You are on page 1of 21

การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและสรุปองค์ความรู ้
(Research and knowledge Formation ; IS 2)
เรือ
่ ง ใบหูกวาง

คณะผูจ้ ดั ทา
นาย วรสรณ์ เพียรชนะ เลขที่ 2
นาย พิชต
ิ พงษ์ สืบศรี เลขที่ 3
นาย จตุพร ดวงภักดี เลขที่ 4
นาย ปารเมศ ธันยบูรณ์ สกุล เลขที่ 9
นาย ภวพล เสมา เลขที่ 18
นาย ทักษ์ ดนัย สารบูรณ์ เลขที่ 34
เสนอ
คุณครู เบญจมาศ ชนะน้อย
ชัน ่ /2โรงเรียนบ้านหมากแข้งสานักงานเขตพื้นทีก
้ มัธยมศึกษาปี ที5 ่ ารศึ
กษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต1
คานา
ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ล่ ม นี้
จัดทาขึน ้ เพือ
่ นาเสนอข้อมูลทีไ่ ด้ศก ึ ษาค้นคว้า และรวบรวมเรือ ่ ง “ใบหูกวาง”
ซึ่งในการศึกษาครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ ่ ศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ ของใบ
หู ก วาง ในการศึก ษาครั้ง นี้ ผู้ศึก ษาได้ว างแผนการด าเนิ น งาน
แ ล ะ เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล โ ด ย ก า ร สื บ คั น ข้ อ มู ล ท า ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต

ศึ ก ษ า จ า ก ห นั ง สื อ เ อ ก ส า ร ที่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ใ บ หู ก ว า ง
และสัม ภาษณ์ บุ ค คลที่เ กี่ย วข้อ ง จากนั้น น าข้อ มู ล มาวิเ คราะห์ สัง เคราะห์
และร่วมกันอภิปรายสรุปเขียนเป็ นรายงานการศึกษา
รายงานเล่ม นี้ ค งจะเป็ นประโยชน์ ส าหรับ ผู้ ที่ส นใจเกี่ย วกับ ใบหู ก วาง
ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ อ า จ จ ะ บ ก พ ร่ อ ง อ ยู่ บ้ า ง ห รื อ ยั ง มี เ นื้ อ ห า ที่ ไ ม่ ส ม บู ร ณ์
ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า ก็ ข อ อ ภั ย ไ ว้ ณ โ อ ก า ส นี้
หากผูใ้ ดสนใจต้องการรายละเอียดและข้อมูลเพิม ่ เติมสามารถสืบค้นได้ตามเอก
สารอ้างอิงท้ายเล่ม
ขอขอบคุ ณ นางเบญจมาศ ชนะน้ อ ย ครู ที่ใ ห้ค าปรึก ษา ค าแนะน า
ใ ห้ ข้ อ คิ ด แ ล ะ ก า ลั ง ใ จ ม า ต ล อ ด
ขอบคุณสมาชิกในกลุม
่ ทีใ่ ห้ความร่วมมือและช่วยกันทางานจนสาเร็จลุลว่ งไปด้
วยดี

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบัญ
ชือ
่ หน้า
ชือ
่ เรือ
่ ง บทคัดย่อ Abstract ง
ทีม
่ าและความสาคัญ ๑
จุดประสงค์ของการศึกษา ๑
วิธีดาเนินการศึกษา ๑
ผลการศึกษา ๒-๑๑
สรุป ๑๒-๑๔

อ้างอิง ๑๕
ภาคผนวก ๑๖-๑๙

ชือ
่ เรือ
่ ง : ใบหูกวาง
ชือ
่ เจ้าของผลงาน : นาย วรสรณ์ เพียรชนะเลขที่ 2
นาย พิชต
ิ พงษ์ สืบศรี เลขที่ 3
นาย จตุพร ดวงภักดี เลขที่ 4
นาย ปารเมศ ธันยบูรณ์ สกุล เลขที่
9
นาย ภวพล เสมา เลขที่ 18
นาย ทักษ์ ดนัย สารบูรณ์ เลขที3
่ 4
ครูทป
ี่ รึกษา : นางเบญจมาศ ชนะน้อย
สถาบันการศึกษา : โรงเรียนบ้านหมากแข้ง
อาเภอเมือง
จังหวัดอุดรธานี

บทคัดย่อ

ค น ใ น ปั จ จุ บั น ไ ม่ ค่ อ ย ที่ จ ะ รู ้ จั ก ใ บ หู ก ว า ง ม า ก นั ก
ซึ่ ง ใบหู ก วางมี ทุ ก ที่ทุ ก ชุ ม ชนแต่ผู้ค นก็ ม ก
ั ไม่ เ ห็ น ประโยชน์ ข องใบหู ก วาง
ทัง้ ทีม
่ ีประโยชน์ มากมายมีสรรพคุณทางยามากจึงทาให้กลุม ่ ของพวกเราสนใจ
ที่ จ ะ ท า โ ค ร ง ง า น นี้
เพือ ่ ทีจ่ ะทาให้ทุกคนเห็นคุณค่าของใบหูกวางมากขึน ้ และสามารถนาใบหูกวาง
ม า ท า ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ใ ห้ กั บ ค ร อ บ ค รั ว
โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ดว้ ยใบหูกวาง

Abstract
People today do not know much about the Malabar leaf.
Malabar leaves are everywhere, every community, but people
often don't see the benefits of Malabar leaves. Despite the many
benefits and many medicinal properties that make our group
interested To do this project In order to make everyone see more
value of Malabar leaves and can use Malabar leaves to benefit
and generate income for the family By processing products with
malabar leaves
1

ทีม
่ าและความสาคัญ

จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ห า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ใ บ หู ก ว า ง ท า ใ ห้ พ บ ว่ า
ใ บ หู ก ว า ง มี ส ร ร พ คุ ณ ท า ง ย า ม า ก ก ว่ า ตั ว ย า บ า ง ช นิ ด ใ น ปั จ จุ บั น
แ ล ะ ยั ง ห า ไ ด้ ง่ า ย ใ น ทุ ก ที่ แ ต่ ผู้ ค น มั ก ไ ม่ รู ้ จั ก ใ บ หู ก ว า ง
ท า ง ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า จึ ง เ ล็ ง เ ห็ น แ ล ะ ไ ด้ จั ด ท า โ ค ร ง ง า น นี้ ขึ้ น
เ พื่ อ ใ ห้ ทุ ก ค น หั น ม า เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ใ บ หู ก ว า ง
่ ทีจ่ ะสร้างรายได้จากใบหูกวาง ซึง่ เป็ นไม้ทม
เพือ ี่ ีอยูท
่ ่วั ไป

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๑. เพือ
่ ทราบถึงสรรพคุณของใบหูกวาง
๒. เพือ่ ให้สามารถสร้างรายได้จากใบหูกวาง
๓. เพือ ่ เผยแพร่ความรูแ
้ ก่สาธารณะ

วิธก
ี ารดาเนินการศึกษา
ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ด้ ว ย ต น เ อ ง
ผู้ ศึ ก ษ า จึ ง ไ ด้ ว า ง แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น
แ บ่ ง ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร เ ก็ บ ร ว ม ร ว บ ข้ อ มู ล
โดยการสื บ ค้นข้อ มู ลทางอินเทอร์ เ น็ ต ศึก ษาจากหนังสื อ เอกสารที่เกี่ย วข้อ ง
แ ล ะ ก า ร สัม ภ า ษ ณ์ บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง จ า ก นั้ น น า ข้ อ มู ล ม า วิ เ ค ร า ะ ห์
สั ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย ส รุ ป
เ ขี ย น เ ป็ น ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น รู ป แ บ บ สื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย
ซึง่ ผูศ
้ ก
ึ ษาได้ดาเนินการศึกษาหาข้อมูล
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
๑. ประวัตขิ องใบหูกวาง
๒. วิธีการปลูก การเจริญเติบโต การปรับปรุงขยายพันธุ์
๓. สรรพคุณใบหูกวาง
๔. ประโยชน์ใบหูกวาง
๕. ผลิตภัณฑ์จากใบหูกวาง

ผลการศึกษา

ใ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น “ ใ บ หู ก ว า ง ”
ด้วยการศึก ษาหาคุณสมบัติข องของใบหู ก วาง ที่ช่วยในการรัก ษาโรคต่า งๆ
2

ท า ง ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า โ ค ร ง ง า น
มี ว ต
ั ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ต้ อ งการให้ ค นไทยในปั จ จุ บ น
ั ไม่ ว่ า จะเป็ นช่ ว งวัย รุ่ น
วัยผูใ้ หญ่ หรือวัยผูส้ ูงอายุ ได้รจู ้ กั ประโยชน์และคุณค่าใบหูกวางมากขึน ้

ทางผูจ้ ดั ทาได้จดั ทาโครงงานเรือ ึ้ เพือ


่ งนี้ ขน ่ นามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
แ ล ะ เ พื่ อ น า ไ ป เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ บ หู ก ว า ง ม า ขึ้ น
โดยแยกส่วนประกอบออกมาได้ดงั นี้

๑.ประวัตค
ิ วามเป็ นมาต้นหูกวาง

ต้ น หู ก ว า ง เ ป็ น ไ ม้ ยื น ต้ น ที่ พ บ ไ ด้ ท่ ัว ไ ป ใ น ทุ ก จัง ห วัด ข อ ง ไ ท ย


นิ ย ม ป ลู ก เ พื่ อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ใ ห้ ร่ ม เ ง า แ ล ะ เ นื้ อ ไ ม้ เ ป็ น ห ลั ก
เนื่ อ งจากมี ใ บใหญ่ สี เ ขี ย วสวยงาม โดยเฉพาะในฤดู ก ารแตกใบใหม่
มักพบปลูกในสถานทีร่ าชการหรือทีส ่ าธารณะต่างๆ เพือ ่ ให้มีรม่ เงาบังแดด

ต้นหูกวาง (Tropical Almond หรือ India Almond)


มีชือ
่ ตามท้องถิน
่ ทีเ่ รียกกันตามจังหวัด เช่น โคน ตาแป่ ห์ (นราธิวาส) ดัดมือ
ตัดมือ (ตรัง) ตาปัง (พิษณุโลก และสตูล) หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี)
เป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลางทีม ่ ีความสูงประมาณ 15-20 เมตร จัดเป็ นไม้ผลัดใบ

วงศ์ : Combretaceae
สกุล : Termonalia
สปี ชีส์ : T.catappa
ชือ
่ อังกฤษ : Tropical almond , India almond
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa L.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลาต้น
ต้นหูกวางเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีลาต้นตัง้ ตรง
แตกกิง่ เป็ นชัน
้ ๆในแนวราบ
เรือนยอดค่อนข้างกลมหรือเป็ นรูปพีระมิดหนาทึบ เปลือกต้นมีสีเทา
แตกเป็ นร่องตื้นๆ และลอกออกเป็ นสะเก็ด
3

ใบ

ใ บ หู ก ว า ง จั ด เ ป็ น ใ บ เ ดี่ ย ว มี สี เ ขี ย ว อ่ อ น เ มื่ อ แ ต ก ใ บ ใ ห ม่
และเมื่อ แก่ จ ะออกสี เ หลื อ งถึ ง น้ า ตาล ใบจะแตกเรี ย งสลับ บริ เ วณปลายกิ่ง
มี รู ป ไข่ ก ลับ ด้ า น กว้ า งประมาณ 8-15 เซนติ เ มตร ยาวประมาณ 12-15
เซนติเมตรปลายใบมีตงิ่ แหลม ส่วนโคนใบมีลกั ษณะสอบแคบ เว้า และมีตอ ่ ม
1 คู่ แ ผ่ น ใ บ มี ลั ก ษ ณ ะ ห น า แ ล ะ มี ข น นุ่ ม ป ก ค ลุ ม ข อ บ ใ บ เ รี ย บ
ผลัดใบในฤดูหนาว ช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน

ดอก

ดอกต้ น หู ก วางจะออกเป็ นช่ อ บริ เ วณซอกใบหรื อ บริ เ วณปลายกิ่ ง


ดอก สี ข าวนวล ขนาดเล็ ก ประก อบด้ ว ย โคนก ลี บ เลี้ ย งที่ เ ชื่ อ ม ติ ด กัน
ส่วนปลายแยกเป็ น 5 แฉก รูปสามเหลีย่ ม ช่อดอกมีรูปเป็ นแท่งยาวประมาณ
8-12 เซนติ เ มตร ดอกมี สี ข าว ไม่ มี ก ลี บ ดอก ดอกเพศผู้ จ ะอยู่ ป ลายช่ อ
โ ด ย มี ด อ ก ส ม บู ร ณ์ เ พ ศ บ ริ เ ว ณ โ ค น ช่ อ
การออกดอกจะอยูใ่ นช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และสิงหาคม-ตุลาคม

ผล
ผ ล มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น รู ป ไ ข่ ห รื อ รู ป รี ป้ อ ม แ ล ะ แ บ น เ ล็ ก น้ อ ย
ความกว้า งประมาณ 2-5 เซนติเ มตร ยาวประมาณ 3-7 เซนติเ มตร
มีสีเปลือกผลสีเขียว เมือ ่ แก่จะมีสีเหลืองออกน้าตาล และเมือ ่ แห้งจะเป็ นสีดาคลา้
และเมือ่ เนื้อเปลือกหลุดออกหรือย่อยสลายจะเห็นเป็ นเส้นใยกระจุกตัวแน่ นทั่ว
ผล ผล 1 ผล จะประกอบด้วยเมล็ดเพียง 1 เมล็ด ลักษณะเป็ นรูปไข่เรียวยาว
คล้ายอัลมอนด์ สามารถรับประทานได้ ให้รสหอม
4

๒.การปลูก การเจริญเติบโตและการปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์

ก า ร ป ลู ก หู ก ว า ง
เจริ ญ งอกงามดี ใ นที่ ที่ มี ก ารระบายน้ า ได้ ดี ดิ น รวนพอควรหรื อ ปนทราย
ควรปลู ก เป็ นไม้ ใ ห้ ร่ ม เงามากกว่ า เป็ นไม้ ป ระดับ เพราะมี กิ่ ง เป็ นชั้น ๆ
เรือนยอดหนาแน่ น สาหรับข้อมูลเกีย่ วกับการปลูกและอัตราการเจริญ เติบโต
ตลอดทัง้ การปรับปรุงพันธุ์ ไม้หูกวางยังไม่มีการศึกษากัน อย่างจริงจัง
ก า ร ข ย า ย พั น ธุ์ ใ น ธ ร ร ม ช า ติ หู ก ว า ง จ ะ ข ย า ย พั น ธุ์ โ ด ย เ ม ล็ ด
ซึ่ ง น้ า ห รื อ น้ า ท ะ เ ล แ ล ะ ค้ า ง ค า ว ช่ ว ย ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย พั น ธุ์ ด้ ว ย
ส่ ว น ก า ร ข ย า ย พั น ธุ์ โ ด ย วิ ธี อื่ น ยั ง ไ ม่ มี ก า ร ศึ ก ษ า กั น หู ก ว า ง
เ ป็ น พั น ธุ์ ไ ม้ ที่ ใ ห้ เ ม ล็ ด ทุ ก ปี
การเก็ บ เมล็ ด เพื่อ นามาขยายพันธ์ ควรเก็บ ในช่ วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
เ ม ล็ ด ใ บ หู ก ว า ง เ ป็ น เ ม ล็ ด ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ มี เ ป ลื อ ก ห น า
เ ห นี ย ว แ ล ะ เ ป ลื อ ก ใ น แ ข็ ง จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ พ า ะ ป ร า ก ฎ ว่ า
ก า ร เ พ า ะ ใ น ก ล า ง แ จ้ ง ใ ห้
อั ต ร า ก า ร ง อ ก ที่ ดี ก ว่ า ก า ร เ พ า ะ ใ น เ รื อ น เ พ า ะ ช า แ ล ะ ใ น ที่ ร่ ม
โดยมีอตั ราการงอกโดยเฉลีย่ ดังนี้ กลางแจ้ง 70% ในเรือนเพาะชา 46.75%
แ ล ะ ใ น ที่ ร่ ม 43.25%
เพราะฉะนัน ้ ในการเพาะเมล็ดหูกวางให้ได้อตั รางอกทีด ่ ีควรเพาะในทีโ่ ล่งแจ้ง
วั ส ดุ เ พ า ะ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ไ ด้ ก า ร ก ล บ เ ม ล็ ด ค ว ร ก ล บ ใ ห้ ห น า ไ ม่ เ กิ น 1
นิ้ ว แ ล ะ ใ ช้ ฟ า ง ข้ า ว ห รื อ วั ส ดุ อ ย่ า ง อื่ น
ซึ่งมีลกั ษณะใกล้เคียงกันกับแปลงเพาะชาเมล็ดใบหกวางของศูนย์สริ พ ิ น
ั ธ์ ชาน
า ญ กิ จ ( 2524) ซึ่ ง ท า ก า ร ท ด ล อ ง ที่ อ . ง า ว จ . ล า ป า ง
โ ด ย ใ ช้ ท ร า ย ห ย า บ ป า น ก ล า ง เ ป็ น วั ส ดุ เ พ า ะ แ ล ะ วั ส ดุ ก ล บ เ ม ล็ ด
โ ด ย แ บ่ ง ร ะ ดั บ ข อ ง ก า ร ไ ด้ รั บ แ ส ง เ ป็ น 3 ร ะ ดั บ คื อ ใ น ที่ ร่ ม ( 0%)
ใ น เ รื อ น เ พ า ะ ช า ( 50%) แ ล ะ ก ล า ง แ จ้ ง ( 100%)
ก ล บ เ ม ล็ ด ค่ อ น ข้ า ง ห น า ป ร ะ ม า ณ 1 นิ้ ว ใ ช้ ฟ า ง ข้ า ว
ปกคลุมแปลงทดลองเพือ ่ ควบคุมความชื้นในแปลงผลการทดลอง
5

๓.สรรพคุณของใบหูกวาง
๓.๑ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาแก้ไข้ (ทัง้ ต้น)

๓.๒ ใบมีสรรพคุณเป็ นยาขับเหงือ่ (ใบ)

๓.๓ ช่วยแก้ตอ
่ มทอนซิลอักเสบ (ใบ)

๓.๔ ใบใช้ผสมกับน้ามันจากเนื้อในเมล็ด
นามาทาหน้าอกจะช่วยแก้อาการเจ็บหน้าอก หรือใช้ทาไขข้อ
และส่วนของร่างกายทีห
่ มดความรูส้ ก
ึ (ใบและน้ามันจากเมล็ด)

๓.๕ เปลือกมีรสฝาด สรรพคุณเป็ นยาขับลม แก้ทอ


้ งเสีย (เปลือก)

๓.๖ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาแก้ทอ


้ งร่วง แก้บด
ิ (ทัง้ ต้น)

๓.๗ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาระบาย (ทัง้ ต้น)

๓.๘ ผลมีสรรพคุณเป็ นยาถ่าย (ผล)

๓.๙ ใบทีม
่ ีสีแดงจะมีสรรพคุณเป็ นยาถ่ายพยาธิ (ใบ)

๓.๑๐ ใบใช้เป็ นยารักษาโรคทางเดินอาหารและตับ (ใบ)

๓.๑๑ เมล็ดใช้รบ
ั ประทานเป็ นยาแก้ขดั เบา แก้นิ่วได้ (เมล็ด)

๓.๑๒ เปลือกใช้เป็ นยาแก้ตกขาวของสตรี (เปลือก)

๓.๑๓ รากมีสรรพคุณช่วยทาให้ประจาเดือนของสตรีมาตามปกติ (ราก)

๓.๑๔ ช่วยรักษาโรคโกนีเรีย (โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) (เปลือก)

๓.๑๕ เปลือกและทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาสมาน (เปลือก,ทัง้ ต้น)

๓.๑๖ ใบใช้ผสมกับน้ามันจากเนื้อในเมล็ด เป็ นยารักษาโรคเรื้อน


(ใบและน้ามันจากเมล็ด)

๓.๑๗ ใช้แก้โรคคุดทะราด (ทัง้ ต้น)


6

๓.๑๘ ใบมีสรรพคุณช่วยรักษาโรคไขข้ออักเสบ (ใบ)

๔.ประโยชน์ของใบหูกวาง
๔.๑ ปลู ก เป็ นไม้ป ระดับ จากใบหู ก วางที่แ ตกใหม่มี ล ก
ั ษณะใบใหญ่
สี เ ขี ย ว อ่ อ น แ ล ดู ส ว ย ง า ม แ ล ะ ส ด ชื่ น
จึงนิยมนามาปลูกเพือ ่ วัตถุประสงค์เป็ นไม้ประดับนอกเหนือจากการให้รม่ เงา
๔.๒ เนื่ อ งจากเป็ นไม้ ที่ มี ท รงพุ่ ม ใหญ่ ประกอบด้ ว ยใบขนาดใหญ่
และมีใบมาก ทาให้เกิดร่มเงาสร้างความร่มรืน ่ ได้เป็ นอย่างดี
๔๓ เนื้อไม้นามาแปรรูปเป็ นไม้แผ่นสาหรับก่อสร้างบ้าน ทาเครือ ่ งเรือน
เ ค รื่ อ ง ด น ต รี อุ ป ก ร ณ์ จั บ สั ต ว์ เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ แ ล ะ อื่ น ๆ
เนื้อไม้ทไี่ ด้จากต้นหูกวางทีม
่ ีอายุมากจะมีสีแดงหรือน้าตาลออกดาบริเวณแก่น
๔ ๔ กิ่ ง
และเนื้อไม้ขนาดเล็กนามาเป็ นฟื นให้ความร้อนในการประกอบอาหาร
๔๕ ใบ น าบ ดหรื อ ต้ ม ท าสี ย้ อ ม ผ้ า ซึ่ ง จะให้ ท ้ ัง สี เ ขี ย วในใบ อ่ อ น
และสี เ หลื อ งในใบแก่ รวมถึง ราก และผลดิบ ก็ ใ ช้ ใ นการฟอกย้อ มหนัง
การผลิตสีดา และผลิตหมึกสี
๔๖ ใบหูกวางนิยมนามาแช่น้าสาหรับเลี้ยงปลากัด เพือ ่ ให้ปลามีสุขภาพดี
มี ก า ร เ จ ริ ญ พั น ธุ์ แ ล ะ เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ดี ไ ม่ เ กิ ด โ ร ค
ยับ ยั้ง การเติ บ โตของเชื้ อ แบคที เ รี ย ก่ อ โรคในปลา และช่ ว ยให้ ป ลากัด
มี สี ส น
ั สวยงาม สี เ ข้ม สดใส นอกจากนั้น ยัง ช่ว ยรัก ษาระดับ ความเป็ นกรด-
ด่างของน้า
๔๗ เมล็ดสามารถรับประทานได้ทง้ ั ดิบหรือนามาต้มสุกหรือเผา
๔๘ เมล็ ด สามารถน ามาสกัด เป็ นน้ า มัน ที่ มี ล ัก ษณ ะใส ไม่ มี ก ลิ่ น
มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย น้ า มั น จ า ก อั ล ม อ น ด์ ใ ช้ รั บ ป ร ะ ท า น ใ ช้ บ า รุ ง ผ ม
ใช้นวดแก้ปวดเมือ ่ ยกล้ามเนื้อ รวมถึงใช้ในด้านความสวยความงาม
7

เมล็ดหูกวางสามารถนามารับประทานได้
และมีโปรตีนและคูณค่าทางโภชนาการดังนี้
คุ ณ ค่ า ท า ง โ ภ ช น า ก า ร ข อ ง เ ม ล็ ด หู ก ว า ง ต่ อ 100 ก รั ม
มี ป ระโยชน์ ต่อ ร่า งกายประกอบด้ว ย พลัง งาน 594 แคลอรี่ น้ า 4%
โปรตีน 20.8 กรัม ไขมัน 54 กรัม คาร์โบไฮเดรต 19.2 กรัม ใยอาหาร 2.3
กรัม วิต ามิน บี 1 0.32 มิล ลิก รัม วิต ามิน บี 2 0.08 มิล ลิก รัม วิต ามิน บี 3 0.6
มิลลิกรัม แคลเซียม 32 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 789 มิลลิกรัม และธาตุเหล็ก 9.2
มิลลิกรัม เป็ นต้น

๕.ผลิตภัณฑ์จากใบหูกวาง
๕.๑ใบหูกวางแห้งใส่ตป
ู้ ลา วิธีทาและเลือก
ใบหูกวางใบหูกวางทีด ่ ีนน
้ ั ต้องเป็ นใบทีร่ ว่ งหล่นเองตามธรรมชาติ
แ ล ะ เ ป็ น ใ บ ที่ แ ห้ ง ส นิ ท ใ ช้ ไ ด้ ทั้ ง สี แ ด ง สี เ ห ลื อ ง สี น้ า ต า ล
แต่ใบทีม ่ ีสารแทนนินเยอะสุดคือใบทีม ่ ีสีน้าตาลอมม่วง
ไม่ควรนาใบสีเขียวสดมาใช้เพราะมีฤทธิเ์ ป็ นพิษใบหูกวางแห้งนั้น
ต้ อ ง ไ ม่ มี เ ชื้ อ ร า เ พ ร า ะ เ ป็ น ใ บ ที่ ร่ ว ง ม า น า น แ ล้ ว
แหล่ง ในการหาใบหู ก วางไม่ค วรอยู่ใ นแหล่ง ชุ ม ชน และมลพิษ เยอะ
เ พ ร า ะ แ ห ล่ ง เ ห ล่ า นี้ ท า ใ ห้ ใ บ หู ก ว า ง มี แ ต่ เ ข ม่ า ค วั น พิ ษ
ถึงแม้จะนามาทาความสะอาดแล้วก็ตาม
ก่ อ น อื่ น ต้ อ ง น า ใ บ หู ก ว า ง ม า ล้ า ง ใ ห้ ส ะ อ า ด
โดยการน ามาแช่ น้ า ด่ า งทับ ทิ ม แล้ ว น าฟองน้ า มาขัด ถู ใ ห้ ส ะอาด
แล้วนาใบหูกวางมาฉี กใบเป็ นชิน ้ เล็กๆ แล้วใส่ในภาชนะทีเ่ ลี้ยงปลา
พอใส่ไ ปได้ร ะยะหนึ่ ง น้ า ในภาชนะจะเปลี่ ย นสี เ ป็ นสี น้ า ตาลใส
ไ ม่ ขุ่ น ถ้ า น้ า ขุ่ น เ ป็ น เ มื อ ก แ ส ด ง ว่ า ใ บ หู ก ว า ง ที่ เ ร า ใ ช้ ไ ม่ ดี
ต้องรีบเปลีย่ นทันที เพราะปลาอาจจะติดเชื้อไม่สบายได้
ส่ ว น วิ ธี ที่ ไ ด้ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ที่ สุ ด ก็ คื อ
การน าใบหู ก วางไปต้ม เป็ นการฆ่า เชื้ อ โรคต่า งๆ ที่ป นเปื้ อนมากับ ใบ
8

อีกทัง้ ความร้อนยังช่วยสารแทนนินในใบหูกวางออกมาในปริมาณทีม
่ าก
ด้วย

๕.๒หมักจากใบหูกวาง
น้ า หมัก ใบหู ก วาง เกษตรกรผู้ เ ลี้ ย งปลาจะทราบถึ ง สรรพคุ ณ
ข อ ง น้ า ห มั ก สู ต ร นี้ คื อ ห ยุ ด ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง แ บ ค ที เ รี ย
ซึ่ ง มี ผ ล ท า ใ ห้ ป ล า ป่ ว ย ไ ด้
แ ล ะ อ า จ เ ข้ า ไ ป ท า ล า ย ต า ม เ ก ร็ ด แ ล ะ ห นั ง ข อ ง ป ล า
แ ล ะ ยั ง มี ส่ ว น ส า คั ญ ใ น ก า ร ก า จั ด เ ชื้ อ โ ร ค ภ า ย ใ น น้ า
และทาให้ปลาสบายตัว

ขัน
้ ตอนการทา
น า ใ บ หู ก ว า ง 10 ก ก . ใ ส่ ล ง ใ น ถั ง ห มั ก
จ า ก นั้ น เ ติ ม ก า ก น้ า ต า ล ใ ส่ ล ง ไ ป
ท า ก า ร ก ด ใ บ หู ก ว า ง โ ด ย ใ ช้ ฝ่ า มื อ ก ด ล ง ไ ป ใ น ถั ง
เ ส ร็ จ แ ล้ ว เ ติ ม น้ า ล ง ไ ป พ อ ท่ ว ม ใ บ หู ก ว า ง ปิ ด ฝ า ถั ง ใ ห้ ส นิ ท
หมักทิง้ ไว้ในทีร่ ม ่ ประมาณ 21 วัน ก็สามารถนาไปใช้งานได้
อัตราการใช้
น้ า ห มั ก ใ บ หู ก ว า ง 50 ซี ซี / น้ า 1 ลิ ต ร ผ ส ม ใ ห้ เ ข้ า กั น
น า ไ ป ส า ด ล ง บ่ อ เ ลี้ ย ง ป ล า ทุ ก ๆ 7 วั น
ปั ญ ห า น้ า ใ น บ่ อ ป ล า เ น่ า เ สี ย ก็ จ ะ ค่ อ ย ๆ ห า ย ไ ป
และปลาทีเ่ ป็ นโรคผิวหนังก็จะหายไป

๕.๓การย้อมจากใบหูกวาง
ใ บ หู ก ว า ง ใ ห้ สี เ ขี ย ว เ ช่ น เ ดี ย ว ก ลับ สี จ า ก ไ ป ต ะ เ พี ย น ห นู
แ ต่ สี จ ะ ไ ม่ ค่ อ ย ใ ส จ ะ อ อ ก ตุ่ น ๆ
ผ้าฝ้ ายทอมือย้อมสีธรรมชาติเป็ นผลิตภัณฑ์ทีส ่ ามารถนาไปสร้างอาชีพ
เพิ่ ม มู ล ค่ า ได้ ถ้ า มี ก ารพัฒ นา ให้ มี ส มบัติ ด้ า นความคงทนของสี ดี
และยังสามารถเป็ นรายได้เสริมให้กบ ั ชุมชนได้เป็ นการสร้างรากฐานเศร
9

ษ ฐ กิ จ ที่ ยั่ ง ยื น
พึ่งพาตนเองได้ในระยะยาวการนาวัสดุธรรมชาติทีห ่ าได้งา่ ยในท้องถิน

เ ช่ น ใ บ หู ก ว า ง ที่ วั ส ดุ เ ห ลื อ ทิ้ ง จ า ก ก า ร เ ก ษ ต ร
ส า ม า ร ถ ส กั ด แ ล ะ ท า เ ป็ น สี ย้ อ ม ฝ้ า ย ไ ด้
จึ ง ไ ด้ มี ก า ร ย้ อ ม ฝ้ า ย ด้ ว ย สี ธ ร ร ม ช า ติ จ า ก ใ บ หู ก ว า ง
เริ่มตัง้ แต่การเตรียมเส้นด้ายฝ้ ายก่อนย้อม การเตรียมสีย้อม การย้อมสี
ก า ร ใ ช้ ส า ร ช่ ว ย ติ ด สี
และการท าให้ ฝ้ ายที่ ย้ อ มสี มี ค วามคงทนของสี ต่ อ การซัก ฟอกได้ ดี
มีคณ ุ ภาพเป็ นทีต่ อ
้ งการของผูบ ้ ริโภค

ขัน
้ ตอนการย้อมฝ้ ายด้วยสีธรรมชาติ

๕ . ๓ . ๑ ส้ น ด้ า ย ที่ จ ะ ย้ อ ม ม า ต้ ม ใ น น้ า ส บู่
ห รื อ ผ ง ซั ก ฟ อ ก เ พื่ อ ไ ล่ ไ ข มั น ใ ช้ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 30 น า ที
จากนัน ้ นาขึน้ มาผึง่ ให้เย็นแล้วนาไปซักในน้าสะอาด

๕ . ๓ . ๒
นาเปลือกไม้/ใบไม้ทีเ่ ตรียมไว้มาต้มจนเดือดใช้เวลาประมาณ 45 นาที
แล้ว กรองแยกกากน าน้ า สี ที่ก รองแล้ ว มาต้ม ในหม้อ ใส่เ กลื อ สารส้ม
หรื อ ปู น คนจนละลายแล้ว น าฝ้ ายที่ไ ล่ไ ขมัน ไว้แ ล้ว น ามาต้ม ต่อ 45
นาที

๕.๓..๔ นาฝ้ ายทีย่ อ


้ มแล้วออกให้สะเด็ดน้า ทิง้ ไว้จนเย็น
แล้วนาไปซักจนสะอาด

๕.๓.๕
นาฝ้ ายทีซ
่ กั สะอาดดีแล้วไปตากจนแห้งส่วนฝ้ ายทีใ่ ช้เป็ นเส้นยืนนาไ
ปแช่ในแป้ งเปี ยก

๕.๓.๖ นาออกไปตากเพือ
่ ให้เส้นด้ายมี ความเหนียวไม่ขาดง่าย
10

สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษาโครงงานเรือ ่ ง “ใบหูกวาง”
โดยการทาเครือ
่ งดืม
่ จากผลไม้และสมุนไพร สามารถแยกออกมาได้ดงั นี้

๑.สรรพคุณของใบหูกวาง

๑.๑ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาแก้ไข้ (ทัง้ ต้น)

๑.๒ ใบมีสรรพคุณเป็ นยาขับเหงือ่ (ใบ)

๑.๓ ช่วยแก้ตอ
่ มทอนซิลอักเสบ (ใบ)

๑.๔ ใบใช้ผสมกับน้ามันจากเนื้อในเมล็ด
นามาทาหน้าอกจะช่วยแก้อาการเจ็บหน้าอก
หรือใช้ทาไขข้อและส่วนของร่างกายทีห
่ มดความรูส้ ก
ึ (ใบและน้ามันจากเมล็ด)

๑.๕ เปลือกมีรสฝาด สรรพคุณเป็ นยาขับลม แก้ทอ


้ งเสีย (เปลือก)

๑.๖ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาแก้ทอ


้ งร่วง แก้บด
ิ (ทัง้ ต้น)

๑.๗ ทัง้ ต้นมีสรรพคุณเป็ นยาระบาย (ทัง้ ต้น)

๑.๘ ผลมีสรรพคุณเป็ นยาถ่าย (ผล)

๑.๙ ใบทีม
่ ีสีแดงจะมีสรรพคุณเป็ นยาถ่ายพยาธิ (ใบ)

๑.๑๐ ใบใช้เป็ นยารักษาโรคทางเดินอาหารและตับ (ใบ)

๑.๑๑ เมล็ดใช้รบ
ั ประทานเป็ นยาแก้ขดั เบา แก้นิ่วได้ (เมล็ด)

๑.๑๒ เปลือกใช้เป็ นยาแก้ตกขาวของสตรี (เปลือก)

๑.๑๓ รากมีสรรพคุณช่วยทาให้ประจาเดือนของสตรีมาตามปกติ (ราก)

๑.๑๔ ช่วยรักษาโรคโกนีเรีย (โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) (เปลือก)

๒.ประโยชน์ใบหูกวาง

๒.๑ ปลูกเป็ นไม้ประดับ จากใบหูกวางทีแ


่ ตกใหม่มีลกั ษณะใบใหญ่
สีเขียวอ่อน แลดูสวยงาม
11

๒.๒ เนื่องจากเป็ นไม้ทม


ี่ ีทรงพุม
่ ใหญ่ ประกอบด้วยใบขนาดใหญ่
และมีใบมาก ทาให้เกิดร่มเงาสร้างความร่มรืน ่ ได้เป็ นอย่างดี
๒.๓ เนื้อไม้นามาแปรรูปเป็ นไม้แผ่นสาหรับก่อสร้างบ้าน
ทาเครือ
่ งเรือน เครือ
่ งดนตรี อุปกรณ์ จบ
ั สัตว์ เฟอร์นิเจอร์ และอืน
่ ๆ
๒.๔ กิง่
และเนื้อไม้ขนาดเล็กนามาเป็ นฟื นให้ความร้อนในการประกอบอาหาร
๒.๕ ใบนาบดหรือต้มทาสียอ้ มผ้า ซึง่ จะให้ทง้ ั สีเขียวในใบอ่อน
และสีเหลืองในใบแก่ รวมถึงราก และผลดิบก็ใช้ในการฟอกย้อมหนัง
การผลิตสีดา และผลิตหมึกสี
๒.๖ ใบหูกวางนิยมนามาแช่น้าสาหรับเลี้ยงปลากัด
เพือ
่ ให้ปลามีสุขภาพดี มีการเจริญพันธุ์ และเจริญเติบโตดี ไม่เกิดโรค
๒.๗ เมล็ดสามารถรับประทานได้ทง้ ั ดิบหรือนามาต้มสุกหรือเผา
๒.๘ เมล็ดสามารถนามาสกัดเป็ นน้ามันทีม
่ ีลกั ษณะใส ไม่มีกลิน

มีลกั ษณะคล้ายน้ามันจากอัลมอนด์ ใช้รบ
ั ประทาน ใช้บารุงผม

๓.ผลิตภัณฑ์จากใบหูกวาง
๓.๑ ใบหูกวางแห้งใส่ตป
ู้ ลา
ช่วยทาให้ปลาคลายเครียดและมีสุขภาพแข็งแรง
๓.๒ น้าหมักจากใบหูกวาง
สามารถนามารักษาปลาจากแบคทีเรียต่างๆและใส่รดน้าต้นไม้ให้โตเร็ว
๓.๓ ผ้าไหมย้อมจากใบหูกวาง เป็ นผ้าไหมทีย่ อ
้ มจากใบหูกวาง
สามารถสร้างรายได้ให้แกครอบครัว
12

๓.สิง่ ทีไ่ ด้รบ


ั จากการทาโครงงาน
๑.ทาให้ได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับการทางาน ประสานงานกัน

๒.ทาให้มีความกล้าคิด กล้าแสดงออกมากขึน
๓.ทาให้รจู ้ กั หน้าทีแ ้
่ ละมีความรับผิดชอบมากขึน
๔.ทาให้รจู ้ กั ทางานร่วมกัน สามัคคีกน

๕.ทาให้รจู ้ กั การเป็ นผูน
้ าและผูต
้ ามทีด
่ ี
๖.ทาให้รจู ้ กั การแบ่งเวลาและตรงต่อเวลา
๗.ทาให้รจู ้ กั การแก้ปญ
ั หาเฉพาะหน้า
๘.ทาให้เข้าใจวัดถุประสงค์ของงานทีท
่ า

อ้างอิง
https://www.siamplakat.com/content/content_10.html (สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม
พ.ศ 2563 )
https://medthai.com/%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2
%E0%B8%87/(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ 2563 )
https://steemit.com/thai/@juair/indian-almond-leaves(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม
พ.ศ 2563 )
13

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%
B8%B2%E0%B8%87(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ 2563 )
https://sites.google.com/site/plakadthiykawkilsusakl/withi-leiyng-pla-kad/kheld-lab-pla-swy
(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ 2563 )
https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=38122(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ 2563 )
http://oknation.nationtv.tv/blog/kidkids/2009/08/21/entry-5(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม
พ.ศ 2563)
https://www.slideshare.net/panida428/ss-27174830(สืบค้นเมือ
่ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ
2563 )

ภาคผนวก

ขัน
้ ตอนการเลือกใบหูกวางแห้ง
14

ขัน
้ ตอนการนาใบหูกวางมาต้มเพือ
่ ฆ่าแบคทีเรีย
15

ขัน
้ ตอนการทดลองใช้กบ
ั ปลากัด

หลังจากทดลองใช้กบ
ั ปลากัด
16

การทาน้าหมักใบหูกวาง

ขัน
้ ตอนการล้างใบหูกวาง

ขัน
้ ตอนการต้มใบหูกวาง
17

ขัน
้ ตอนการหมักน้าหมัก

น้าหมักจากใบหูกวาง

You might also like