You are on page 1of 5

วอศ.

นฐ 01
(สำหรับนักเรียน/
วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม
แบบเสนอโครงการ
1. ชื่อโครงการ เทพธิดากุยช่าย
2. ประเภทของโครงการวิชาชีพ (ให้ท ำเครื่ องหมาย ลงในประเภทโครงการวิชาชีพให้ถูกต้อง)
 1. ประเภทสิ่ งประดิษฐ์
กลุ่มที่ 1 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นพัฒนาคุณภาพชีวิต
 กลุ่มที่ 2 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นการประกอบอาชีพ
 กลุ่มที่ 3 สิ่ งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
 กลุ่มที่ 4 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นผลิตภัณฑ์อาหาร
 กลุ่มที่ 5 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นหัตถศิลป์
 กลุ่มที่ 6 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นนวัตกรรมซอฟต์แวร์ฯ
 กลุ่มที่ 7 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นการแพทย์ (ด้านการป้ องกันโรคติดต่อ)
 กลุ่มที่ 8 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพ
 กลุ่มที่ 9 สิ่ งประดิษฐ์ดา้ นกำหนดโจทย์ (Mini Smart Farms)
 2. ประเภทงานทดลอง
 3. ประเภทงานบริ การ
 4. ประเภทสื่ อการเรี ยนการสอน
3. ผูจ้ ดั ทำโครงการ สาขางานการตลาด ระดับชั้น ปวช.3/2
1. นางสาวจิราภัสร์ ห้วงหงส์ทอง
2. นางสาวณิ ชาภา ใจเพชร
3. นางสาวอชิรญา เมธี รังสิ มนั ต์
4. ชื่อครู ที่ปรึ กษา
1. อาจารย์พสั ตราภรณ์ ทรัพย์ผดุ

5. ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา
ขนมกุยช่าย (อักษรจีน :  แต้จิ๋ว: กุยไช่กว้ ย จีนกลาง: โจ่วไชกัว่ ) หรื อที่เขตอำเภอพนมทวน จังหวัด
กาญจนบุรีเรี ยก ช่วยปั้ น เป็ นขนมประเภทก้วยของชาวจีนแต้จิ๋วชนิดหนึ่งกุยช่าย เป็ นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน
บางท้องถิ่นเรี ยกว่า ผักแป้ น ขนมกุยช่ายมีลกั ษณะสี่ เหลี่ยม ๆ ทอดกรอบที่ปัจจุบนั หาซื้ อค่อนข้างยากตามตลาดนัด
หรื อที่ต่าง ๆ ตามร้านอาหารกุยช่ายมีหลายรู ปแบบกุยช่ายที่เป็ นที่นิยมในไทย มี 3 แบบ คือ ขนมกุยช่ายแบบแต้จิ๋ว ที่
ทำเป็ นก้อนขนาดใหญ่ ขนมกุยช่ายแบบถาด ที่ใส่ กยุ ช่ายกวนไปพร้อมแป้ งแล้วนึ่งให้สุก และขนมกุยช่ายปากหม้อ
หรื อขนมกุยช่ายแป้ งสด ซึ่ งใช้แป้ งแบบข้าวเกรี ยบปากหม้อ แต่เปลี่ยนไส้เป็ นกุยช่ายผักแทนหรื อบางร้านอาจแต่งสี
ด้วยส่ วนประกอบอื่น เช่น ดอกอัญชัน ใบเตย ขนมกุยช่ายโดยทัว่ ไปเนื้อแป้ งจะเป็ นสี ขาว หากใช้ในงานเทศกาลหรื อ
ไหว้เจ้าต่าง ๆ เนื้อแป้ งจะเป็ นสี ชมพูหรื อแดงเรื่ อ ๆ 
เมื่อสมัยอดีตกุยช่ายนิยมทำรับประทานและขายในแบบนึ่งแต่ในปั จจุบนั ได้พฒั นาคิดค้นวิธีท ำแบบทอดโดย
เพิม่ ส่ วนผสมต่าง ๆ และนำลงไปทอดโดยเทน้ำมันให้ท่วม ทอดจนกุยช่ายเหลืองและนำขึ้นมาพักไว้บนตะแกรงเพื่อ
สะเด็ดน้ำมัน และมีน ้ำจิ้มที่ไว้กินคู่กบั กุยช่ายทอดน้ำจิ้มของกุยช่ายแต่ละที่จะมีส่วนผสมที่คล้ายๆกันโดยวัตถุดิบก็จะ
เหมือน ๆ กันโดยจะมีส่วนผสมหลักเป็ น ซีอิ๊วดำ น้ำส้มสายชู น้ำตาลทราย
ดังนั้นผูจ้ ดั ทำโครงการได้จดั ทำร้านขนมกุยช่ายทอดเพื่อจำหน่ายให้แก่นกั เรี ยนนักศึกษาอาชีวนครปฐมเพื่อ
ให้หารับประทานได้ง่ายเพราะปัจจุบนั ตามท้องตลาดขนมกุยช่ายทอดเป็ นขนมที่หารับประทานยากเราจึงควรอนุรักษ์
สื บสานให้รุ่นต่อ ๆ ไปได้รับประทาน
6. วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้รู้ประวัติความเป็ นมาของขนมกุยช่าย
2. เพื่อให้รู้วธิ ีการทำขนมกุยช่าย
3. เพื่อให้ได้รู้จกั และการปฏิบตั ิการทำงานเป็ นหมู่คณะ
4. เพื่อสร้างรายได้จากการขายกุยช่าย
7. สมมติฐานในการวิจยั
นักเรี ยนนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษานคปฐมซื้ อสิ นค้าและบริ การโดยผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายสิ นค้าแตก
ต่างกัน
8. ขอบเขตของการวิจยั
1. ประชากรคือผูบ้ ริ โภคในจังหวัดนครปฐม
2. ประชากรกลุ่มตัวอย่างคือผูบ้ ริ โภคในวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

9. นิยามศัพท์
ใบกุยช่าย หมายถึง กุยช่าย มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ กุยช่ายเขียวและกุยช่ายขาว ซึ่ งลักษณะจะไม่แตกต่าง
กัน แต่จะแตกต่างในเรื่ องของกระบวนการปลูกและการดูแลรักษา ในเอเชียตะวันออกแถบภูเขาหิ มาลัย จีน อินเดีย
ไต้หวัน และญี่ปุ่น จะมีการปลูกกุยช่ายกันอยู่ 2 พันธุ์ นัน่ ก็คือพันธุ์สีเขียวที่ปลูกทัว่ ๆ ไปและพันธุ์สีเขียวใบใหญ่สี
ขาวซึ่ งเกิดจากการบังร่ ม
ขนมกุยช่าย หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำแป้ งข้าวเจ้าหรื อแป้ งข้าวเจ้าผสมแป้ งชนิดอื่นและน้ำใน
ปริ มาณที่เหมาะสม อาจเติมน้ำมันด้วยก็ได้ มาตั้งไฟกวนจนแป้ งร่ อนออกจากภาชนะ นวดจนเนียนนุ่ม อาจแต่งสี ดว้ ย
ส่ วนประกอบอื่น เช่น ดอกอัญชันใบเตยแบ่งเป็ นก้อนเล็ก ๆ แผ่เป็ นแผ่นบาง บรรจุไส้ที่ท ำจากต้นกุยช่ายที่หนั่ เป็ น
ท่อนสั้น ๆ ผัดกับน้ำมันอาจเติมเครื่ องปรุ งรสเช่น เกลือซอสปรุ งรสซี อิ๊วน้ำตาลห่อให้ปิดสนิทเป็ นรู ปร่ างต่าง ๆ นำ
ไปนึ่งให้สุกที่อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม อาจทาน้ำมันโรยกระเทียมเจียวหรื อนำไปทอดให้ผวิ ด้านนอกกรอบ
หรื ออาจได้จากการนำแป้ งข้าวเจ้าหรื อแป้ งข้าวเจ้าผสมแป้ งชนิดอื่นและน้ำในปริ มาณที่เหมาะสม อาจเติมน้ำมันด้วย
ก็ได้ มาผสมกับต้นกุยช่ายที่หนั่ เป็ นท่อนสั้นๆเติมเครื่ องปรุ งรสเช่น เกลือซอสปรุ งรสซี อิ๊วน้ำตาลเทใส่ ถาด นำไปนึ่ง
ให้สุกที่อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม ตัดเป็ นชิ้น อาจโรยกระเทียมเจียวหรื อนำไปทอดให้ผวิ ด้านนอกกรอบ
10. วิธีด ำเนินการวิจยั
การวิจยั ครั้งนี้ มุ่งศึกษาการซื้ อสิ นค้าและบริ การผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายของนักเรี ยน-นักศึกษาวิทยาลัย
อาชีวศึกษานครปฐม ซึ่ งในบทนี้ จะนำเสนอวิธีการดำเนินการวิจยั โดยจะกล่าวถึงประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร
และการวัดตัวแปร เครื่ องมือที่ใช้ในการการวิจยั การดำเนินการทดลองและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลและ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรี ยน – นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐมจำนวน 2,800 คน
กลุ่มตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม จำนวน 100 คน
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม
การเก็บรวบรวมจ้อมูล
1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการวิจยั ได้แก่
สิ นค้าและบริ การ
ช่องทางการจัดจำหน่าย
เทคนิคการขาย
2. เก็บข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง
3. รวบรวมข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามและสรุ ปผล
4. จัดทำรู ปเล่มรายงาน ผูว้ ิจยั ได้จดั ทำรู ปเล่มรายงานโดยมีเนื้ อหาแบ่งเป็ น 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนำ โดยมีเนื้ อหาเกี่ยวกับความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ เป้ าหมาย วิจยั การดำเนินงาน ระยะเวลา
และสถานที่ด ำเนิน งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ การติดตามผล ปัญหา/อุปสรรคที่คาดว่าอาจเกิดขึ้น ผูร้ ับผิดชอบ
โครงการ นิยามศัพท์
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้ อหาเกี่ยวกับสิ นค้าและการบริ การ วิธีการทำ
ส่ วนผสม แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค ทฤษฏีเกี่ยวกับความพึงพอใจของมาสโลว์ งานวิจยั
ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินวิจัย โดยมีเนื้ อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั ประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง
เครื่ องมือในการวิจยั กานเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยมีเนื้ อหาเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจยั การอภิปายผล และข้อเสนอแนะ
11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีรายได้ระหว่างเรี ยน
2. นำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาในการเรี ยนและการประกอบธุรกิจ
12. แผนการดำเนินงาน
เดือน พฤศจิกายน ถึงเดือน มีนาคม
ขั้นตอนการดำเนินงาน
พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค
1. ขั้นเตรี ยมการ
2.ขั้นดำเนินการ
3.ขั้นนำเสนอผลงาน
13. งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงาน
1. รายได้ : เก็บสมาชิกภายในกลุ่ม จำนวน 2,000
2. รายจ่าย : ค่าวัตถุดิบ ค่ายานพาหนะ ค่าบรรจุภณั ฑ์ ครั้งละประมาณ 1,700 บาท
14. ผูเ้ สนอโครงการ

ลงชื่อ...........................................................หัวหน้าผูจ้ ดั ทำโครงการ
(นางสาวอชิรญา เมธี รังสิ มนั ต์)
........../......................../.............

15. คำรับรองของครู ที่ปรึ กษา


เสนอ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม
การจัดทำโครงการของนักเรี ยน นักศึกษาครั้งนี้อยูใ่ นการควบคุมดูแลของข้าพเจ้า

ลงชื่อ...........................................................ครู ผสู ้ อน
(นางสาวพัสตราภรณ์ ทรัพย์ผดุ )
........../......................../.............

16. ความเห็นรองผูอ้ ำนวยการฝ่ ายวิชาการ


เสนอผูอ้ ำนวยการ
( ) เห็นสมควรอนุมตั ิ
( ) อื่น ๆ ........................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................................รองผูอ้ ำนวยการฝ่ ายวิชาการ
(นางสาวพัชรา เอกสิ นิทธ์กลุ )
........../......................../.............

17. ความเห็น ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม


( ) อนุมตั ิ
( ) ไม่อนุมตั ิ .................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................................ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม
(นายวุฒิชยั รักชาติ)
........../......................../.............

You might also like