You are on page 1of 8

การดูดซับโลหะหนักด้วยสารสกัดจากเปลือกส้มโอ

Adsorption of heavy metals with extracts of Pomelo peel

สัมพันธ์ สร้อยกล่อม1 สุทธินี ศิริโชติ2 ววรญา แหลมเพชร2 และ โสภา กลิ่นจันทร์2


Sumpan Soiklom1 Suttinee Sirichort2 Woraya Lampetch2 and Sopa Klinchan2

บทคัดย่อ
ได้ศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับโลหะหนักด้วยสารสกัดจากเปลือกส้มโอ สกัดด้วยกรดซิตริก 3% w/v ที่
อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เวลา 30 นาที โดยใช้เอทานอลที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน พบว่าเปอร์เซ็นต์การได้ ผลผลิต
(% yield) ดีที่สุดคือใช้ เอทานอลความเข้มข้น 95% v/v โดยมีค่าเท่ากับ 62.19% และเปอร์เซนต์การได้ผลผลิตน้อย
ที่สุดเมื่อใช้เอทานอลเข้มข้น 85% v/v ซึ่งได้ 48.79 % นาสารสกัดที่ได้ทดสอบความสามารถในการดูดซับโลหะหนัก คือ
Pb2+ และ Cr2+ วิเคราะห์โดย Atomic Absorption Spectrometer (AAS) พบว่า สารสกัดที่ดูดซับโละหนัก Pb2+ และ
Cr6+ ที่ดีที่สุด คือเพคตินที่สกัดจากเปลือกส้มโอแล้ว ตกตะกอนด้วยเอทานอลเข้มข้น 75% v/v ที่ปริมาณเพคติน 2.5
กรัม เวลา 20 นาที ดูดซับได้ 46.34 ppm และสารสกัดที่ดูดซับโละหนัก Cr6+ ได้ดีที่สุด ปริมาณเพคติน 0.5 กรัม เวลา
5 นาที ดูดซับได้ 62.87 ppm ตามลาดับ

ABSTRACT
The aim of this research was to investigate the adsorption of heavy metals from aqueous solution by
pomelo peel extract which was extracted by 3% w/v citric acid at 90 °C for 30 minutes by using ethanol at
different concentrations. The results showed ต ร ์ that extraction of pomelo peel which precipitation of 95% v/v
ethanol produced highest % yield (62.19) ร ศ าส while the extraction of pomelo peel which precipitation of 85%
v/v ethanol resulted in the lowest เ ก ษ%ต yield (48.79). The extracts were tested for ability to adsorb heavy metals
ย าลัย Absorption Spectrometer (AAS).The pectin extracted from pomelo peel and
(Pb2+ and Cr6+) by usingิทAtomic
าว
precipitated by 75%มหv/v ethanol could highly adsorb best both in Pb2 + and Cr6 +, the amount of 2.5 g pectin

ิ ัล
ร ู้ด จ

for 20 min adsorption at 46.34 ppm ions and 0.5 g pectin for 5 minutes to adsorb 62.87 ppm ions were
วา ม
found,คrespectively.
คลัง

Keywords : pectin,pomelo peel, heavy metal


Email address:sumpans@kmutnb.ac.th
1
ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Department of Industrial Chemistry, Faculty of Applied Science, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
2
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Department of Biotechnology, Faculty of Applied Science, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
คานา
ส้มโออยู่ในวงศ์ Rutaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Citrus maxima เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ในตระกูลเดียวกับ
ส้ม จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง จังหวัดที่ มีพื้นทีป่ ลูกมากที่สุดคือ ชุมพร นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ เชียงราย
และนครปฐม (กรมศุลกากร, 2549) พันธุ์ที่ปลูกอย่างแพร่หลายและเป็นที่ต้องการของตลาดมี 3 พันธุ์ คือ ขาวพวง ขาว
แป้น ขาวทองดี (กองเกษตรสัมพันธ์, 2548) เนื่องจากมีรสชาติดีและเป็นที่นิยมบริโภคของคนทั่วไป นอกจากนี้ยังส่งไป
จาหน่าย ยังต่างประเทศ สามารถนาเงินเข้าประเทศได้ปีละหลายสิบล้านบาท และในปี 2548 มีผลผลิต รวมเพื่อการ
บริโภคภายในประเทศ และส่งออก 276,628 ล้านตัน (กรมศุลกากร, 2548) ทาให้มีส่วนของเปลือกที่เป็นวัสดุเหลือทิ้ง มี
รายงานว่าเนื้อเยื่อสีขาวของส้มโอสามารถสกัดเป็นผงเพคตินได้ ซึงในปัจจุบันประเทศไทยต้องสั่งนาเข้าเพคตินจาก
ต่างประเทศคิดเป็นมูลค่ากว่า 200 ล้านบาทต่อปีเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและยาเพคตินเป็นสารที่สกัดได้จาก
เปลือกผลไม้ เช่นแอปเปิล้ พืชตระกูลส้มและมะนาวจัดเป็นพอลีแซคคาไรด์ชนิดหนึ่งซึ่งเอนไซม์ที่ลาไล้เล็กไม่สามารถย่อย
สลายได้เพคตินมีประโยชน์คือเป็นใยอาหาร (Dietary Fiber) ที่มีสมบัติในการละลายน้าได้(Water Soluble Fiber)
เพคตินที่สกัดได้จากพืชจะมีปริมาณและคุณภาพแตกต่างกันออกไปขึ้นกับแหล่งวัตถุดิบที่ผลิตและเกรดของเพคตินที่ใช้
โดย (ชวนิฏฐ์ และคณะ, 2548) องค์ประกอบในส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกันจะมีปริมาณเพคตินที่แตกต่างกันออกไป
สารประกอบเพคติน (pectin) พบอยู่ในชั้นมิดเดิลลาเมลลา (middle lamella) ของผนังเซลล์พืชในรูป ของโปรโตเพคติน
(protopectin) โดยรวมตัวอยู่กับ เซลลูโลส (cellulose) พบมากในผักและผลไม้โดยเฉพาะ ผลไม้ดิบ สารประกอบเพคติน
เป็นโพลีเมอร์สายยาวของ กรดกาแลคทูโรนิก D-galacturonic acid) ต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์ที่ตาแหน่ง α(1-4)
ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการสกัดเพคตินด้วยการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น ส่วนเยื่อสีขาวจาก
ธรรมชาติของเปลือกส้มโอ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปริมาณของเสียแล้วยังอาจทาให้ได้เพคตินที่มีราคาถูกกว่าเพคตินที่มี
จาหน่ายทางการค้าและสามารถผลิตเพคตินใช้เอง นอกจากนี้ยังศึกษาการนาสารสกัดจากเปลือกส้มโอไปใช้ประโยชน์
ในการดูดซับโลหะหนัก Pb2+ และ Cr6+ าสต
ร์
ษตรศ
เก
ย าลัย อุปกรณ์และวิธีการ
1. การเตรียมวัตถุดิบาวิท

บดเปลือกส้ัิทล มมโอให้มีขนาดเล็กด้วยเครื่องบด อบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 12 ชั่วโมง จากนั้น
ิจ ากว่า 500 ไมโครเมตร แล้วเก็บใส่ในถุงพลาสติก หรือภาชนะที่ปิดมิดชิด
คัดขนาดให้มรีขู้ดนาดต่
ว ม
ากษาความเข้มข้นตัวทาละลายเอทานอลที่เหมาะสมในการตกตะกอนสารสกัดจากเปลือกส้มโอ

2. การศึ
คลัง นาเปลือกส้มโอแห้งเติมสารละลายกรดซิตริก 3 % w/v ปริมาตร 1200 มิลลิลิตร จากนั้นตมบน Hot plate ที่
อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที นาสารละลายที่ได้ซึ่งมีลักษณะข้นหนืดมากรองดวยผา แล้วศึกษาการ
ตกตะกอนด้วยเอทานอลที่ ค วามเข้ มข้ น ต่างๆ โดยชั่ ง สารละลายขนหนื ดน้ าหนั ก 300 กรั ม น าไปตกตะกอนดวย
สารละลายเอทานอลที่ความเข้มข้น 75 85 และ 95% v/v จานวนปริมาตร 600 มิลลิลิตร ระยะเวลา 15 ชั่วโมง
จากนั้นกรองผานผาดวยชุดกรองสุญญากาศจะได้ผลิตภัณฑ์ลักษณะวุ้น นาไปอบแห้งที่อุณหภูมิที่ 50 องศาเซลเซียส
เป็นเวลา 12 ชั่วโมง บดด้วยเครื่องบดละเอียดอีกครั้งหนึ่งเพื่อลดขนาด ชั่งน้าหนักผลิตภัณฑ์ที่ได้และหาคารอยละของ
ผลผลิต (% yield) สารสกัดที่ตกกะกอนด้วยเอทานอล 75 85 และ 95% v/v จะเรียกว่า 75 citrus pectin , 85 citrus
pectin และ 95 citrus pectin ตามลาดับ
3. การศึกษาสมบัติทางกายภาพของเพคตินที่สกัดได้เปรียบเทียบกับมาตรฐานของเพคตินทางการค้า
ศึกษาสมบัติทางกายภาพบางประการของเพคติน โดยนาเพคติน 75 citrus pectin , 85 citrus pectin และ
95 citrus pectin ที่สกัดได้ ทดสอบความสามารถในการอุ้มน้า (water holding capacity) และความสามารถในการนา
ไฟฟ้า เปรียบเทียบกับเพคตินทางการค้า
4. การศึกษาการดูดซับโลหะหนัก ของเพคตินที่สกัดได้ (Kartel et al, (1999) และ Senthilkumaar et al, (2000))
ศึกษาการดูดซับโลหะหนักตามวิธีของ Kartel et al, (1999) และ Senthilkumaar et al, (2000) มีการเปลี่ยน
แปลงเล็กน้อย โดยชั่งเพคตินที่สกัดได้ 0.5 1.0 1.5 2.0 และ 2.5 กรัม ใส่ในสารละลายมาตรฐาน Pb2+ และ Cr2+
ความเข้มข้น 20 40 60 80 และ 100 มิลลิกรัมตอลิตร จากนั้นนาไปเขย่าที่ อุณหภูมิห้อง เวลาที่ใช้ในการดูดซับ 5
10 15 และ 20 นาที กรองดวยชุดกรองระบบสุญญากาศ จะได้สารละลายใส นาไปวิเคราะห์โลหะหนัก ด้วยเครื่อง
Atomic Absorption Spectrophotometer

ผลการทดลองและวิจารณ์
1. การศึกษาความเข้มข้นตัวทาละลายเอทานอลที่เหมาะสมในการตกตะกอนสารสกัดจากเปลือกส้มโอ
สารสกัดจากเปลือกส้มโอที่สกัดด้วยกรดซิตริก 3% w/v ที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เวลา 30 นาที โดยการใช้
เอทานอลที่ความเข้มข้นแตกต่างกันในการตกตะกอนพบว่าได้ % yield ดีที่สุดเมื่อใช้เอทานอลความเข้มข้น 95% v/v ใน
การตกตะกอนคือมีค่า% yield เท่ากับ 62.19 และ % yield ที่น้อยที่สุดเมื่อใช้เอทานอลความเข้มข้น 85% มีค่า % yield
เท่ากับ 48.79 (Table 1)
ต ร ์
Table 1 % Yield of pectin at various concentration of ethanol
ส า
ษตรศ
ัยเก Ethanol (%v/v) % yield
ว ิทยาล 75 50.02±0.02
ห า
ัล ม 85 48.79±1.01
ร ิู้ดจิท 95 62.19±2.32
ว า ม
ค ลังค (n=3)
2. การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของเพคตินที่สกัดได้เปรียบเทียบกับมาตรฐานของเพคตินทาง
การค้า
ความสามารถในการอุ้มน้า (water holding capacity) ของเพคตินจากเปลือกส้มโอมีความแตกต่างทางสถิติ
อย่างมีนัยสาคัญกับเพคตินมาตรฐาน (p < 0.05) โดยพบว่า 95 citrus pectin มีค่าการอุ้มน้ามากที่สุด คือ 1069.2 %
และเพคตินมาตรฐานมีค่าการอุ้มน้าน้อยที่สุดคือ 677 % (Table 2) ซึ่งผลทีไ่ ด้สอดคล้องกับผลของฉัตรชัย และคณะ
(ฉัตรชัย และคณะ, 2550) ที่พบว่าความสามารถในการอุ้มน้าของเพคตินจากเปลือกส้มโอมีความแตกต่างกันทางสถิติ
อย่างมีนัยสาคัญ (p < 0.05) กับเพคตินจากส้มเกรด 150 ซึ่งเพคตินที่สกัดจากทั้งเปลือกมีความสามารถในการอุ้มน้า
สูงสุด 846.29+ 35.62% สาหรับค่าการนาไฟฟ้า พบว่า เพคตินมาตรฐานมีค่าการนาไฟฟ้าดีที่สุด คือ 112.2 (µS/cm)
รองลงมาคือเพคตินที่สกัด 95 citrus pectin, 75 citrus pectin และ 85 citrus pectin (µS/cm) ตามลาดับ แสดงดัง
Table 2

Table 2 Water holding capacity and conductivity of citrus pectin and commercial pectin.

Sample Water holding capacity Conductivity


(%) (µS/cm)
Commercial pectin 677.4 112.2
75 citrus pectin 955.0 229
85 citrus pectin 1002.6 239
95 citrus pectin 1069.2 215
ต ร ์
าสรศ
3. การศึกษาการดูดซับโลหะหนักตของเพคติ นที่สกัด

ก 2+ ด้วยสารสกัดจากเปลือกส้มโอ
 ประสิทธิภาพการดูดซัลบัยเPb


เมื่อนาสารสกัดาจากเปลืิทย อกส้มโอ 75 citrus pectin 85 citrus pectin และ 95 citrus pectin ไปดูดซับน้าเสีย

สังเคราะห์ Pb2+ความเข้ ัิทล ม มข้น 20 40 60 80 และ 100 ppm ที่น้าหนัก 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 กรัม เวลา 5 10 15

20 นาที วิเคราะห์
ม ู้ดิจ หาปริมาณการดูดซับโลหะหนักด้วยเทคนิก AAS ปรากฏผลดัง Figure 1 ซึ่งพบว่าประสิทธิภาพการ
ควา กจากน้าเสียสังเคราะห์ด้วย 75 citrus pectin มีความสามารถดูดซับโละหนัก Pb2+ ได้ดีที่สุดที่ปริมาณการ
ดูดซับังโลหะหนั

ใช้เคพคติน 2.5 กรัม เวลา 20 นาที ดูดซับได้ 46.34 ppm ส่วน 75 citrus pectin ดูดซับโลหะหนัก Pb2+ ได้น้อยที่สุดที่
ปริมาณ 1.0 กรัม เวลา 10 นาที ดูดซับได้ 2.77 ppm และ เพคตินมาตรฐาน ดูดซับโละหนัก Pb2+ ที่ดีที่สุดที่ปริมาณ 2.5
กรัม เวลา 20 นาที ดูดซับได้ 71.42 ppm และดูดซับได้น้อยที่สุด ปริมาณ 2.5 กรัม เวลา 5 นาที ดูดซับได้ 6.21 ppm
(Figure 2)
20 25 75 citrus pectin
75 citrus pectin

The ability ot absorb (ppm)


The ability to absorb (ppm)
85 citrus pectin 85 citrus pectin
15 95 citrus pectin 20 95 citrus pectin

15
10
10
Citrus pectin =1 g
5
5
0
0
5 10 15 20
Citrus pectin =0.5 5 10 15 20
Time (min) Time (min)
g

25 75 citrus pectin 40

The ability to absorb (ppm)


85 citrus pectin 75 citrus pectin
The ability to absorb (ppm)

35
20 95 citrus pectin 85 citrus pectin
30
95 citrus pectin
15 25
Citrus pectin =1.5 g 20
10 15
Citrus pectin =2 g
10
5
5
0
0
5 10 15 20 5 10 15 20
Time (min) Time (min)

ต ร ์
าส
50
ษตรศ75 citrus pectin
45
เก
The ability to absorb, (ppm)

40
าล ัย 85 citrus pectin

ิาวทย
35 95 citrus pectin
30

ม ห
25

ิจ ิทัล 20

รู้ด
15

า ม 10 Citrus pectin =2.5 g

ัลงคว
5


0
5 10 15 20
Time (min)

Figure 1The ability of citrus pectin to adsorb Pb2+.


80
70
0.5 (g)
The ability to absorb , (ppm)
70
0.5 (g)

The ability to absorb,(ppm)


2+
60 1.0 (g) Pb 60 Cr6+
1.0 (g)
50
50 1.5 (g) 1.5 (g)
40 40 2.0 (g)
2.0 (g)
30 30 2.5 (g)
2.5 (g)
20 20
10
10
0
0
5 10 15 20
5 10 15 20
Time (mine) Time (min)

Figure 2 The ability of commercial pectin to adsorb Pb2+ and Cr2+.

 ประสิทธิภาพการดูดซับ Cr2+ ด้วยสารสกัดจากเปลือกส้มโอ


75 citrus pectin สามารถดูดซับโละหนัก Cr6+ ได้ดีที่สุดที่ปริมาณการใช้เพคติน 0.5 กรัม เวลา 5 นาที ซึ่งดูดซับ
ได้ 62.87 ppm และ 95 citrus pectin ดูดซับโละหนัก Cr6+ได้น้อยที่สุดที่ปริมาณ 1.5 กรัม เวลา 20 นาที ดูดซับได้
44.21 ppm (Figure 3) และเพคตินมาตรฐาน ดูดซับโละหนัก Cr6+ที่ดีที่สุดทีป่ ริมาณ 2.5 กรัม เวลา 20 นาที ดูดซับได้
65.75 ppm ดูดซับได้น้อยทีส่ ดุ ปริมาณ 2.0 กรัม เวลา 15 นาที ดูดซับได้ 8.75 ppm (Figure 2)

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัยเก
าล
ิาวทย
ม ห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
ค ัลงคว
80 80

The ability to absorb, (ppm)


The bility to absorb, (ppm)
Citrus pectin =0.5 g Citrus pectin =1 g
60 60

40 40
75 citrus pectin 75 citrus pectin
20 85 citrus pectin 20 85 citrus pectin
95 citrus pectin
95 citrus pectin
0 0
5 10 15 20 5 10 15 20
Time (min) Time (mine)

80 80
The ability to absorb, (ppm)

The ability to absorb, (ppm)


Citrus pectin =1.5 g Citrus pectin =2 g
60 60
40 40
75 citrus pectin
20 75 citrus pectin 20 85 citrus pectin
85 citrus pectin 95 citrus pectin

0
95 citrus pectin
0
5 Time10(min) 15 20 5 10 15 20
Time (min)

70
The ability to absorb, (ppm)

60 Citrus pectin =2.5 g


50
ต ร ์
าส
ตรศ
40 75 citrus pectin
30
เก ษ 85 citrus pectin
20
าลัย
วา ิทย
95 citrus pectin
10


ลั ม
0

ู้ดิจิท
5 10 15 20
Time (min)

ว า มร

คลัง 3 The ability of citrus pectin to adsorb Cr at various Cr concentrations.
6+ 6+
Figure
.
สรุป
1. การสกัดสารจากเปลือกส้มโอโดยการตกตะกอนด้วยเอทานอลที่ความเข้มข้น 95% v/v ให้ค่า % yield มาก
ที่สุดถึง 62.19 % และการตกตะกอนด้วยเอทานอลที่ความเข้มข้น 85% v/v ให้ % yield น้อยที่สุดคือ
48.79%
2. ผลการทดสอบความสามารถในการอุ้มน้า ( water holding capacity) พบว่าเพคตินที่ตกตะกอนด้วยเอทานอล
95% v/v (95 citrus pectin) มีค่าการอุ้มน้ามากกว่าเพคตินมาตรฐานมีค่าการอุ้มน้าได้มากที่สุด คือ 1069.2 %
โดยเพคตินมาตรฐานมีค่าการอุ้มน้าน้อยที่สุด
3. ผลการวัดค่าการนาไฟฟ้าพบว่าเพคตินมาตรฐานมีค่าการนาไฟฟ้าดีที่สุด คือ 112.2 (µS/cm) ส่วนเพคตินที่
สกัดด้วยเปลือกส้มโอและตกตะกอนด้วยเอทานอลที่ 95 75 และ 85% v/v คือมีค่าการนาไฟฟ้ารองลงมา
ตามลาดับคือมีค่าการนาไฟฟ้า 215 229 239 (µS/cm)
4. เพคตินที่สกัดจากเปลือกส้มโอและตกตะกอนด้วยเอทานอล 75% v/v (75 citrus pectin) มีความสามารถดูดซับ
โละหนัก Pb2+ ได้ที่ดีที่สุดที่ปริมาณการใช้เพคติน 2.5 กรัม ระยะเวลา 20 นาที ซึ่งดูดซับได้ 46.34 ppm และ
เพคตินที่ดูดซับโละหนัก Cr6+ ได้ที่ดีที่สุดคือเพคตินที่ตกตะกอนด้วยเอทานอล 75% v/v (75 citrus pectin) ที่
ปริมาณการใช้เพคติน 0.5 กรัม ระยะเวลา 5 นาที ดูดซับได้ 62.87 ppm

เอกสารอ้างอิง
ฉัตรชัย สังข์ผุด จีราภรณ์ สังข์ผุด นพรัตน์ ผาสุข.2550.คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของเพคตินผงที่สกัดจากผล
ส้มโอ.การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 17.
ชวนิฏฐ์ สิทธิดิลกรัตน พิลาณี ไวถนอมสัตย จิราพร เชื้อกูล และ ปริศนา สิริอาชา.2548.การผลิตเพคตินจากเปลือก

และกากผลส้มเหลือทิ้ง.การประชุสตมรทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43.469-480.
Kartel, M. T., Kupchik, L. A. andษตVeisov,รศา B. K. 1999. Evaluation of pectin binding of heavy metal ions in
ล ย

aqueous solutions. Chemosphereเก 38(11): 2591-2596.
ย า

Senthilkummar, S., Bharathi,
า ิท S., Nithyanandhi, D. and Subburam, V. 2000. Biosorption of toxic heavy metals

ัล ม solutions. Bioresource Technology 75: 163-165.
from aqueous
ิท
ู ด
้ จ

ว ามร
ลัง ค

You might also like