You are on page 1of 4

Techno logy

พลังงานไฟฟ้า
จากกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันชีวมวล ภาวศุทธิ์ ชุติชัย และดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

>> ศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย

ปัจ จุบันพลังงานหมุนเวียน (renewable energy) เป็นแหล่ง


พลังงานทางเลือกที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีการใช้
ควบคู่กับแหล่งพลังงานสิ้นเปลืองที่ใช้แล้วหมดไป พลังงานทางเลือกมี
ชีวมวล (biomass) เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่กักเก็บ
พลังงานมาจากแสงแดด และเป็นแหล่งพลังงานที่ไม่มีวันหมดไป
หลายชนิด ทั้งพลังงานทางเลือกที่ได้จากแสงอาทิตย์โดยตรง ได้แก่ เพราะชีวมวลส่วนใหญ่ได้มาจากพืชที่มีวงจรชีวิตสั้น สามารถเพาะ
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานทางเลือกที่ได้จากแสงอาทิตย์ทางอ้อม ปลูกแล้วน�ำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานใหม่ได้ ชีวมวลนั้นโดยทั่วไปเป็น
เช่น พลังงานลม พลังงานจากชีวมวล และพลังงานทางเลือกที่ไม่ ผลิตผลทีไ่ ด้มาจากสิง่ มีชวี ติ ในหลายรูปแบบ รวมทัง้ สิง่ ทีไ่ ด้หรือเหลือ
เกี่ยวข้องกับแสงอาทิตย์ เช่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงาน
ใช้จากการเกษตร เช่น แกลบ ฟางข้าว ขีเ้ ลือ่ ย ฟืน เป็นต้น ประเทศไทย
นิวเคลียร์
มีศักยภาพในการผลิตชีวมวลหลากหลาย โดยชีวมวลแต่ละประเภท
มีปริมาณมากน้อยตามสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของแต่ละ
ภูมิภาค ตารางที่ 1 สรุปศักยภาพชีวมวลของประเทศไทย ชีวมวลมี
ส�ำหรับประเทศไทยนั้น มีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงาน คุณสมบัติแตกต่างกันไปตามชนิด สถานะ และองค์ประกอบของ
หมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพลังงานจากชีวมวลซึ่งเป็นแหล่ง ชีวมวลนั้น ๆ แต่โดยทั่วไปแล้ว ชีวมวล ประกอบด้วย ธาตุหลัก
พลังงานที่มีการพัฒนาให้น�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์เพิ่มมากขึ้น [1] คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และอาจมีปริมาณของธาตุอื่น ๆ
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม จึงมีศักยภาพในการ ปนอยู่ด้วย เช่น ไนโตรเจน
ผลิตชีวมวลในปริมาณสูง หากน�ำพลังงานจากชีวมวลเหล่านีไ้ ปใช้ใน
การผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อน จะท�ำให้ลดต้นทุนในการน�ำเข้า
พลังงานจากต่างประเทศและเพิ่มความมั่นคงทางพลังงานให้กับ
ประเทศ

February-March 2013, Vol.39 No.227 045 <<


Techno Energy & Environment
logy

>> การแปลงสภาพชีวมวล แก๊สซิฟิเคชัน คือ กระบวนการในการเปลี่ยนชีวมวลให้กลาย


เป็นแก๊สเชื้อเพลิง (producer gas) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ ปฏิกิริยา
การแปลงสภาพชีวมวล คือ กระบวนการในการแปลงสภาพ ออกซิเดชันบางส่วนของชีวมวลกับไอน�้ำ (H2O) ก๊าซออกซิเจน (O2)
ชีวมวลสดให้กลายเป็นชีวมวลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมกับการน�ำไปใช้ หรืออากาศ (ภาพที่ 1) เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้เรียกว่า แก๊สซิฟายเออร์
และการจัดเก็บ การแปลงสภาพชีวมวลแบ่งเป็น 2 ประเภท อย่างแรก (Gasifier) แก๊สเชือ้ เพลิงทีไ่ ด้จะมีองค์ประกอบแตกต่างกันไปตามชนิด
คือ การแปลงสภาพโดยใช้กระบวนการทางชีวภาพ (biological pro- และคุณสมบัติของชีวมวลที่ใช้เป็นสารตั้งต้น องค์ประกอบหลักของ
cesses) เป็นกระบวนการที่ใช้จุลินทรีย์เป็นตัวด�ำเนินการ มีความ แก๊สเชื้อเพลิง ประกอบด้วย ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และก๊าซ
ซับซ้อนทั้งในด้านการควบคุมสภาวะการด�ำเนินงานและการจัดการ ไฮโดรเจน (H2) โดยอาจมีกา๊ ซมีเทน (CH4) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
กับจุลินทรีย์ที่น�ำมาใช้ ส่งผลให้กระบวนการมีประสิทธิภาพต�่ำ [2] (CO2) บางส่วน นอกจากนี้ยังได้ผลิตภัณฑ์อื่นด้วย ได้แก่ น�้ำมันดิน
ส่วนเทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวลอย่างที่สอง คือ กระบวนการ (tar) และขี้เถ้า (ash) เป็นต้น
ทางเคมีความร้อน (thermochemical processes) ได้แก่ การเผาไหม้
(combustion) แก๊สซิฟิเคชัน (gasification) และไพโรไลซิส (pyroly-
sis) ทั้งสามกระบวนการนี้ใช้ความร้อนเป็นตัวด�ำเนินการเปลี่ยน
พลังงานที่อยู่ในชีวมวลไปเป็นพลังงานความร้อนและเชื้อเพลิง โดย
แต่ละกระบวนการมีประสิทธิภาพและความเหมาะสมกับชีวมวล
แต่ละชนิดต่างกันออกไป
▼ ตารางที่ 1 ศักยภาพชีวมวลของประเทศไทยปี 2550/2551 [1] ▲ ภาพที่ 1 กระบวนการแก๊สซิฟิเคชัน (gasification process)

ชนิด ชีวมวล ปริมาณชีวมวล ค่าความร้อน พลังงาน เทียบเท่าน�้ำมันดิบ กำ�ลังไฟฟ้า


ที่ได้ (ตัน) (MJ/kg) (GJ) (ktoe) (MW)
อ้อย ชานอ้อย 22,050,300 16.21 357,435,363 8461 97.2
ยอดและใบ 17,640,240 16.42 289,652,741 6857 79
ข้าว แกลบ 6,877,000 15.56 107,006,120 2533 2.5
ฟางข้าว 35,581,000 15.51 551,810,992 13,064 152.3
ข้าวโพด ซัง 807,310 16.63 13,425,565 318 3.7
น�้ำมันปาล์ม ทะลายเปล่า 2,130,720 19.41 37,221,547 881 10.2
กากใย 1,389,600 19.94 27,708,624 656 7.5
กะลา 555,840 21.13 11,744,899 278 3.1
ทางใน/ก้าน 2,501,280 17.87 44,697,873 1,058 0.5
มันสำ�ปะหลัง ลำ�ต้น 301,860 13.38 4,038,887 96 1
เหง้า 251,550 10.61 2,668,945 63 0.6
ยางพารา ขี้เลื่อย 940,980 16.65 1,581,417 37 0.3
เศษไม้ 316,600 16.85 5,334,710 126 1.3
ยูคาลิปตัส ไม้ฟืน 1,360,000 16.85 22,916,000 542 6.2
เปลือกไม้ 680,000 17.30 11,764,000 278 3.1
ไม้จากสวนป่า เศษไม้ 600,000 16.85 10,110,000 239 2.6
รวม 98,118,970 1,499,168,000 35,488 363.4

>> ชีวมวลกับกระบวนการแก๊สซิฟเิ คชัน ประสิทธิภาพของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันขึ้นอยู่กับปัจจัย


หลัก 2 ปัจจัย ได้แก่ คุณสมบัติของชีวมวลที่เป็นสารตั้งต้น และการ
หากพิ จ ารณาการน� ำ ชี ว มวลที่ เ ป็ น ของแข็ ง ไปผลิ ต เป็ น ออกแบบแก๊สซิฟายเออร์ [2] กล่าวคือ ชีวมวลแต่ละชนิดมีพลังงาน
เชื้อเพลิงแล้ว แก๊สซิฟิเคชันเป็นกระบวนการแปลงสภาพชีวมวลหนึ่ง สะสมแตกต่างกัน เมือ่ น�ำมาแปลงสภาพเป็นแก๊สชีวมวล ก็จะได้แก๊ส
ที่ได้รับความสนใจ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะสามารถ เชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อน (heating value) แตกต่างกันไปด้วย หรือ
เปลีย่ นพลังงานในชีวมวลเป็นเชือ้ เพลิงและพลังงานความร้อนได้อย่าง แม้แต่ชีวมวลชนิดเดียวกันแต่มีคุณสมบัติต่างกัน (เช่น ความชื้น
มีประสิทธิภาพ [2-4] ขนาด) ก็สง่ ผลให้คา่ ความร้อนของแก๊สเชือ้ เพลิงมีคา่ ต่างกัน นอกจาก

>>046 February-March 2013, Vol.39 No.227


Energy & Environment Techno
logy

นี้การออกแบบแก๊สซิฟายเออร์ก็เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ทั้งการเลือก เทคโนโลยีในการผลิตไฟฟ้าส�ำหรับชุมชนขนาดเล็กนั้น นิยม


สภาวะการด�ำเนินงานของแก๊สซิฟายเออร์ ชนิดของแก๊สซิฟายเออร์ ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน (เช่น เครื่องยนต์ดีเซล) ร่วมกับเครื่อง
(เช่น แบบชั้นเชื้อเพลิงนิ่ง (fixed-bed gasifier) และแบบชั้นเชื้อเพลิง ก�ำเนิดไฟฟ้า (ภาพที่ 3) เชื้อเพลิงที่ใช้ในเครื่องยนต์สันดาปภายใน
มีการเคลือ่ นที่ (fluidized-bed gasifier)) หรือแม้แต่การเลือกชนิดของ ได้แก่ แก๊สเชื้อเพลิงและน�้ำมันดีเซล หลักการท�ำงานเริ่มจากการน�ำ
ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ล้วนส่งผลต่อประสิทธิภาพของกระบวนการ โดยทัว่ ไป แก๊สเชื้อเพลิงที่ได้จากกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันไปก�ำจัดน�้ำมันดิน
ประสิทธิภาพของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันมีค่าประมาณ 80–90 จากนั้นจะถูกส่งไปผสมเข้ากับไอของน�้ำมันดีเซลแล้วจึงฉีดแก๊สผสม
เปอร์เซ็นต์ [4] แก๊สเชือ้ เพลิงทีไ่ ด้จะมีคา่ ความร้อนปานกลางถึงต�ำ่ โดย ทีไ่ ด้เข้าไปในกระบอกสูบของเครือ่ งยนต์ทถี่ กู อัดจนมีอณ ุ หภูมสิ งู แก๊ส
มีค่าประมาณ 10–15 MJ/Nm3 และ 3–6 MJ/Nm3 เมื่อใช้ก๊ าซ ผสมจะเกิดการสันดาปและแรงระเบิดจะดันให้ลกู สูบเคลือ่ นทีไ่ ปหมุน
ออกซิเจนและอากาศเป็นสารตั้งต้น ตามล�ำดับ [2] เพลาของเครื่องยนต์ซึ่งเชื่อมต่อเข้ากับเพลาของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
ท�ำให้ได้กระแสไฟฟ้า สาเหตุที่ต้องมีการใช้แก๊สเชื้อเพลิงร่วมกับไอ
ของน�้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์สันดาปภายในนั้น
>> ชีวมวลกับการผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่องจากพลังงานที่ได้จากการใช้แก๊สเชื้อเพลิงเพียงอย่างเดียวไม่
เพียงพอทีจ่ ะผลิตกระแสไฟฟ้าได้ เทคโนโลยีในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ปัจจุบันการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในประเทศมีแนวโน้มเพิ่ม ด้วยเครื่องยนต์สันดาปภายในนั้นมีต้นทุนต�่ำ ระบบมีความซับซ้อน
ขึ้นทุกปี ท�ำให้ประเทศไทยมีโอกาสที่จะขาดแคลนไฟฟ้าในอนาคต น้ อ ย ง่ า ยต่ อ การควบคุ ม ระบบ แต่ เ ครื่ อ งยนต์ สั น ดาปภายในมี
อีกทัง้ การสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ทใี่ ช้เชือ้ เพลิงถ่านหินมีขอ้ จ�ำกัด ทั้งใน ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าค่อนข้างต�่ำ (ประมาณ 10–20
ส่วนของวัตถุดิบที่ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ และปัญหาผลกระทบ เปอร์เซ็นต์) อีกทั้งยังก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศด้วย [6]
กับสิง่ แวดล้อม การผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลจึงเป็นแนวทางแก้ปญ ั หาที่
น่ า สนใจมาก เนื่ อ งจากประเทศไทยมี แ หล่ ง ชี ว มวลกระจายอยู ่
ทัว่ ประเทศ ท�ำให้สามารถผลิตไฟฟ้าใช้ได้ทงั้ ในพืน้ ทีห่ า่ งไกลทีไ่ ฟฟ้าเข้า
ไม่ถงึ หรือพืน้ ทีท่ ไี่ ฟฟ้าเข้าถึงแต่ตอ้ งการใช้ชวี มวลทีม่ ใี ห้เกิดประโยชน์
สูงสุด ส่งผลให้พื้นที่ดังกล่าวและประเทศไทยมีความมั่นคงทางด้าน
พลังงานมากยิ่งขึ้น (ภาพที่ 2) โดยในปี พ.ศ.2550 มีโรงไฟฟ้าชีวมวล
กระจายตัวอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิต
กระแสไฟฟ้ารวมทั้งหมด 1,435 เมกะวัตต์ จากศักยภาพชีวมวล
ทั้งหมด 3,300 เมกะวัตต์ โดยผลิตจากโรงไฟฟ้าส�ำหรับชุมชนขนาด
เล็ก กระจายตัวอยู่ทุกภูมิภาคและโรงไฟฟ้าขนาดกลาง [5]
▲ ภาพที่ 3 เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน

ส่วนโรงไฟฟ้าขนาดกลางเป็นโรงไฟฟ้าที่มีก�ำลังการผลิตสูง
กว่าโรงไฟฟ้าส�ำหรับชุมชนขนาดเล็ก เทคโนโลยีทนี่ ำ� มาใช้ผลิตกระแส
ไฟฟ้า คือ การใช้เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในร่วมกับเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า
เหมือนกับโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก หรือใช้เทคโนโลยี Biomass Integrated
Gasification Combined Cycle (BIGCC) (ภาพที่ 4) ซึ่งเป็นระบบที่
เหมาะกับการผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยใช้เครื่องกังหันก๊าซ (gas
turbine) ร่วมกับเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ขั้นตอนในการผลิตไฟฟ้าใน
กระบวนการนี้เริ่มจากแก๊สเชื้อเพลิงที่ได้จากกระบวนการแก๊สซิฟิ-
เคชันจะถูกส่งไปก�ำจัดน�ำ้ มันดินก่อน ขณะทีอ่ ากาศจะถูกอัดจนมีความ
ดันและอุณหภูมสิ งู ขึน้ แล้วถูกส่งไปยังห้องเผาไหม้ (combustor) ที่
ใช้เชื้อเพลิงเป็นแก๊สเชื้อเพลิง เมื่อแก๊สเชื้อเพลิงเกิดการเผาไหม้และ
มีอุณหภูมิสูงขึ้น ก็จะถูกส่งไปขับเครื่องกังหันก๊าซและเครื่องก�ำเนิด
▲ ภาพที่ 2 โรงไฟฟ้าชีวมวล บริษัท ซูพรีม รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด ไฟฟ้า ท�ำให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ก๊าซร้อนทีอ่ อกจากเครือ่ งกังหัน

February-March 2013, Vol.39 No.227 047 <<


Techno Energy & Environment
logy

ก๊าซจะน�ำไปใช้ผลิตไอน�้ำซึ่งสามารถน�ำไปใช้เป็นตัวขับเครื่องกังหัน โรงไฟฟ้าชีวมวลที่ใช้เทคโนโลยีนี้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าจะต้องเกิด
ไอน�้ำ (steam turbine) ทั้งนี้เครื่องกังหันไอน�้ำมีหลักการท�ำงาน ขึ้นในประเทศไทยอย่างแน่นอน ดังนั้นระบบ BGFC จึงนับเป็น
เช่นเดียวกับเครื่องกังหันก๊าซ ท�ำให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มได้ เทคโนโลยีในการผลิตกระแสไฟฟ้าแห่งอนาคต
อีกส่วนหนึง่ ประสิทธิภาพโดยรวมในการผลิตกระแสไฟฟ้าของระบบ
BIGCC อยู่ระหว่าง 30 – 40 เปอร์เซ็นต์ [7] ต้นทุนในการผลิตกระแส
ไฟฟ้าจาก BIGCC มีค่าสูงกว่าการใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน
เนื่องจากระบบมีความซับซ้อนและมีขนาดใหญ่มากกว่า แต่อย่างไร
ก็ตามระบบ BIGCC ก็ยังก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศเช่นเดียวกับ
เครื่องยนต์สันดาป แม้จะมีปริมาณน้อยกว่า แต่ก็ยังก่อให้เกิดปัญหา
แก่สิ่งแวดล้อม

▲ ภาพที่ 5 เทคโนโลยี Biomass Gasification Fuel Cell (BGFC)

Technology

เอกสารอ้างอิง
[1] Department of alternative energy development and effi-
ciency, Ministry of energy. Available from: <http://www.dede.go.th> (May
2012).
[2] Puig-Arnavat, M., Bruno, J.C., Coronas, A., Review and
▲ ภาพที่ 4 เทคโนโลยี Biomass Integrated Gasification Combined Cycle (BIGCC) analysis of biomass gasification models. Renewable and sustainable en-
ergy reviews 14 (2010): 2841-2851.
Biomass Gasification Fuel Cell (BGFC) เป็นเทคโนโลยีการ [3] Goransson, K., Soderlind, U., He, J., Zhang, W., Review of
ผลิตกระแสไฟฟ้าที่ก�ำลังได้รับความสนใจและมีการพัฒนาอย่าง syngas production via biomass DFBGs. Renewable and sustainable en-
ต่อเนื่อง สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากน้อยตามความต้องการ ergy reviews 15 (2011): 482–492.
เทคโนโลยีนมี้ คี วามคล้ายคลึงกับ BIGCC แต่แตกต่างกันทีห่ น่วยผลิต [4] Ptasinski, K.J., Thermodynamic efficiency of biomass gasifica-
กระแสไฟฟ้า คือ ในกระบวนการนีแ้ ก๊สเชือ้ เพลิงทีอ่ อกจากแก๊สซิฟาย- tion and biofuels conversion. Biofuels, bioproducts and biorefining 2 (2008):
เออร์จะถูกส่งไปก�ำจัดน�้ำมันดิน แล้วจึงผ่านก๊าซเข้าสู่หน่วยแยกก๊าซ 239-253.
ไฮโดรเจน เพื่อให้ได้ก๊าซไฮโดรเจนที่มีความบริสุทธิ์สูง จากนั้นก๊าซ [5] Energy for environment foundation. Available from: <http://
ไฮโดรเจนจะถูกส่งเข้าสู่เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell) เพื่อผลิตกระแส www.efe.or.th> (May 2012).
ไฟฟ้า (ภาพที่ 5) เซลล์เชื้อเพลิงเป็นอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าจากปฏิกิริยา [6] Baozhao, Z., Yicheng, X., Study on performance of biomass
ไฟฟ้าเคมีระหว่างก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซออกซิเจน ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จาก gasifier-engine systems and their environmental aspects. China national rice
ปฏิกิริยา ได้แก่ น�้ำ ความร้อน และกระแสไฟฟ้า ดังนั้นเซลล์เชื้อเพลิง research institute, paper No.9403.
จึงเป็นอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เนือ่ งจาก [7] Craig, K.R., Mann, M.K., Cost and performance analysis of
เซลล์เชือ้ เพลิงเป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้า biomass-based integrated gasification combined-cycle (BIGCC) power sys-
สูง ส่งผลให้ค่าประสิทธิภาพโดยรวมในการผลิตกระแสไฟฟ้าของ tems. National renewable energy laboratory. NREL/TP-430-21657.
ระบบ BGFC มีค่าอยู่ระหว่าง 55 – 65 เปอร์เซ็นต์ [8] [8] Sadhukhan, J., Zhao, Y., Shah, N., Brandon, N.P., Perfor-
แต่อย่างไรก็ตาม เซลล์เชือ้ เพลิงเป็นอุปกรณ์ทมี่ คี วามซับซ้อน mance analysis of integrated biomass gasification fuel cell (BGFC) and biomass
และมีราคาสูง ส่งผลให้ตน้ ทุนในการผลิตไฟฟ้ามีคา่ สูงกว่าเมือ่ เปรียบ gasification combined cycle (BGCC) systems. Chemical engineering science
เทียบกับต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าระบบอืน่ ๆ ในประเทศไทยจึงยังไม่มี 65 (2010): 1942–1954.
การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยวิธีนี้ แต่ในอนาคตหากเทคโนโลยีนี้ได้รับ
การพัฒนาให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นและมีต้นทุนราคาถูกลง

>>048 February-March 2013, Vol.39 No.227

You might also like