ก
ชั่ก ชึก ชั่ก เสียงรัวหนักยิ่งฟังคึกคัก
เช้าสายบ่ายเย็นค่ำดึก เสียงมันก้องกึก ชึ่ก ชั่ก
ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก ชั่ก ชึ่ก วูน วูน วูน วู้น วู้น วู้น
เพลง ช่วยกันทำงาน
งานสิ่งใด งานสิ่งใด แม้ใครละเลยทิ้งปล่อย
มัวแต่คอย เฝ้ าแต่คอย หวังคอยแต่เกี่ยวโยนกลอง
ไม่มีเสร็จ ไม่มีเสร็จ รับรอง จำไว้ทุกคนต้อง
ทำงาน เราต้องช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน ช่วยกัน
เพลง วันนี้ยินดี
วันนี้ยินดีที่เราได้มาพบกัน (ซ้ำ)
ยินดี ยินดี ยินดี
มาเถิดมา เรามาร่วมสนุก
ปลดเปลื้องความทุกข์ให้มันสิ้นไป
มาเถิดมา เรามาร่วมจิต
ช่วยกันคิดทำให้การลูกเสือเจริญ
เพลง ตรงต่อเวลา
ตรงต่อเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
ตรง ตรง ตรงเวลา พวกเราต้องมาให้ตรงเวลา
เราเกิดมาเป็นคน ต้องหมั่นฝึกตนให้ตรงเวลา
วันคืนไม่คอยท่า วันเวลาไม่เคยคอยใคร (ซ้ำ)

เพลง ทิศทั้งแปด
ทิศทั้งแปดทิศ ขอให้คิดจำให้เคยชิน
อุดรตรงข้ามทักษิณ บูรพา ประจิม จำไว้
อีสานตรงหรดี ท่องอีกทีจำให้ขึ้นใจ
พายัพนั้นอยู่ทางไหน ตรงข้ามไปคืออาคเนย์
455

เพลง กายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุนๆ ชู้มือขึ้นโบกไปมา
กางแขนขึ้นและลง พับแขนมือแตะไหล่
กางแขนขึ้นและลง ชูมือตรงหมุนไปรอบตัว

เพลง รักเมืองไทย
รักเมืองไทย ชูชาติไทย ทะนุบำรุงให้รุ่งเรือง สมเป็นเมืองของไทย
เราชาวไทย เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย (ซ้ำ)
ไม่เคยอ่อนน้อม เราไม่ยอมแพ้ใคร ศัตรูใจกล้ามาแต่ทิศใด ถ้าข่มเหงไทย คงจะได้เห็นดี
รักเมืองไทย ชูชาติไทย ทะนุบำรุงให้รุ่งเรือง สมเป็นเมืองของไทย
เราชาวไทย เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย (ซ้ำ)
เกม ไฟไหม้
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสืออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน และจัดเป็นวงกลม 2 วงซ้อนกัน ลูกเสือ
วงนอกยืนตรงกับลูกเสือวงใน และให้ผู้นำคนหนึ่งอยู่กลางวง
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ผู้นำกลางวงพูดว่า “ไฟไหม้ วิ่ง” ให้ลูกเสือวงนอกวิ่งไป
ทางเดียวกันรอบวงกลม ส่วนผู้นำและลูกเสือวงในปรบมือพร้อมกัน
3. เมื่อผู้นำหยุดปรบมือ ลูกเสือวงในก็หยุด พร้อมจับมือกันและยกขึ้นเหนือศีรษะ
4. ลูกเสือวงนอกรีบเข้าวงใน แล้วจับมือกับลูกเสือวงใน ขณะเดียวกันผู้นำก็เข้าไปจับ
มือด้วย จะเหลือลูกเสือ 1 คนที่ไม่ได้จับมือ จะต้องเป็นคนอยู่กลางวงต่อไป
456
เกม หาคู่
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือจัดแถวเป็นวงกลม 2 วงซ้อนกัน
2. ให้ลูกเสือวงนอกและวงในจับคู่กัน และจำกันให้ได้
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือที่อยู่วงในขวาหัน ส่วนลูกเสือที่อยู่วงนอกซ้าย
หัน เดินส่วนทางกันและร้องเพลงด้วย
4. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณหยุด ให้ลูกเสือจับคู่ของตนให้ได้ ใครจับไม่ได้ถือว่าแพ้ให้
ออกจากการเล่น
เกม แข่งเรือบก
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน
2. ให้ลูกเสือนั่งเหยียดเท้าเป็นแถวตอน โดยให้นายหมู่อยู่หน้าและให้เอามือจับข้อเท้า
คนต่อไปทั้ง 2 เท้าไว้ให้แน่น
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือเคลื่อนตัวไปข้างหน้า
4. ลูกเสือหมู่ใดถึงเส้นชันก่อนถือว่าชนะ
เกม ทดสอบ
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ยืนห่างจากเส้นพอประมาณ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือวิ่งไปเขียนกฎบนกระดานที่จุด กำหนดคนละ 1
ข้อ
3. ลูกเสือหมู่ใดเขียนได้สมบูรณ์และมากที่สุดถือว่าชนะ
457
เกม รถตัดหญ้า
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือแถว 2 แถวเป็นคู่กัน
2. ให้ลูกเสือที่ยืนหน้าเป็นรถ แขนทั้งสองยันพื้นไว้ ส่วนคนหลังเป็นคนเข็น จับขาคน
หน้าพาดไว้ที่เอว
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ลูกเสือที่เป็นรถเดินด้วยมือ คู่ใดถึงจุดกำหนดก่อนถือว่า
ชนะ
เกม เปลี่ยนของ
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ลูกเสือเข้าแถวตอนและให้นายหมู่นำ
หมวกและผ้าผูกคอไปวางไว้ที่จุดกำหนด ซึ่งห่างจากแถวพอประมาณ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือคนแรกวิ่งไปเอาหมวกมาให้คนที่ 2 แล้วไปต่อ
ท้ายแถว
3. ลูกเสือคนที่ 2 วิ่งเอาหมวกไปเก็บไว้ที่เดิม แล้วให้เอาผ้าผูกคอไปให้คนที่ 3 สลับกัน
ไปตามลำดับ
4. หมู่ใดเสร็จก่อนถือว่าชนะ

เกม ตั้งพลอง
วิธีเล่น
1. ให้ลูกเสือจัดแถวเป็นวงกลม และให้ผู้นำจับไม้พลองอยู่กลางวง
2. ให้ลูกเสือ นับเลขและจำเลขของตัวเองไว้
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ผู้นำจะขานเลข พร้อมปล่อยให้ไม้พลองล้ม
4. ลูกเสือคนใดที่มีเลขตรงกับที่ผู้นำขาย ให้รีบวิ่งไปจับไม้พลองไม่ให้ล้ม
5. ถ้าวิ่งไปจับไม่ทันถือว่าแพ้ให้ออกจาการเล่น
458
เกม กาป้ อนเหยื่อ
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน โดยให้ลูกเสือเข้าแถวตอนและให้นายหมู่
คาบผ้าผูกคอเป็นเหยื่อ
2. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้นายหมู่วิ่งไปแตะเส้นที่กำหนด แล้วส่งเหยื่อด้วยปาก
ให้คนต่อไป แล้วไปต่อท้ายแถว
3. หมู่ใดเสร็จก่อนถือว่าชนะ

เกม แข่งเรือบก
วิธีเล่น
1. แบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ หมู่ละเท่าๆ กัน
2. ให้ลูกเสือนั่งเหยียดเท้าเป็นแถวตอน โดยให้นายหมู่อยู่หน้าและให้เอามือจับข้อเท้า
คนต่อไปทั้ง 2 เท้าไว้ให้แน่น
3. เมื่อผู้กำกับให้สัญญาณเริ่ม ให้ลูกเสือเคลื่อนตัวไปข้างหน้า
4. ลูกเสือหมู่ใดถึงเส้นชันก่อนถือว่าชนะ

……………………………………

You might also like